การเขียนบทหนังสั้น

Post on 24-Dec-2014

12.271 Views

Category:

Education

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

Narinukul 2 School Ubon Ratchathani

TRANSCRIPT

การ เขียน บท

หนังส้ัน

การเขียนบทอาจเป็นเรื่องท่ีน ามาจากเร่ืองจริง

เร่ืองดัดแปลง ข่าว เร่ืองท่ีอยู่รอบ ๆ ตัว นวนิยาย เร่ืองสั้น

หรือได้แรงบันดาลใจจากความประทับใจในเร่ืองราว

หรือบางส่ิงท่ีคนเขียนบทได้สัมผัส เช่น ดนตรี บทเพลง บทกวี ภาพเขียน

และอ่ืน ๆ

1. Research 2. Theme 3. Plot 4. Synopsis 5. Treatment 6. Scenario 7. Paradigm 8. Screenplay 9. Shooting script 10. Storyboard

Research

ต้องยอมรับว่า คนท าหนังสั้น ส่วนใหญ่จะละเลยในขั้นตอนน้ี ซึ่งท่ีจริงแล้วเป็นส่ิงส าคัญ หนังเกี่ยวข้องกับมนุษย์ เราก็เป็นมนุษย์ เราเกี่ยวข้อง

กับอะไรบ้าง? นั่นแหละคือส่ิงท่ีตัวละครเกี่ยวข้อง

การ research เป็นการหารายละเอียดของตัวละครมาหาใส่ ท่ีจริงการresearch ไม่มี format จุดประสงค์คือเก็บเกี่ยวข้อมลูของตัวละครให้

ได้มากท่ีสุด สร้างเป็นประวัติของตัวละคร

research

1.ช่ือ

2.อายุ

3.ภูมิล าเนาวิถีชีวิตของคน

4.ระดับการศึกษาจะมีผลต่อวุฒิภาวะของตัวละคร

5.อาชีพเป็นปัจจัยท่ีสร้างตัวตนของตัวละครท่ีชัดเจน

6.ฐานะการเงินเป็นพ้ืนฐานชีวิตของตัวละคร

7.กลุ่มทางสังคม

8.ตัวละครพิเศษ

9.ความต้องการในชีวิต

Theme แก่น ใจความส าคัญ แนวคิดหลัก สาร ประเด็น ฯ

หนังสั้นท่ีได้ผลดี ควรจะมี theme เพียงหน่ึงเดียว คือมีประเด็นหลัก ท่ีต้องการจะส่ือสารเพียงหน่ึงส่ิง

การเขียน theme ไม่ได้ต้องใช้ค าสวยหรู ไม่ได้เป็นส่ิงท่ีต้องเข้าใจยาก ไม่ต้องเป็นปรัชญา ไม่จ าเป็นต้องเป็นแนวคิดสากล เป็นแนวคิดส่วนตัวก็ได้ เพียงแต่เราต้องมีความเชื่อในแนวคิดนั้นๆ และมีมุมมองท่ีจะน าเสนอ

Theme รูปแบบ หรือ format ของ theme มักจะเป็น

ประโยคสั้นๆท่ีมีความชัดเจน theme เป็นประเด็นหรือแนวคิดส าคัญ

ท่ีคนเขียนบทต้องการจะบอก โดยหาสถานการณ์ต่างๆมารองthemeนั้นๆ บางคนก็เอามาจากส านวน สุภาษิต ค าพังเพย เช่น กล้านักมักบิ่น ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก ปล่อยเสือเข้าป่า

จากค าคม เช่น “Praise the bridge that carried you over.” – George Colman “Well done is better than well said.” - Ben Franklin -

Plot การเขียนพล็อตเปรียบเสมือนการท าแผนท่ี แผนผัง

การท าพล็อตหนังสั้น มี 3 จุด (Acts) คือ 1.จุดเริ่มต้น อย่างน้อยควรรู้ว่าตัวละครคือใคร

2.จุดหักเห คือสถานการณ์ที่ตัวละครนั้นเจอ ในหนังสั้นมักจะเป็น

สถานการณ์ที่ไม่ซับซ้อนนัก เป็นปัญหาท่ีชัดเจนท่ีสุดของตัวละคร

3.จุดจบ คือสถานการณ์ที่เป็นจุดเข้มข้นสุดของเร่ือง ก่อนท่ีจะคล่ีคลาย

หรือจบลง

Synopsis Synopsis ว่า เร่ืองย่อ รูปแบบการเขียน synopsis ของหนังสั้น มักจะเป็นความเรียง เล่าเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบอย่างย่อ มีความยาวประมาณ 5-6 บรรทัด เล่าตัวละครและเหตุการณ์เพ่ือสรุปว่า ใคร ท าอะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ อย่างไร ฯ ด้วยมุม Objective ของคนเขียนบทเอง คล้ายๆกับการเขียนเร่ืองย่อบนปกหลังกล่อง vcd แต่อย่างที่บอก ไม่ต้องกั๊กตอนจบ ในขั้นน้ีแนะน าให้เขียนเร่ืองให้ได้ 3 ย่อหน้า (เหมือนเขียนเรียงความ มีค าน า เน้ือเรื่อง สรุป) โดยยึดจากหลักการเขียนplot อาจจะเป็น ย่อหน้าของจุดเร่ิมต้น 2 บรรทัด

ย่อหน้าของจุดหักเห 3 บรรทัดและ

ย่อหน้าของจุดจบ 1 บรรทัด

Treatment ในการเขียนบท หมายถึงโครงเรื่องขยาย คือมีการเขียนค าอธิบายขยายเน้ือเรื่องชัดเจนมากข้ึน เหมือนรูปแบบของนวนิยายหรือเรื่องสั้น มีการบรรยายรายละเอียดต่างๆท่ีจ าเป็นต่อการเล่าเรื่อง เช่น ช่ือตัวละคร ลักษณะตัวละคร สถานการณ์ต่างๆ สถานท่ี วัน เวลา เหตุผลของตัวละคร ฯ แต่ยังไม่มีบทสนทนา (นอกจากว่า จะเป็นประโยคส าคัญ) treatment หนังสั้น มักมีความยาวประมาณ 1 หน้ากระดาษ A4 เป็นบทท่ีนิยมมอบให้คนอ่ืนอ่าน เพราะจะมีรายละเอียดท่ีมากพอจะเล่าเรื่องได้สมบูรณ์แล้ว ด้วยเหตุน้ี จึงมักตั้งช่ือตัวละครไปด้วย อย่างท่ีเคยกล่าวมาว่า ช่ือตัวละครของหนังสั้นท่ีดี ควรจะส่ือถึง character ด้วย

Scenario Scenario เป็นขั้นตอนต่อมาจาก treatment มีวัตถุประสงคเ์พื่อแบ่งฉากของ treatment ให้เห็นเป็น scene ชัดเจน และนิยมเขียนเป็นข้อๆว่า ใน scene เกิดอะไรข้ึนบ้าง เพ่ือค านวณความยาวของแต่ละฉาก และคะเนได้ว่าทั้งเร่ืองจะยาวเท่าไหร่

ส านวนการเขียนจะรวบรัด และใช้ภาษาอธิบายเหตุการณ์ การแสดง มากกว่าอธิบายความคิด หรืออารมณ์ตัวละคร ในขั้นการเขียน scenario จะมีการเขียนหัวฉาก ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

Scenario

1.Scene Number เขียนว่า ฉาก1 หรือ Scene1 หรือ run เป็นตัวอักษร ตามแต่ถนัด

Scenario

2. ระบุว่าเป็นฉากภายนอกหรือภายใน

ฉากภายนอก หมายถึง ฉากท่ีอยู่กลางแจ้ง ภายนอกจากอาคารหรือสิ่งปกคลุม นิยมเขียนว่า ภายนอกหรือ Exterior หรือ Ext. ฉากภายใน หมายถึง ฉากที่มีฝาผนังอย่างน้อย 1 ด้าน ภายในอาคาร อุโมงค์ใต้ดิน ในรถ ในบ้าน นิยมเขียนว่า ภายในหรือ Interior หรือ Int.

Scenario

3. ช่ือฉาก หมายถึง ช่ือสถานท่ีนั้นๆ

เช่น ห้องฉุกเฉิน สถานีต ารวจ ออฟฟิศฯ

(ให้เขียนช่ือสถานท่ีตามเน้ือเรื่อง ไม่ใช่ชื่อ Location จริง)

Scenario

4. เวลา ให้เขียนเวลาตามเน้ือเรื่อง นิยมเขียน กลางวัน, กลางคืน

หรือ Day, Night แต่ถ้าจะระบุช่วงเวลาละเอียดกว่านั้นก็ได้ เช่น เช้าตรู่, เท่ียง, โพล้เพล้

Paradigm เป็นขั้นตอนท่ีส าคัญขั้นตอนหน่ึงท่ีช่วยสรุปจังหวะของการเขียนบทท่ีผ่านมาว่าเป็นอย่างไร ถอยออกมา แล้วมองเร่ืองทั้งเร่ือง

เป็นจังหวะหรือ step ของการด าเนินเรื่อง ขั้นตอนน้ี จะเน้นไปท่ีการวิเคราะห์และตีความ คุณสมบัติหรือหน้าท่ีของแต่ละฉาก ว่าอะไรขาด อะไรเกิน การเล่าเร่ือง เล่าอารมณ์ มันเป็ยังไง

เราต้องสรุปได้ว่า ฉากนั้นๆ มีประโยชน์อย่างไร

จะได้แก้ไขก่อนจะเข้าสู่ Screenplay

Screenplay

คือบทภาพยนตรท่ี์ เป็นการเล่าเรื่องท่ีได้พัฒนามาแล้วอย่างมีขั้นตอน ประกอบด้วย ตัวละครหลัก บทพูด ฉาก แอ็คชั่น

ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนท่ีถูกต้อง เช่น

บทสนทนาอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ

ฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบหน้าซ้ายกระดาษ

ไม่มีตัวเลขก ากับช็อต และโดยหลักทั่วไป

บทภาพยนตร์หน่ึงหน้ามีความยาวหน่ึงนาที

Shooting script

เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเขียน

บทถ่ายท าจะบอกรายละเอียดเพ่ิมเติมจากบทภาพยนตร์ (screenplay) ได้แก่

ต าแหน่งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่น คัท (cut) การเลือนภาพ (fade) การจางซ้อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe)

ตลอดจนการใช้ภาพพิเศษ (effect) อ่ืน ๆ นอกจากนี้ยังมีเลขล าดับช็อตก ากับไว ้

โดยเรียงตามล าดับต้ังแต่ช็อตแรกจนกระทั่งจบเรื่อง

Storyboard

คือ บทภาพยนตร์ประเภทหน่ึงท่ีอธิบายด้วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ตูน ให้เห็นความต่อเน่ืองของช็อตตลอดทั้งซีเควนส ์

มีค าอธิบายภาพ ระบุเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบฉาก และเสียงพูด เป็นต้น ใช้เป็นแนวทางส าหรับการถ่ายท า หรือใช้เป็นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้า (pre-visualizing) ก่อนการถ่ายท าว่า เม่ือถ่ายท าส าเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร

Walt Disney น ามาใช้กับการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนของบริษัทเป็นครั้งแรก โดยเขียนภาพ เหตุการณ์ของแอ็คชั่นเรียงติดต่อกันบนบอร์ด เพ่ือให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเร่ืองราวล่วงหน้า

ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่ล าดับช็อตก ากับไว้ มีค าบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้วย

Storyboard

Referent

http://www.slideshare.net/duangsuwunlasadang/1storyboard?from_search=10

http://www.moralmedias.net/index.php?option=com_content&task=view&id=33&Itemid=39

http://www.slideshare.net/ciellauren/storyboarding-1412888

http://samforkner.org/source/dirshortfilm.html

http://www.youtube.com/watch?v=mYnsKATCrdw

http://chas-m.blogspot.com/

The End

top related