climate change theory

12
“โลกร้อน” การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และ ผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญ ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลก แห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทฤษฎี

Upload: apidon-charoen-agsorn

Post on 13-Jul-2015

865 views

Category:

Technology


0 download

TRANSCRIPT

“โลกร้อน” การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และ ผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่สำาคัญ

ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยธุยาศูนย์เครอืข่ายงานวเิคราะห์ วจิัยและฝึกอบรมการเปลีย่นแปลงของโลก

แห่งภูมิภาคเอเซียตะวนัออกเฉียงใต้ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ทฤษฎี

การค้นพบหินและรอ่งรอยของหินที่อยู่ผดิที่ผดิทางเป็น หลักฐาน แสดงให้เหน็วา่พื้นโลกบางส่วนเคยมีนำ้าแข็งปกคลุมอยู่ แต่ปัจจุบันได้ละลายหายไป

Jean Baptist Fourier

• สร้างทฤษฎเีรอืนกระจกจากมุมมองทางคณิตศาสตร ์(~ ค.ศ.1824)

• ก่อนหน้าการค้นพบรังสีอินฟราเรด ราว 20 ปี

John Tyndall

• ทำาการ ทดลอง และได้พบว่าก๊าซหลายชนดิ เช่น มีเธน และคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถดูดซับความร้อนได้

Svante Arrhenius • เป็นคนแรก (ค.ศ. 1908)

ที่คำานวณวา่ถา้คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเพิม่ขึ้น 2 เท่า จะทำาให้อุณหภมูิเพิ่มขึ้นประมาณ 2-5 องศาเซลเซยีส

• ในปี ค.ศ. 2007 (99 ปีถดัมา) มีการสรุปโดยคณะกรรมาธิการระหวา่งรัฐบาลวา่ด้วยการเปลี่ยนแปลงภมูิอากาศ โดยใช้กลุ่มของโมเดลทางคณิตศาสตร์ที่ซบัซอ้นมากกวา่มาก แต่ก็ได้ผลสรุปที่เหมือนกัน

1940-1970 ‘cooling’ period

Paul Ehrlich

• เขียนหนังสอื The Population Bomb ในปี ค.ศ. 1968 โดยนำาเอาแนวคิดของ Arrhenius เกี่ยวกบัโลกร้อนมาคาดการณ์วกิฤติที่จะเกิดกบัระบบนิเวศของโลก

Charles Keeling• เริ่มวดัระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ใน

บรรยากาศที่ยอดเขา Mauna Loa เกาะฮาวาย ต้ังแต่ ค.ศ. 1958

James (Jim) Hansen • นักวทิยาศาสตรข์อง

NASA ที่มีบทบาทสงูทั้งทางวทิยาศาสตร์และการผลักดันมาตรการต่างๆ เพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงภมูิอากาศ

• เป็นผู้วเิคราะห์ข้อมูลอากาศระยะยาวจากสถานีหลายร้อยแห่งทั่วโลก และสรุปในปี ค.ศ. 1988 วา่ภาวะโลกร้อนเกิดขึน้จรงิและเป็นผลมาจากก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะอย่างย่ิงคาร์บอนไดออกไซด์

คณะกรรมาธิการระหว่างรฐับาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศIntergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)• กอ่ตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1988 โดย UNEP และ WMO

• ทำาหน้าที่ในการรวบรวมและประมวลความรู้เรือ่งการเปล่ียนแปลงภูมอิากาศจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยผา่นการรบัรองจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก

• ได้รบัรางวลัโนเบลสาขาสนัติภาพ (ไม่ใช่วทิยาศาสตร)์ เมื่อปี ค.ศ. 2007

ตัวอย่างโครงงานทางวิทยาศาสตร์

• เสถียรภาพและสมดุลย์ทางพลศาสตร์ของชายฝั่ง

Stability loss area

Bruun’s Law of Coastal Erosion

20 cm

20 m for the beach slope of 1%

ตัวอย่างโครงงานทางวิทยาศาสตร์

• ปรากฏการณ์เอลนิญโญ และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย