asean report issue 3

20

Upload: varitta-komalasen

Post on 19-Mar-2016

221 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

the currency report

TRANSCRIPT

Page 1: ASEAN Report Issue 3
Page 2: ASEAN Report Issue 3
Page 3: ASEAN Report Issue 3

คาเงินบาทท่ีแข็งคาขึ้นในปจจุบัน เปนหน่ึงในประเด็นทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ท่ีกําลังเปนท่ีถกเถียงและ

วิพากษวิจารณในสังคม นโยบายของรัฐกับปญหาท่ีเกิดขึ้นเปนนโยบายท่ีแสดงถึงความไมสอดคลองกัน

ของผูดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ น่ันคือธนาคารแหงประเทศไทยและกระทรวงการคลัง

การศึกษาเปรียบเทียบน้ีจัดทําขึ้น เพ่ือศึกษาปญหาคาเงินท่ีแข็งคาขึ้นของไทย โดยเปรียบเทียบกับ

ประเทศผูสงออกท่ีแขงขันกับประเทศไทยในสินคาประเภทใกลเคียงกัน เพ่ือทําความเขาใจวาในความ

เปนจริงแลว ประเทศไทยจะเปนประเทศท่ีมีปญหาคาเงินแข็งคามากเพียงประเทศเดียวเทาน้ัน หรือ

ประเทศคูแขงทางการคาอื่นๆก็ประสบกับปญหาเดียวกัน เพ่ือใหการเปรียบเทียบเปนไปอยางถูกตอง

เหมาะสม จึงไดจัดทําขอมูลการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย ควบคูไปกับการรับรู

ถึงอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศในกลุมอาเซียน รวมถึงประเทศในกลุม

เปรียบเทียบกับ 7 ประเทศ โดยยกเวนประเทศพมา กัมพูชา และลาว เน่ืองจากการเปรียบเทียบการ

เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลาน้ีไมไดแสดงนัยยะสําคัญทางเศรษฐกิจมากนัก ในสวน

การเปรียบเทียบกับประเทศในกลุม BRICs น้ัน เพ่ือตองการท่ีจะทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของอัตรา

แลกเปลี่ยนในประเทศท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเร็ว และเปนคูแขงทางการคาท่ีสําคัญของประเทศ

ไทย ซ่ึงประเทศเหลาน้ีเปนประเทศกําลังพัฒนาท่ีพ่ึงพาการสงออกเปนสัดสวนสําคัญของ

การเปรียบเทียบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยกับประเทศตางๆ ท้ังหมดน้ี เพ่ือแสดงใหเห็นวาปญหาคาเงิน

ในประเทศท่ีแข็งคาขื้นน้ัน เหมือนหรือแตกตางกับประเทศตางๆเหลาน้ีอยางไร รวมท้ังทําใหทราบถึง

สภาวการณของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลาน้ีในแตละชวงเวลา รวมไปถึงสามารถวิเคราะหแนวโนม

ของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศเหลาน้ีในอนาคต

Summaryคาเงินบาทท่ีแข็งคาขึ้นในปจจุบัน เปนหน่ึงในประเด็นทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ท่ีกําลังเปนท่ีถกเถียงและ

วิพากษวิจารณในสังคม นโยบายของรัฐกับปญหาท่ีเกิดขึ้นเปนนโยบายท่ีแสดงถึงความไมสอดคลองกัน

ของผูดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ น่ันคือธนาคารแหงประเทศไทยและกระทรวงการคลัง

การศึกษาเปรียบเทียบน้ีจัดทําขึ้น เพ่ือศึกษาปญหาคาเงินท่ีแข็งคาขึ้นของไทย โดยเปรียบเทียบกับ

ประเทศผูสงออกท่ีแขงขันกับประเทศไทยในสินคาประเภทใกลเคียงกัน เพ่ือทําความเขาใจวาในความ

เปนจริงแลว ประเทศไทยจะเปนประเทศท่ีมีปญหาคาเงินแข็งคามากเพียงประเทศเดียวเทาน้ัน หรือ

ประเทศคูแขงทางการคาอื่นๆก็ประสบกับปญหาเดียวกัน เพ่ือใหการเปรียบเทียบเปนไปอยางถูกตอง

เหมาะสม จึงไดจัดทําขอมูลการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย ควบคูไปกับการรับรู

ถึงอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศในกลุมอาเซียน รวมถึงประเทศในกลุม BRICs โดยในกลุมอาเซียนน้ันได

โดยยกเวนประเทศพมา กัมพูชา และลาว เน่ืองจากการเปรียบเทียบการ

เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลาน้ีไมไดแสดงนัยยะสําคัญทางเศรษฐกิจมากนัก ในสวน

น้ัน เพ่ือตองการท่ีจะทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของอัตรา

แลกเปลี่ยนในประเทศท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเร็ว และเปนคูแขงทางการคาท่ีสําคัญของประเทศ

เหลาน้ีเปนประเทศกําลังพัฒนาท่ีพ่ึงพาการสงออกเปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิจ

การเปรียบเทียบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยกับประเทศตางๆ ท้ังหมดน้ี เพ่ือแสดงใหเห็นวาปญหาคาเงิน

ในประเทศท่ีแข็งคาขื้นน้ัน เหมือนหรือแตกตางกับประเทศตางๆเหลาน้ีอยางไร รวมท้ังทําใหทราบถึง

สภาวการณของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลาน้ีในแตละชวงเวลา รวมไปถึงสามารถวิเคราะหแนวโนม

ExecutiveSummary

Page 4: ASEAN Report Issue 3
Page 5: ASEAN Report Issue 3

Table ofCONTENTS

3 monthswith ASEAN pg.46 months with pg. 5

1 year with ASEANpg. 63 year with pg. 7

pg.

10 year with pg. 9

6 months with pg. 10pg. 11

3 year with ASEANpg. 125 year with pg. 13

pg. 14

CONTENTSmonths

ASEAN & BRICs

months with ASEANASEAN

year with ASEAN

5 year with ASEANpg. 8year with ASEAN

months with ASEAN

1 year with ASEANASEAN

year with ASEAN

10 year with ASEAN14

Page 6: ASEAN Report Issue 3

2.52% -4.14% 0-1.42%

monthswith 3

-1.5

-1

-0.5

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

Malaysia

Thailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

1.56%

2.52%

0.01%

-0.57%

-0.34%

-1.20%

-0.07%

-5

-4

-3

-2

-1

0

1

2

3

Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

Thailand

Russia

Brazil

China

India

2.52%

-4.14%

0.74%

-1.42%

-0.95

4

0.74% -0.95%

1.56%2.52%

0.01%

-0.57%

-1.20% -0.07% -0.34%

monthswith ASEAN & BRICs

เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในกลุม BRICs พบวาประ เทศ ไทย มีอั ต ราการแข็ ง ค าขอ งอั ต ราแลกเปลี่ยนมากท่ีสุดเชนกัน คืออยูท่ี 2.52% โดยประเทศจีนเปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคารองลงมาอยูท่ี0.74% สวนประเทศอินเดีย รัสเซียและประเทศบราซิล มีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงอยูท่ี 0.95% 4.14% และ 1.42% ตามลําดับ

ในชวงเวลา 3 เดือนนับจากเดือนกุมภาพันธ 2013 อัตราแลกเปลี่ยนของไทยแข็งคาเปนอันดับ 1 ในกลุมอาเซียน โดยประเทศท่ีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคารองลงมาคือประเทศมาเลเซีย อยูท่ี 1.56% ประเทศสิงคโปรเปนประเทศท่ีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคานอยท่ีสุดคือ 0.01% สวนประเทศฟลิปปนสเปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงมากท่ีสุดอยู ท่ี -1.20%

China

India

%

%

95%

Page 7: ASEAN Report Issue 3

1.565.33%

-1.21% -0.05% -

monthswith ASEAN6

เม่ือเปรียบเทียบในชวง 6 เดือนท่ีผานมา (พฤศจิกายน 2012ไทยน้ันแข็งคาขึ้นเปนอันดับ 1 ในอาเซียน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนหางกับอันดับท่ี ประเทศมาเลเซีย โดยประเทศมาเลเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคาอยูท่ี แลกเปลี่ยนออนคาลงจากเดิม โดยประเทศอินโดนีเซียเปนประเทศท่ีมีการออนคาของอัตราแลกเปลี่ยนมากท่ีสุด อยูท่ี 1.32%

-3

-2

-1

0

1

2

3

4

5

6

Nov-2012 Dec-2012 Jan-2013

56% -1.32%

-1.12% -0.23%

2012 – เมษายน 2013) พบวา อัตราแลกเปลี่ยนของในอาเซียน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนหางกับอันดับท่ี 2 คือ

ประเทศมาเลเซีย โดยประเทศมาเลเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคาอยูท่ี 1.56% สวนประเทศอื่นๆ มีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงจากเดิม โดยประเทศอินโดนีเซียเปนประเทศท่ีมีการออนคาของอัตราแลกเปลี่ยนมาก

Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

Malaysia

Thailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

1.56%

5.33%

-1.21%-1.32%

-0.23%-0.05%

3.42%

5

Page 8: ASEAN Report Issue 3

-8

-6

-4

-2

0

2

4

6

8 หากนับตั้งแตเดือนเมษายน 2012 พบวาประเทศไทยยังคงเปนประเทศท่ีอัตราแลกเปลีย่นแขง็คามากท่ีสุดภายในอาเซียน โดยตัวเลขอยูท่ี 5.84% รองลงมา แข็งคาขึ้น 3.55 % ประเทศสิงคโปรเปนประเทศท่ีคาเงินแข็งคานอยท่ีสุดท่ี สวนประเทศอินโดนีเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลงมากท่ีสุด โดยลดลง

0.35%5.84%

1.03% 3.55% 1.

6

Malaysia

Thailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

0.35%

5.84%

1.03%

-6.27%

-0.76%

3.55%

1.04%

yearwith ASEAN1

พบวาประเทศไทยยังคงเปนประเทศท่ีอัตราแลกเปลีย่นแขง็% ซ่ึงประเทศฟลิปปนสอยูในอันดับ

ประเทศสิงคโปรเปนประเทศท่ีคาเงินแข็งคานอยท่ีสุดท่ี 1.03% สวนประเทศอินโดนีเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลงมากท่ีสุด โดยลดลง 6.27%

% -6.27%

.04% -0.76%

Page 9: ASEAN Report Issue 3

yearwith ASEAN3

นับจากเดือนเมษายน 2010 ประเทศไทยและประเทศสิงคโปรมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนอยูในระดับสูงท่ีสุดของอาเซียน โดยมีตัวเลขอยูท่ี 9.95 % และ 10.40 % ตามลําดับ โดยประเทศมาเลเซียมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนนอยท่ีสุดอยูท่ี 4.88 % สวนทางกับอีก 2 ประเทศคือ อินโดนีเซียและเวียดนาม ท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลง% และ 9.67 % ตามลําดับ

-15

-10

-5

0

5

10

15

Apr-2010

May-2010

Jun-

2010

Jul-2

010

Aug-

2010

Sep-

2010

Oct-2010

Nov-2010

Dec-2010

Jan-

2011

Feb-

2011

Mar-2011

Apr-2011

May-2011

Jun-

2011

Jul-2

011

Aug-

2011

Sep-

2011

Oct-2011

Nov-2011

Dec-2011

4.889.95%

10.40% 7.84% 10

ประเทศไทยและประเทศสิงคโปรมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนอยูในระดับสูงท่ีสุดของตามลําดับ โดยประเทศมาเลเซียมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยน

ประเทศคือ อินโดนีเซียและเวียดนาม ท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลง 5.86

Dec-2011

Jan-

2012

Feb-

2012

Mar-2012

Apr-2012

May-2012

Jun-

2012

Jul-2

012

Aug-

2012

Sep-

2012

Oct-2012

Nov-2012

Dec-2012

Jan-

2013

Feb-

2013

Mar-2013

Apr-13

Malaysia

Thailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

4.88%

9.95%10.40%

-5.86%

-9.67%

7.84%

10.21%

88% -5.86%

10.21% -9.67%

7

Page 10: ASEAN Report Issue 3

yearwith ASEAN5

เม่ือพิจารณาในชวงระยะเวลา 5 ปท่ีผานมา พบวาประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากท่ีสุดคือประเทศบรูไนและประเทศสิงคโปร โดยมีตัวเลขท่ีใกลเคียงกันอยูท่ี ตามมาดวยประเทศไทยท่ีแข็งคาขึ้นประมาณ 7.92 % สวนประเทศเวียดนามเปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงมากท่ีสุด ถึง 29.16 %

-35

-30

-25

-20

-15

-10

-5

0

5

10

15

Apr-2008

Jun-

2008

Aug-

2008

Oct-2008

Dec-2008

Feb-

2009

Apr-2009

Jun-

2009

Aug-

2009

Oct-2009

Dec-2009

Feb-

2010

Apr-2010

Jun-

2010

Aug-

2010

Oct-2010

Dec-2010

Feb-

2011

3.557.92%

9.25% 1.42%8

ปท่ีผานมา พบวาประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากท่ีสุดคือประเทศบรูไนและประเทศสิงคโปร โดยมีตัวเลขท่ีใกลเคียงกันอยูท่ี 9.04 % และ 9.25 % ตามลําดับ

สวนประเทศเวียดนามเปนประเทศท่ีมีอัตรา2011

Apr-2011

Jun-

2011

Aug-

2011

Oct-2011

Dec-2011

Feb-

2012

Apr-2012

Jun-

2012

Aug-

2012

Oct-2012

Dec-2012

Feb-

2013

Apr-13

-5.87%

MalaysiaThailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

3.55%

7.92%

9.25%

-29.16%

1.42%

9.04%

55% -5.87%

9.04% -29.16%

Page 11: ASEAN Report Issue 3

-40

-30

-20

-10

0

10

20

30

40

Apr-2003

Jul-2

003

Oct-2003

Jan-

2004

Apr-2004

Jul-2

004

Oct-2004

Jan-

2005

Apr-2005

Jul-2

005

Oct-2005

Jan-

2006

Apr-2006

Jul-2

006

Oct-2006

Jan-

2007

Apr-2007

Jul-2

007

Oct-2007

Jan-

2008

Apr-2008

Jul-2

008

Oct-2008

yearwith ASEAN10

เม่ือพิจารณายอนหลังไป 10 ป พบวาประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีแข็งคามากท่ีสุด 3 อันดับแรกคือ ไทย สิงคโปร และบรูไน มีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนใกลเคียงกัน คือ 32.31% 30.33 % และ 28.76 % ตามลําดับ สวนประเทศเวียดนามอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงมากท่ีสุดอยูท่ี 31.52 %

19.7832.31%

30.33% 22.07%

Oct-2008

Jan-

2009

Apr-2009

Jul-2

009

Oct-2009

Jan-

2010

Apr-2010

Jul-2

010

Oct-2010

Jan-

2011

Apr-2011

Jul-2

011

Oct-2011

Jan-

2012

Apr-2012

Jul-2

012

Oct-2012

Jan-

2013

Apr-13

Malaysia

Thailand

Indonesia

Singapore

Philippines

Brunei

Vietnam

19.78%

32.31%30.33%

-10.87%

-31.52%

22.07%

28.76%

ASEAN

78% -10.87%

28.76% -31.52%

9

Page 12: ASEAN Report Issue 3

5.33%

0.0002% 0.76%

3.15% 0.84%

monthswith BRICs6

-1

0

1

2

3

4

5

6

Nov-2012 Dec-2012 Jan-2013

10

%

%

เม่ือประเทศกับประเทศในกลุม BRICs นับจากเดือนพฤศจิกายน 2012 พบวาประเทศไทยมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากท่ีสุดอยูท่ี 5.33 % สวนประเทศบราซิลแข็งคามากเปนอับดับ 2 อยูท่ี 3.15% และประเทศรัสเซีย เปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนใกลเคียงกับชวง 6 เดือนท่ีแลวมากท่ีสุด โดยแข็งคาขึ้นเพียง 0.0002 %

Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

Thailand

Russia

Brazil

China

India

5.33%

0.0002%

0.76%

3.15%

0.84%

Page 13: ASEAN Report Issue 3

5.84%

-18.85% 1.87%

-8.03% -5.09%

-30

-25

-20

-15

-10

-5

0

5

10

%

%

yearwith BRICs1

เม่ือยอนกลับไป 1 ป พบวาประเทศไทย เปนประเทศท่ีมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนมากท่ีสุด โดยตัวเลขอยูท่ี 5.84 % โดยประเทศจีนอยูในอันดับ 2 มีตัวเลขอยูท่ี 1.87 % สวนประเทศบราซิล อินเดียและรัสเซีย มีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลง ซ่ึงตัวเลขอยูท่ีระดับ 8.03 % 5.09 % และ18.85 % ตามลําดับ

Thailand

Russia

Brazil

China

India

5.84%

-18.85%

1.87%

-8.03%

-5.09%

11

Page 14: ASEAN Report Issue 3

9.95%

-7.57% 9.37%

-13.90% -22.22

yearwith BRICs3

-30

-25

-20

-15

-10

-5

0

5

10

15

Apr-2010

May-2010

Jun-

2010

Jul-2

010

Aug-

2010

Sep-

2010

Oct-2010

Nov-2010

Dec-2010

Jan-

2011

Feb-

2011

Mar-2011

Apr-2011

May-2011

Jun-

2011

Jul-2

011

Aug-

2011

Sep-

2011

Oct-2011

Nov-2011

Dec-2011

12

%

22%

หากเปรียบเทียบตลอด 3 ปท่ีผานมา พบวาประเทศไทยและประเทศจีนเปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากท่ีสุดอยูท่ี 9.95% และ 9.37 % ในขณะท่ีอีก 3 ประเทศมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลง โดยประเทศอินเดียออนคาลงมากท่ีสุด อยูท่ี 22.22 %

2011

Dec-2011

Jan-

2012

Feb-

2012

Mar-2012

Apr-2012

May-2012

Jun-

2012

Jul-2

012

Aug-

2012

Sep-

2012

Oct-2012

Nov-2012

Dec-2012

Jan-

2013

Feb-

2013

Mar-2013

Apr-13

Thailand

Russia

Brazil

China

India

9.95%

-7.57%

9.37%

-13.90%

-22.22%

Page 15: ASEAN Report Issue 3

7.92%

-33.58% 11.62

-18.66% -35.92

-60

-50

-40

-30

-20

-10

0

10

20

Apr-2008

Jun-

2008

Aug-

2008

Oct-2008

Dec-2008

Feb-

2009

Apr-2009

Jun-

2009

Aug-

2009

Oct-2009

Dec-2009

Feb-

2010

Apr-2010

Jun-

2010

Aug-

2010

Oct-2010

Dec-2010

62%

92%

yearwith BRICs5

เม่ือเปรียบเทียบในชวง 5 ปท่ีผานมา ประเทศจีนเปนประเทศท่ีมีอัตราแลกเปลี่ยนแขง็คามากท่ีสุด โดยมีตัวเลขอยูท่ี 11.62 % และประเทศไทยอยูในอันดับ 2 ท่ีตัวเลข 7.92 % สวนอีก 3 ประเทศคือรัสเซีย บราซิลและอินเดีย มีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลง โดยประเทศอินเดียมีการออนคาของอัตราแลกเปลี่ยนมากท่ีสุดอยูท่ี 35.92 %

Dec-2010

Feb-

2011

Apr-2011

Jun-

2011

Aug-

2011

Oct-2011

Dec-2011

Feb-

2012

Apr-2012

Jun-

2012

Aug-

2012

Oct-2012

Dec-2012

Feb-

2013

Apr-13

Thailand

Russia

Brazil

China

India

7.92%

-33.58%

11.62%

-18.66%

-35.92%

13

Page 16: ASEAN Report Issue 3

yearwith BRICs10

เม่ือพิจารณาตัวเลขยอนกลับไป 10 ป พบวา ประเทศบราซิลเปนประเทศท่ีมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนสูงท่ีสุด โดยมีตัวเลขอยูท่ี 35.63 % อันดับสองคือประเทศไทย 25.26 % สวนประเทศอินเดียและรัสเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลง โดยมีตัวเลขอยูท่ี % ตามลําดับ

-0.63%

35.63%

-30

-20

-10

0

10

20

30

40

50

60

Apr-2003

Jul-2

003

Oct-2003

Jan-

2004

Apr-2004

Jul-2

004

Oct-2004

Jan-

2005

Apr-2005

Jul-2

005

Oct-2005

Jan-

2006

Apr-2006

Jul-2

006

Oct-2006

Jan-

2007

Apr-2007

Jul-2

007

Oct-2007

Jan-

2008

Apr-2008

Jul-2

008

14

BRICs

ป พบวา ประเทศบราซิลเปนประเทศท่ีมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนสูงอันดับสองคือประเทศไทย 32.31 % และประเทศจีนเปนอันดับท่ี 3 อยูท่ีระดับ

สวนประเทศอินเดียและรัสเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนท่ีออนคาลง โดยมีตัวเลขอยูท่ี 134.62 % และ 0.63

32.31%

% 25.26%

% -14.62%

Apr-2008

Jul-2

008

Oct-2008

Jan-

2009

Apr-2009

Jul-2

009

Oct-2009

Jan-

2010

Apr-2010

Jul-2

010

Oct-2010

Jan-

2011

Apr-2011

Jul-2

011

Oct-2011

Jan-

2012

Apr-2012

Jul-2

012

Oct-2012

Jan-

2013

Apr-13

Thailand

Russia

Brazil

China

India

32.31%

-0.63%

25.26%

35.63%

-14.62%

Page 17: ASEAN Report Issue 3

เม่ือพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงของคาเงินบาท เปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ท้ังในกลุม

ประเทศอาเซียนดวยกัน และประเทศในกลุม BRICs

เดือนท่ีผานมา คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาในอัตราท่ีสูงกวาประเทศท่ีนํามาเปรียบเทียบดวย

ท้ังหมด แตเม่ือมองยอนกลับไปในระยะเวลาท่ียาวขึ้น กลับพบวาอัตราการเปลี่ยนแปลงใน

คาเงินบาทของไทยน้ัน มีความใกลเคียงกับประเทศผูสงออกสําคัญอื่นๆ น่ันแสดงใหเห็นวา หาก

ผูประกอบการไทยมีการเตรียมความพรอมท่ีดี การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ

ไทยในระยะยาวท่ีอยูในระดับสูงไมแตกตางกับประเทศผูสงออกรายอื่นๆ ยอมไมสงผลกระทบ

รุนแรงมากนักตอผูประกอบการของไทยท่ีมีการเตรียมความพรอมในระยะยาว

ผูประกอบการไทยจึงควรมีการเตรียมความพรอมและสั่งสมความพรอมในระยะยาว ผานการ

ปรับตัว บนพ้ืนฐานของการเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต การลดตนทุน รวมถึงการสราง

นวัตกรรมใหมๆ ใหกับสินคาสงออก ท้ังหมดน้ีเพ่ือเพ่ิม

ของผูประกอบการ มากกวาท่ีจะคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของคาเงินในระยะสั้น

นอกจากการปรับตัวภายในธุรกิจของผูประกอบการแลว

ของอัตราแลกเปลี่ยนก็เปนหน่ึงในวิธีท่ีชวยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น

ความเสี่ยงท้ังการเลือกใชวิธีการซ้ือขายสินคาโดยใชสกุลเงินทองถิ่น

การปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

วิธีท่ีชวยลดผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

สําหรับผูประกอบการในอนาคต คือการพัฒนาและสรางความสามารถในการแขงขันระยะยาวใน

ธุรกิจใหเกิดขึ้น ซ่ึงเปนแนวทางท่ีทําใหผูประกอบการเติบโตไดอยางม่ันคงและทําใหเช่ือม่ันได

วา ในอนาคตผูประกอบการจะสามารถแขงขันกับคูแขงในตลาดโลกไดแมวาจะมีปญหาความไม

แนนอนของอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นมาก็ตาม

Concluding

เม่ือพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงของคาเงินบาท เปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ท้ังในกลุม

BRICs จะพบวาในชวงระยะเวลา 3 เดือนและ 6

เดือนท่ีผานมา คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาในอัตราท่ีสูงกวาประเทศท่ีนํามาเปรียบเทียบดวย

ท้ังหมด แตเม่ือมองยอนกลับไปในระยะเวลาท่ียาวขึ้น กลับพบวาอัตราการเปลี่ยนแปลงใน

คาเงินบาทของไทยน้ัน มีความใกลเคียงกับประเทศผูสงออกสําคัญอื่นๆ น่ันแสดงใหเห็นวา หาก

ผูประกอบการไทยมีการเตรียมความพรอมท่ีดี การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ

ไทยในระยะยาวท่ีอยูในระดับสูงไมแตกตางกับประเทศผูสงออกรายอื่นๆ ยอมไมสงผลกระทบ

รุนแรงมากนักตอผูประกอบการของไทยท่ีมีการเตรียมความพรอมในระยะยาว

ผูประกอบการไทยจึงควรมีการเตรียมความพรอมและสั่งสมความพรอมในระยะยาว ผานการ

พ้ืนฐานของการเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต การลดตนทุน รวมถึงการสราง

ท้ังหมดน้ีเพ่ือเพ่ิมความสามารถทางการแขงขันในระยะยาว

ของผูประกอบการ มากกวาท่ีจะคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของคาเงินในระยะสั้น

นอกจากการปรับตัวภายในธุรกิจของผูประกอบการแลว การลดความเสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลง

ของอัตราแลกเปลี่ยนก็เปนหน่ึงในวิธีท่ีชวยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น วิธีการลด

ความเสี่ยงท้ังการเลือกใชวิธีการซ้ือขายสินคาโดยใชสกุลเงินทองถิ่น (Local invoicing) รวมไปถึง

การปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (hedging) ลวนแลวแตเปนหน่ึงใน

วิธีท่ีชวยลดผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน แตถึงกระน้ัน แนวทางท่ีดีท่ีสุด

คือการพัฒนาและสรางความสามารถในการแขงขันระยะยาวใน

ซ่ึงเปนแนวทางท่ีทําใหผูประกอบการเติบโตไดอยางม่ันคงและทําใหเช่ือม่ันได

ในอนาคตผูประกอบการจะสามารถแขงขันกับคูแขงในตลาดโลกไดแมวาจะมีปญหาความไม

15

Concluding Remarks

Page 18: ASEAN Report Issue 3

AKI’s ASEANBusiness Center

Dr. Suthikorn Kingkaew

Executive Advisor

[email protected]

Mr. Abhisit Thamkaew

Consultant

[email protected]

Ms. Varitta Komalasen

Graphic Designer

[email protected]

ASEANBusiness Center

Page 19: ASEAN Report Issue 3
Page 20: ASEAN Report Issue 3