acute coronary syndrome 2010

6
ภาวะกล ามเน อห วใจขาดเล อดเฉ ยบพล (Acute Coronary Syndrome) นพ. รพงษ ภเสาวภาคย พญ.ปฏ มา พ ทธไพศาล ภาวะกล ามเน อห วใจขาดเล อด (Acute Coronary Syndrome) เป นสาเหต สำค ญของภาวะห วใจหย ดเต นเฉ ยบพล นในผ ใหญ การได บการร กษาท กต องและท นท วงท สามารถลดอ ตราการเส ยช ต และทำให วยสามารถกล บไปดำรงช ตตามปกต ได การจ ดทำระบบการเช อมโยง และส งต อผ วยกล ามเน อห วใจขาดเล อด เป นส วนสำค ญในการบรรล เป าหมายของการร กษา ค อ ลดการตายของกล ามเน อห วใจ และให การร กษา ภาวะแทรกซ อนเฉ ยบพล น ได แก วใจหย ดเต (cardiac arrest), วใจเต นผ ดจ งหวะ (bradytachyarrhythmia), วใจล มเหลวเฉ ยบพล (pulmonary edema) และภาวะช อกจากห วใจ (cardiogenic shock) ระบบด = กษาท เพ อให การด แลผ วยกล ามเน อห วใจขาดเล อดรวดเร วและม ประส ทธ ภาพ ควรจ ดทำระบบการด แลร กษาผ วย ให การสน บสน นส งต อไปน วยและผ แล ตระหน กถ งอาการอย างรวดเร (early recognition) การด แลก อนถ งโรงพยาบาล และการนำส งอย างเหมาะสม (prehospital management) การค ดแยก และการประเม นณ ห องฉ กเฉ (ED triage and evaluation) การร กษาด วยการเป ดเส นเล อดท ดต นท นท (prompt reperfusion)

Upload: narenthorn-ems-center

Post on 07-May-2015

872 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืดเฉยีบพลัน

(Acute Coronary Syndrome)นพ.จริพงษ ์ศภุเสาวภาคย์พญ.ปฏมิา พทุธไพศาล

ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืด (Acute Coronary Syndrome)เป็นสาเหตทุี่สำคัญของภาวะหัวใจหยดุเต้นเฉยีบพลันในผู้ใหญ ่การได้รับการรักษาที่ถกูต้องและทันทว่งทีสามารถลดอัตราการเสยีชวีติ และทำให้ผู้ปว่ยสามารถกลับไปดำรงชวีติตามปกตไิด้การจัดทำระบบการเชื่อมโยง และสง่ตอ่ผู้ปว่ยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืดเป็นสว่นสำคัญในการบรรลเุป้าหมายของการรักษา คอื ลดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ และให้การรักษาภาวะแทรกซ้อนเฉยีบพลัน ได้แก ่หัวใจหยดุเต้น (cardiac arrest), หัวใจเต้นผดิจังหวะ(bradytachyarrhythmia), หัวใจล้มเหลวเฉยีบพลัน (pulmonary edema) และภาวะชอ็กจากหัวใจ(cardiogenic shock)

ระบบด ี= รักษาทันเพื่อให้การดแูลผู้ปว่ยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืดรวดเร็วและมปีระสทิธภิาพ

ควรจัดทำระบบการดแูลรักษาผู้ปว่ย ให้มกีารสนับสนนุสิ่งตอ่ไปนี้

● ผู้ปว่ยและผู้ดแูล ตระหนักถึงอาการอยา่งรวดเร็ว (early recognition)● การดแูลกอ่นถึงโรงพยาบาล และการนำสง่อยา่งเหมาะสม (prehospital management)● การคัดแยก และการประเมนิ ณ ห้องฉกุเฉนิ (ED triage and evaluation)● การรักษาด้วยการเปดิเส้นเลอืดที่อดุตันทันท ี(prompt reperfusion)

การดแูลรักษาทัว่ไป “MONA”● Oxygen: มขี้อบง่ชี้ เมื่อ O2 sat < 94%● ASA: Aspirin 160 หรอื 325 mg 1 เม็ด เคี้ยว ทันที

ข้อห้ามในการให้ Aspirin: 1. แพ้ยา Aspirin 2. มภีาวะเลอืดออกในทางเดนิอาหาร● Nitriates: ชว่ยขยายเส้นเลอืดที่เลี้ยงหัวใจ มทั้ีงในรปูยาพน่ และยาอมใต้ลิ้น

ข้อห้ามในการใช้ Nitrates: 1. ม ีBP < 90/60 2. HR < 50 หรอื >100 3. มกีารใช้ยา Viagraในชว่ง 24­28 ชัว่โมง

● Morphine: พจิารณาให้ในกรณทีี่อาการเจ็บหน้าอกไมด่ขี้ึนหลังได้ Nitrates

เครื่องมอืสำคัญ 2 ชิ้นที่จะชว่ยบคุลากรทางการแพทย์วนิจิฉัย

และบง่บอกความรนุแรงของภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืด ได้แก่1. 12­lead EKG2. serum cardiac biomarker: serum troponin และ CK­MB

ความรนุแรง 3 ระดับจาก EKG และ cardiac biomarker จะแบง่ความรนุแรงของโรคออกเป็น 3 กลุ่มใหญ ่ได้แก่

1. ST­Elevation Myocardial Infarction: STEMIเป็นกลุ่มที่บคุลากรที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องให้ความสำคัญมากที่สดุเพราะจำเป็นต้องได้รับการรักษาเปดิเส้นเลอืดหัวใจทันที

2. High­risk Unstable Angina/Non ST­Elevation Myocardial Infarction: UA/NSTEMIเป็นกลุ่มที่มอัีนดับความรนุแรงของโรครองลงมา

ผู้ปว่ยจำเป็นต้องได้รับการดแูลรักษาตอ่เนื่องที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกดิภาวะแทรกซ้อนที่อาจตามมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว

3. Low­intermediate risk ACSเป็นกลุ่มที่มคีวามรนุแรงน้อย ควรจัดให้มกีารเฝ้าระวังความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงของอาการอยา่งเหมาะสม

STEMI: ทกุนาทมีคีวามหมายผู้ปว่ยที่ถกูตรวจพบวา่เป็น STEMI จากการทำ EKG

ควรได้รับการรักษาด้วยการเปดิเส้นเลอืดทันท ีโดยไมจ่ำเป็นต้องรอผล cardiac biomarkerซึ่งวธิกีารเปดิเส้นเลอืด ม ี2 วธิ ี(ดแูนวทางการเลอืกวธิรัีกษาเพิ่มเตมิตามเอกสารแนบท้าย) ได้แก่

1. การให้ยาสลายลิ่มเลอืด (Fibrinolytics) ­โดยเวลาที่ตดิตอ่กับความชว่ยเหลอืทางการแพทย์จนถึงเวลาที่ผู้ปว่ยได้รับยา (Door­to­Needletime) ต้องไมเ่กนิ 30 นาที

2. การสวนเส้นเลอืด (PPCI: Primary Percutaneous Coronary Interventions) ­เวลาที่ได้รับการรักษา (Door­to­Balloon time) ต้องไมเ่กนิ 90 นาที

UA/NSTEMI : ความเสี่ยงที่ต้องจัดการผู้ปว่ยในกลุ่ม UA/NSTEMI มักตรวจพบได้จากการเปลี่ยนแปลงของ EKG โดยเฉพาะในสว่นของ

ST segment และ T wave ซึ่ง NSTEMI จะมกีารเพิ่มขึ้นของ cardiac biomarker เป็นสัญญาณบง่วา่มเีซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายเกดิขึ้น

การรักษาผู้ปว่ยในกลุ่มนี้ คอื การให้ยาป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลอืด และการแข็งตัวของเลอืดและรักษาอาการเจ็บหน้าอก โดยใช้ตารางประเมนิความเสี่ยง (TIMI risk stratification)ชว่ยพจิารณาตัดสนิใจให้การรักษา

Intermidiate/Low risk UA: เฝ้าระวังในบางครั้งการตรวจในครั้งแรก อาจไมพ่บความผดิปกตขิองภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืด

ผู้ปว่ยในกลุ่ม Intermediate/Low risk UA จึงจำเป็นต้องได้รับการเฝ้าดตูดิตามอาการ และพจิารณาตรวจcardiac biomarker ซ้ำอกีใน 6­12 ชัว่โมงตอ่มา

สรปุภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอืด เป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะหัวใจหยดุเต้นในผู้ใหญ่

การมรีะบบการดแูลรักษา และสง่ตอ่ผู้ปว่ยอยา่งเหมาะสมทันทว่งทีเป็นปัจจัยสำคัญในการลดอัตราการเสยีชวีติได้

Reperfusion Therapy