ความผูกพันต่อองค์กรของคร...

122
ความผูกพันต่อองค์กรของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 1 พัชรินทร์ คีรีเมฆ การค้นคว้าอิสระนี ้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2560

Upload: others

Post on 01-Jan-2021

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน

    สังกดัส านักงานเขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 1

    พชัรินทร์ ครีีเมฆ

    การค้นคว้าอสิระนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาการจดัการภาครัฐแนวใหม่ มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค์

    พ.ศ. 2560

    http://182.93.171.202/index.php/th/

  • ความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านักงานเขตพืน้ทีก่ารศึกษาประถมศึกษา

    นครสวรรค์ เขต 1

    พชัรินทร์ ครีีเมฆ

    การค้นคว้าอสิระนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

    พ.ศ.2560 ลขิสิทธ์ิของมหาวิทยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

    http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/

  • ORGNIZATIONAL COMMITMENT OF TEACHERS AND PRIVATE SCHOOL PERSONNEL UNDER THE NAKHON SAWAN PRIMARY

    EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1

    PATCHARIN KEEREEMAK

    An Independent Study in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Public Administration Degree in New Public Management

    Nakhon Sawan Rajabhat University

    2017 Copyright of Nakhon Sawan Rajabhat University

  • บทคดัย่อ

    ช่ือเร่ือง ความผกูพนัต่อองคก์รของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 ผู้วจัิย นางสาวพชัรินทร์ คีรีเมฆ อาจารย์ทีป่รึกษา ดร. พิสิษฐ ์ จอมบุญเรือง รองศาสตราจารย ์ ดร. ไพศาล สรรสรวสุิทธ์ิ สาขาวชิา การจดัการภาครัฐแนวใหม่ ปีการศึกษา 2559

    การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาระดบัความผูกพนัต่อองค์การของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 และเพื่อเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองค์การของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 กลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการวิจยั 297 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บขอ้มูลเป็นแบบสอบถามท่ีผา่นผูเ้ช่ียวชาญและมีความเช่ือมัน่ .966 และท าการวเิคราะห์ขอ้มูลด้วยโปรแกรมสถิติส าเร็จรูป ไดแ้ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย (x̅) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการศึกษาพบวา่ 1) ระดับความผูกพนัต่อองค์การของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกัดส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ส่วนใหญ่อยูใ่นระดบัมากท่ีสุด โดยเรียงจากมากไปน้อย ดงัน้ี ดา้นการมีส่วนร่วมเป็นหน่ึงอันเดียว (x̅ = 4.71) ด้านความเต็มใจอุทิศตนให้กับองค์กร(x̅ = 4.68) ด้านความจงรักภกัดี(x̅ = 4.69) ดา้นความเช่ือมัน่การยอมรับค่านิยมและวตัถุประสงค ์เป้าหมาย(x̅ = 4.60) 2) เม่ือเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์ารของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 พบวา่ อายุ ระดบัการศึกษา สถานภาพการสมรส รายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน และระยะเวลาในการปฏิบติังาน เป็นไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว ้อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบั 0.05

    (1)

  • Abstract

    Title Organizational Commitment of Teachers and Private School Personnel under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 1

    Author Ms. Patcharin Keereemak Advisor Committee Dr. Pisit Jomboonrueang

    Assoc. Prof. Dr. Paisan Sansoravisut Program New Public Management Academic Year 2016 The objectives of this research were to study the organizational commitment level of teachers and private school personnel under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 1 and to compare the organizational commitment of teachers and private school personnel under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 1. 297 people were drawn to be the sample of the study. The research instrument, a questionnaire with a reliability coefficient of .96 , was used to collect the data which were analyzed by means of statistical software, i.e. percentage, mean (�̅�) , Standard Deviation (S.D.). The F-test was performed as the hypothesis test. The results showed as follows : 1)The organizational commitment level of teachers and private school personnel under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 1 was mostly at the highest level. When considered aspect by aspect the highest average was the unity (�̅� = 4.71), followed by the dedication to the organization (�̅� =4.68), the royalty (�̅� = 4.69) and the confidence to accept values and purpose (�̅� = 4.60), respectively. 2) When comparing , the organizational commitment level of teachers and private school personnel under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 1 showed that age, graduated degree, marital status, monthly average income and working duration were consistent with the set assumption significantly at the 0.05 level.

    กติติกรรมประกาศ

    (2)

    (3)

  • การคน้ควา้อิสระฉบบัน้ีส าเร็จลุล่วงไดด้ว้ยดีโดยไดรั้บความกรุณาอยา่งสูงจาก รองศาสตราจารย ์ดร.ไพศาล สรรสรวิสุทธ์ิ และ อาจารย ์ดร.พิสิษฐ์ จอมบุญเรือง คณะกรรมการท่ีปรึกษา ท่ีไดใ้ห้ความช่วยเหลือ ให้ค าแนะน า และตรวจแก้ไขในการด าเนินการจดัท าอย่างใกล้ชิดตลอดมา นับตั้งแต่เร่ิมตน้จนกระทั้งส าเร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ผูศึ้กษารู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาของท่านเป็นอยา่งยิง่

    ขอขอบพระคุณ อาจารย ์ดร.พิสิษฐ์ จอมบุญเรือง รศ.ดร. ไพศาล สรรสรวสุิทธ์ิและคณะกรรมการทุกท่านท่ีไดก้รุณาเป็นกรรมการสอบการคน้ควา้อิสระ ขอบคุณผูเ้ช่ียวชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา อนัประกอบดว้ย อาจารย ์ดร.คุณากร กรสิงห์ นายวิสูตร ป้อมโพธ์ิ และนายสุธน อ่อนเฉย ตลอดจนผูป้ระสานงาน และครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ท่ีไดก้รุณาดูแล ช่วยเหลือ อ านวยความสะดวกในการเก็บขอ้มูลจากแบบสอบถาม ท าใหไ้ดข้อ้มูลท่ีครบถว้นในการศึกษาคร้ังน้ี คุณงามความดีอนัพึงมีจากการคน้ควา้อิสระฉบบัน้ี ผูศึ้กษาขอมอบแด่ บิดา มารดา อนัเป็นท่ีเคารพยิ่ง และคณาจารยผ์ูป้ระสาทวิชาความรู้ ตลอดจนทุกๆ ท่าน ท่ีให้ก าลงัใจช่วยเหลือจนกระทั้งการคน้ควา้อิสระบบัน้ีส าเร็จลุล่วงดว้ยดี

    สารบัญ

    (4)

  • บทที่ หน้า

    บทคดัยอ่ภาษาไทย............................................................................................................. (1)

    บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ........................................................................................................ (2)

    กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................. (3)

    สารบญั............................................................................................................................... (4)

    สารบญัตาราง..................................................................................................................... (6)

    สารบญัภาพ........................................................................................................................ (8)

    1 บทน า............................................................................................................................. 1

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา................................................................ 1

    วตัถุประสงคก์ารศึกษา.......................................................................................... 4

    ขอบเขตการศึกษา................................................................................................. 4

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ.................................................................................................. 6

    ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ.................................................................................. 7

    2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง.................................................................................... 8

    แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัความผกูพนัต่อองคก์ร............................................ 8

    งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง............................................................................................... 34

    กรอบแนวคิดการศึกษา........................................................................................ 41

    สมมุติฐานการศึกษา............................................................................................. 41

    3 วธีิด าเนินการศึกษา...................................................................................................... 42

    ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง.................................................................................... 42

    เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษา.................................................................................... 44

    ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือและหาคุณภาพเคร่ืองมือ............................................. 45

    การเก็บรวบรวมขอ้มูล.......................................................................................... 45 การวเิคราะห์ขอ้มูลและสถิติท่ีใช.้......................................................................... 46

    สารบัญ (ต่อ)

    (5)

  • บทที่ หน้า

    4. ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล...................................................................................................... 47

    สัญลกัษณ์ท่ีใชใ้นการวเิคราะห์.............................................................................. 47

    ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล.......................................................................................... 48

    ผลการวเิคราะห์ระดบัความผกูพนัต่อองคก์ร....................................................... 50

    ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์ร........................................................... 54

    5. สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ............................................................................... 61

    สรุปผลการศึกษา............................................................................................... 62

    อภิปรายผล......................................................................................................... 64

    ขอ้เสนอแนะ....................................................................................................... 68

    บรรณานุกรม....................................................................................................................... 70

    ภาคผนวก........................................................................................................................... 76

    ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ช่ียวชาญ..................................................................... 77

    ภาคผนวก ข หนงัสือราชการท่ีเก่ียวขอ้ง......................................................... 79

    ภาคผนวก ค เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษา......................................................... 91

    ภาคผนวก ง การหาคุณภาพเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษา................................... 96

    ภาคผนวก จ การวิเคราะห์ขอ้มูล...................................................................... 100

    ประวติัยอ่ผูศึ้กษา................................................................................................................... 110

    สารบัญตาราง

    (6)

  • ตารางที่ หน้า

    2.1 ขอ้มูลรวบรวมความหมายความผกูพนัต่อองคก์รของนกัวชิาการ...................... 12

    2.2 การสังเคราะห์สรุปองคป์ระกอบความผกูพนัในการท างาน………………….. 22 2.3 สรุปองคป์ระกอบความผกูพนัในการท างานท่ีเป็นตวัแปรตาม........................... 30 2.4 การสังเคราะห์สรุปขอ้มูลส่วนบุคคลท่ีมีผลต่อความผกูพนั................................. 39 3.1 แสดงประชากรและกลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการวิจยั................................................. 43 4.1 จ านวนร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามจ าแนกตามอาย.ุ.................................... 48 4.2 จ านวนร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามจ าแนกตามระดบัการศึกษา................... 48 4.3 จ านวนร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามจ าแนกตามสถานภาพการสมรส........... 49 4.4 จ านวนร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามจ าแนกตามรายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน............ 49 4.5 จ านวนร้อยละของผูต้อบแบบสอบถามจ าแนกตามระยะเวลาปฏิบติังาน.............. 49 4.6 ระดบัความผกูพนัของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน ดา้นความเตม็ใจอุทิศตนใหก้บัองคก์ร.............................................................. 50 4.7 ระดบัความผกูพนัของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน ดา้นการมีส่วนร่วมเป็นหน่ึงอนัเดียว................................................................ 51 4.8 ระดบัความผกูพนัของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน ดา้นความจงรักภกัดี......................................................................................... 52

    4.9 ระดบัความผกูพนัของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน

    ดา้นความเช่ือมัน่การยอมรับค่านิยมและวตัถุประสงค ์เป้าหมาย.................... 53

    4.10 ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์ร จ าแนกตามอาย.ุ........................... 54

    4.11 ผลการวเิคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ตามวธีิ LSD ของความผกูพนัต่อองคก์ร

    จ าแนกตามอาย ุ............................................................................................... 55

    4.12 ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์รจ าแนกตามระดบัการศึกษา......... 55

    สารบัญตาราง (ต่อ)

    (7)

  • ตารางที่ หน้า

    4.13 ผลการวเิคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ตามวธีิ LSD ของความผูพ้นัต่อองคก์ร จ าแนกตามระดบัการศึกษา............................................................................. 56 4.14 ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์ร จ าแนกตามสถานภาพ.................. 57

    4.15 ผลการวเิคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ตามวธีิ LSD ของความผูพ้นัต่อองคก์ร

    จ าแนกตามสถานภาพการสมรส.................................................................... 57

    4.16 ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์รจ าแนกตามรายได.้....................... 58

    4.17 ผลการวเิคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ตามวธีิ LSD ของความผูพ้นัต่อองคก์ร

    จ าแนกตามรายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน………........................................................... 58

    4.18 ผลการเปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์ร จ าแนกตามระยะปฎิบติังาน......... 59

    4.19 ผลการวเิคราะห์เปรียบเทียบรายคู่ตามวธีิ LSD ของความผูพ้นัต่อองคก์ร

    จ าแนกตามระยะปฎิบติังาน.................................................................. 60

    สารบัญภาพ

    (8)

  • ภาพที ่ หน้า

    2.1 แสดงกรอบแนวคิดการศึกษา................................................................................ 41

    บทที ่ 1

  • บทน า

    ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

    ปัจจุบนัโลกของเรามีการเปล่ียนแปลงไปอย่างมากและมีการพฒันาความเปล่ียนแปลงไปอย่างไม่หยุดน่ิง ทั้งในดา้นการศึกษา ดา้นเทคโนโลยีการส่ือสารนวตักรรมต่างๆ เศรษฐกิจ การเมืองรวมไปถึงทางสังคมความเป็นอยูข่องผูค้นทัว่ไป ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงท่ีแตกต่างกนัไปจากเดิมเป็นอยา่งมาก (ชุติกาญจน์ เปาทุย, 2553) คือการศึกษาท่ีมีการเปล่ียนแปลงและมีการพฒันาอยูต่ลอด เพื่อให้กา้วทนักบัประเทศต่างๆ ซ่ึงในเม่ือทุกประเทศเตรียมพร้อมท่ีจะเขา้สู่ประเทศอาเซียนดว้ยแลว้ จึงตอ้งมีการแข่งขนักนัเพิ่มมากข้ึน โดยมีการตรวจคุณภาพทางการศึกษากับโรงเรียนภาครัฐหรือเอกชน เพื่อวดัระดับทางการเรียนการสอนของแต่ละโรงเรียน รวมถึงสถาบนัการศึกษาเป็นสถาบนัท่ีมีบทบาทและมีความส าคญัต่อการพฒันาประเทศมีภารกิจในการจดัการศึกษา ซ่ึงถือว่าเป็นรากฐานท่ีส าคญัในการสร้างความเจริญก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาการพฒันาประเทศ การจดัการดา้นศึกษาท่ีมีคุณภาพจะช่วยสร้างเสริมใหค้นไดพ้ฒันาตนเองในดา้นความรู้ ความสามารถ ทกัษะ จริยธรรมเป็นการพฒันาศกัยภาพและขีดความสามารถของคนในประเทศ ดงันั้นสถาบนัการศึกษาจ าเป็นจะตอ้งมีบุคลากรท่ีมีลกัษณะเฉพาะมีความสามารถ มีคุณภาพและมีประโยชน์หรือประสิทธิภาพในการท างานเพิ่มมากข้ึน

    ประเทศไทยเขา้สู่การเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซ่ึงเป็นการรวมตวักนัของประเทศสมาชิก ในภูมิภาค 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า และกมัพูชา อีกทั้งในสภาวะปัจจุบนัมีการแข่งขนักนัมากข้ึนทั้งโรงเรียนภาครัฐและโรงเรียนภาคเอกชน เพื่อให้ดึงดูดใจกบันกัเรียนและผูป้กครองท่ีส่งบุตรหลานเขา้มาเรียน เพื่อให้ไดรั้บความรู้ในการเรียน ประสบการณ์ ทกัษะต่างๆเพิ่มมากข้ึนท่ีจะสามารถไปแข่งขนักบันักเรียนคนอ่ืนและแข่งขนักบัสถาบนัต่างๆทั้งโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนอกชน ตลอดจนน าไปสู่การสร้างช่ือเสียงให้กบัตวันกัเรียนและสถาบนัเอง ในยุคท่ีทุกองคก์ารต่างแข่งขนั และพยายามพฒันาองคก์ารของตนเองให้เป็นหน่ึงในผูน้ าท่ีตนเองประกอบการอยู ่ โดยพยายามอาศยัปัจจยัหลายๆประการท่ีจะมาช่วย ปรับเปล่ียนองคก์ารเพื่อให้พร้อมรับมือกบัสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมต่างๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา และปัจจยัหน่ึงท่ีมีอิทธิพลส าคญัต่อองค์การในการพฒันาองค์การเพื่อน าไปสู่ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้แก่ วฒันธรรมองค์การ (Organizational cultre) เพราะไม่ว่าองค์การขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ เป็นองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ทุกองค์การลว้นตอ้งมีวฒันธรรมองค์การของตนเองทั้งส้ิน วฒันธรรมองค์การจะบ่งบอกถึงค่านิยม ความเช่ือ แนวทางการประพฤติปฏิบติั ทศันคติ ท่ี ช่วยให้สมาชิกในองค์การรวมตวักนั มีความผูกพนักนัภายในสมาชิกองคก์ารเดียวกนัและอยู่ร่วมในองค์การอย่างอบอุ่นและมีความสุข ความผูกพนัต่อองค์การเป็นวฒันธรรมองค์การหน่ึงท่ีมีส่วนส าคญัอย่างยิ่งในการพฒันาความรู้สึกของพนักงานให้เกิดความผูกพนัและเสียสละให้กบัองคก์าร เอ้ืออ านวยต่อการปฏิบติังานจะท าให้พนกังานรู้สึกวา่พวกเขาเป็นส่วนหน่ึงขององคก์าร พร้อมท่ีจะทุ่มเทก าลงักายก าลงัใจให้กบัองคก์ารอยา่งเต็มท่ีปรารถนาท่ีจะอยูก่บัองคก์ารนั้นๆตลอดไป แสดงวา่

  • พนักงานได้เกิดความผูกพนักับองค์การ พร้อมท่ีจะก้าวไปข้างหน้าร่วมกับองค์การไม่ว่าองค์การจะอยู่ในสถานการณ์เช่นใด ความผกูพนัต่อองคก์รแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพขององคก์ร ความพึงพอใจของสมาชิก และเป็นส่ิงพึงประสงคข์ององคก์ารทัว่ไป โดยลกัษณะความสัมพนัธ์ท่ีบุคคลมีการแสดงออกต่อองคก์ารนั้นๆ จะแสดงออกมาในรูปแบบของความปรารถนาจะอยูใ่นองคก์าร (Desire to remain) ความตั้งใจจะอยูใ่นองคก์าร (Intent to remain) ความปรารถนาท่ีจะรักษาสมาชิกภาพ ขององค์การไว ้(Retention) การมาท างานเสมอ (Attendance) และการมีความพยายามในการท างาน (Job effort)(Mowday,et al, 1982) องค์กรจะด าเนินการหรือปฏิบติัการให้บรรลุตามวตัถุประสงคแ์ละเป้าหมายท่ีก าหนดไว ้ จะประสบความส าเร็จหรือลม้เหลวข้ึนอยู่กบัปัจจยัส าคญั คือ คนหรือบุคลากรในองคก์ารวา่มีความผกูพนัต่อองคก์ารมากนอ้ยเพียงใด เม่ือบุคคลเขา้มาท างานในองคก์ารก็มีความหวงัท่ีจะไดพ้บกบัสภาพแวดลอ้มท่ีดี เปิดโอกาสใหต้นเองไดใ้ชค้วามรู้ความสามารถอย่างเต็มท่ี และตอบสนองความพึงพอใจของตนเองได ้ องคก์ารใดท่ีท าให้บุคคลกา้วไปถึงเป้าหมาย ท่ีตั้งไว ้บุคคลนั้นยอ่มตอ้งการท างานอยูใ่นองคก์ารนั้นๆต่อไป ส่งผลให้เกิดความผกูพนัต่อองคก์าร มีความเตม็ใจยอมทุ่มเทท างานให้องคก์ารอยา่งสุดความสามารถเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย และไม่คิดยา้ยหรือลาออกจากองคก์าร แต่ถา้องค์การใดไม่สามารถตอบสนอง ต่อความตอ้งการและพึงพอใจของบุคคลได ้ บุคคลนั้นย่อมเกิดความผกูพนัไดย้ากและส่งผลเสียต่อองคก์ารในหลายๆดา้น (สัมฤทธ์ิ ผวิบวัค า, 2546)

    สถาบนัทางการศึกษา เป็นองค์การหน่ึงท่ีจะตอ้งค านึงถึงการสร้างความผกูพนัต่อองคก์ารเป็นอยา่งยิ่ง เป็นเพราะปัจจยัในด้านบุคลากร เป็นปัจจยัท่ีส าคญัและมีค่ามากท่ีสุดในการจดัการศึกษาเน่ืองจากระบบการบริหารการจดัการศึกษา จะตอ้งอาศยับุคลากรเป็นผูถ่้ายทอดเจตนารมณ์ ความรู้ ความสามารถ ขนบธรรมเนียม และประเพณีไปสู่เยาวชนท่ีเป็นอนาคตของสังคม และประเทศชาติต่อไป ซ่ึงทางการบริหารบุคลากรทางการศึกษาเป็นศาสตร์ท่ีตอ้งใช ้ความรู้ความสามารถประสบการณ์ และความละเอียดอ่อนในการบริหาร ตอ้งให้ความดูแลเอาใจใส่บุคลากร เพื่อเป็นการเสริมสร้างความมัน่คง ความพึงพอใจ ให้บุคลากรท างานอย่างมีความสุข มีความจงรักภกัดียึดมัน่และผกูพนักบัองคก์าร ชกัจูงให้บุคลากรใชศ้กัยภาพท่ีมีอยู ่ มาร่วมปฏิบติังาน เพื่อองคก์ารไดอ้ยา่งเตม็ท่ี ใหไ้ดป้ระสิทธิภาพของงานและความกา้วหนา้ขององคก์าร

    พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกัราช 2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม (ฉบบัท่ี 2) พ.ศ. 2545 ก าหนดหลักการส าคัญของการจดัการศึกษาให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดัการศึกษา ให้รัฐก าหนดนโยบายและมาตรการท่ีชดัเจนในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชนในการจดัการศึกษา รวมทั้งในการก าหนดนโยบายและแผนการจดัการศึกษาของรัฐให้ค านึงถึงผลกระทบต่อการจดัการศึกษาเอกชน โดยรับฟังความคิดเห็นของเอกชนประกอบการพิจารณาดว้ย ดงัมาตรา 45 ว่าให้สถานศึกษาเอกชนจดัการศึกษาได้ทุกระดบัทุกประเภทการศึกษาตามกฎหมายก าหนด โดยรัฐไดอ้อกระเบียบให้โรงเรียนเปิดท าการสอนไดต้ามศกัยภาพของโรงเรียนในการจดัการศึกษา เพื่อให้การจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคลอ้งกบัสภาพความเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม และความเจริญกา้วหน้าทางวิทยาการเป็นการสร้างกลยุทธ์ในการพฒันาคุณภาพการศึกษาให้สนองต่อความต้องการของบุคคล สังคมไทย สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกัราช 2550 และพระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกัราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบัท่ี 2)

    2

  • พ.ศ. 2545 นอกจากน้ีในมาตรา 46 ยงัไดก้ าหนดอีกว่ารัฐตอ้งให้การสนับสนุนดา้นเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเวน้ภาษี และสิทธิประโยชน์อยา่งอ่ืนท่ีเป็นประโยชน์ทางการศึกษาตามความเหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการ เพื่อให้สถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐาน และสามารถพึ่ งพาตนเองได้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบการจดัการศึกษาระดบัการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ไดก้ารกระจายอ านาจการดูแล ส่งเสริมการจดัการศึกษามายงัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้มีหนา้ท่ีดูแล ส่งเสริมสนับสนุนคุณภาพการจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนท่ีจดัการศึกษาโดยรัฐ และเอกชนท่ีอยู่ในสังกดั ส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 เป็นหน่วยงานของส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีบทบาทหน้าท่ีดงักล่าว ดงันั้นภาระงานในการดูแลการจดัการศึกษาเอกชน เป็นบทบาทหน้าท่ีโดยตรงของกลุ่มงานส่งเสริมการจดัการศึกษาเอกชน ซ่ึงเป็นกลุ่มงานในส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา อยา่งมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูง โดยอาศยัการวางแผนการบริหารและการจดัการท่ีดีอีก ทั้งยงัตอ้งอาศยัการสนบัสนุนจากรัฐในดา้นทรัพยากร และนโยบายท่ีชดัเจน (ส านกังานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน) ซ่ึงในสภาพปัจจุบนัพบวา่การจดัการศึกษาโรงเรียนเอกชนโดยส่วนรวมของประเทศมีปัญหาและอุปสรรคหลายประการ เช่น ปัญหาความอยู่รอดของโรงเรียน ปัญหาคุณภาพการเรียนการสอน ปัญหาการขาดบุคลากรท่ีมีคุณวุฒิหรือขาดประสบการณ์ในการสอนท าให้ผูป้กครองขาดความศรัทธาเช่ือถือ และปัญหาการจดัการของโรงเรียนเอกชนส าคญัอีกประการหน่ึง คือ ปัญหาการบริหารบุคลากรครูโรงเรียนเอกชน ท่ีมีการเล่ือนไหล เข้า ออก ท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา และมีแนวโน้มท่ีจะสูงข้ึนเร่ือยๆ เพราะเป็นผลกระทบต่อเน่ืองและเป็นอุปสรรคอยา่งยิ่งต่อพฒันาบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นผูท่ี้มีประสบการณ์ช านาญ ในแต่ละสาขาท่ีโรงเรียนตอ้งการ โดยเฉพาะวชิาคณิตศาสตร์ และวทิยาศาสตร์ ท าให้โรงเรียนไม่สามารถจดัการศึกษาได้สอดคล้องกบันโยบายของรัฐได้ นอกจากน้ีผลจากการวิจยั พบว่าครูโรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่ รู้สึกขาดความมั่นคง ความพึงพอใจ ความจงรักภักดี ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ มีผลท าให้ครูท างานขาดประสิทธิภาพ เกิดผลกระทบต่อการจดั การศึกษาของเยาวชน

    จากปัญหา การจดัการศึกษาของโรงเรียนเอกชน มีโรงเรียนเอกชน มากมายหลาย ประสบปัญหาท่ีส าคญัหลายประการ โดยเฉพาะอยา่งยิ่งปัญหาการเล่ือนไหล เขา้ ออกของบุคลากรครูของโรงเรียนเอกชน จึงมีผลต่อการเรียนการสอนขาดผูมี้ความรู้ความเช่ียวชาญในการสอนให้ความรู้เด็กอย่างต่อเน่ือง แต่กบัมีการรับสมคัรครูและบุคลากรมาบรรจุใหม่ในองค์กรอยู่บ่อยคร้ัง จากข้อมูลทะเบียนผูบ้ริหารสถานศึกษาโรงเรียนเอกชน ในสังกัด ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต 1 จึงส่งผลต่อองค์การ อันเน่ืองจากครูและบุคลากรจะท างานโดยท่ีไม่ได้ผูกพนัและรู้สึกจงรักภกัดีต่อองค์การ ความพึงพอใจในการท างานก็จะลดลงเร่ือยๆ ซ่ึงถา้มีโอกาสท่ีดีกว่า ก็อาจจะลาออก โยกยา้ย ไปท างานท่ีมีโอกาสกา้วหน้าทั้งในดา้นการท างาน รายได้ การยอมรับ รวมถึงสังคมความเป็นอยู่ท่ีดีกว่า สามารถช่วยพฒันาเด็กนักเรียนให้มีประสิทธ์ิภาพต่อองคก์รและพฒันาชุมชนให้เกิดศกัยภาพท่ีดี ดงันั้นความผกูพนัต่อองคก์ารของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จงัหวดันครสวรรค์ เพื่อจะน า

    3

  • ขอ้มูลมาใชป้รับปรุง และวางแผนในการพฒันาเพิ่มความผกูพนัต่อองคก์ารของครูและบุคลากร เพื่อให้ครูและบุคลากรรับรู้ถึงการเปล่ียนแปลงและร่วมมือกนัพฒันาใหอ้งคก์รประสบความส าเร็จตลอดไป

    วตัถุประสงค์การศึกษา

    1. เพือ่ศึกษาระดบัความผกูพนัต่อองคก์รของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขต

    พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 2. เพือ่เปรียบเทียบความผกูพนัต่อองคก์รของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขต

    พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 ขอบเขตของการวจัิย

    1. ขอบเขตด้านเนือ้หาและระยะเวลา 1.1 พื้นท่ีในการวิจัย โรงเรียนเอกชน สังกัดส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา

    นครสวรรค์ เขต 1 ดงัน้ี ครูและบุคลากรโรงเรียนเอกชนในอ าเภอเมือง มี 891 คน ครูและบุคลากรโรงเรียนเอกชนในอ าเภอเกา้เล้ียวมี 17คน ครูและบุคลากรในอ าเภอโกรกพระมี 21คน ครูและบุคลากรในอ าเภอชุมแสง มี 106 คน ครูและบุคลากรในอ าเภอ พยหุะมี 115 คน รวมทั้งหมดมี 1,150 คน

    1.2 ระยะเวลาท่ีจดัท า 1 ธ.ค. 59 - 31 ก.ค. 60 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

    2.1 ประชากรท่ีใชใ้นการวิจยั คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 จ านวน 1,150 คน ขอ้มูลจาก (สถานศึกษาโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 ) 2.2 กลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการวจิยั คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอยา่งโดยใชว้ิธีการค านวณขนาดตวัอยา่งแบบทราบจ านวนประชากร และจากการค านวณขนาดตวัอย่างแบบทราบจ านวนประชากรจากสูตร Taro Yamane ทาโร ยามาเน (1973) โดยใช้ระดับความเช่ือมัน่ 95% คลาดเคล่ือน 5 % ได้ขนาดกลุ่มตวัอยา่งจ านวน 297 คน การเลือกกลุ่มตวัอยา่งตามจ านวนท่ีก าหนดใชว้ธีิการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ( Stratified Sampling) โดยเลือกจากกลุ่มตวัอยา่งจาก ครูและบุคลากร ทางการศึกษาในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1

    3. ขอบเขตด้านตัวแปร

    4

    5

    http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/

  • 3.1 ตั วแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แ ก่ ข้อมู ล ส่ วน บุ คคลของผู ้ตอบแบบสอบถาม ซ่ึงไดจ้ากการศึกษาคน้ควา้งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งและผลการวิจยัเป็นไปตามสมมติฐานดงันั้น ผู ้ศึกษาจึงไดน้ ามาเป็นตวัแปรอิสระในการศึกษาคร้ังน้ี ประกอบดว้ย 3.1.1 อาย ุ 3.1.2 ระดบัการศึกษา 3.1.3 สถานภาพการสมรส 3.1.4 อตัราเงินเดือน 3.1.5 ระยะเวลาในการปฏิบติังาน 3.2 ตัวแปรตาม (Variables) ความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากรใน โรงเรียนเอกชน จงัหวดันครสวรรค ์สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1 ประกอบดว้ย

    3.2.1 ดา้นความเตม็ใจในการปฏิบติังาน 3.2.2 ดา้นการยอมรับในค่านิยมและวตัถุประสงคข์ององคก์ร 3.2.3 ดา้นการมีส่วนร่วมในองคก์ร 3.2.4. ดา้นความจงรักภกัดีต่อองคก์ร

    นิยามศัพท์เฉพาะ การวจิยัคร้ังน้ี ผูว้จิยัก าหนดค านิยามศพัทเ์ฉพาะท่ีเก่ียวขอ้งกบัการวจิยัไวด้งัน้ี คือ

    ครู หมายถึง ผูท่ี้ประกอบวิชาชีพซ่ึงท าหน้าท่ีหลกัทางการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้รียนดว้ยวธีิต่างๆ ในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1

    บุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ผูบ้ริหารสถานศึกษา ผูรั้บใบอนุญาตการสอน ผูจ้ดัการทางการศึกษา รวมทั้งผูส้นับสนุนการศึกษาซ่ึงเป็นผูท้ าหน้าท่ีให้บริการ หรือปฏิบติังานเก่ียวกบัการจดักระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบติังานอ่ืนๆในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1

    ความผูกพันต่อองค์กร หมายถึง ความรู้สึกดีของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนเอกชน สังกัดส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ในองค์กรท่ีมีพฤติกรรมแสดงออกต่อองคก์ารท่ีปฏิบติังานในหนา้ท่ีของตนและมีค่านิยมกลมกลืนกบัสมาชิกขององคก์ารเพื่อใหอ้งคก์ารไดบ้รรลุตามวตัถุประสงคท่ี์ตั้งไว ้ ซ่ึงองคป์ระกอบของความผกูพนัต่อองคก์ารประกอบไปดว้ย ความรู้สึกวา่เป็นส่วนหน่ึงขององค์การ การยอมรับเป้าหมายและนโยบายการบริหารขององค์กร การทุ่มเทความพยายามในการปฏิบติังานเพื่อองค์การ ความภาคภูมิใจท่ีได้เป็นส่วนหน่ึงขององค์กร ความห่วงใยในอนาคตขององค์การ ความจงรักภกัดีต่อองคก์ารและความตอ้งการท่ีจะด ารงความเป็นสมาชิกขององคก์รตลอดไป

    ด้านความเต็มใจอุทิศตนให้กับองค์กร หมายถึง บุคคลท่ีมุ่งท างานเพื่อการบริการ และอุทิศตนโดยไม่ตอ้งการค่าตอบแทนเป็นเงินทอง ไม่ตอ้งมีการจ่ายให้กบัการท างานนั้นๆแต่อย่างใด อาสาสมคัรเต็มใจในการ

    6

    http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/

  • อาสาเพื่องานนั้นโดยตรงแลว้ ขอ้จ ากดั และขอ้อา้ง แห่งเวลา ของแต่ละบุคคล จะสามารถปรับเปล่ียนได ้หากเพียงแต่ท่านพึ่งระลึกถึงค าวา่ อาสาสมคัร หรือจิตอาสา ไวใ้นจิตใจของทุกท่านตลอดเวลา ช่วยเหลือซ่ึงกนัและกนัมากข้ึน ไม่มีใครคนใดคนหน่ึงรู้สึกถูกทอดทิ้งอยู่ตลอดเวลา จะกลายเป็นองคก์รแห่งความช่วยเหลือเก้ือกูลกนัไดอ้ยา่งสนิทใจ

    ด้านการมีส่วนร่วมเป็นหน่ึงอันเดียวกันกับองค์กร หมายถึง การเปิดโอกาสให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนเอกชน สังกดัส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 มีส่วนร่วมมือกนัการตดัสินใจ การด าเนินกิจกรรม การติดตามตรวจสอบ และการประเมินผลร่วมกนัเป็นไปอย่างมีอิสรภาพ เสมอภาคน าผลท่ีได้มาปรับปรุงแก้ไขพฒันางานเพื่อพฒันาหรือใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเช่ียวชาญของแต่ละคนในการแก้ปัญหาของชุมชนและพัฒนางานในกลุ่มให้มีความโปร่งใสและให้มีประสิทธิภาพยิง่ๆ ข้ึน

    ด้านความจงรักภักดีต่อองค์กร หมายถึง ความรู้สึกและการแสดงออกของบุคลากร ซ่ึงเคารพต่อองค์กร มีความเต็มใจปฏิบติังานและอุทิศตนต่อองค์กร มีความผูกพนั มีความรู้สึกเป็นเจา้ของ พยายามเป็นบุคลากรท่ีดีขององค์กร มีความตอ้งการเป็นส่วนหน่ึงขององค์กร สนใจเอาใจใส่ ภูมิใจ และสนบัสนุนองค์กร ปกป้ององคก์รจากความหวงัร้ายจากบุคคลอ่ืน ตระหนกัในดา้นดีขององคก์ร มีความเช่ือถือและไวว้างใจพร้อมท่ีจะช่วยเหลือองค์กรทุกเม่ือ มีความปรารถนาและมีความตั้งใจท่ีจะปฏิบติังานอยู่ในองค์ก่อนต่อไป รู้สึกและแสดงออกทั้งวาจาและการปฏิบติัท่ีดีต่อองคก์รทั้งต่อหนา้และลบัหลงั ด้านความเช่ือมั่นการยอมรับค่านิยมและวัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายถึง ค่านิยม เป็นส่ิงส าคญัประการหน่ึงในการคงอยูข่องสังคมมนุษย ์ค่านิยมมีบทบาทต่อความคิดและการแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษยใ์นสังคม ท าให้สังคมมีความโน้มเอียงไปในทางเดียวกนัในสังคมนั้นๆ อนัจะเป็นแนวทางท่ีมนุษยจ์ะประพฤติตนไปในแนวทางใดแนวทางหน่ึงท่ีตวัเองไดพ้ิจารณาไตร่ตรองแลว้วา่เป็นส่ิงท่ีดีส าหรับตนหรือสังคมยอมรับนบัถือ และปฏิบติัตามแนวคิดนั้นๆ อยา่งสม ่าเสมอ อยา่งนอ้ยก็ชัว่ระยะเวลาหน่ึง แต่อาจเปล่ียนแปลงไปตามกาลสมยั ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    1. ท าให้ทราบระดบัความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 1

    2. ท าให้ทราบความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเอกชนสังกัดส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต1 จ าแนกตามขอ้มูลบุคคล 3. ผลท่ีไดรั้บจากการศึกษาจะน าไปวางแผนพฒันาปรับปรุง เพิ่มความผูกพนัต่อองค์กรของครูและบุคลากร เพื่อให้ครูและบุคลากร มีความร่วมมือกนัพฒันาให้องค์กรประสบความส าเร็จ มีครูและบุคลากรท่ีสามารถท างานใหค้วามรู้นกัเรียนเตม็ประสิทธิภาพในองคก์รนั้นตลอดไป

    บทที ่ 2

    http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/http://182.93.171.202/index.php/th/

  • เอกสารและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง

    การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษา เพื่อศึกษาความผูกพนัต่อการท างานของครูและบุคลากรในโรงเรียนเอกชน สังกดัส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ผูศึ้กษาไดท้บทวนเอกสาร ต ารา แนวคิดทฤษฎีและผลงานท่ีเก่ียวขอ้งกบัความผูกพนัในการท างานเพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินการศึกษา ดงัต่อไปน้ี

    1. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัความผกูพนัต่อองคก์ร 1.1 ความผกูพนัในการท างาน 1.1.1 ความหมายของความผกูพนัต่อองคก์ร 1.1.2 ความส าคญัของความผกูพนัต่อองคก์ร 1.1.3 ทฤษฎีท่ีเก่ียวกบัความผกูพนัต่อองคก์ร 1.2 องคป์ระกอบของความผกูพนัต่อองคก์ร 1.3 องคป์ระกอบของความผกูพนัในการท างาน 1.4 ประวติัการศึกษาเอกชน 2. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 3. กรอบแนวคิดการศึกษา 4. สมมติฐานการศึกษา

    แนวคิดและทฤษฎทีีเ่กีย่วกบัความผูกพนัต่อองค์กร 1. ความผูกพนัในการท างาน 1.1 ความหมายของความผูกพนัต่อองค์กร นกัทฤษฎีทัว่ไปยอมรับวา่ประสิทธิภาพขององค์การมิไดข้ึ้นอยู่กบัสาเหตุใดสาเหตุหน่ึงแต่เป็นผลมาจากปัจจยัหลายปัจจยัโดยเฉพาะอยา่งยิ่งพฤติกรรมสนบัสนุนเป้าหมายขององค์การซ่ึงเป็นผลจากความผูกพนัของพนักงานท่ีมีต่อองค์การเพื่อให้องค์การบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว ้พจนานุกรมฉบบับณัฑิตยสถานได้ให้ความหมายของค าวา่ “ความ” หมายถึง เร่ือง เช่นเน้ือความ เกิดความ (พจนานุกรมฉบบับณัฑิตยสถาน. 2542 , น.231) และไดใ้หค้วามหมายของค าวา่ “ผกูพนั” หมายถึง มีความเป็นห่วงกงัวลเพราะรักใคร่ ก่อใหเ้กิดพนัธะท่ีจะตอ้งปฏิบติัตาม (พจนานุกรมฉบบับณัฑิตยสถาน. 2542 , น.741) องคก์ารศูนยร์วมกลุ่มบุคคลหรือกิจการท่ีประกอบกนัข้ึนเป็นหน่วยงานเดียวกนั เพื่อด าเนินกิจการจามวตัถุประสงค์ท่ีก าหนดไวใ้นกฎหมายหรือในตราสารจดัตั้ง ซ่ึงอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องคก์ารสหประชาชาติ (พจนานุกรมฉบบับณัฑิตยสถาน. 2542 ,น.1321) จึงกล่าวไดว้า่ ความหมายของความผกูพนัต่อองคก์าร น่าจะหมายถึง การเกิดความกงัวล รักใคร่ในหน่วยงานท่ีปฏิบติัซ่ึงก่อใหเ้กิดพนัธะท่ีจะตอ้งปฏิบติัตาม

    http://182.93.171.202/index.php/th/

  • จิรารัตน์ ศรีเจริญ (2556) ไดนิ้ยามความผกูพนัต่อองคก์ร หมายถึง ทศันคติความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อองค์การ โดยมีการยอมรับเป้าหมาย ค่านิยมขององค์การพร้อมทั้งทุ่มเทความสามารถเพื่อองค์การ มีความจงรักภกัดีต่อองคก์ารจะแสดงพฤติกรรมท่ีสมาชิกในองคก์าร มีค่านิยมท่ีกลมกลืนกบัสมาชิกคนอ่ืนๆ แสดงตนเป็นอนัหน่ึงอนัเดียวกันกับองค์กร และเต็มใจท่ีจะอุทิศก าลังกายและก าลังใจเพื่อเข้าร่วมในกิจกรรมขององคก์าร

    โรเบิร์ต และแมนนารี (1997) ให้ความหมายว่า ความผูกพนัองค์กร คือ ความรู้สึกจงรักภกัดี ของสมาชิกต่อองคก์าร และมีทศันคติในทางท่ีสอดคลอ้งกบัเป้าประสงคข์ององคก์าร และสมาชิกในองคก์ารเกิดความรู้สึกจงรักภกัดีต่อองคก์าร จะมีผลท าใหส้มาชิกในองคก์ารเกิดความรัก ผกูพนักบัองคก์ารของตน

    ศรีสมร พิมพโ์พธ์ิ (2556) ให้ความหมายของค าวา่ ความผกูพนัต่อองคก์ร คือ ความรู้สึกของเจา้หนา้ท่ีท่ีมีต่อองค์การ โดยมีทศันคติ ค่านิยมและพฤติกรรมท่ีตั้งใจท่ีจะปฏิบติังานเพื่อให้องค์การประสบความส าเร็จ โดยขอ้บ่งช้ีออกมาในรูปของความเช่ือมัน่และยอมรับเป้าหมายขององค์การ ความพยายามอย่างเต็มท่ีในการท างานเพื่อองค์การ เพราะตระหนักวา่ตนเองเป็นส่วนแบ่งท่ีส าคญัขององค์การและมีความตอ้งการท่ีจะเป็นสมาชิกขององคก์ารตลอดไป

    ชยัรัตน์ สุรศกัด์ินิธิกุล (2554) ให้ความหมายว่า ความผูกพนัต่อองค์กรเป็นลกัษณะความตั้งใจของพนักงานท่ีจะใช้ความพยายามอย่างเต็มท่ีท่ีจะท าประโยชน์ให้เกิดแก่องค์การเป็นความปรารถนาท่ีจะอยู่กับองคก์าร และมีความซ่ือสัตย ์ ทศันคติท่ีดี ตลอดจนยอมรับในเป้าหมายและคุณค่าขององคก์าร

    ภทัริกา ศิริเพชร (2551) ให้ความหมายของค าวา่ความผกูพนัองคก์ร คือ ความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อองคก์ร ทศันคติ ค่านิยม ตลอดจนพฤติกรรมอนัแสดงถึงความพยายามมุ่งมัน่ของบุคคลท่ีจะปฏิบติังานเพื่อองค์การด้วยความทุ่มเทและเต็มใจ ด้วยตระหนักว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงขององค์การ มีความจงรักภกัดีต่อองคก์รและมีความมุ่งมัน่ท่ีจะธ ารงสถานะของการเป็นสมาชิกขององคก์รไว ้

    ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2551) ให้ความหมายของค าว่า ความผูกพนัต่อองค์กรหรือความจงรักภกัดีต่อองค์กร หมายถึง ระดบัความตอ้งการท่ีจะมีส่วนร่วมในการท างานให้กบัหน่วยงานหรือองค์กรท่ีตนเป็นสมาชิกอยู่อย่างเต็มก าลังความสามารถและรักษาสภาพความปรารถนาท่ีจะเป็นสมาชิกขององค์กร บุคคลใดมีความรู้สึกผกูพนักบัองคก์รสูงคนเหล่านั้นจะมีความรู้สึกวา่เขาเป็นส่วนหน่ึงขององคก์ร

    Mowday,และคณะ (1982) กล่าวว่า ความผูกพันต่อองค์กรว่าเป็นการแสดงออกท่ีมากกว่าความจงรักภกัดีท่ีเกิดข้ึนตามปกติ เพราะเป็นความสัมพนัธ์ท่ีเหนียวแน่น และผลกัดนัให้บุคคลเต็มใจท่ีจะอุทิศตวัเองเพื่อสร้างสรรคใ์หอ้งคก์รดีข้ึน

    วิไล จิระพรพาณิชย ์ (2555) กล่าวว่า ความผูกพนัต่อองค์กรเป็นระดับของความเป็นอนัหน่ึงอนัเดียวกนัของสมาชิกกบัองค์การซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความเก่ียวพนักนัอย่างแน่นแฟ้นของสมาชิกท่ีมีต่อองค์กร ซ่ึงแสดงออกมาในรูปของความปรารถนาอยา่งแรงกลา้ท่ีจะยงัคงเป็นสมาชิกขององคก์ารต่อไป ความเต็มใจท่ีจะใช้พลังอย่างเต็มท่ีในการปฏิบัติให้องค์กร มีความเช่ือมั่นอย่างแน่นอน และมีการยอมรับค่านิยมและเป้าหมายขององคก์ร

    8

  • ธนนนัท ์ ทะสุใจ (2549) ให้ความหมายของค าวา่ ความผกูพนัต่อองคก์ร คือ ความรู้สึกท่ีดีต่อองคก์ร มีความรัก ความภาคภูมิใจ ความเอาใจใส่ต่อองค์การ รู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึง มีความเช่ือมัน่ยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององคก์ร เต็มใจและเสียสละความสุขส่วนตวัเพื่อเป้าหมายและตอ้งการท่ีจะด ารงไวซ่ึ้งการเป็นสมาชิกขององคก์รนั้นตลอดไป

    Mach (1997) ให้ความหมายว่า ความผูกพันต่อองค์กรเป็นความตั้ งใจของพนักงานท่ีจะให้ความพยายามอยา่งมากเพื่อประโยชน์ขององคก์ารเป็นความสามารถท่ีจะอยูก่บัองคก์รตลอดไป และมีความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงขององคก์รตลอดจนการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององคก์ร

    Allen , & Myer. (พิชิต พิทักเทพสมบัติ ,2552, น. 162 ; อ้างอิงจาก Allen ,& Myer, 1990) กล่าวว่า ความผกูพนัต่อองคก์ร เป็นความรู้สึกท่ีพนกังานมีต่อองคก์ร โดยเป็นส่ิงเหน่ียวร้ัง (Golden handcuff) ใหค้นยงัอยูใ่นองคก์ร

    Chatman (พิชิต พิทกัเทพสมบติั , 2552 , น.163 ; อา้งอิงจาก Chatman J,A ,1991 ) ให้ค านิยามความผกูพนัต่อองคก์ร มี 3 ดา้น

    1. การใส่เขา้ไปในใจ (Internalzation) หมายถึง ความไปกนัไดร้ะหวา่งค่านิยมส่วนบุคคลกบัค่านิยมขององคก์ร

    2. การแสดงตวั (Identification) หมายถึง การมีความภาคภูมิใจในองคก์รและความประสงค์ท่ีจะอยู่กบัองคก์ร

    3. การยินยอมเช่ือฟัง (Compliance) หมายถึง ความเต็มใจท่ีจะอุทิศตนให้กับองค์กรให้ได้มาซ่ึงรางวลัท่ีพึ่งประสงค ์

    Kanter .(1968, p. 499) กล่าวไวว้า่ ความผูกพนัต่อองค์กร หมายถึง ความเต็มใจท่ีบุคคลยินดีท่ีจะทุ่มก าลงักายและความจงรักภกัดี ให้แก่ระบบสังคมท่ีเขาเป็นสมาชิกอยู ่ และยงัเป็นพฤติกรรมของบุคคลท่ีแสดงออกมาโดยบุคคลท่ีมีความผกูพนัต่อองคก์รมากกวา่บุคคลท่ีมีความผกูพนัต่อองคก์ารในระดบัต ่ากวา่

    Porter ,& Smith (1974) กล่าววา่ ความผกูพนัต่อองคก์รวา่ เป็นลกัษณะของความสัมพนัธ์ของบุคคลท่ีมีต่อองคก์ร ซ่ึงแสดงออกมาในรูป

    1. ความปรารถนาอยา่งแรงกลา้ท่ีจะคงเป็นสมาชิกขององคก์รนั้นต่อไป 2. ความเตม็ใจท่ีจะใชพ้ลงัอยา่งเตม็ท่ีในการท างานใหอ้งคก์ร 3. ความเช่ือมัน่และยอมรับค่านิยมและเป้าหมายขององคก์ร Sheldon. (สุรินทร์ ชาลากูลพฤฒิ, 2551 ; อา้งอิงจาก Sheldon,1971,p.43) ได้ให้ความหมายว่า ความ

    ผกูพนัต่อองคก์ร เป็นการประเมินองคก์ารในทางบวก และบุคคลในองค์กรมีความตั้งใจท่ีจะท างานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร โดยจุดมุ่งหมายของบุคคลในองค์กร และจุดมุ่งหมายขององค์กรเป็นจุดมุ่งหมายเดียวกนั

    9

  • Potrter, et al, (1974, p.57) ได้ให้ความหมายว่า ความผูกพนัต่อองค์กรเป็นความรู้สึกของบุคคลท่ีมีความเช่ือ ยอมรับในคุณค่า และเป้าหมายขององค์การ มีความตั้งใจท่ีจะใชค้วามพยายามท่ีมีอยูเ่พื่อองคก์ร มีความปรารถนาอยา่งแรงกลา้ ท่ีจะคงความเป็นสมาชิกขององคก์ร

    Mannari (1977, p.57) ไดใ้ห้ความหมายวา่ ความผูกพนัต่อองค์กรไวว้่า เป็นระดบัของความรู้สึกเป็นเจา้ของ หรือความจงรักภกัดีต่อหน่วยงานท่ีตนท าอยุ่รวมทั้งตอ้งการมีการประเมินผลในทางบวกต่อองค์กร และยอมรับเป้าหมายขององคก์รดว้ย

    Northcrafi ,& Neale (1990 ; จิ รัสย์ พุ ฒิ จรัสพงศ์ , 2551)ให้ความหมายของความผูกพันว่าเป็นความสัมพนัธ์อยา่งลึกซ้ึง แน่นแฟ้น ระหว่างบุคคลใดบุคคลหน่ึงกบัองค์กร โดยมีองค์ประกอบ 3 ประการ ดงัน้ี

    1. มีศรัทธาและเช่ือมัน่ในเป้าหมายและคุณค่าขององคก์ร 2. มีค�