course syllabus ca322 2 2558

6
COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (ปีการศึกษาท2/2558) | 1 แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus) นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (CA 322 Printed Media Design and Production) หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะ/สาขาวิชา คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิชาบังคับก่อน นศ 321 สื่อสิ่งพิ มพ์ ประเภทของรายวิชา วิชาเอกบังคับ จํานวนหน่วยกิต 3 (2-2-5) ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา 2/2558 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ณัฏฐพงษ์ สายพิณ สถานที่เรียน ห้องเรียนรวม 423 อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วัน-เวลาเรียน Sec 1 : ทุกวันอังคาร เวลา 8.00 – 12.00 . Sec 2 : ทุกวันอังคาร เวลา 13.00 – 17.00 . คําอธิบายวิชา การสร้างแนวความคิดในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ โครงการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การวางโครงสร้างการออกแบบสิ่งพิมพ์ และเทคนิคการออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วคอมพิวเตอร์ การออกแบบสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ การนําเสนอผลงานการออกแบบและการเผยแพร่สิ่งพิมพ์สู่สาธารณะ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง / สัปดาห์) วัตถุประสงค์ของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. วางโครงสร้างการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ได้ 2. ประยุกต์ใช้ โปรแกรมการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยเน้นแนวคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดไปยังกลุ่มเป้าหมายได

Upload: ca322mju2015

Post on 25-Jul-2016

215 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

แผนการสอนรายวิชา นศ322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (2/2558)

TRANSCRIPT

Page 1: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 1

แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus)

นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (CA 322 Printed Media Design and Production)

หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะ/สาขาวิชา คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิชาบังคับก่อน นศ 321 สื่อสิ่งพมิพ ์ประเภทของรายวิชา วิชาเอกบังคับ จํานวนหน่วยกิต 3 (2-2-5) ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา 2/2558 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ สถานที่เรียน ห้องเรียนรวม 423 อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ ้วัน-เวลาเรียน Sec 1 : ทุกวันอังคาร เวลา 8.00 – 12.00 น. Sec 2 : ทุกวันอังคาร เวลา 13.00 – 17.00 น. คําอธิบายวิชา

การสร้างแนวความคิดในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ โครงการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การวางโครงสร้างการออกแบบสิ่งพิมพ์ และเทคนิคการออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วคอมพิวเตอร์ การออกแบบสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ การนําเสนอผลงานการออกแบบและการเผยแพร่สิ่งพิมพ์สู่สาธารณะ

(บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง / สัปดาห์) วัตถุประสงค์ของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ

1. วางโครงสร้างการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ได้ 2. ประยุกต์ใชโ้ปรแกรมการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยเน้นแนวคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดไปยังกลุ่มเป้าหมายได ้

Page 2: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 2

ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายเพื่อสร้างความรูค้วามเข้าใจในการกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ผ่านการปฏิบัติจริง ฝึกปฏิบัติการออกแบบสิ่งพิมพ์ นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ดิจิทัลในรูปแบบออนไลน์ โดยนําเสนอผลงานรายบุคคลและรายกลุ่ม อธิบายกระบวนการผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

ปฏิทนิการศึกษา วิชา นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์

สัปดาห์ที ่ หัวข้อ/รายละเอียด

1 12/1/59

- แนะนําภาพรวมของรายวิชา วิธีการเรียนการสอน ข้อตกลงในรายวิชา - ทดสอบก่อนเรียน

2 19/1/59

- ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการผลิตสิ่งพิมพ ์- ทบทวนการออกแบบสําหรับสื่อสิ่งพิมพ ์- จิตวิทยาในการออกแบบ - ลักษณะของงานพาณิชยศิลป์ในงานนิเทศศิลป ์

3 26/1/59

แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารด้วยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร ์- ภาพถ่ายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลักษณ ์- ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพเชิงวารสารศาสตร ์- หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร ์- แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson - การวิเคราะห์ภาพถ่ายเชิงวารสารศาสตร ์

4 2/2/59

การเตรียมต้นฉบับสื่อสิ่งพิมพ ์- ความสําคัญของต้นฉบับและการเตรียมต้นฉบับ - แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนเชิงวารสารศาสตร ์- การบรรณาธิกรเนื้อหาสําหรับสื่อสิ่งพิมพ ์- การบรรณาธิกรภาพสําหรับสือ่สิ่งพิมพ์ - การสั่งตัวพิมพ์และการพิสูจน์อักษร - การสื่อข่าว จริยธรรม และความรับผิดชอบทางวิชาชีพ - กฎหมายสื่อสิ่งพิมพ์ตามพระราช บัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ.2550

5 9/2/59

กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์- ขั้นตอนในการวางแผนการผลิต - การประมาณราคาสิ่งพิมพ ์- บุคลากรในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ - การเลือกใช้กระดาษและระบบการพิมพ ์- เทคโนโลยีสารสนเทศในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ร่วมสมัย - กระบวนการวางแผนก่อนการผลิต (Prepress) - กระบวนการในขั้นตอนการผลิต (Press) - กระบวนการในขั้นตอนหลังการพิมพ์ (Afterpress)

Page 3: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 3

การบริหารการผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์- การบริหารจัดการทั่วไป - การบริหารนโยบายการผลิต - การจัดการกองบรรณาธิการ - การสร้างแบรนด์สําหรับสื่อสิ่งพิมพ ์- การควบคุมคุณภาพการผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์

6 16/2/59

การออกแบบและผลิตสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ หนังสือดิจิทัล และการจัดการออนไลน ์ (e-book online) - ความหมายและความสําคญัของการออกแบบจัดหน้า - องค์ประกอบ และรูปแบบของหนังสือ - ส่วนประกอบของหนังสือ ส่วนต้นเล่ม ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนท้ายเล่ม - หลักการออกแบบและจัดหน้าหนังสือ - หลักการออกแบบสื่อ DTP และ e-book - ระบบกริดสําหรับการออกแบบ

7 23/2/59

ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ หนังสือดิจิทัล และการจัดการออนไลน์ (e-book online) - การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม iBook Author สําหรับระบบปฏิบัติการ iOS - การจัดการสื่อผสม - การจัดการอาร์ตเวิร์ก - การจัดการออนไลน ์- เทคนิคการจัดการปัญหา อุปสรรคในการผลิตสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ และหนังสือดิจิทัล

8 1/3/59

หนังสือพิมพ์ การออกแบบและผลิตหนังสือพิมพ ์- ความสําคัญ ลักษณะ ของหนังสือพิมพ์และหนังสือพิมพ์ออนไลน ์- แนวคิดการออกแบบรูปเล่มหนังสือพิมพ์/การจําแนกประเภทหนังสือพิมพ ์- องค์ประกอบและรูปแบบของหนังสือพิมพ ์- ทฤษฎีการออกแบบหน้าหนังสือพิมพ์/คําศัพท์ในการออกแบบหน้าหนังสือพิมพ ์- ระบบกริดสําหรับการออกแบบหนังสือพิมพ ์- การจัดหน้าแบบเดิม(Traditional) - การจัดหน้าแบบใหม(่Contemporary) - การออกแบบจัดหน้าหนึ่ง หน้าใน และหน้าโฆษณาของหนังสือพิมพ ์

9 8/3/59

นิตยสาร การออกแบบและผลิตนิตยสาร - ความสําคัญ ลักษณะ ของนิตยสารและนิตยสารออนไลน ์- แนวคิดการออกแบบรูปเล่มนิตยสาร - การจําแนกประเภทนิตยสาร - องค์ประกอบและรูปแบบของนิตยสาร - ทฤษฎีการออกแบบหน้านิตยสารและระบบกริดสําหรับการออกแบบนิตยสาร

Page 4: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 4

10 15/3/59

สอบกลางภาค

11 22/3/59

ปฏิบัติการโครงการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ตามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) - การสร้างแนวความคิดในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ - การวางโครงสร้างการออกแบบสิ่งพิมพ ์- การจัดการกองบรรณาธิการ - การคัดเลือกหัวข้อ - การจัดเตรียมข้อมูลสําหรับต้นฉบับ - การจัดการอาร์ตเวิร์ก - การจัดการสื่อผสม - ปัญหาในการผลิตหนังสือพิมพ์/นิตยสาร - อุปสรรคในการผลิตสื่อสิง่พิมพ์ - การติดต่อประสานงานกับโรงพิมพ ์- เทคนิคในการจัดการปัญหาในการผลิตหนังสือพิมพ์/นิตยสาร

12 29/3/59

ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานวารสารสนเทศ - การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม Photoshop, Illustrator, InDesign ขั้นสูง

13 5/4/59

ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานวารสารสนเทศ - การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม Photoshop, Illustrator, InDesign ขั้นสูง

14 12/4/59

ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานวารสารสนเทศ - การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม Photoshop, Illustrator, InDesign ขั้นสูง

15 19/4/59

ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานวารสารสนเทศ - การจัดการและการตรวจสอบการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน ์- การควบคุมคุณภาพการผลิต

16 26/4/59

- นําเสนอผลงานปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ (หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ฉบับสมบูรณ์รายกลุ่ม

- ประเมินผลการผลิตสิ่งพิมพ์ของนักศึกษา - ทดสอบหลังเรียน

17 3/5/59

สอบปลายภาค

หมายเหต ุ ช่วงวันสอบกลางภาค ระหว่างวันที่ 14-20 มีนาคม 2559 ช่วงวันสอบปลายภาค ระหว่างวันที่ 2-15 พฤษภาคม 2559

***หากมีการเปลี่ยนแปลงวันสอบ จะแจ้งให้ทราบก่อนล่วงหน้า

Page 5: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 5

เกณฑ์การประเมินผล

ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรียน ค่าระดับคะแนน ค่าร้อยละ

A B+ B C+ C D+ D F

ดีเยี่ยม ดีมาก ดี

ดีพอใช้ พอใช้ อ่อน

อ่อนมาก ตก

4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.00 0.0

80-100 75-79 70-74 65-69 60-64 50-59 50-54 0-49

การประเมินผล

คิดจากคะแนนรวมตลอดภาคการศึกษาทั้งสิน้ 100% แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี ้

กิจกรรมที ่

วิธีการประเมินผล สัปดาห์ที่ประเมินผล

สัดส่วนของการประเมินผล

1 การเข้าชั้นเรียน ความตั้งใจ ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา

10 %

2 งานมอบหมาย, การวิเคราะห์กรณีศึกษา, การทดสอบย่อย, การนําเสนอรายงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม

ตลอดภาคการศึกษา

10 %

3 การผลิตผลงานเพื่อประเมินผลรายบุคคล (Individual Project) - การผลิตสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ หนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ (e-book online)

6-17 20 %

4 การผลิตผลงานเพื่อประเมินผลรายกลุ่ม (Final Project) - โครงการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพต์ามหัวข้อสนใจ

(หนังสือพิมพ์/นิตยสาร) ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานวารสารสนเทศ

11-17

30 %

5 สอบกลางภาค 10 15 %

6 สอบปลายภาค 17 15 %

หนังสือและเอกสารค้นคว้าประกอบการเรียนการสอน

กฤษณ์ ทองเลิศ. 2554. การถ่ายภาพเชิงวารสารศาสตร ์: แนวคิด เทคนิค การวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : อินทนิล. จินตวีร์ คล้ายสังข์. 2555. Desktop Publishing สู่ e-book เพื่อส่งเสริมการใฝ่รู้ของผู้เรียนรู้ยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร :

วี. พริ้นท์ (1991) จํากัด. จุฑามาศ มโนสิทธิกุล. 2554. สร้างงานสื่อสิ่งพิมพ์แบบฉบับมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร : เน็ทดีไซน์ พับลิชชิ่ง จํากัด. จันทนา ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหน้าสิ่งพิมพ์. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ดรุณี หิรัญรักษ์. 2543. การจัดการธุรกิจหนังสือพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอกพิมพไ์ทย จํากัด. ธารทิพย์ เสรินทวัฒน์. 2550. ทัศนศิลป์การออกแบบพาณิชยศิลป์. กรุงเทพมหานคร : หลักไท่ช่างพิมพ์. นิพัทธ์ ไพบูลย์พรพงศ์. 2551. การจัดการสีเพื่องานกราฟิก. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น จํากัด(มหาชน).

Page 6: Course syllabus ca322 2 2558

COURSE SYLLABUS นศ 322 การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ ์(ปีการศึกษาที่ 2/2558) | 6

ปาพจน์ หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิกดีไซน์. นนทบุรี : บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จํากัด. ปราณี สุรสิทธิ์. 2549. การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แสงดาว จํากัด. ปราโมทย์ แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์. กรุงเทพมหานคร : วี.เจ. พริ้นติ้ง.

มนัญญา เหลืองดิลก, วีณา ลิ้มรวมทรัพย์. 2556. Quick & Easy สร้างสรรค์หนังสือดิจิตอลด้วย iBook Author. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดี จํากัด.

มาลี บุญศิริพันธ์. 2550. วารสารศาสตร์เบื้องต้นปรัชญาและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิรุณ ตั้งเจริญ. 2545. ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มติชน. ศูนย์ศึกษากฎหมายและนโยบายสื่อมวลชน. 2556. คู่มือการสอนวิชากฎหมายสื่อมวลชนและวิชาจริยธรรมสื่อมวลชน.

กรุงเทพมหานคร : บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จํากัด. สกนธ์ ภู่งามดี. 2547. พื้นฐานการออกแบบกราฟิค. กรุงเทพมหานคร : บุ๊คพ้อยท์ จํากัด.

สดศรี เผ่าอินจันทร์. 2543. การออกแบบหน้าหนังสือพิมพ์. นครราชสีมา : โคราชพริ้นติ้ง. สมเกียรติ ตั้งนโม. 2536. ทฤษฎีสี. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

สิริทิพย์ ขันสุวรรณ. 2539. การหนังสือพิมพ์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : ยงพลเทรดดิ้ง. สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. 2546. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือสวนสุนันทา.

สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. 2552. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โสรชัย นันทวัชรวิบูลย์ . 2545. สู่เส้นทางกราฟิกดีไซเนอร์. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดี จํากัด. อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร์.

Debbie Millman; Rodrigo Corral Design (Firm). 2012). Brand Bible : The complete guide to building, designing, and sustaining brands. Beverly, Mass : Rockport Publishers.

Harrower, Tim. 2002. The Newspaper Designer’s Handbook. Boston ; London : McGraw-Hill. Kristina Nickel. 2011. Ready to Print : Handbook for Media Designers. Berlin : Gestalter. Meredith Davis. 2012. Graphic Design Theory. London : Thames & Hudson. Rob Carter, Ben Day and Philip Meggs. 2012. Typographic Design : Forum and Communication. New Jersey,

USA : John Wiley & Sons, Inc.

แหล่งค้นคว้าอื่น ๆ

1. เอกสาร หนังสือ ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสารต่าง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 2. ตําราเกี่ยวกับการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ จากห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ห้องสมุดกลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องสมุดเฉพาะด้านการออกแบบ และห้องสมุดอื่นๆ 3. การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ เว็บไซต์ต่างๆ 4. สื่อทุกประเภท รวมถึงกิจกรรมและบุคคลที่น่าสนใจ ตามเนื้อหาที่กําหนดในการสอน