automatic fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4...

13
Automatic Fan พัดลมอัตโนมัติ โดย นายพงศธร วงค์มูล รหัสนักศึกษา 57208133 นายวัชรคม คุณยศยิ่ง รหัสนักศึกษา 57208129 สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

Upload: others

Post on 02-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

Automatic Fan พัดลมอัตโนมัติ

โดย นายพงศธร วงค์มูล รหัสนักศึกษา 57208133

นายวัชรคม คุณยศยิ่ง รหัสนักศึกษา 57208129

สาขาเทคโนโลยีคอมพวิเตอร์ คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

Page 2: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทคัดย่อ

เนื่องจากปัจจุบันมีการใช้ทรัพยากรไฟฟ้าอย่างสิ้นเปลืองท าให้เป็นที่มาของภาวะโลกร้อนที่เราไม่คาดคิดเช่น การเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าทิ้งไว้ท าให้เกิดการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยใช่เหตุและยังมีค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมมากขึ้น คณะผู้จัดท าจึงคิดสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าและเพ่ิมความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและสิ่งปะดิษฐ์นี้ยังสามารถน าไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้อีกด้วย

ทุกวันนี้พัดลมในท้องตลาดเป็นพัดลมที่ต้องใช้สวิทซ์สัมผัสในการกด เปิด – ปิด และเวลาที่เราท างานอยู่อุณหภูมิในห้องเพ่ิมมากขึ้นท าให้เราต้องเดินไปเพ่ือปรับระดับความแรงของพัดลมด้วยตัวเอง บางครั้งการที่เราต้องการให้พัดลมหมุนอยู่กับที่ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปตั้งให้พัดลมท าการล็อคอยู่กับที่ และในบางครั้งเราขยับที่ไปท างานโต๊ะข้างๆ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปเพื่อที่จะหันพัดลม ให้หมุนมาทางเรา

ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้า จึงได้จัดท า พัดลมอัตโนมัติ เพ่ือให้สามารถควบคุมการท างานของพัดลมไฟฟ้า ให้สามารถ เปิด – ปิด ได้โดยอัตโนมัติโดยการใช้ระบบเซ็นเซอร์ตรวจจับและสามารถปรับความเร็วตามอุณหภูมิ

Page 3: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทท่ี 1 บทน า

1. ที่มาและความส าคญัของปัญหา เนื่องจากปัจจุบันมีการใช้ทรัพยากรไฟฟ้าอย่างสิ้นเปลืองท าให้เป็นที่มาของภาวะโลกร้อนที่เราไม่

คาดคิดเช่น การเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าทิ้งไว้ท าให้เกิดการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยใช่เหตุและยังมีค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมมากขึ้น คณะผู้จัดท าจึงคิดสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าและเพ่ิมความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและสิ่งปะดิษฐ์นี้ยังสามารถน าไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้อีกด้วย

ทุกวันนี้พัดลมในท้องตลาดเป็นพัดลมที่ต้องใช้สวิทซ์สัมผัสในการกด เปิด – ปิด และเวลาที่เราท างานอยู่อุณหภูมิในห้องเพ่ิมมากขึ้นท าให้เราต้องเดินไปเพ่ือปรับระดับความแรงของพัดลมด้วยตัวเอง บางครั้งการที่เราต้องการให้พัดลมหมุนอยู่กับที่ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปตั้งให้พัดลมท าการล็อคอยู่กับที่ และในบางครั้งเราขยับที่ไปท างานโต๊ะข้างๆ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปเพื่อที่จะหันพัดลม ให้หมุนมาทางเรา

ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้า จึงได้จัดท า พัดลมอัตโนมัติ เพ่ือให้สามารถควบคุมการท างานของพัดลมไฟฟ้า ให้สามารถ เปิด – ปิด ได้โดยอัตโนมัติโดยการใช้ระบบเซ็นเซอร์ตรวจจับและสามารถปรับความเร็วตามอุณหภูมิ

หลักการและเหตุผล ทุกวันนี้พัดลมในท้องตลาดเป็นพัดลมที่ต้องใช้สวิทซ์สัมผัสในการกด เปิด – ปิด และเวลาที่เรา

ท างานอยู่อุณหภูมิในห้องเพ่ิมมากขึ้นท าให้เราต้องเดินไปเพ่ือปรับระดับความแรงของพัดลมด้วยตัวเอง บางครั้งการที่เราต้องการให้พัดลมหมุนอยู่กับที่ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปตั้งให้พัดลมท าการล็อคอยู่กับที่ และในบางครั้งเราขยับที่ไปท างานโต๊ะข้างๆ เราจ าเป็นจะต้องเดินไปเพื่อที่จะหันพัดลม ให้หมุนมาทางเรา

ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้า จึงได้จัดท า พัดลมอัตโนมัติ เพ่ือให้สามารถควบคุมการท างานของพัดลมไฟฟ้า ให้สามารถ เปิด – ปิด ได้โดยอัตโนมัติโดยการใช้ระบบเซ็นเซอร์ตรวจจับและสามารถปรับความเร็วตามอุณหภูมิ

2. วัตถุประสงค ์3.1 เพ่ืออ านวยความสะดวกสบายของผู้ใช้งาน 3.2 เพ่ือเพ่ือเพ่ิมประสิทธิ์ภาพของพัดลมให้มากข้ึน 3.3 เพ่ือลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าที่ไม่จ าเป็นลง

Page 4: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

3. เป้าหมายของโครงการ 4.1. เป้าหมายเชิงคุณภาพ (1) เพ่ือเพ่ิมความสะดวกสบายแก่ผู้ใช้ (2) เพ่ือลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าที่ไม่จ าเป็นลง

4. ขอบเขตของเนื้อหา 1. ศึกษาบอร์ด arduino 2. ศึกษาการใช้เซ็นเซอร์วัดระยะและเซ็นเซอร์อุณหภูมิ 3. ศึกษาการเขียนโค้ดค าสั่ง arduino

5. สถานที่ด าเนินการ สาขางาน วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ กม.ที่ 4 ถ.เชียงใหม่-แม่โจ้

ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210

แผนการด าเนินการ

การด าเนินงาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน

1-30 1-31 1-31 1-29

พฤศจิกายน 2558

ธันวาคม 2558

มกราคม 2559

กุมภาพันธ์ 2559

1.รวบรวมข้อมูล

2.ศึกษาข้อมูล

3.จัดท าโครงร่างน าเสนอ

4.จัดท าสื่อ

5.ท าการทดสอบและแก้ไข

6.จัดท าเอกสารประกอบ

7.สรุปผลการด าเนินงาน

Page 5: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

งบประมาณ งบประมาณ2,895 บาท การติดตาม/การประเมินผล

1. น าเสนอโครงการให้ชุมชน 2. น าหัวข้อเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 3. ท าแผนปฏิบัติการ 4. จัดท าโครงการ 5. ทดลองใช้กับชุมชน 6. ประเมินผล 7. ปรับปรุงแก้ไข 8. น าไปใช้

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบัจากโครงการ 1. เพ่ิมความสะดวกสบายให้กับผู้ใช้ 2. ใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาน ามาใช้พัฒนาสิ่งประดิษฐ์ 3. ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าที่ไม่จ าเป็นลง 4. เป็นแนวทางในการพัฒนานวัฒกรรมในอนาคต

Page 6: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การด าเนินการโครงการ พัดลมอัตโนมัติ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ กม.ที่ 4 ถ.

เชียงใหม่ - แม่โจ้ ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึง 31 มกราคม 2559 ผู้ด าเนินโครงการที่ได้รวบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีหัวข้อดังต่อไปนี้ 2.1 ความรู้เกี่ยวกับโครงการที่ท า 2.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความรู้เกี่ยวกับโครงการที่ท า 2.1.1

1. Arduino อ่านว่า (อา-ดู-อิ-โน่ หรือ อาดุยโน่) เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการเปิดเผยข้อมูลทั้งด้าน Hardware และ Software ตัว บอร์ด Arduino ถูกออก แบบมาให้ใช้งานได้ง่าย ดังนั้นจึงเหมาะส าหรับผู้เริ่มต้นศึกษา ทั้งนี้ผู้ใช้งานยังสามารถดัดแปลง เพ่ิมเติม พัฒนาต่อยอดทั้งตัวบอร์ด หรือโปรแกรมต่อได้อีกด้วย ชนิดของArduino (1) Arduino Uno R3 เป็นบอร์ด Arduino ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด (2) Arduino Uno SMD เป็นบอร์ดที่มีคุณสมบัติและการท างานเหมือนกับบอร์ด Arduino UNO R3 ทุกประการ

Page 7: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

2.1.2 Ultrasonic

1. Ultrasonic มี 4 ขา 1. vcc 5V 2. Gnd 3. trig -> ส่งสัญญาณให้ส่ง คลื่นออกไป 4. echo -> ขา

รับสัญญาณหากได้รับ คลื่นที่เราออกไป 2.1.3 เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ 1. เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ

เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ / ความชื้น หรือ Temperature Sensor / Humidity Sensor คืออุปกรณ์ส าหรับตรวจวัดอุณหภูมิ หรือความชื้นในบริเวณท่ีใช้งาน ซึ่งเหมาะส าหรับห้องควบคุมอุณหภูมิความชื้น, อุตสาหกรรมอาหาร,ห้องอบ, ห้องแช่เย็น,ห้องแล็ป,ห้องควบคุมระบบคอมพิเตอร์, Clean Room, Warehouse ที่มี ปัญหาในการควบคุมอุณหภูมิหรือความชื้น ท าให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ หรือวัสดุที่ต้องการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ / ความชื้น ที่ถูกคัดสรรมาเป็นอย่างดีของบริษัท แสงชัยมิเตอร์ จ ากัด สามารถช่วยให้ วัดค่าอุณหภูมิ ความชื้นได้อย่างถูกต้อง แม่นย า ซึ่งแตกต่างจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ / ความชื้นแบบอ่ืนในท้องตลาดตรงที่ มีรูปแบบการติดตั้งที่หลากหลายให้เลือกใช้ สามารถต่อร่วมกับจอแสดงผล หรือเครื่องควบคุมได้ง่าย

Page 8: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทท่ี 3 วิธีการด าเนินงานโครงการ

การด าเนินการโครงการ พัดลมอัตโนมัติ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ กม.ที่ 4 ถ.เชียงใหม่ - แม่โจ้ ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึง 31 มกราคม 2559 ผู้ด าเนินโครงการมีวิธีการด าเนินงานโครงการดังต่อไปนี้

3.1 รูปแบบของโครงการ โครงการ พัดลมอัตโนมัติ เป็นโครงการประเภท โครงการสิ่งประดิษฐ์พัฒนาคุณภาพชีวิต เกี่ยวกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิต

รูปที่ 1 การวัดระยะเซ็นเซอร์ รูปที่ 2 การทดสอบการวัดค่าอุณหภูมิ รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม

รูปที่ 3 การเขียนโค้ดโปรแกรมก าหนดเซ็นเซอร์วัดระยะและเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ

Page 9: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม

เมตร ระยะที่จับได้ 50 cm 80 cm 100 cm 150 cm 151 cm

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

ตารางที่ 1. ตารางแสดงผลเซ็นเซอร์วัดระยะ

ระดับพัดลม อุณหภูมิ เบอร์ 1 เบอร์ 2 เบอร์ 3

20-25 26-28

29-30up ตารางที่ 2. ตารางแสดงผลเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ

Page 10: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทท่ี 4

ผลการด าเนินงานโครงการ

การด าเนินการโครงการ พัดลมอัตโนมัติ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่ออ านวยความสะดวกสบายของผู้ใช้งาน

2. เพื่อเพ่ิมประสิทธิ์ภาพของพัดลมให้มากข้ึน 3. เพื่อลดค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้าที่ไม่จ าเป็นลง จากการวิเคราะห์ข้อมูล

เมตร ระยะที่จับได้ 50 cm 80 cm 100 cm 150 cm 151 cm

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

ตารางที่ 1. ตารางสรุปผลเซ็นเซอร์วัดระยะ

1. ถ้าระยะ 50 cm พัดลมจะท าการจับวัตถุ 2. ถ้าระยะ 80 cm พัดลมจะท าการจับวัตถุ 3. ถ้าระยะ 100 cm พัดลมจะท าการจับวัตถุ 4. ถ้าระยะ 150 cm พัดลมจะท าการจับวัตถุ 5. ถ้าระยะ เกิน 150 cm พัดลมจะไม่จับวัตถุ

ระดับพัดลม อุณหภูมิ

เบอร์ 1 เบอร์ 2 เบอร์ 3

20-25 26-28

29-30up ตารางที่ 2. ตารางสรุปผลเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ

1. ถ้าอุณหภูมิ 20-25 พัดลมจะท างานที่เบอร์ 1 ถ้าอุณหภูมิน้อยกว่า 20 พัดลมจะไม่ท างาน 2. ถ้าอุณหภูมิ 26-28 พัดลมจะท างานที่เบอร์ 2 ถ้าอุณหภูมิน้อยกว่า 26 พัดลมจะท างานที่เบอร์ 1 3. ถ้าอุณหภูมิ 29-30up พัดลมจะท างานที่เบอร์ 3 ถ้าอุณหภูมิน้อยกว่า 29 พัดลมจะท างานที่เบอร์ 2

Page 11: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บทท่ี 5

สรุปผลการด าเสนอโครงการและข้อเสนอแนะ

การด าเนินการโครงการ พัดลมอัตโนมัติ ณ สาขางาน วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ กม.ที่ 4 ถ.เชียงใหม่-แม่โจ้ ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210

ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 ผู้ด าเนินโครงการมีสรุปผลการด าเนินงานโครงการและข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้

5.1 สรุปผลการด าเนินงานโครงการ พัดลมอัตโนมัติสามารถท างานได้โดยการเสียบปลั๊กทิ้งไว้ตลอดเวลา เพื่อให้พัดลมและเซ็นเซอร์

ท างาน พัดลมอัตโนมัติจะท างาน เมื่ออุณหภูมิ 20-25 พัดลมอัตโนมัติจะท างานที่ เบอร์ 1 ถ้าอุณหภูมิต่ ากว่า 20 พัดลมอัตโนมัติ จะไม่ท างาน เมื่ออุณหภูมิ 26-28 พัดลมอัตโนมัติจะท างานที่ เบอร์ 2 ถ้าอุณหภูมิต่ ากว่า 26 พัดลมอัตโนมัติ จะท างานที่ เบอร์ 1 เมื่ออุณหภูมิ 29-30up พัดลมอัตโนมัติจะท างานที่ เบอร์ 3 ถ้าอุณหภูมิต่ ากว่า 29 พัดลมอัตโนมัติจะท างานที่ เบอร์ 2 เมื่อเซ็นเซอร์วัดระยะ จับระยะได้ที่ 50-150 cm เซ็นเซอร์จะตรวจจับวัตถุและท างาน ถ้าระยะเซ็นเซอร์เกิน 150 cm เซ็นเซอร์จะไม่จับวัตถุและเซ็นเซอร์จะไม่ท างาน ถ้ามีคนหรือวัตถุมากกว่า 1 เซ็นเซอร์จะตรวจจับแค่วัตถุแรกที่เจอ

5.2 ข้อเสนอแนะ 1. ในอนาคตควรเพิ่มความหลากหลายในโหมดการใช้งานเช่น การข้ึนลงของหน้าพัดลม 2. ควรเพิ่มการตรวจจับวัตถุให้ได้มากกว่า 1 3. ควรเพิ่มค่าอุณหภูมิที่มีค่าแน่นอน

Page 12: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

บรรณานุกรม

Project ELEC Shop โมดูล ultrasonic วัดระยะไกล [ระบบออนไลน์] แหล่งข้อมูล

http://www.projectelec.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-45-%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%A5_ultrasonic_%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A5__2cm-_7%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%A3_%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81_.html

SCM บริษัท แสงชัยมิเตอร์ จ ากัด Sang Chai Meter Co.,LTD เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ / ความชื้น (Temperature / Humidity Sensors) [ระบบออนไลน์] แหล่งข้อมูล

http://www.sangchaimeter.com/category/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-temperature-humidity/%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-Temperature-Humidity-Sensors

Page 13: Automatic Fan · 2016-06-25 · รูปที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ในพัดลม เมตร ระยะที่จับได้

Thai Easy Elec enables your design บทความ arduino ตอนที่ 1 แนะน าเพ่ือนใหม่ชื่อ arduino

[ระบบออนไลน์] แหล่งข้อมูล

http://www.thaieasyelec.com/article-wiki/basic-electronics/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-arduino-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99-arduino.html

สอนวิธีใช้งาน Arduino วัดอุณหภูมิและความชื้นด้วยเซนเซอร์ DHT22/DTH21/DHT11 [ระบบออนไลน์] แหล่งข้อมูล http://www.arduinoall.com/article/%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99-arduino-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-dht22-dth21-dht11-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99-3-%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5

โครงการ การเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ(ความร้อน และอุณหภมิ) [ระบบออนไลน์] แหล่งข้อมูล http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/heat/heat.htm