ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี...

13
ผลการวิจัยและประเมินผลองค์ความรู้ของศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา นายปรีชา เรืองแสง 1. สถานที่ตั้งศูนย์ และผู้ก่อตั้ง 1.1 ที ่ตั ้ง บ้านเลขที ่ 206 หมู่ที่ 2 ตาบลสมอทอง อาเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ 086-267-9255 1.2 ผู้ก่อตั้ง นายปรีชา เรืองแสง 1.2.1 ประวัติส่วนตัว นายปรีชา เรืองแสง ปัจจุบันอายุ 48 ปี จบการศึกษาสูงสุดชั้นมัธยม ที ่ 6 มีบุตรชาย 1 คน กาลังศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1.2.2 อาชีพหลัก นายปรีชา เรืองแสง เดิมประกอบอาชีพหลัก ทาสวนยางพาราและ ปาล์มน้ามัน แต่นายปรีชา เห็นว่าราคาปุ๋ยเคมีสูงต่อเนื่องซึ่งเป็นต้นทุนหลักของสวนยางพาราและปาล์ม น้ามันจึงหันมาเลี้ยงโค โดยวัตถุประสงค์แรกคือเพื่อทาปุ๋ยมูลสัตว์ และสามารถลดต้นทุนการทาสวน มีพื ้นทีทาการเกษตรทั้งหมดของครอบครัว 90.25 ไร่ แบ่งออกเป็น 7 แปลง ดังนีแปลงที่ 1 พื้นที2.25 ไร่ เป็นพื้นที่บ้าน 2 ไร่ และอีก 0.25 ไร่ เป็นศูนย์เศรษฐกิจ การเกษตรอาสา คอกสาหรับเลี้ยงโค และโรงเรือนสาหรับทาทางอาหารปาล์มน้ามันสับหมัก ปลูกพืชผัก และไม้ผล แปลงที2 พื้นที13 ไร่ เป็นพื้นที่สวนปาล์มน้ามัน อายุ 14 ปี จานวน 6ไร่ โดยในสวนนีมีการเลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ 1 บ่อ เป็นทุ่งหญ้าสาหรับเลี้ยงโค 3 ไร่ และเป็นพื้นที่ว่าง 4 ไร่ แต่ได้เตรียม พื้นที่ปลูกปาล์มน้ามันแล้ว และมีบ่อเลี้ยงปลาซึ่งเลี้ยงแบบธรรมชาติอีก 1 บ่อ แปลงที3 พื้นที12 ไร่ ปลูกปาล์มน้ามัน อายุ 16 ปี แปลงที4 พื้นที3 ไร่ ปลูกปาล์มน้ามัน อายุ 16 ปี แปลงที5 พื้นที10 ไร่ ปลูกยางพารา อายุ 18 ปี แปลงที6 พื้นที20 ไร่ ปลูกยางพารา อายุ 10 ปี แปลงน้จ้างแรงงานกรีดยางพารา แปลงที7 พื้นที30 ไร่ ในจังหวัดชุมพร ปลูกยางพารา อายุ 5 ปี ยังไม่ได้เก็บผลผลิต 1.2.3 รายได้สุทธินอกฟาร์ม นอกจากนายปรีชาจะประกอบอาชีพเกษตรแล้ว ยังเป็น สารวัตรกานันอีกด้วย ซึ่งมีรายได้สุทธินอกฟาร์ม เฉลี่ยปีละ 60,000 บาท

Upload: others

Post on 06-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

ผลการวิจัยและประเมินผลองค์ความรู้ของศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา นายปรีชา เรืองแสง

1. สถานที่ตั้งศูนย์ และผู้ก่อตั้ง

1.1 ท่ีต้ัง บ้านเลขท่ี 206 หมู่ที่ 2 ต าบลสมอทอง อ าเภอทา่ชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ 086-267-9255

1.2 ผู้ก่อตั้ง นายปรีชา เรืองแสง 1.2.1 ประวัติส่วนตัว นายปรีชา เรืองแสง ปัจจุบันอายุ 48 ปี จบการศึกษาสูงสุดชั้นมัธยม

ท่ี 6 มีบุตรชาย 1 คน ก าลังศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1.2.2 อาชีพหลัก นายปรีชา เรืองแสง เดิมประกอบอาชีพหลัก ท าสวนยางพาราและ

ปาล์มน้ ามัน แต่นายปรีชา เห็นว่าราคาปุ๋ยเคมีสูงต่อเนื่องซึ่งเป็นต้นทุนหลักของสวนยางพาราและปาล์มน้ ามันจึงหันมาเลี้ยงโค โดยวัตถุประสงค์แรกคือเพื่อท าปุ๋ยมูลสัตว์ และสามารถลดต้นทุนการท าสวน มีพื้นที่ท าการเกษตรทั้งหมดของครอบครัว 90.25 ไร่ แบ่งออกเป็น 7 แปลง ดังนี ้

แปลงที่ 1 พื้นที่ 2.25 ไร่ เป็นพื้นที่บ้าน 2 ไร่ และอีก 0.25 ไร่ เป็นศูนย์เศรษฐกิจการเกษตรอาสา คอกส าหรับเลี้ยงโค และโรงเรือนส าหรับท าทางอาหารปาล์มน้ ามันสับหมัก ปลูกพืชผัก และไม้ผล

แปลงที่ 2 พื้นที่ 13 ไร่ เป็นพื้นที่สวนปาล์มน้ ามัน อายุ 14 ปี จ านวน 6ไร่ โดยในสวนนี้มีการเลี้ยงปลาแบบธรรมชาต ิ1 บ่อ เป็นทุ่งหญ้าส าหรับเลี้ยงโค 3 ไร่ และเป็นพื้นที่ว่าง 4 ไร่ แต่ได้เตรียมพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันแล้ว และมีบ่อเล้ียงปลาซ่ึงเลี้ยงแบบธรรมชาติอีก 1 บ่อ

แปลงที่ 3 พื้นท่ี 12 ไร่ ปลูกปาล์มน้ ามัน อายุ 16 ปี แปลงที่ 4 พื้นท่ี 3 ไร่ ปลูกปาล์มน้ ามัน อายุ 16 ปี แปลงที่ 5 พื้นท่ี 10 ไร่ ปลูกยางพารา อายุ 18 ปี แปลงที่ 6 พื้นท่ี 20 ไร่ ปลูกยางพารา อายุ 10 ปี แปลงนี้จา้งแรงงานกรีดยางพารา แปลงที่ 7 พื้นท่ี 30 ไร ่ในจังหวัดชุมพร ปลูกยางพารา อายุ 5 ปี ยังไม่ได้เก็บผลผลิต

1.2.3 รายได้สุทธินอกฟาร์ม นอกจากนายปรีชาจะประกอบอาชีพเกษตรแล้ว ยังเป็นสารวัตรก านันอีกด้วย ซึ่งมรีายได้สุทธินอกฟาร์ม เฉลี่ยปีละ 60,000 บาท

Page 2: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

243

2. ประวัติความเป็นมา

ก่อนหน้านี้ประมาณ 20 ปี นายปรีชามีอาชีพท านา แต่ประสบปัญหาหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นศัตรูพืช เช่น นก หนอน แมลง หอยเชอรี่ แรงงานหายาก ราคาข้าวไม่ดี ท าให้มีรายได้น้อย จึงเปลี่ยนมาปลูกปาล์มในนาข้าว และสวนปลูกยางพารา รวมทั้งเมื่อก่อนเคยเลี้ยงสุกรแต่ประสบปัญหาราคาตกต่ า ค่าอาหารแพง จึงปรับเปลี่ยนมาเลี้ยงโคทดแทน โดยปล่อยให้หาอาหารกินเอง (ปล่อยทุ่ง) เนื่องจากไม่มีค่าใช้จ่ายเรื่องอาหารมากนัก และมูลโคสามารถน ามาท าปุ๋ยได้ ต่อมาเห็นคนเลี้ยงโคขุนจึงเกิดความสนใจเนื่องจากให้ผลตอบแทนดีกว่า เริ่มแรกซื้อวัวพื้นเมืองตัวละ 7,000 บาท มาขุน 6 - 7 เดือน ขายได้ตัวละ 20,000 บาท มีผู้มารับซื้อถึงฟาร์มโดยการซื้อแบบเหมาตัว ช่วงหลังมีการพัฒนาโดยเปลี่ยนเป็นวัวลูกผสมมาขุน เนื่องจากคนนิยมโคขุนพันธุ์ดีมากกว่าโคขุนพันธุ์พื้นเมือง ซื้อวัวลูกผสมมาตัวละ 40,000 - 50,000 บาท ขายได้ตัวละประมาณ 75,000 บาท พ่อค้าที่รับซื้อจะส่งออกโคขุนไปประเทศจีนเนื่องจากพ่อค้าในประเทศสู้ราคาไม่ได ้ 3. การพัฒนาตนเอง

นายปรีชาได้พัฒนาตนเองโดยเข้ารับการอบรมและศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องการเกษตรที่ตนเองสนใจ หลังจากนั้นได้น าความรู้มาลองผิดลองถูกที่ฟาร์มตนเอง โดยมีต้นแบบที่น ามาปรับใช้คือคนที่ประสพความส าเร็จในเรื่องการเล้ียงโคขุน

ปัจจุบันนายปรีชาพัฒนาการท าอาหารจากทางปาล์มน้ ามันสับส าหรับใช้เลี้ยงวัวและการผสมอาหารที่เหมาะสมส าหรับเลี้ยงโคขุนเพื่อลดต้นทุน เป็นกิจกรรมที่ได้การยอมรับของคนทั่วไป เป็นจุดสาธิตให้บุคคลทั่วไปมาดเูป็นตัวอย่าง

เคล็ดลับการลดต้นทุนที่ส าคัญ คือ นอกจากอาหารข้นและผงถั่วเหลืองแล้ว นายปรีชาสามารถผลิตอาหารจากทางปาล์มน้ ามันสับ ซึ่งทางปาล์มน้ ามันสามารถหาได้จากสวนของตนเอง ท าให้ลดต้นทุนค่าอาหาร ซึ่งฟางมีราคาสูงถึงก้อนละ 70 บาท การกากน้ าตาล เกลือ และน้ า นาน 2 สัปดาห์ โดยนายปรีชาจะเลี้ยงโคขุนแต่ละครั้งประมาณ 6 - 8 ตัว ลดหมักท าได้โดยน าทางปาล์มสับละเอียดหมักกับยูเรีย ค่าใช้จ่ายลงมาเหลือ 15,000 บาท จากเดิมหากใช้ฟาง จะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 20,000 บาท และนอกจากนี้ นายปรีชาใส่ใจในเรื่องการเลี้ยงดูและสุขอนามัย โดยจะต้องอาบน้ าให้โค วันละ 2 ครั้ง ทุกวัน ท าให้โคไม่เครียดและกินอาหารได้มากขึ้น รวมทั้งมูลจากโคที่เลี้ยงไม่มีกลิ่นรบกวนเพื่อนบ้าน

Page 3: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

244

4. กิจกรรมการเกษตรที่ด าเนินการ

4.1 ปฏิทินการผลิตปี พ.ศ. 2557 พื้นที่เกษตร 90.25 ไร่ 1) คอกและทุ่งหญ้าส าหรับเลี้ยงโค นายปรีชาเลี้ยงโคขุนจ านวน 2 รุ่น รุ่นละ 8 ตัว ระยะเวลา

การเลี้ยงรุ่นละ 6 เดือน 2) ปาล์มน้ ามัน พื้นที่ทั้งหมด 21 ไร่ สามารถเก็บทะลายปาล์มน้ ามันได้ทุกเดือน ใน 1 ปี

สามารถเก็บผลผลิตไดป้ระมาณ 15 ครั้ง 3) ยางพารา มีพื้นที่ทั้งหมด 60 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 30 ไร่ สามารถกรีดยางพาราประมาณ 115 วัน

ต่อปี และปิดหน้ายาง 3 เดือน (มี.ค. - พ.ค.) ในปี 2557 นายปรีชาจะท ายางก้อนถ้วย (ตารางท่ี 1)

ตารางที่ 1 ปฏิทินการผลิตปี พ.ศ. 2557

กิจกรรม จ านวน (ไร/่ตัว)

ปี พ.ศ. 2557

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1) โคขุน 16 ตัว 2) ปาล์มน้ ามัน 21 ไร ่ 3) ยางพารา 60 ไร ่ 4) เป็ดไข ่ 15 ตัว 5) มันส าปะหลัง 10 ต้น 6) กล้วย 7 กอ 7) เงาะ 3 ต้น 8) มังคุด 5 ต้น 9) ลองกอง 3 ต้น 10) ทุเรียน 3 ต้น 11) สะตอ 4 ต้น 12) กระท้อน 1 ต้น 13) สับปะรด 30 ต้น 14) ผักเหลียง 25 ต้น 15) มะละกอ 2 ต้น 16) ชะอม 3 ต้น 17) กระท่อม 2 ต้น 18) มะพร้าว 2 ต้น 19) ขมิ้น 20 กอ 20) ตะไคร ้ 20 กอ 21) พริก 50 ต้น 22) มะเขือ 20 ต้น 23) พลู 1 ต้น 24) หญ้าเนเปีย 3 ไร ่ 25) ปลาธรรมชาติ 1 บ่อ

Page 4: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

245

4.2 กิจกรรมทางการเกษตรในปี พ.ศ. 2557

กิจกรรมทางการเกษตรในปี พ.ศ. 2557 มีการด าเนินการด้านพืช และปศุสัตว์ วิธีการผลิตมีทั้งแบบเคมีและอินทรีย์ ปัจจัยการผลิตใช้ทั้งปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอก ซึ่งปุ๋ยคอกใช้มูลโคที่เลี้ยงที่บ้านท าให้ประหยัดค่าปุ๋ยลงได้ อาหารสัตว์ส่วนใหญ่ท าเอง โดยอาหารส าหรับเลี้ยงโคขุนนอกจากอาหารข้นแล้วยังมีทางปาล์มน้ ามันซึ่งได้จากสวนของตนเองมาสับแล้วน าไปหมักหมัก ซึ่งข้อดีอีกข้อหนึ่งของทางปาล์มน้ ามันสับหมักท าให้มูลไม่มีกลิ่นรบกวนเพื่อนบ้าน ส่วนเทคนิคการผลิตจะเน้นการใช้แรงงานซึ่งเป็นแรงงานครัวเรือน การจ าหน่ายผลผลิตโคขุนจะมีพ่อค้าเข้ามาตกลงราคาที่ฟาร์ม ส่วนเหตุผลที่ตัดสินใจในการท ากิจกิจกรรมทางการเกษตรมาจากผลิตง่าย ราคาจูงใจ และมีตลาด (ตารางท่ี 2)

ตารางที่ 2 กิจกรรมทางการเกษตรในปี พ.ศ. 2557

กิจกรรม พื้นที ่(ไร่)

จ านวน แผน

การผลติ วิธี

การผลติ ปัจจัย การผลติ

แรงงาน เทคนิค การผลติ

การจ าหน่ายผลผลิต

เหตุผล ที่ตัดสินใจผลิต

1) โคขุน 0.25 16 ตัว

6 เดือน/รอบ

อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายตามข้อตกลง

ต้องการน าปุ๋ยมาใช้ในสวน

2) ปาล์มน้ ามัน 21.00 441 ต้น 15 ครั้ง/ปี เคม ี ซื้อ ส่วนใหญ่จ้าง

แรงงาน ขายเอง ราคาดี มีตลาด ผลิตง่าย

3) ยางพารา 60.00 4,200 ต้น

115 วัน/ป ี เคม ี ซื้อ ส่วนใหญ่จ้าง

แรงงาน ขายเอง ราคาดี มีตลาด ผลิตง่าย

4) เป็ดไข ่ 15 ตัว ตลอดปี ซื้อ ท าเอง แรงงาน ขายเอง ราคาดี มีตลาด ผลิตง่าย

5) มันส าปะหลัง 10 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 6) กล้วย 7 กอ ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 7) เงาะ 3 ต้น ตลอดปี เคม ี ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 8) มังคุด 5 ต้น ตลอดปี เคม ี ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 9) ลองกอง 3 ต้น ตลอดปี เคม ี ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 10) ทุเรียน 3 ต้น ตลอดปี เคม ี ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง บริโภคเอง/ขาย 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง บริโภคเอง/ขาย 12) กระท้อน 1 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 13) สับปะรด 30 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน - บริโภคเอง/แจก 14) ผักเหลียง 25 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก 15) มะละกอ 2 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก 16) ชะอม 3 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก 17) กระท่อม 2 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก 18) มะพร้าว 2 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน ขายเอง บริโภค/ขาย

Page 5: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

246

กิจกรรม พื้นที ่(ไร่)

จ านวน แผน

การผลติ วิธี

การผลติ ปัจจัย การผลติ

แรงงาน เทคนิค การผลติ

การจ าหน่ายผลผลิต

เหตุผล ที่ตัดสินใจผลิต

19) ขมิ้น 20 กอ ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก 20) ตะไคร ้ 20 กอ ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน ขายเอง บริโภค/ขาย 21) พริก 50 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน ขายเอง บริโภค/ขาย 22) มะเขือ 20 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน ขายเอง บริโภค/ขาย 23) พลู 1 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน ขายเอง บริโภค/ขาย 24) หญ้าเนเปีย 3 ตลอดปี เคม ี ท าเอง ท าเอง เน้นแรงงาน - 25) ปลาธรรมชาติ 1 บ่อ ตลอดปี อินทรีย์ ธรรมชาติ ท าเอง เน้นแรงงาน - บริโภคเอง/แจก

5. ต้นทุนและผลตอบแทนในการท ากิจกรรมทางการเกษตร ปี พ.ศ. 2557

ในปี พ.ศ. 2557 ต้นทุนการผลิตในการท ากิจกรรมทางการเกษตรในแต่ละกิจกรรม มีทั้งต้นทุนที่เป็นเงินสดและต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสด ทั้งนี้ ต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสดสามารถผลิตขึ้นมาเองในครอบครัว ส่วนผลตอบแทนการผลิตทางการเกษตรจะเห็นได้ว่า โคขุนจะให้ผลตอบแทนสูงสุด รองลงมาจะเป็นปาล์มน้ ามัน และยางพารา (ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 ต้นทุนและผลตอบแทนในการท ากิจกรรมทางการเกษตร ปี พ.ศ. 2557

กิจกรรม

ต้นทุนการผลติ (บาท) มูลค่าผลตอบแทนการผลติ (บาท) ผลตอบแทนสุทธ ิ(บาท)

เงินสด ไม่เป็นเงิน

สด รวม ขาย

บริโภค/แจก

มูลค่าคงเหลือ

รวม

1) โคขุน 924,800 173,710 1,098,510 1,220,000 - - 1,220,000 121,490 2) ปาล์มน้ ามัน 132,246 35,280 167,526 355,466 - - 355,466 187,940 3) ยางพารา 191,400 126,000 317,400 306,675 - - 306,675 -10,725 4) เป็ดไข ่ 4,560 1,141 5,701 17,727 750 - 18,477 12,776 5) มันส าปะหลัง - 100 100 - 1,000 - 1,000 900 6) กล้วย - 350 350 - 3,640 - 3,640 3,290 7) เงาะ 132 254 386 - 5,600 - 5,600 5,214 8) มังคุด 132 254 386 - 900 - 900 514 9) ลองกอง 132 254 386 - 1,500 - 1,500 1,114 10) ทุเรียน 132 254 386 7,500 7,500 - 15,000 14,614 11) สะตอ - 275 275 3,100 1,900 - 5,000 4,725 12) กระท้อน - 150 150 - 2,500 - 2,500 2,350 13) สับปะรด - 100 100 - 200 - 200 100 14) ผักเหลียง - 500 500 - 150 - 150 350 15) มะละกอ - 94 94 - 500 - 500 406

4

Page 6: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

247

กิจกรรม ต้นทุนการผลติ (บาท) มูลค่าผลตอบแทนการผลติ (บาท) ผลตอบแทน

สุทธ ิ(บาท)

เงินสด ไม่เป็นเงิน

สด รวม ขาย

บริโภค/แจก

มูลค่าคงเหลือ

รวม

16) ชะอม - 38 38 - 200 - 200 163 17) กระท่อม - - - - 4,104 - 4,104 4,104 18) มะพร้าว - 94 94 2,400 770 - 3,170 3,076 19) ขมิ้น - 38 38 - 130 - 130 93 20) ตะไคร ้ - 3,500 3,500 7,000 280 - 7,280 3,780 21) พริก - 213 213 960 800 - 1,760 1,548 22) มะเขือ - 150 150 500 1,200 - 1,700 1,550 23) พลู - 38 38 300 100 - 400 363 24) หญ้าเนเปีย - 1,800 1,800 - 2,400 - 2,400 600 25) ปลาธรรมชาติ - - - - 5,600 - 5,600 5,600

รวม 1,253,534 344,584 1,598,118 1,921,628 41,724 - 1,963,352 365,234

6. ประมวลเนื้อหา สูตรการผลิตต่าง ๆ ทีด่ าเนินการ และการถ่ายทอดความรู ้

6.1 เนื้อหา สูตรการผลิตต่าง ๆ ที่ด าเนินการ 6.1.1 ทางปาล์มน้ ามันอาหารหยาบส าหรับสัตว์เลี้ยงเคี้ยวเอื้อง (โค,แพะ) ปาล์มน้ ามันเป็น

พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของภาคใต้ โดยร้อยละ 95 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมดอยู่ในภาคใต้ มีการขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรจะเกี่ยวทะลายทิ้งทุกๆ 15 วัน ทุกเดือนจะมีการตัดทางปาล์มออกอย่างน้อย 2 ทางใบ/ต้นหรือคิดเป็น 44 ทางใบ/ไร่ (เมื่อใช้อัตราการปลูก 22 ต้น/ไร่) ทั้งเป็นเศษขยะกองอยู่ภายในสวนปาล์มน้ ามัน การน าทางปาล์มน้ ามันมาเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมส าหรับเกษตรกรในภาคใต้ ทางปาล์มน้ ามัน สามารถน ามาใช้เป็นแหล่งอาหารหยาบส าหรับเลี้ยงโคได้ทั้งในสภาพทางปาล์มน้ ามันสด ทางปาล์มน้ ามันหมัก โดยใช้ร่วมกับการเสริมอาหารข้น หรือใช้ในรูปแบบอาหารผสมส าเร็จรูปร่วมกับวัตถุดิบอื่น การเสริมแหล่งโปรตีนราคาถูก หรือแหล่งในโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือเสริมด้วยแหล่งวัตถุดิบที่มีแป้ง และน้ าตาล เช่น กากน้ าตาล ข้าวโพดป่น ช่วยท าให้การน าทางปาล์มน้ ามันมาใช้เป็นอาหารโคและแพะเกิดประโยชน์มากขึ้น

คุณค่าทางอาหารของทางปาล์มน้ ามัน ประกอบด้วย โปรตีน 5.6 - 6.0 % ADF 38.5 - 58.0 % NDF 69.0 - 78.7 % ลิกนิน 12.6 - 13.0 5 % เก้า 3.2 - 4.4 %

Page 7: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

248

แป้งและน้ าตาล 20 - 30 % วัตถุแห้ง 37 - 40 % การย่อยได้ของวัตถุแห้ง 33 - 35 %

แนวทางการใช้ทางปาล์มน้ ามันมาเป็นอาหารหยาบ - น าทางปาล์มน้ ามันมาเสริมให้กินสดทั้งทาง - น าทางปาล์มน้ ามันมาย่อยบด - น าทางปาล์มน้ ามันมาหมกั - น าทางปาล์มน้ ามันมาย่อยบดผสมร่วมกับวัตถุดิบอื่นในรูปของอาหารผสม

ส าเร็จรูป (TMR) ประโยชน์ของทางปาล์มน้ ามันย่อยบด

- น ามาให้สัตว์เคี้ยวเอื้อง เชน่ โคและแพะ - เศษที่เหลือจากสัตว์กินน ามาท าปุ๋ยหมกัชีวภาพ - น ามาเป็นวัสดุของพื้นคอกสัตว ์- ลดพื้นที่การท าแปลงปลูกหญ้าเพื่อน ามาเลี้ยงสัตว ์- เลี้ยงสัตว์ได้จ านวนมากขึน้ในพื้นที่จ ากัด

ตัวอย่างส่วนผสมของการท าทางปาล์มน้ ามันหมัก - ทางปาล์มสดย่อยบด 100 กิโลกรัม - กากน้ าตาล 2 กิโลกรัม - ยูเรีย 2 กิโลกรัม - เกลือ 1 กิโลกรัม - น้ า 10 ลิตร

คุณค่าทางอาหาร : โปรตีน ประมาณ 19.0 – 20.50 % ขั้นตอนการหมัก ทางปาล์มน้ ามันมาย่อยบด แล้วน ากากน าตาลมาผสมกับน้ า น าไป

ราดบนทางปาล์มที่ย่อยบดไว้แล้วพร้อมคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นน ายูเรียผสมน้ าราดบนกองทางปาล์มที่ย่อยบดไว้แล้วพร้อมคลุกเคล้าให้เข้ากันอีกครั้ง ใช้มือทดสอบก าทางปาล์มย่อยบดที่ผสมเข้ากันดีแล้วให้พอหมาด ๆ ไม่แฉะหรือแห้งเกินไป จากนั้นตักใส่ถังหมัก แล้วอัดให้แน่น น าเกลือโรยด้านบนของถังหมักเพื่อป้องกันการเน่าเสีย หนาประมาณ 2 - 3 ซม. ปิดฝาถังหมักให้แน่นเก็บไว้ ประมาณ 21 วัน

หมายเหตุ : ส่วนผสมต่าง ๆ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมและสภาพของวัตถุดิบของแต่ละพื้นที ่

ตัวอย่างส่วนผสมของอาหารส าเร็จรูป (TMR) ที่ใช้ทางปาล์มน้ ามันหมัก - ทางในปาลม์หมัก 50 %

Page 8: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

249

- กากเนื้อในปาล์มน้ ามัน 15 % - ร า 6 % - กากถั่วเหลือง 6 % - กากน้ าตาล 16 % - เกลือ 1 % - ปลานิล 2 % - ยูเรีย 3 % - แร่ธาต ุ 1 %

ตัวอย่างส่วนผสมของอาหารเสริมจากทางปาล์มน้ ามันหมัก - ทางปาล์มหมัก 5 กิโลกรัม - กากเนื้อในปาล์มน้ ามัน 1 กิโลกรัม - กากมะพร้าวขูดตากแห้งหมาด ๆ 1 กิโลกรัม

น าทุกอย่างมาผสมกันแล้วน าไปให้สัตว์รับประทานเพื่อเสริมจากอาหารปกติ

6.2 การถ่ายทอดความรู ้จุดสาธิตที่ส าคัญของนายปรีชาคือการเลี้ยงโคขุน โดยเฉพาะในเรื่องการหมักทางปาล์มน้ ามัน

ส าหรับใช้เลี้ยงวัว และการผสมอาหารที่เหมาะสมส าหรับเลี้ยงโคขุนเพื่อลดต้นทุน มีผู้มาดูงานจุดสาธิตของนายปรีชา ดังนี้

- ปี 2557 มีผู้มาศึกษาดูงาน ประมาณ 30 คน จากอ าเภอไชยา อ าเภอท่าชนะ อ าเภอเวียงสระ จังหวัด สุราษฎร์ธานี อ าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

- ปี 2556 มีผู้มาศึกษาดูงาน ประมาณ 10 คน จากอ าเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 7. การสร้างและเชื่อมโยงเครือข่าย

แนวคิดในการด าเนินการศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร (ศบอ.) คือ นอกจากจะใช้เป็นที่ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่ส าคัญในพื้นที่ เพื่อใช้ในการวางแผนและปรับปรุงการผลิตแล้ว ยังใช้เป็นที่ประสานงานกลุ่มผู้เล้ียงโคประชุมเดือนละ 1 ครั้ง และปล่อยเงินกู้ (เป็นเงินทุนสะสมของกลุ่มผู้เลี้ยงโค) ให้แก่สมาชิกผู้เลี้ยงโคเป็นเงินทุนหมุนเวียน นับเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการใช้สถานที่ ศบอ. ในการสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้เลียงโคให้เกิดความเข้มแข็งซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต

Page 9: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

250

8. กิจกรรม แผนที่เดินทางไปศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา และแผนผังแปลง ศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา

8.1 ภาพกิจกรรม

Page 10: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

251

ภาพกิจกรรม (ต่อ)

Page 11: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

252

ภาพกิจกรรม (ต่อ)

Page 12: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

253

8.2 แผนผังทีต่ั้งศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา

แผนที่ 35

วัดศรี

สุวรรณ

ซ.สมอ

ทอง

บ้านนายปรีชา เรืองแสง

ศบอ.

ตรงไป 1

กิโลเมตร

ตรง ไป 2

กิโล เมตร

จุดสังเกตคอก

วัว

สี่แยกหนองนลิ ไปสุราษฎร์ธานี ไปชุมพร

Page 13: ผลการวิจัยและ ...€¦ · 11) สะตอ 4 ต้น ตลอดปี อินทรีย์ ท าเอง ท าเอง แรงงาน ขายเอง

254

8.3 แผนผังแปลงของศูนย์บริการข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรอาสา

สี่แยกหนองนลิ

ศบอ.

3 กม.

20 ไร ่10 ไร ่

30 ไร ่

6 ไร ่

3 ไร ่

4 ไร ่

สระน้ า 3 ไร ่

12 ไร ่

จ.ชุมพร