รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์race.nstru.ac.th/nstru_portal/research/module/md... ·...

Post on 16-Feb-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1

รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ส าหรับโครงการวิจัยจากแหล่งเงินงบประมาณแผ่นดิน/เงินรายได้

--------------------------------------------------

ก. ส่วนประกอบของรายงานวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน มีรายละเอียดดังนี้ 1. ส่วนน า มีส่วนประกอบดังนี้ 1.1 ปกหน้า/ปกนอก (ใช้กระดาษแข็งสีพื้นและสามารถมีภาพผลงานวิจัยประกอบได้) 1.2 ใบรองปก (กระดาษขาวเปล่า รองทั้งปกหน้าและปกหลัง) 1.3 ปกใน (รายละเอียดเหมือนปกนอก) 1.4 บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีด าเนินการวิจัย ผลการวิจัย ระดับนัยส าคัญทางสถิติ (ถ้ามีการทดสอบ) เป็นต้น มีความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ ท้ายบทคัดย่อให้ก าหนด “ค าส าคัญ (Keywords)” ของงานวิจัยเรื่องนั้น ความยาวไม่ควรเกิน 6 ค า 1.5 กิตติกรรมประกาศ คือ ข้อความที่กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้การช่วยเหลือหรือให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการวิจัย ความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ 1.6 สารบัญ เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของส่วนประกอบทั้งหมดในรายงานวิจัย 1.7 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดท่ีมีอยู่ในรายงานวิจัย 1.8 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่ระบุต าแหน่งหน้าของภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ทั้งหมดที่มีอยู่ในรายงานวิจัย 1.9 ค าอธิบายสัญลักษณ์ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์ และค าย่อต่างๆ ที่ใช้ในรายงานวิจัย 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย บทที่ 1 บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.4 วิธีด าเนินการวิจัย 1.5 สมมุติฐานงานวิจัย (ถ้ามี) 1.6 กรอบแนวความคิดในการวิจัย (ถ้ามี) 1.7 ค าส าคัญของการวิจัย (ถ้ามี) 1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.9 ค านิยามศัพท์ (ถ้ามี)

2

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง/การทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิด ทฤษฎีหลักตามประเด็นให้ครอบคลุมเรื่องที่วิจัย 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง/การทบทวนวรรณกรรม บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย 5.2 ข้อเสนอแนะ (เป็นการกล่าวโดยสรุปเกี่ยวกับเรื่องราวในการวิจัยพร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยในขั้นต่อไป ตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์ของผลงานวิจัยที่ได้) 3. ส่วนท้าย ประกอบด้วย 3.1 บรรณานุกรม ระบุรายชื่อเอกสารอ้างอิงโดยเรียงล าดับเอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อนแล้วตามด้วนเอกสารภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้ให้เรียงตามล าดับอักษร 3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) 3.3 ประวัตินักวิจัย (ถ้ามี)

3

ข. ข้อก าหนดการพิมพ์รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

1. ก าหนดมาตรฐานกระดาษที่ใช้พิมพ์รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เป็นขนาดมาตรฐาน A4 และมีน้ าหนักไม่ต่ ากว่า 80 แกรม 2. การตั้งค่าหน้ากระดาษ ก าหนดให้เว้นขอบกระดาษไว้ 4 ด้าน ดังนี้ 2.1 ขอบกระดาษด้านบน 1.5 นิ้ว (หรือ 3.75 ซม.) 2.2 ขอบกระดาษด้านล่าง 1 นิ้ว (หรือ 2.54 ซม.) 2.3 ขอบกระดาษด้านซ้าย 1.5 นิ้ว (หรือ 3.75 ซม.) 2.4 ขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว (หรือ 2.54 ซม.) 3. ให้ใช้แบบอักษร Angsana New หรือ Cordia Newหรือ TH SarabunPSK ขนาดตัวอักษรดังต่อไปนี้ 3.1 ปกรายงานการวิจัย ให้ใช้ขนาด 24 พ. ตัวหนา 3.2 เนื้อหารายงานวิจัยปกติ

ลักษณะเนื้อหา ขนาดตัวอักษร บทที ่ 18 ตัวหนา ชื่อบท 18 ตัวหนา หัวข้อส าคัญ 16 ตัวหนา ล าดับที่ของรูปภาพและตาราง 16 ตัวหนา เนื้อหาอ่ืนๆ 16 ตัวธรรมดา

4. การล าดับหน้าและการพิมพ์เลขหน้า 4.1 ในส่วนหน้าไม่ต้องใส่เลขหน้าก ากับ

4.2 ส่วนเนื้อเรื่องนับตั้งแต่บทที่ 1 ใช้หมายเลข 1, 2, 3,... เว้นแต่หน้าแรกของแต่ละบท หน้าแรกของบรรณานุกรม และหน้าแรกของภาคผนวก ไม่ต้องใช้เลขหน้าก ากับแต่ให้นับจ านวนหน้ารวมไปด้วย 4.3 เลขหน้าให้พิมพ์ห่างจากริมกระดาษส่วนบน 1 นิ้ว และให้อยู่ในแนวเดียวกับขอบขวามือ 5. ชื่อบทและหัวข้อในส่วนประกอบเนื้อเรื่อง เมื่อเริ่มส่วนเนื้อเรื่องของแต่ละบทจะต้องขึ้นหน้าใหม่เสมอ โดยพิมพ์ค าว่าบทที่และตัวเลขก ากับบทไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ บรรทัดทัดลงมาเป็นชื่อบท 6. การพิมพ์ตาราง ให้พิมพ์ตารางแทรกลงในเนื้อเรื่องที่มีความสัมพันธ์กันของแต่ละบท โดยจัดวางตารางชิดขอบซ้ายของกระดาษ เว้นระยะจากข้อความบรรทัดบน 1 บรรทัดพิมพ์ พิมพ์ค าว่า “ตารางที่” (ขนาดตัวอักษร 16 ตัวหนา) ชิดขอบด้านซ้ายและเว้น 1 ระยะตัวอักษรตามด้วย หมายเลขบทที่ ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขล าดับที่ของตารางในบทนั้น เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยชื่อตาราง (ด้วยรูปแบบตัวอักษรขนาด 16 ธรรมดา)

4

ตัวอย่างการพิมพ์ตาราง ตารางท่ี 1.1 ข้อมูลทางกายภาพขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความยาวของรังไหม

ล าดับที่

ชนิดพันธุ์ไหม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (มิลลิเมตร) ความยาว

(มิลลิเมตร) ขั้วรัง กลางรัง ปลายรัง 1 พันธุ์นางน้อยศรีสะเกษ 10.88 12.81 8.40 30.64 2 พันธุ์ส าโรง 9.71 11.26 6.92 32.05 3 พันธุ์ยูบีวัน 11.66 13.07 10.15 30.42

7. การจัดวางภาพ การน าเสนอภาพให้แทรกลงในเนื้อเรื่องที่สัมพันธ์กันในแต่ละบท โดยจัดวางภาพไว้กลางหน้ากระดาษ ห่างจากบรรทัดบน 1 บรรทัดพิมพ์ และ ใส่ค าว่า “ภาพที่” ไว้ใต้ภาพและอยู่ในต าแหน่งกึ่งกลาง ถัดจากค าว่า “ภาพที่” ให้เว้น 1 ระยะตัวอักษรตามด้วย หมายเลขบทที่ ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขล าดับที่ของภาพในบทนั้นๆ (ด้วยรูปแบบตัวอักษรขนาด 16 ตัวหนา) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยชื่อภาพ (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ด้านล่างของภาพให้พิมพ์ค าว่า “ที่มา” (อ้างอิงที่มาของภาพ) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) และเว้น 1 ระยะตัวอักษร (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ตัวหนา) ตามด้วยชื่อ-นามสกุลของผู้แต่ง ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) เว้น 1 ระยะตัวอักษร ใส่ปีที่พิมพ์ เว้น 1 ระยะตัวอักษร ตามด้วยเครื่องหมายทวิภาพ (:) เว้น 1 ระยะตัวอักษร และตามด้วยหมายเลขหน้า (ด้วยรูปแบบตัวอักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ตัวอย่างการจัดวางภาพ

ภาพที่ 1.1 แสดงพีคความเข้มของการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ของรอยต่อวิวิธพันธุ์... ที่มา : รายงานการวิจัย, ฐิตินัย แก้วแดง, 2556

5

ค. การเขียนบรรณานุกรม บรรณานุกรม หมายถึง รายการของทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดที่ผู้ท ารายงานได้ใช้ประกอบการเขียนรายงาน ทั้งท่ีปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนที่ไม่ปรากฏชัดเจน แต่อาจเป็นเพียงการรวบรวมความคิดหลาย ๆ แนว แล้วน ามาเรียบเรียงใหม่ ซึ่งที่นิยมในปัจจุบัน คือการเขียนในรูปแบบของ American Psychological Association ( APA ) ซึ่งมีรูปแบบการเขียนดังนี้ รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม 1. หนังสือ

1.1 หนังสือทั่วไป

ตัวอย่าง ไพรัช ธัชยพงษ์ และกฤษณะ ช่างกล่อม. (2541). การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศแห่งชาติเพื่อ การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ส านักนายกรัฐมนตรี. Mitchell, T. R., & Larson, J. R., Jr. (1987). People in organizations: An introduction to organizational behavior (3rd ed.). New York: McGraw-Hill. 1.2 หนังสือแปล ตัวอย่าง พาร์กินสัน, ซี บี และรัสตอมจิ, เอ็ม เค. (2526). การบริหารยุคใหม่ (แปลจาก Rarlities in management. โดย เริงศักดิ์ ปานเจริญ). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Lapalce, P. S. (1951). A philosophical essay on probabilities (F. W. Truscott & F. L. Emory, Trans.). New York: Dover.

1.3 หนังสือที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง

ตัวอย่าง สวดมนต์ไหว้พระฉบับชาวบ้านและผู้ปฏิบัติธรรม. (2541). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. Merriam-Webster’s collegiate dictionary. (10th ed. 1993). Springfield, MA: Merriam-Webster.

1.4 หนังสือที่มีผู้รับผิดชอบในการจัดท า

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//(แปลจาก/ชื่อหนังสือ.//โดย/ชื่อ/ นามสกุลผู้แปล).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อหนังสือ//(ครั้งที่พิมพ์).//(ปีที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

6

ตัวอย่าง ประมวล โกมารทัต, (บก.). (2546). ไม้ต้นประดับ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. Gibbs, J. T., & Huang, L. N. (Eds.). (1991). Children of color: Psychological interventions with behavior (3rd ed). New York: McGraw-Hill. 1.5 หนังสือที่ผูแ้ต่งเป็นหน่วยงาน

ตัวอย่าง กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2535). รวมบทความการศึกษานอกโรงเรียน เล่ม 11. กรุงเทพฯ: กรมการ ศึกษานอกโรงเรียน. Australian Bureau of Statistics. (1991). Estimated resident population by age and sex in statistical local areas. New South Wales: Australian Bureau of Statistics.

1.6 หนังสือชุด

ตัวอย่าง เทียนฉาย กีระนันทน์. (2540). การวางแผนและการจัดท าโครงการของรัฐ. ใน สมหวัง พิริยานุวัฒน์ (บก.). รวมบทความทางการประเมินโครงการ : ชุดรวมบทความ เล่มที่ 4. (หน้า 1-24). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 1.7 หนังสือรวมเรื่อง

ตัวอย่าง สมบูรณ์ พรรณาภพ. (2535). อภิปรัชญากับการศึกษา. ใน คณะกรรมการโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร์

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง,/(ชื่อผู้รับผิดชอบ).//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/ (ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อหน่วยงาน.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/ (ครั้งที่พิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการ (ถ้ามี).//

ชื่อหนังสือ/:/ชื่อชุด/(ครั้งที่พิมพ์).//(หน้า/หมายเลขหน้าของบทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการ (ถ้ามี).// ชื่อหนังสือ/(ครั้งที่พิมพ์).//(หน้า/หมายเลขหน้าของบทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

7

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (บก.). สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ. (หน้า 407- 415). กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

2. รายงานการวิจัย รายงานทางวิชาการ ตัวอย่าง คณะกรรมการติดตามผลการมีงานท าของบัณฑิต. (2542). รายงานการติดตามผลผู้ส าเร็จการศึกษา จากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2540-2541. กรุงเทพฯ: ส านักวิจัยและฝ่ายทะเบียน วัดผล สถาบันราชภัฏสวนสุนนัทา.

3. เอกสารการประชุม อบรม สัมมนา ตัวอย่าง วันชัย ศิริชนะ. (2541). การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา. ใน รายงานการสัมมนาเรื่อง ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 2-4 ธันวาคม พ.ศ.2541 (หน้า 2-4 ). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 4. วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์

ตัวอย่าง ฐิดาภรณ์ เพ็งหนู. (2543). พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 5. บทความในสารานุกรม

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อรายงานการวิจัยหรือรายงานทางวิชาการ.//สถานที่พิมพ์:/ ส านักพิมพ์.

ชื่อ/นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อวิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์.//ระดับวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์/คณะที่สังกัด/ชื่อมหาวิทยาลัย. สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อสารานุกรม/(เล่มที่ใช้,/เลขหน้าของ บทความ).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่สัมมนา).//ชื่อบทความ.//ใน/ชื่อเรื่องรายงานการประชุม อบรม สัมมนา/ วัน/เดือน/ปีที่สัมมนา/(หน้า).//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์

8

ตัวอย่าง นันทสาร สีสลับ. (2542). ภูมิปัญญาไทย. ใน สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (เล่ม 23, หน้า 11-30). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง. Bregmann, P.G. (1993). Relativity. In The New Encyclopedia Britannica (Vol.26,

pp. 501-508). Chicago: Encyclopedia Britannica.

6. บทความในวารสาร

ตัวอย่าง ล้อม เพ็งแก้ว. (2542, มิถุนายน). สุนทรภู่เกิดท่ีไหน. ศิลปวัฒนธรรม, 20 (8), 103-105. Bekerian, D.A. (1993). In search of the typical eyewitness. American Psychologist,

48, 574-576. 7. บทความในหนังสือพิมพ์

ตัวอย่าง ภาคภูมิ ป้องภัย. (2542, กรกฎาคม 3). มุมที่ถูกลืมในพระราชวังบางปะอิน. มติชน, หน้า 12. Erlich, R. S. (1994, June 28). China a paradise for counterfeit CDs. Bangkok Post, p. 4. 8. จุลสาร แผ่นพับ

ตัวอย่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน. (2544).

การควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

9. การสัมภาษณ์

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปี, เดือนที่วารสารออก).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีที่/(ฉบับที่), /เลขหน้าของบทความ.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/เดือน/วันที่).//ชื่อบทความ.//ชื่อหนังสือพิมพ์,/หน้า/เลขหน้าของบทความ.

ผู้แต่งหรือผู้จัดท า.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อจุลสาร/[จุลสาร].//สถานที่พิมพ์:/ส านักพิมพ์.

ชื่อ//นามสกุลผู้ให้สัมภาษณ์.//(ปี,/เดือน/วันที่สัมภาษณ์).//ต าแหน่ง.//สถานที่สัมภาษณ์.//สัมภาษณ์.

9

ตัวอย่าง ชวน หลีกภัย. (2542, ตุลาคม 12). นายกรัฐมนตรี. ท าเนียบรัฐบาล. สัมภาษณ์. Page, O. (1991, March 5). President. Austin Peay State University. Interview.

10. วัสดุไม่ตีพิมพ์หรือโสตทัศนวัสดุ

ตัวอย่าง ธนพล ฉันจรัสวิชัย. (2544). Perl บนฟรีเซริร์ฟเวอร์ [ซีดี-รอม]. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Shocken, M. (1992). Over the waterfall on Arkansas traveler [CD]. New York: PolyGram Music. 11. เอกสารออนไลน์

ตัวอย่าง ซูม. (2542). บุญของคนไทย ใน ไทยรัฐ. ค้นเมื่อ ตุลาคม 25, 2542, จาก http://www.thairat.co.th. ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2545). จรรณยาบรรณนักวิจัย. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 3, 2548, จาก http://www/nrct.go.th~research/ethies.html International Organization for Standardization. Big benefits. (2005). Retrieved August 1, 2006, from http://www.iso.org/iso/en

ชื่อ//นามสกุลผู้จัดท า.//(ปีที่ผลิต).//ชื่อเรื่อง/[ประเภทของสื่อ].//สถานที่ผลิต:/หน่วยงานที่รับผิดชอบ.

ชื่อ//นามสกุลผู้แต่ง.//(ปีที่จัดท า).//ชื่อเรื่องของเอกสาร.//ค้นเมื่อ/เดือน/วัน,/ปี,/จาก/URLของ เว็บไซต์ที่เข้าถึง

10

ตัวอย่างปกรายงานการวิจัย (งบประมาณแผ่นดิน)

รายงานการวิจยั

โครงการวิจัยเรื่อง ภาษาไทย……………………………………………………..………………

ภาษาอังกฤษ…………………………………………………………....…….

คณะผู้วิจัย

1…………………………………… 2…………………………………… 3……………………………………. 4……………………………………..

ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.25……..

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

11

ตัวอย่างปกรายงานการวิจัย (เงินรายได้)

รายงานการวิจยั

โครงการวิจัยเรื่อง ภาษาไทย……………………………………………………..………………

ภาษาอังกฤษ…………………………………………………………....…….

คณะผู้วิจัย

1…………………………………… 2…………………………………… 3……………………………………. 4……………………………………..

ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณกองทุนเพื่อการวิจัย (เงนิรายได้) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.25……..

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

12

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18 จดักลาง

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 16 จดัชดิขาว

สารบัญ

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย ก หรือ I บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข หรือ II กิตติกรรมประกาศ ค หรือ III สารบัญ ง หรือ I สารบัญตาราง จ หรือ I สารบัญภาพ ฉ หรือ I บทที/่1//บทน า 1 ///////1.1//ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 ///////1.2//วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4 ///////1.3//ขอบเขตของการวิจัย 5 ///////1.4//วิธีด าเนินการวิจัย 5 ///////1.5//สมมุติฐานงานวิจัย (ถ้ามี) 6 ///////1.6//กรอบแนวความคดิในการวิจัย (ถ้ามี) ///////1.7//ค าส าคัญของการวิจัย (ถ้ามี) ///////1.8//ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ///////1.9//นิยามศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี) บทที/่2//ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ///////2.1//ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ///////2.2//งานวิจัยที่เก่ียวข้อง บทที/่3//วิธีด าเนินการวิจัย (ชื่อหัวข้อปรับให้เหมาะสมกับงานวิจัย ทางวิทยาศาสตร์/สังคมศาสตร์ ///////3.1// ///////3.2// บทที/่4//ผลการวิจัย ///////4.1// ///////4.2//

หมายเหตุ : เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญ

13

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18 จดักลาง

สารบัญ (ต่อ)

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) หน้า

บทที/่5//สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ///////5.1//สรุปผลการวิจัย ///////5.2//ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ///////ภาคผนวก//ก ///////ภาคผนวก//ข หมายเหตุ

1. ชื่อหัวข้อและจ านวนบทสามารถปรับให้สอดคล้องกับงานวิจัยได้ตามความเหมาะสมของงานวิจัย ทางด้านวิทยาศาสตร์/ด้านสังคมศาสตร์

2. เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

14

สารบัญตาราง

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ตารางท่ี หน้า 2.1// 2.2// 3.1// 3.2// 3.3// 4.1// 4.2//

หมายเหตุ เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญตาราง

15

สารบัญภาพ (เว้น 1 บรรทัดพิมพ์)

ภาพที่ หน้า 2.1// 2.2// 3.1// 3.2// 3.3// 4.1// 4.2// หมายเหตุ เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างสารบัญภาพ

ตัวอักษรตวัหนา ขนาด 18

ตัวอักษรตวัหนา ขนาด 16

16

ใช้อักษรตวัหนา ขนาด 18

ชื่อโครงการ (ภาษาไทย)// แหล่งเงิน// (ระบุแหล่งทุน) ประจ าปีงบประมาณ ระยะเวลาท าการวิจัย ปี ตั้งแต ่ ถึง ชื่อ-สกุล หัวหน้าโครงการ และผู้ร่วมโครงการวิจัย พร้อมระบุ หน่วยงานต้นสังกัด

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) บทคัดย่อ

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////เริ่มพิมพ์ข้อความตัวอักษรตัวที่ 8 (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา มีความยาวไปเกิน 1 หน้ากระดาษ) เว้น 1 บรรทัด ค าส าคัญ : ตัวอักษรขนาด 16 จ านวน 3-8 ค า

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาไทย

17

ใช้อักษรขนาด 18 ตัวหนา

Research Title: Researcher: Faculty: Department:

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ABSTRACT

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////เริ่มพิมพ์ข้อความตัวอักษรตัวที่ 8 (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา มีความยาวไปเกิน 1 หน้ากระดาษ) เว้น 1 บรรทัด Keywords : ตัวอักษรขนาด 16 จ านวน 3-8 ค า

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาอังกฤษ

18

บทที่ 1 บทน า

(เว้น 1 บรรทัดพิมพ์) ///////ขอ้ความเริม่พิมพ์ตัวอักษรตวัที่ 8 ///////1.1 หัวข้อใหญ่ของบทท่ี 1 (ใช้อักษร ขนาด 16 ตัวหนา) ///////////ขอ้ความ (ใช้อักษรขนาด 16 ธรรมดา ///////////1.1.1 หัวข้อย่อย (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา) /////////////////ข้อความ (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา /////////////////1.1.1.1หัวข้อย่อยของ 1.1.1 (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา) ////////////////////////ขอ้ความ (ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา ///////////////////////////1) หัวขอ้ย่อยของ 1.1.1.1 (ใช้อกัษร ขนาด 16 ธรรมดา) /////////////////////////////ขอ้ความ(ใช้อักษร ขนาด 16 ธรรมดา

หมายเหตุ : 1. ในแต่ละบทไม่จ าเป็นต้องแบ่งหัวข้อย่อยเหมือนกันทุกบท โดยทั่วไปบทสรุปจะไม่มีหัวข้อย่อย

2. เครื่องหมาย / หมายถึง การเว้นวรรค 1 ระยะตัวอักษร

ตัวอย่างการพิมพ์ส่วนประกอบของเนื้อเร่ืองของรายงานวิจัย

ตัวอักษรตัวหนา

ขนาด 18

top related