collective dpl 23/05/59medinfo2.psu.ac.th/surgery/collective review/2559/12... · 2016. 6. 24. ·...

11
Collective Review Diagnostic Peritoneal lavage ( DPL ) for the evaluation of abdomen Naruthep Nuchaikaew ,MD AJ.Komet Thongkhao ,MD

Upload: others

Post on 02-Feb-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • Collective Review

    Diagnostic Peritoneal lavage ( DPL ) for the evaluation of abdomen

    Naruthep Nuchaikaew ,MD

    AJ.Komet Thongkhao ,MD

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    Diagnostic Peritoneal lavage ( DPL ) for the evaluation of abdomen

    H. David Root, MD (1)

    • บทนำ

    การบาดเจ็บในบริเวณท้อง แพทย์มีความจำเป็นที่จะต้องค้นหาการบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง เครื่อง

    มือหนึ่งที่จะช่วยในการค้นหาคือ Diagnostic Peritoneal lavage ( DPL ) ซึ่งเริ่มจากการค้นหาวิธีที่จะพิสูจน์ความ

    เป็นไปได้ที่ผู้ป่วยจะมีภาวะลือดออกในช่องท้องเมื่อผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและมีข้อจำกัดในการตรวจร่างกาย (2)

    Diagnotic peritoneal lavage ( DPL ) เป็นวิธีในการตรวจที่เร็วและง่าย สามารถทำได้ข้างเตียงผู้ป่วย ใน

    สมัยก่อนนั้นเคยเป็น Gold standard ในการตรวจผู้ป่วยป่วยที่มีการบาดเจ็บในช่องท้องแต่ในปัจจุบันการมีการพัฒนา

    เครื่อง Ultrasound และ CT scan ทำให้การทำ DPL ลดน้อยลง

    ถึงแม้ว่าการทำ DPL เป็นวิธีที่ invasive แต่เป็น Test ที่ sensitive test ที่สุดสำหรับ mesenteric and

    hollow viscus injury (3)(4) ข้อดีสำหรับการทำ FAST คือ non-invasive และประเมินได้หลายครั้ง แต่การ FAST

    และการทำ DPL ไม่สามารถประเมินการบาดเจ็บบริเวณ Retroperitoneal และการบาดเจ็บบริเวณกระบังลมได้ ซึ่ง

    เป็นข้อได้เปรียบของการทำ CT scan

    • ประวัติความเป็นมาของการทำ Diagnostic peritoneal lavage

    Diagnostic peritoneal lavage เริ่มต้นจากแนวความคิดที่หาเลือดออกในช่องท้องโดยการทำ peritoneal tap หรือ

    Peritoneal aspiration ในช่องท้อง 4 quadrant เพื่อดูลักษณะของเลือดออกในช่องท้องหรือไม่ โดยเริ่มต้นปี

    ค.ศ. 1906 Saloman เป็นศัลยแพทย์คนแรกที่นำเสนอให้ใส่ tube เพื่อดูดเลือดเพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในช่อง

    ท้อง ในปี ค.ศ.1906 Bronfin and Strickler ได้ตีพิมพ์การใส่ plastic tube ในช้องท้องโดยผ่านเข็มหรือ trochars

    เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในช่องท้อง (5) จึงนำมาสู่งานวิจัยที่เริ่ม DPL ครั้งแรก ค.ศ. 1965 โดย Root HD และคณะ

    �1

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    (1) เป็นการตีพิมพ์ครั้งแรกถึงการใช้ Diagnosis peritoneal lavage โดยใช้ในการวินิจฉัยคนไข้ที่มีเลือดออกในช่อง

    ท้องหลังจากอุบัติเหตุโดยใช้แนวคิดที่ว่าการใช้ 4 quadrant needle taps มีโอกาสที่จะไม่ได้เลือดหลังจากการทำ

    หัตถการ ทำให้การวินิจฉัยผิดพลาดได้ จึงได้มีการทดลองการทำ DPL ในสุนัข และนำมาใช้กับผู้ป่วยจนได้เกณฑ์ใน

    การวินิจฉัยการบาดเจ็บในช่องท้องจาก DPL หลังจากนั้นเริ่มมีการใช้ DPL กันอย่างกว้างขวางและมีการนำมาสู่งาน

    วิจัยอื่นๆตามมา

    • ข้อบ่งชี้ ( Indication )

    Diagnostic peritoneal lavage ประโยชน์หลักของ DPL คือการประเมินคนไข้ที่ unstable ที่ไม่สามารถเคลื่อน

    ย้ายไปตรวจ CT scan ได้และมีการใช้ในการวินิฉัยคนไข้ที่มีภาวะ mesenteric ischemia ในกลุ่มคนไข้ที่ unstable

    ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไป CT scan ได้ (6)

    - ผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ hemodynamic ไม่ Stable DPL เป็น ตัวเลือกแรกในการช่วยวินิจฉัยการบาดเจ็บในช่องท้องเมื่อสถานพยาบาลไม่สามารถทำ FAST หรือ แปลผลไม่ได้ และไม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทำ CT scan ได้

    - ผู้ป่วยที่มีการได้รับการบาดเจ็บ Blunt bowel injury ที่มี Hemodynamic stable ; DPL เป็นการวินิจฉัยที่มี Sensitivity ที่สูงที่สุดในการวินิจฉัย Hollow viscus injury (7) ใน Systematic review พบว่า sensitivity

    ของ DPL อยู่ที่ 92%-98% มี high sensitivity ในการวินิจฉัย mesenteric และ hollow viscous injury แต่

    ก็มี False positive ที่สูงด้วย (8)

    - DPL มีประโยชน์ในกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถประเมินการตรวจหน้าท้องผู้ป่วยได้ เช่น ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บรุนแรงทางสมอง และคนไข้ที่มี Spinal shock

    - มีการกล่าวถึงการใช้ DPL ในผู้ป่วย Stab wound โดยถ้าผู้ป่วยมี Hemodynamic ไม่ Stable เป็นข้อบ่งชี้ในการ Laparotomy ถ้าผู้ป่วยมี Hemodynamic stable โดยบาดแผลอยู่ที่ Flank หรือ Anterior stab wound

    แนะนำให้การทำ Local wound exploration ถ้ามีบาดแผล penetrating ผ่านช่องท้อง การทำ DPL มีข้อบ่งชี้

    ในการช่วยวินิจฉัยการบาดเจ็บในช่องท้อง (9)(10)

    ข้อห้าม Contraindication

    - Absolute contraindication ในผู้ป่วยที่ทำ DPL คือคนไข้ที่มี Indication สำหรับ immediate Laparotomy - Relative contraindication : เคยได้รับการผ่าตัดมาก่อน , coagulopathy , advance cirrhosis , morbid

    obesity

    • ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้อง ที่ต้องทำ DPL ภาวะแทรกซ้อนไม่ต่างจากผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการผ่าตัดช่องท้อง (11)

    • ในผู้ป่วยตั้งครรภ์การทำ DPL ไม่ถือเป็น contraindication โดยใช้ open technique และ supraumbilical incision ยังแนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Pelvic fracture เพื่อหลีกเลี่ยง Hematoma ซึ่งทำให้เกิด False

    positive

    �2

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    Technique

    1. Preparation

    - Propylaxis antibiotic ไม่มีความจำเป็นสำหรับหัตถการ DPL - ควรใส่ Nasogastric tube และ Foley catheter เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บต่อกระเพาะอาหาร และ กระเพาะปัสสาวะขณะใส่ catheter โดยเตรียมผู้ป่วยในท่านอนหงาย (Supine position) โดย Local aesthesia ด้วย

    1% Lidocain with epinephrine เพื่อ ระงับความปวด และลดการเกิดเลือดออกจากชั้นผิวหนังซึ่งทำให้เกิด

    False positive ได้

    2. Abdominal access การทำ DPL มีทางเลือกในการใส่ catheter ได้ 3 วิธี คือ Open technique , Semi-

    open technique , Closed technique

    • Insertion site : ขึ้นอยู่กับผู้ป่วย โดยทั่วไปตำแหน่ง infraumbilicus โดยทั้วไปต่ำกว่าบริเวณสะดือประมาณ

    2 cm. ในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์หรือมี Pelvic fracture แนะนำตำแหน่งการใส่บริเวณ Supraumbilicus insertion

    ตำแหน่งอื่นที่มีการศึกษาคือ Periumbilical (12) แต่ไม่เป็นที่นิยมมากนัก

    • Method :

    1. Open technique - การผ่าชั้นของผนังหน้าท้อง ทั้ง 3 ชั้น ( skin , facia , peritoneal ) วิธีนี้ใช้ในกรณี

    ต้องการความแม่นยำในการใส่ catheter อย่างมาก เช่น ผู้ป่วย pelvic fracture ซึ่งต้องการที่จะใส่ catheter

    เพื่อหลีกเลี่ยงการใส่ catheter เข้าใน Hematoma ซึ่งเกิด

    False positive และในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์

    2. Semi-open technique - การผ่า fascial เปิด under

    direct vision หลังจากนั้นเข็มแทงผ่าน peritoneal และใส่

    guide wire เข้าใน pelvis หลังจากนั้นใส่ catheter ผ่าน

    guide wire เข้าสู่ pelvis

    3. Closed technique - การผ่าแผลขนาดเล็กบนผิวหนังหลัง

    จากนั้นใช้เข็มผ่าน lineal alba และ peritoneal หลังจากนั้น

    catheter ใส่ผ่านเข้าสู่ pelvis เหมือนทั้ง 2 วิธีที่กล่าวมาแล้ว

    เป็นวิธีที่เร็วที่สุด แต่มีภาวะแทรกซ้อนและตำแหน่งที่ไม่เหมาะ

    สมของสายได้ วิธีนี้ไม่แนะนำในผู้ป่วยที่ pelvic fracture และ

    เคยผ่าตัดช่องท้องในแนว midline (13)

    - มีการวิจัยที่บ่งบอกว่าทั้ง 3 วิธีไม่แตกต่างกัน รวมถึงอัตราการบาดเจ็บของอวัยวะในช่องท้อง แต่วิธี closed technique เป็น

    วิธีที่เร็วแต่มี complication เช่นตำแหน่งของ wire หรือ การ

    ได้น้ำกลับมาตรวจที่ไม่มากเพียงพอ (14) (15) (16)

    - หลังจากผ่าน guide wire เข้า pelvis ใช้ Syringe aspirate peritoneal content โดยถ้า positive คือได้เลือดมากกว่า 10

    mL หรือได้เศษอาหาร เป็นข้อบ่งชี้ในการทำ laparotomy

    �3

    ภาพแสดง lines alba and anterior abdominal

    fascia หลังจากผ่าตัดเปิด midline infra umbilical

    incision open หรือ semi-open approach to

    DPL.

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    (17) หลังจากนั้น DPL catheter ต่อเข้ากับ warmed lactated Ringers หรือ normal saline หลังจาก flow

    หมดให้นำขวดที่หมดแล้ววางบนพื้นเพื่อให้ intraabdominal fluid ไหลกลับโดย adequate fluid คืออย่างน้อย

    30% ของสารน้ำที่เข้าไปผ่าน DPL โดยทั่วไปผู้ใหญ่ 300 - 350 mL ในเด็ก 20-30% ของสารน้ำที่เข้าไปหรือคิด

    เป็น 10-15 ml/kg

    3. Fluid analysis - fluid ที่ต้องส่งตรวจในการที่

    จะแปรผล DPL คือ gram stain , RBC and

    WBC count , เศษอาหาร หรือ น้ำดี

    4. Closure and dressing - ถ้ามีการใช้ Open

    technique ใช้ Absorbable suture size 0

    ในการเย็บปิด fascia โดยการมัดต้องมั่นใจว่า

    ตำแหน่งเหมาะสมโดยดูจากการไหลกลับของ

    สารน้ำที่ใส่ผ่านสาย DPL และ Catheter

    สามารถเอาออกได้หลังจากสารน้ำหยุดไหลออก

    มาจากช่องท้อง สิ่งสำคัญคือการที่ต้องปลดสาย

    catheter จาก drain system เพราะเพิ่ม

    โอกาสที่จะดูด omentum เข้ามาสู้ fascia เพิ่ม

    โอกาสการเกิด hernia มากขึ้นในอนาคต Skin

    อาจเย็บด้วย Nylon 4/0 หรือ Staples

    �4

    While grasping and elevating the anterior

    abdominal fascia , an 18-guage needle is

    inserted at a 45-degree angle toward the pelvis.

    Two “pops” are felt as the needle traverses the

    fascia and peritoneal

    Following guide wire placement through the

    needle , a dilatation is passed through the

    fascia prior to placing the peritoneal catheter

    After fluid is instilled , the bag is placed on to

    the floor to allow the intraabdominal fluid to

    return . 30% of the original amount of instilled

    fluid is required for an adequate simple

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    • Interpretation : 1. Aspiration - ถ้าได้ content เป็นเลือดมากกว่า 10 mL หรือ enteric/vegetable content ถือว่า positive

    โดยไม่จำเป็นต้อง lavage fluid

    2. Lavage fluid : Criteria for positive finding in diagnostic peritoneal lavage

    • การส่งห้องปฎิบัติการอาจใช้เวลาในการรอผลประมาณ 30 นาทีดังนั้นถ้าระหว่างที่รอผลห้องปฎิบัติการหากมีการเปลี่ยนแปลงคนไข้ที่แย่ลงหรือมี peritonitis ควรทำ laparotomy ทันที

    • มีการศึกษาที่ศึกษาการแปลผล RBC count > 100,000 ในคนไข้ที่ Stab wound anterior abdomen โดย ศึกษาในประชากร 500 คน (18) sensitivity อยู่ที่ 96.3% และ specificity 88.2 % โดยใน 7 คนมี False

    negative DPL โดยหนึ่งในนั้น RBC count 7700 และมี duodenal และ colon ได้รับการบาดเจ็บ

    ผู้ป่วย 19 คน มี False positive lavage ซึ่งเกิดจาก เลือดออกจากบาดแผล มีหลายการศึกษาตามมาทำให้ลด

    threshold ลง โดยปัจจุบันนี้ RBC count > 10,000 /mL (18-20)

    • ค่า RBC count อยู่ในช่วง 5,000 - 10,000 มักใช้ในการกล่าวถึงการบาดเจ็บ thoracoabdomen ( Low chest ) ยิ่งทำให้ Sensitivity ในการวินิจฉัยการบาดเจ็บบริเวณกระบังลมหรือการบาดเจ็บที่ลำไส้เล็กมากยิ่งขึ้น

    มีงานวิจัยที่ใช้ RBC count 1,000 - 20,000 /mL โดยมี high negative laparotomy rate ที่สูงจาก 2.5%

    เป็น 44% (21) การใช้ Peritoneal lavage enzyme มีการศึกษาถ้ามีการเพิ่มขึ้นของ Lavage enzyme และ

    Alkaline phosphatase ทำให้สงสัยว่ามีภาวะของ Small bowel injury (22)

    3. Cell count ration criteria : มีการใช้ Cell count ration ในผู้ป่วยที่อุบัติเหตุและพบอวัยวะภายในฉีกขาด

    ในผู้ป่วยที่สัญญาณชีพคงที่ โดยหาจากค่าของเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวใน lavage fluid และสัดส่วน

    ของเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในเลือด (23) โดยมี Sentitivity 100 % และ Specificity 97% ทำให้ลด

    การเกิด nontherapeutic laparotomy ได้ในคนไข้ Blunt trauma

    �5

    Abdominal trauma Thoracoabdominal

    stab wound

    Red blood cell count > 100,000/mL > 10,000 /mL

    White blood cell count > 500 /mL > 500 /mL

    Amylase level > 19 IU/L > 19 IU/L

    Alkaline phosphatase

    level

    > 2 IU/L > 2 IU/L

    Bilirubin level > 0.01 mg/dL > 0.01 mg/dL

    * Schwartz's Principles of Surgery, 10th edition

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    • Fang JF, Chen RJ, Lin BC. Cell count ratio: new criterion of diagnostic peritoneal lavage for

    detection of hollow organ perforation. The Journal of trauma. 1998;45(3):540-4.

    - มีการเปรียบเทียบการทำ DPL และ CT scan ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีการบากเจ็บ blunt abdominal injury เพื่อหา small bowel และ messenteric injury โดยมี sensitivity ที่ดีกว่าการทำ CT scan แต่ Specificity ต่ำและพบ

    ว่าเพิ่มอัตตราการทำ nontherapeutic laparotomy ในกลุ่มของผู้ป่วยที่มี cell count ration >/= 1 , แต่ใน

    กลุ่มที่มี cell count ration >/= 4 จะเพิ่ม Specificity สำหรับการวินิจฉัยและรักษา (24)

    �6

    • Cell count ratio : = ((lavage WBC count) / (lavage RBC count)) / ((blood WBC count) / (blood RBC count))

    • Interpretation : • Cell count ratio >= 1.0: positive for hollow viscus perforation

    • Cell count ratio < 1.0: negative for hollow viscus perforation

    Performance of cell count ratio in predicting hollow viscus perforation

    • Sensitivity 100%, Specificity 97%

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    • False positive - มักเกิดจากการที่ catheter เข้าอยู่ใน pelvic hematoma หรือ Pelvic hematoma rupture เข้า peritoneal space

    • False negative - มักเกิดจาก catheter อยู่ตำแหน่ง extraperitoneal และการบาดเจ็บบริเวณ Retroperitoneal รวมถึงอวัยวะที่อยู่ retroperitoneal ( pancreas , ส่วนของ duodenum , kidneys ,

    ureter , major abdominal vessel )

    • Complication - ปัญหามักเกิดจากการไม่ได้ใส่ NG และ Urinary catheter เพื่อ decompress กระเพาะปัสสาวะและกระเพาะอาหารจากทั้งเข็มหรือ catheter มีงานวิจัย 2 ฉบับที่นำเสนอเรื่องของ complication

    โดยจำนวนผู้ป่วย 2,500 คนที่ได้รับการทำหัตถการ DPL โดย complication rate 0.8%-1.7% ประกอบด้วย

    ปัญหาจากแผล , การได้ fluid กลับมาวินิจฉัยไม่พอเพียง , การบาดเจ็บของลำไส้เล็กและหลอดเลือดลำไส้เล็ก ,

    การบาดเจ็บของกระเพาะปัสสาวะและรอยแผลแยกบริเวณผนังหน้าท้อง (25, 26)

    • Follow up - หลังจาก negative DPL แผลควรจะติดตามเรื่องของการติดเชื้อ ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ในการให้ยาฆ่าเชื้อในการป้องกันการติดเชื้อ ระยะเวลาในการที่จะนำ Non-absorable sutures หรือ skin staples

    ออก 3-7 วันขึ้นอยู่กับอาการและ discharge จากแผล

    • สรุป การทำ Diagnosis peritoneal lavage มีความจำเป็นที่ศัลย์แพทย์สามารถทำได้ และมีความสามารถในการ

    แปรผลในกลุ่มของผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุมาโรงพยาบาล ถึงแม้ในปัจจุบันมี CT scane และ Ultrasound เข้ามาช่วยใน

    การวินิฉัยแต่ในกลุ้มผู้ป่วยอุบัติเหตุทางช่องท้องที่สัญญาณชีพไม่คงที่ิและในสถานที่ที่ไม่สามารถทำ FAST หรือผลการ

    ทำไม่แน่นอนการทำ DPL ช่วยในการวินิจฉัย Blunt bowel injury ได้

    �7

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    �8- Whitehouse JS, Weigelt JA. Diagnostic peritoneal lavage: a review of indications, technique, and interpretation. Scandinavian journal of trauma, resuscitation and emergency medicine. 2009;17:13.

    • Penetrating Trauma Algorithm : ใช้ในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บจากบาดแผลโดนแทงบริเวณหน้า

    ท้องหรือด้านข้างลำตัว DPL ไม่ใช้ในผู้ป่วย Gunshort wound

    • Blunt Trauma Algorithm . การใช้ DPL เมื่อการทำ FAST หรือ CT Scane ไม่สามารถทำได้ ในผู้ป่วยที่

    Hemodynamic ไม่ Stable การทำ FAST ไม่สมารถทำได้หรือผลได้ไม่ชัดเจน จึงเป็นข้อบ่งชี้ในการทำ DPL

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL)

    Bibliography 1. Root HD, Hauser CW, McKinley CR, Lafave JW, Mendiola RP, Jr. DIAGNOSTIC PERITONEAL LAVAGE. Surgery. 1965;57:633-7.2. Prall JA, Nichols JS, Brennan R, Moore EE. Early definitive abdominal evaluation in the triage of unconscious normotensive blunt trauma patients. The Journal of trauma. 1994;37(5):792-7.3. Ceraldi CM, Waxman K. Computerized tomography as an indicator of isolated mesenteric injury. A comparison with peritoneal lavage. The American surgeon. 1990;56(12):806-10.4. Ekeh AP, Saxe J, Walusimbi M, Tchorz KM, Woods RJ, Anderson HL, 3rd, et al. Diagnosis of blunt intestinal and mesenteric injury in the era of multidetector CT technology--are results better? The Journal of trauma. 2008;65(2):354-9.5. Bronfin GJ, Liebler JB, Katz HM. A new method of abdominal paracentesis. Gastroenterology. 1952;21(3):426-8.6. Lee MJ, Sperry JL, Rosengart MR. Evaluating for acute mesenteric ischemia in critically ill patients: diagnostic peritoneal lavage is associated with reduced operative intervention and mortality. The journal of trauma and acute care surgery. 2014;77(3):441-7.7. Gonzalez RP, Ickler J, Gachassin P. Complementary roles of diagnostic peritoneal lavage and computed tomography in the evaluation of blunt abdominal trauma. The Journal of trauma. 2001;51(6):1128-34; discussion 34-6.8. Griffin XL, Pullinger R. Are diagnostic peritoneal lavage or focused abdominal sonography for trauma safe screening investigations for hemodynamically stable patients after blunt abdominal trauma? A review of the literature. The Journal of trauma. 2007;62(3):779-84.9. Boyle EM, Jr., Maier RV, Salazar JD, Kovacich JC, O'Keefe G, Mann FA, et al. Diagnosis of injuries after stab wounds to the back and flank. The Journal of trauma. 1997;42(2):260-5.10. Whitehouse JS, Weigelt JA. Diagnostic peritoneal lavage: a review of indications, technique, and interpretation. Scandinavian journal of trauma, resuscitation and emergency medicine. 2009;17:13.11. Moore GP, Alden AW, Rodman GH. Is closed diagnostic peritoneal lavage contraindicated in patients with previous abdominal surgery? Academic emergency medicine : official journal of the Society for Academic Emergency Medicine. 1997;4(4):287-90.12. Felice PR, Morgan AS, Becker DR. A prospective randomized study evaluating periumbilical versus infraumbilical peritoneal lavage: a preliminary report. A combined hospital study. The American surgeon. 1987;53(9):518-20.13. Saunders CJ, Battistella FD, Whetzel TP, Stokes RB. Percutaneous diagnostic peritoneal lavage using a Veress needle versus an open technique: a prospective randomized trial. The Journal of trauma. 1998;44(5):883-8.14. Wilson WR, Schwarcz TH, Pilcher DB. A prospective randomized trial of the Lazarus-Nelson vs. the standard peritoneal dialysis catheter for peritoneal lavage in blunt abdominal trauma. The Journal of trauma. 1987;27(10):1177-80.15. Hodgson NF, Stewart TC, Girotti MJ. Open or closed diagnostic peritoneal lavage for abdominal trauma? A meta-analysis. The Journal of trauma. 2000;48(6):1091-5.16. Troop B, Fabian T, Alsup B, Kudsk K. Randomized, prospective comparison of open and closed peritoneal lavage for abdominal trauma. Annals of emergency medicine. 1991;20(12):1290-2.17. Michael F. Rotondo. Advanced Trauma Life Support. 9, editor2012.18. Feliciano DV, Bitondo CG, Steed G, Mattox KL, Burch JM, Jordan GL, Jr. Five hundred open taps or lavages in patients with abdominal stab wounds. American journal of surgery. 1984;148(6):772-7.19. Thacker LK, Parks J, Thal ER. Diagnostic peritoneal lavage: is 100,000 RBCs a valid figure for penetrating abdominal trauma? The Journal of trauma. 2007;62(4):853-7.20. Hashemzadeh S, Mameghani K, Fouladi RF, Ansari E. Diagnostic peritoneal lavage in hemodynamically stable patients with lower chest or anterior abdominal stab wounds. Ulusal travma ve acil cerrahi dergisi = Turkish journal of trauma & emergency surgery : TJTES. 2012;18(1):37-42.

    �9

  • Collective review Diagnostic peritoneal lavage (DPL) 21. Gonzalez RP, Turk B, Falimirski ME, Holevar MR. Abdominal stab wounds: diagnostic peritoneal lavage criteria for emergency room discharge. The Journal of trauma. 2001;51(5):939-43.22. McAnena OJ, Marx JA, Moore EE. Peritoneal lavage enzyme determinations following blunt and penetrating abdominal trauma. The Journal of trauma. 1991;31(8):1161-4.23. Fang JF, Chen RJ, Lin BC. Cell count ratio: new criterion of diagnostic peritoneal lavage for detection of hollow organ perforation. The Journal of trauma. 1998;45(3):540-4.24. Chereau N, Wagner M, Tresallet C, Lucidarme O, Raux M, Menegaux F. CT scan and Diagnostic Peritoneal Lavage: towards a better diagnosis in the area of nonoperative management of blunt abdominal trauma. Injury. 2016.25. Fischer RP, Beverlin BC, Engrav LH, Benjamin CI, Perry JF, Jr. Diagnostic peritoneal lavage: fourteen years and 2,586 patients later. American journal of surgery. 1978;136(6):701-4.26. Nagy KK, Roberts RR, Joseph KT, Smith RF, An GC, Bokhari F, et al. Experience with over 2500 diagnostic peritoneal lavages. Injury. 2000;31(7):479-82.

    �10