มาตรฐานไบโอดีเซล · ไบโอดีเซล (b100)...

Post on 27-Feb-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

มาตรฐานไบโอดีเซล

สวนพัฒนามาตรฐาน สํานักคุณภาพเชื้อเพลิง

ดานสิ่งแวดลอม

• ลดการปลอยแกสเรือนกระจก

• ลดพิษทางอากาศ ซึ่งเปนผลจากการเผาไหมในเครื่องยนต

• การผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามนัพืชที่ใชแลว นอกจากชวยลด

การนําน้าํมนัที่ใชแลวไปประกอบอาหารซ้ําแลวยังชวยปองกัน

มิใหนาํน้าํมนัที่ใชแลว (ซึ่งมีสารไดออกซนิที่เปนสารกอมะเร็ง)

ไปผลิตเปนอาหารสัตว

ดานเศรษฐศาสตร

• ชวยสรางงานในชนบทดวยการสรางตลาดพลังงานไว

รองรับผลผลิตทางการเกษตรที่เหลือจากการบริโภค

• ลดการนําเขาน้ํามันดิบจากตางประเทศไดบางสวน ซึ่งใน

แตละปประเทศไทยสูญเสียเงินตราตางประเทศเพื่อการ

นําเขาน้าํมนัดิบกวา 300,000 ลานบาท

• เพิ่มมูลคาพืชผลทางดานการเกษตร

• สามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน

ดานสมรรถนะเครื่องยนต

• เพิ่มดชันีการหลอลื่นใหกับน้าํมันดีเซล

• ประสทิธภิาพการเผาไหมดีขึ้น เนื่องจากในไบโอดีเซลมีออกซิเจนผสม

อยูประมาณรอยละ 10 ทําใหการผสมระหวางอากาศกบัน้าํมันมกีาร

กระจายตวัอยางสม่ําเสมอและเปนการเพิ่มอัตราสวนปริมาตรของ

อากาศตอน้าํมันไดเปนอยางดี จงึทําใหการเผาไหมดีขึ้น

• ถึงแมวาคาความรอนของไบโอดีเซลจะต่าํกวาน้ํามันดีเซลประมาณ

รอยละ 10 แตขอดอยนี้ไมมีผลกระทบตอการใชงาน เพราะการใชไบโอ

ดีเซลทําใหการเผาไหมดขีึ้น

Sunfloweroil

Coconut oil

Palmoil

Waste Waste cooking cooking

oiloil

Jatropha oil

Rapeseed oilSoybean oil

วัตถดุบิที่สามารถใชผลิตไบโอดีเซล

ปาลมดิบ ปาลมเมล็ดใน ไขปาลม

ปฏิกิริยาทรานสเอสเตอริฟเคชั่น (Transesterification)โดยการเติมแอลกอฮอล เชน เมทานอล หรือเอทานอล และตัวเรงปฎิกริยา เชน โซเดียมไฮดรอกไซด ภายใตสภาวะที่อุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนโครงสราง ของน้ํามนั เปนเมทิล เอสเตอร หรือเอทิลเอสเตอร

กลีเซอรอลน้ํามันพืช

น้ํามันสัตว

น้ํามันใชแลว

เมทานอล

หรือ

เอทานอล

เมทิลเอสเตอรหรือ

เอทิลเอสเตอร

(ไบโอดีเซล)

ไบโอดีเซล

Fatty acid composition of BDF from various feedstocks in Thailand

BDF from

Fatty acid Crude palm oil

Crude coconut oil

Jatrophaoil

Palm stearin

Palmolein

Soybean oil

Sunfloweroil

Caproic acid, C8:0 - 7.42 - - - - -

Capric acid, C10:0 - 5.78 - - - - -

Lauric acid, C12:0 0.35 49.75 - 0.25 0.37 0.1 -

Myristic acid, C14:0 0.92 18.75 - 1.27 0.91 0.2 0.1

Palmitic acid, C16:0 44.11 8.60 14.85 59.19 38.53 10.7 6.0

Stearic acid, C18:0 4.36 2.65 7.43 4.43 0.08 3.9 4.0

Arachidic acid, C20:0 0.09 0.18 0.08 0.31 0.13 Other= 0.2

Other = 1.1

Sum of Saturated FA 49.83 93.13 22.36 65.45 40.02 15.1 11.2

Palmitoleic acid,C16:1 - - - 0.08 - 0.3 <1.0

Oleic acid, C18:1 38.97 5.53 47.65 28.61 58.13 22.8 16.5

Linoleic acid, C18:2 11.21 1.26 29.80 5.86 1.78 50.8 72.4

Linolenic acid, C18:3 - 0.07 0.19 - 0.07 Other= 6.8

Other= 0.6

Sum of Unsaturated FA 50.18 6.86 77.64 34.55 59.98 80.7 90.5

มาตรฐานไบโอดีเซลสากล

• EN 14214• ASTM D 6751

ธพ. ไบโอดีเซล (B100) ตามมาตรฐาน EN 14214 ซึ่งเปน

มาตรฐานทีย่อมรับทางยุโรป

• มาตรฐานไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมัน

• มาตรฐานไบโอดีเซลเครื่องยนตการเกษตร (ไบโอดีเซล

ชุมชน)

มาตรฐานไบโอดเีซลประเทศไทย

มาตรฐานไบโอดเีซลประเภทเมทิล เอสเตอรของกรดไขมนั

• ใหผูผลิตไบโอดีเซลตองมาขอรับความเห็นชอบการผลิต/

การจําหนาย

• การใหความเหน็ชอบไมไดหมายถึงการรับรองคุณภาพ ไบโอดีเซล

• ผูผลิต/ผูจําหนายตองผลิต/จําหนายไบโอดีเซลทีมีคณุภาพ

ตามมาตรฐานกาํหนด

ผูผลิตและจําหนายไบโอดีเซล

• ปจจบุันมีผูผลิตไบโอดีเซลที่ไดรบัความเหน็ชอบ

การจาํหนายจาก ธพ. 8 ราย

กําลงัการผลติประมาณ 1.5 ลานลิตรตอวัน

• ในป 2551 บงัคับใชดีเซล B2 ทั่วประเทศ

ความตองการใช B 100 1 ลานลิตรตอวัน

ผูผลิตไบโอดีเซลที่ไดรับความเห็นชอบ ผูผลิตไบโอดีเซล จังหวัด วัตถุดิบ กําลังการผลิต

บมจ.บางจากปโตรเลียม กรุงเทพฯ น้ํามันพชืใชแลว 50,000 ลิตร/วัน

บจ.ไบโอเอ็นเนอรยีพลัส อยุธยา ไขปาลม (stearin) 100,000 ลิตร/วัน

บจ.ซันเทคปาลมออยล ปราจีนบุรี ไขปาลม (stearin) 200,000 ลิตร/วัน

บจ.น้ํามันพืชปทุม ปทุมธานี RBD

ไขปาลม (stearin)

300,000 ลิตร/วัน

บจ.กรุงเทพพลงังานทดแทน ฉะเชิงเทรา ไขปาลม (stearin) 200,000 ลิตร/วัน

บจ.กรีนเพาเวอร คอรปอเรชั่น ชุมพร ไขปาลม (stearin) 200,000 ลิตร/วัน

บจ.เอไอ เอ็นเนอรจี สมุทรสาคร ไขปาลม (stearin) 250,000 ลิตร/วัน

บจ.วีระสุวรรณ สมุทรสาคร ไขปาลม (stearin) 200,000 ลิตร/วัน

ขอกําหนดคุณภาพขอกําหนดคุณภาพ อัตรา ผลกระทบตอการใชงาน

ปรมิาณเอสเตอร

สารประกอบหลักทีแ่สดงวา

ปฎิกิรยิาสมบูรณ

Min 96.5%

ปรมิาณเมทานอล Max 0.2% เกิดการกัดกรอนของ

เครื่องยนต Max 0.8%

Max 0.2%

Max 0.2%

หากมนีอยจะทําใหความ

หนืดสูง หวัฉดีเปนฝอยไมดี เกิดการสะสมคราบสกปรก

โมโนกลีเซอไรด

ไดกลีเซอไรด

ไตรกลเีซอไรด

ทําใหความหนืดสูง หวัฉีดเปนฝอยไมดี เกิดการสะสมคราบสกปรก

ขอกําหนดคุณภาพขอกําหนดคุณภาพ อัตรา ผลกระทบตอการใชงาน

สิ่งเจือปนทั้งหมด Max 0.0024% ทําใหน้ํามันเสื่อมสภาพ ใชงานที่อุณหภูมิต่าํ จะเกิดการตกตะกอน มสีิ่งสกปรกทีห่วัฉีด

กลีเซอรีนอิสระ Max 0.02% ตกตะกอนแยกชั้น ทําใหหวัฉีดอุดตัน

กลีเซอรีนทั้งหมด Max 0.25% ใชงานที่อุณหภูมติ่าํ จะเกิดการตกตะกอน มสีิ่งสกปรกทีห่วัฉีด

กํามะถนั Max 0.001% เกิดซัลเฟอรไดออกไซด และฝุนละออง

ขอกําหนดคุณภาพขอกําหนดคุณภาพ อัตรา ผลกระทบตอการใชงาน

ปรมิาณฟอสฟอรสั Max 0.001% ทําใหอายุการใชงานของ

catalytic converter สัน้ลง

โลหะหมู 1 และหมู 2 Max 5 mg/kg เถาตกคางในเครื่องยนต อุดตันไสกรอง

เถาซัลเฟต Max 0.02% ทําใหเกิดรอยสึกทีห่วัฉีด ปม ลูกสบู และแหวน

กากถาน Max 0.30% ติดอยูปลายหวัฉีด ทําใหเกิดรอยสึก และเกิดฝุนละอองในไอเสยี

ขอกําหนดคุณภาพขอกําหนดคุณภาพ อัตรา ผลกระทบตอการใชงาน

ความหนืด 3.5 – 5.0 ความหนืดสูงมีผลตอการสเปรย

ของน้ํามัน ความหนืดต่าํเกิดการสกึหรอ รถสญูเสียกําลัง

จํานวนซีเทน Min 51 ทําใหเครื่องยนตนอค

คาความเปนกรด Max 0. 5mg

KOH/g

เกิดการกัดกรอน น้ํามันเครื่องมีอายุการใชงานสั้นลง

คาเสถยีรตอการเกดิ ปฏิกิรยิาออกศิเดชัน่

กับออกซิเจน

min 6 ชัว่โมง กัดกรอนชิ้นสวนทีเ่ปนเหลก็ เกิดตะกอน คราบ ยางเหนยีว

ขอกําหนดคุณภาพขอกําหนดคุณภาพ อัตรา ผลกระทบตอการใชงาน

คาไอโอดีน Max 120 g Iodine/100g เกิดคราบยางเหนยีว กัดกรอนโลหะ น้าํมันเครื่องสั้นลง

กรดลโินเลนิกเมทิล เอสเตอร

Max 12.0 % เกิดคราบอุดตัน เนื่องจากการ โพลีเมอรไรเซชั่น

ปรมิาณน้ํา Max 0.05% ทําใหเกิดปฎิกิริยายอนกลับ เกิดการกัดกรอน

มาตรฐานน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว

• กรมธุรกจิพลังงานไดกําหนดมาตรฐานคุณภาพของน้ํามนัดีเซลหมุนเร็ว 2 ชนิด

- ดีเซลหมนุเร็วธรรมดา บี 2

- ดีเซลหมนุเร็ว บี5 ผสมไบโอดีเซล

5% โดยมขีอกําหนดคณุภาพเหมือนน้ํามนัดีเซลหมุนเร็ว

และเพิ่มขอกําหนด oxidation stability

สงเสริมการใชไบโอดเีซล

สงเสริมการใชไบโอดีเซล โดยกําหนดคุณภาพของน้ํามนั

ดีเซลหมุนเร็วเปน 2 ประเภท• ดีเซลหมุนเร็วธรรมดา กําหนดใหมีไบโอดีเซลผสม รอยละ 1.5 - 2 โดยเปนมาตรฐานบังคับ 1 เมษายน 2551

• ดีเซลหมุนเร็วบี5 กําหนดใหมีไบโอดีเซลผสมรอยละ 4- 5 โดยเปนมาตรฐานภาคสมัครใจ

น้ํามันดีเซลหมุนเร็วบี5

• ผูคาน้าํมันทีจ่ําหนายน้าํมันดีเซล B5 3 ราย คือ ปตท.

บางจาก และเชลล สถานีบริการ 657 แหง ณ สิ้นเดือน

มิถุนายน 2550

• ปริมาณการจําหนาย 1.5 ลานลิตร/วัน

ปริมาณการจําหนายน้าํมันดีเซลบี5

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

ลานลิตร/วัน

มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. ป 2550

ปตท.

บางจาก

เชลล

แนวนโยบายของกระทรวงพลังงาน

• กระทรวงพลังงานมอบหมายใหกรมธุรกิจ

พลังงานพิจารณากําหนดใหน้ํามันดีเซลหมุน

เร็วเหลือเพียง เกรดเดียว โดยใหมีสวนผสม

ของไบโอดีเซล ในสัดสวนตั้งแตรอยละ 0 – 5

โดยปริมาตร

ผลของการกําหนดใหน้ํามัน

ดีเซลหมุนเร็วชนิดเดียว

• ผูใชตองสามารถใชน้ํามันดีเซลหมุนเร็วที่มีสัดสวนไบโอดีเซลตั้งแต 0 – 5 % ไดโดยไมมี

ขอจาํกัดทางเครือ่งยนต

• ราคาขายปลีกของน้ํามันดีเซลหมนุเร็วควรม ี

ราคาเดยีว เพื่อปองกนัความสับสนของผูใช

ดานการใชงาน• กลุมประเทศยุโรป กําหนดมาตรฐานน้าํมันดีเซลหมุนเร็วเกรด

เดียว โดยใหสามารถผสมไบโอดีเซลไดไมเกนิ 5 %

• กลุมผูผลิตหัวฉีดเครื่องยนตดีเซล ยอมรับวาน้าํมนัดีเซล บี5

ที่มีสวนผสมของไบโอดีเซลที่มีคณุภาพตามมาตรฐาน EN14214

สามารถใชไดโดยไมมผีลกระทบตอหัวฉีด

• ญี่ปุนกําหนดมาตรฐานน้ํามนัดีเซลหมุนเร็วเปน 2 เกรด

เชนเดียวกับประเทศไทย แตเพิ่มเติมขอกําหนดคุณภาพ จาก

น้ํามนัดีเซลหมุนเร็วทั่วไปจํานวน 6 ขอ

Regulatory Item B5 Diesel

FAME Content 5.0 mass % max 0.1 mass % max

Triglyceride Content 0.01 mass % max 0.1 mass % max

Methanol Content 0.1 mass % max -

Total Acid Number (TAN) 0.13 mg KOH/g max -

Formic Acid, Acetic Acid

and Propionic Acid 0.003 mass % max -

Oxidation Stability

(Acid Value Growth) 0.12 mgKOH/g max -

Additional

Items

มาตรฐานน้ํามันดีเซลประเทศญี่ปุน

Regulatory Item B5 Diesel

Sulfur Content 0.005 mass % max 0.005 mass max

Cetane Index 45 or more 45 or more

Distillation T 90 % 360°C max 360°C max

Existing

Items

มาตรฐานน้ํามันดีเซลประเทศญี่ปุน

• กําหนดมาตรฐานไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตรแยกตางหากจากมาตรฐานไบโอดีเซลที่ใชเปนวัตถุดิบสําหรับผสมน้ํามนัดีเซลหมุนเร็ว

• กําหนดคําจํากัดความของครื่องยนตการเกษตร ใหหมายถึง เครื่องยนตสูบเดียว 4 จังหวะ สูบนอน ระบายความรอนดวยน้ํา

• กําหนดใหผูจําหนายหรือมไีวเพื่อจําหนายไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตรตองมาขอรับความเห็นชอบจากอธบิดีกรมธุรกิจพลังงานกอน จึงจะจําหนายได

• ผูคาน้าํมันทีไ่ดรับความเห็นชอบจากกรมธุรกิจพลังงานแลว ตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ดังนี้

• ติดปายแสดงชื่อ “ไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตร สูบเดียว 4 จังหวะ สูบนอน ระบายความรอนดวยน้ํา” ขนาดไมต่าํกวา 5 ซม. ใหเห็นชดัเจน ณ จุดจําหนาย

• จัดเก็บตัวอยางไบโอดีเซลไวใหเจาหนาทีต่รวจสอบ ตามที่เจาหนาทีม่คีําสั่ง

• รายงานขอมูลการจัดหา การจําหนาย และยอดคงเหลือทุกเดือน

• กําหนดคุณภาพใหผอนคลายจากคุณภาพของไบโอดีเซล

สําหรับใชผสมกับน้ํามนัดีเซลเพื่อการใชงานของรถยนต เชน คาความหนดื ปริมาณน้ําและตะกอน และปริมาณ กลีเซอรีน

• กําหนดสีของไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตร ใหเปนสีมวง ทั้งนี้เพื่อปองกันมิใหมีการนําไปใชผิดวัตถุประสงค ซึ่งอาจนําไปปลอมปนหรือจําหนายโดยตรงใหกับรถยนต

ผูผลิตไบโอดเีซลชมุชน

• ใหความเหน็ชอบไปแลว 27 ราย

• วัตถุดิบที่ใช น้ํามันพืชใชแลว น้ํามนัปาลม และไขปาลม

1. โครงการทดสอบศึกษาผลการใชงานไบโอดีเซลที่มีอตัราสวน

ตั้งแต รอยละ 10 ขึ้นไปในเครื่องยนตดีเซลหมุนเร็ว

วัตถุประสงคเพื่อศึกษาและประเมินผลการใชงานของไบโอ

ดีเซลที่อัตราสวน B100 B50 B20 และ B10 เพื่อหาอตัราสวนที่

เหมาะสมซึง่จะไมกอใหเกิดผลกระทบกับการใชงานของ

เครื่องยนตดีเซลหมุนเร็ว

2. โครงการทดสอบการใชไบโอดีเซลกับเครื่องยนตการเกษตร วัตถุประสงคเพื่อศึกษาและประเมินผลการใชงานของไบโอ

ดีเซลกับเครื่องยนตการเกษตร ชนิดสูบเดียว 4 จังหวะ สูบนอน ระบายความรอนดวยน้ํา

การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ• ควบคุมดูแลตั้งแต การผลติ การนําเขา การขนสง จนกระทั่งถึงจดุจายใหกับผูบริโภคคือสถานีบริการ

• จดัสงรถยนตตรวจสอบคุณภาพน้ํามนัเชือ้เพลิงเคลือ่นที่ (Mobile Lab) ตรวจสอบ ณ สถานีบริการตาง ๆ ทั่วประเทศ

• สวนภูมิภาค ออกไปเก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงจากสถานีบริการมาตรวจสอบคณุภาพในหองปฏบิัตกิาร (Lab)

• จดัทําโครงการรับรองระบบการควบคุมคุณภาพน้ํามนัเชือ้เพลิง โดยความรวมมือของภาครัฐและภาคเอกชน

top related