gem identification lab 1 - srinakharinwirot...

83
Gem Identification Lab 1 GJ 322 คณะผูผลิต นายเจษฎา ธนรังสรรค นายภมรเทพ มั่นหมาย นายมานะ เตียงทอง นายอรรถกฤช จอมสงา อาจารยที่ปรึกษา ชื่ออาจารยเศวตฉัตร ศรีสุรัตน ภาควิชาวิทยาศาสตรทั่วไป คณะวิทยาศสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส สนับสนุนโดย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

Upload: others

Post on 24-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

Gem Identification Lab 1

GJ 322

คณะผูผลิต

นายเจษฎา ธนรังสรรค

นายภมรเทพ มั่นหมาย

นายมานะ เตียงทอง

นายอรรถกฤช จอมสงา

อาจารยที่ปรึกษา

ชื่ออาจารยเศวตฉัตร ศรีสุรัตน

ภาควิชาวิทยาศาสตรทั่วไป

คณะวิทยาศสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

สนับสนุนโดย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

Page 2: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

สารบัญ คําอธิบายรายวชิา ..............................................................................................................1

แนวคดิ............................................................................................................................1

วัตถุประสงค .....................................................................................................................1 บทเรียนที่ 1 2 การวิเคราะหอัญมณี 2

การวิเคราะหอัญมณีดวยตาเปลา ..................................................................................2

การวิเคราะหอัญมณีดวยเครื่องมือทางวทิยาศาสตร .........................................................14 บทเรียนที่ 2 22 คุณสมบตัิทางกายภาพ .....................................................................................................26

คุณสมบตัิทางกายภาพของพลอย...............................................................................23

ระบบผลึก ............................................................................................................ 31 บทเรียนที่ 3 39

คุณสมบตัิของอัญมณีตาง ....................................................................................... 39 บทเรียนที่ 4 80

การปรับปรุงคณุภาพพลอย........................................................................................80

Page 3: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชา .............................

รหัสวิชา GJ322

ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ปฏิบัติการวิเคราะหอัญมณี 1 ชื่อวิชา (ภาษาอังกฤษ) Gem Identification Lab 1

จํานวนหนวยกิต (ภาคทฤษฎี) (ภาคปฏิบัติ)

1 1

คณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คําอธิบายรายวิชา

การวิเคราะหโดยใชเทคนิคการดูอัญมณีโดยใชเครื่องมือตางๆ พลอยกอน การวิเคราะหอัญมณีใน Chart A การปรับปรุงคุณภาพ และเพิ่มมูลคาอัญมณีดวยวิธีตางๆ เชน การใชความรอน

(Heat treamant) การอาบรังสี การเคลือบ

แนวคิด

(1) เพื่อแนะนําใหรูจักเครื่องมือและวิธีการใชเครื่องมือ (2) สามารถวิเคราะหอัญมณีได (3) เพื่อใหรูเกี่ยวกับขั้นตอนการทําพลอยสังเคราะห

วัตถุประสงค

(1) เพื่อใหผูศึกษาใชเครื่องมือตางๆที่ชวยในการวิเคราะหพลอยได (2) เพื่อใหผูศึกษาวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางแสงของพลอยได (3) เพื่อใหผูศึกษาวิเคราะหพลอยใน Chart A ได (4) เพื่อใหผูศึกษาวิเคราะหอัญมณีแทและอัญมณีเทียมได

Page 4: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

บทเรียนที่ 1

การวิเคราะหอัญมณี

การวิเคราะหอัญมณี เปนการตรวจคุณสมบัติอัญมณี ดานคุณสมบัติทางแสง คุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติทางผลึก และคุณสมบัติของตําหนิ การวิเคราะหอัญมณี แบงไดดังนี้

1.การวิเคราะหอัญมณีดวยตาเปลา เปนการวิเคราะหคุณสมบัติของอัญมณีที่สามารถเห็น ไดดวยตาเปลา ไดแก คุณสมบัติของสี ความโปรงแสง การกระจายแสง ความวาว ปรากฎการณ และการเจียระไน

2.การวิเคราะหอัญมณีดวยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร เปนการวิเคราะหคุณสมบัติที่สามารถตรวจสอบไดดวยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร ไดแก ลักษณะทางแสง ภาพทางแสง คาดัชนีหักเห ไบรีฟรินเจนซ เพลียวโครอิซึม การเรืองแสง สเปกตรัม และความถวงจําเพาะ

3.การวิเคราะหอัญมณีดวยกลองจุลทรรศน เปนการศึกษาลักษณะของตําหนิที่ปรากฎเพื่อวิเคราะหวาเปนอัญมณีธรรมชาติหรืออัญมณีสังเคราะห นอกจากนี้ยังมีการศึกษาคุณสมบัติของ ภาพซอน อิมเมอรช่ันเชล พาวิเลียนแฟลช การดูเงา และการดูรีลีฟ

การวิเคราะหอัญมณีนั้นตองอาศัยการตรวจสอบทั้ง 3 ขั้นตอนมาชวยในการวิเคราะหวา เปนอัญมณีชนิดใด และเปนอัญมณีธรรมชาติหรืออัญมณีสังเคราะหจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการประเมินราคา

การวิเคราะหอัญมณีดวยตาเปลา

คุณสมบัติของอัญมณีที่สามารถตรวจสอบไดดวยตาเปลา เปนคุณสมบัติพ้ืนฐาน ซึ่งมีประโยชนอยางยิ่งตอการวิเคราะห ประกอบดวย สี ความโปรงแสง การกระจายแสง ความวาว

Page 5: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ปรากฏการณและการเจียระไน คุณสมบัติอัญมณีที่ตรวจสอบไดดวยตาเปลา มีดังนี้

1. สี (Color) พลอยแตละชนิดมีสีเดนเฉพาะตัว เชน ทับทิมมีสีแดง มรกตมีสีเขียว และ ไพลิน มีสีน้ําเงิน เปนตน สีของพลอยขึ้นกับสวนประกอบทางเคมีและโครงสรางภายในของอะตอมธาตุที่ใหเกิดสีในพลอย ไดแก ธาตุโครเมียม เหล็ก ทิทาเนียม วานาเดียม และนิเกิล เปนตน เราเห็นพลอยเปน สีตาง ๆ เนื่องจากคุณสมบัติการดูดกลืนและสองผานคลื่นแสงของพลอย เชน เราเห็นพลอยเปน สีน้ําเงินก็เนื่องจากเมื่อแสงแดดสองผานตัวพลอย พลอยจะดูดคลื่นแสงสีอื่น ๆ ไว และสองผาน คลื่นแสงสีน้ําเงินออกมาใหเราเห็น

1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหตุของการเกิดสีไดเปน 2 กลุม ดังนี้คือ 1.1.1 พลอยอิดิโอโครแมติค (Idiochromatic gemstone) 1.1.2 พลอยแอลโลโครแมติค (Allochromatic gemstone)

พลอยอิดิโอโครแมติค คือ พลอยที่มีธาตุที่ทําใหเกิดสีเปนองคประกอบในพลอยชนิดนั้นถาขาดธาตุใหสีจะไมเกิดเปนพลอยชนิดนั้น พลอยประเภทนี้จะมีสีเดียว เชน โกเมน แอลแมนไดต มาลาไคต และเทอรควอยส

ตารางแสดงสวนประกอบทางเคมีและธาตุใหสีของพลอยอิดิโอโครแมติค ช่ือพลอย สวนประกอบทางเคมี ธาตุใหสี สี

โกเมนแอลแมนไดต โกเมนอูวาโรไวต

มาลาไคต เทอรควอยส

Fe3Al2(SiO4)3

Ca3Cr2(SiO4)3

Cu2(OH)2CO3

CuAl6(PO4)4(OH)85H2 O

เหล็ก-Fe โครเมียม-Cr ทองแดง-Cu ทองแดง-Cu

แดง เขียว เขียว ฟา

พลอยแอลโลโครแมติค พลอยประเภทนี้ถาอยูในสภาพบริสุทธิ์จะใสไมมีสีการที่เกิดสีไดเนื่องจากมีมลทิน (Impurities) เขาไปปะปนในสวนประกอบของพลอย เชน ทับทิม ไพลิน และแซฟไฟรสีเหลือง เปนตน

ตารางแสดงสวนประกอบทางเคมีและมลทินของพลอยแอลโลโครแมติค

ช่ือพลอย สวนประกอบทางเคมี มลทิน ทับทิม ไพลิน

แซฟไฟรสีเหลือง

Al2O3

Al2O3

Al2O3

โครเมียน-Cr เหล็กและทิทาเนียม-Fe+Ti

เหล็ก-Fe

1.2 ธาตุที่ทําใหเกิดสีในพลอยมี 8 ชนิด ดังนี้คือ

Page 6: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

1.2.1 โครเมียน (Chromium) ใหสีแดงในทับทิมและสปเนลสีแดง นอกจากนี้ยังใหสีเขียวในมรกต หยก และทัวมาลีน

1.2.2 เหล็ก (Iron) ใหสีแดงในโกเมนแอลแมนไดต สีฟาในอะควอมารีน และสปเนลสีฟา นอกจากนี้ยังใหสีเหลืองในซิทรินและแซฟไฟรสีเหลือง

1.2.3 ทิทาเนียม (Titanium) เมื่อธาตุทิทาเนียมและธาตุเหล็กเปนมลทินในคอรันดัมซึ่งมีสูตรทางเคมีเปนอะลูมิเนียมออกไซด (Al2O3) จะทําใหคอรันดัมใสไมมีสีเปลี่ยนไปเปนสีน้ําเงิน ที่เรียกวา ไพลิน

1.2.4 ทองแดง (Copper)ใหสีฟาในเทอรควอยส สีน้ําเงินในอะซูไรด และ สีเขียวในมาลาไคต 1.2.5 นิเกิล (Nickel)ใหสีเหลืองในแซฟไฟรสังเคราะหสีเหลือง และสีเขียวในคริสโซเพรส 1.2.6 วานาเดียม (Vanadium) ใหสีเขียวในซาโวโรต สีน้ําเงินในซอยไซต และสีน้ําเงิน-มวงใน

แซฟไฟรเปลี่ยนสีสังเคราะห 1.2.7 แมงกานีส (Manganese) ใหสีชมพูในไรไนต โรโดโครไซดมอรแกไนต คุนไซด และคว

อรตซสีชมพู และใหสีสมในโกเมนสเปซซาไทด 1.2.8 โคบอลล (Cobalt) เปนธาตุที่นิยมในการใชผลิตพลอยสังเคราะห และใหสีน้ําเงิน เชน คว

อรตซสังเคราะหสีน้ําเงิน และสปเนลสังเคราะหสีน้ําเงิน การวิเคราะหสีของพลอย จะวางพลอยไวบนฉากสีขาวและใชไฟแสงสะทอน(Reflected

light) การบรรยายสีของพลอยสามารถบรรยายในเรื่องของสี (Hue) ความมืด-สวาง(Tone) และความเขมของสี (Saturation)

สีมีทั้งหมด 6 สี คือ มวง น้ําเงนิ เขียว เหลือง สม และแดง สวนใหญสีของพลอยจะเปนสีผสมโดยมีทั้งสีหลักและสีรอง ฉะนั้นในการบรรยายจึงนิยมบรรยายทั้งสีหลัก และสีรอง เชน สีเขียวอมสม หมายถึงพลอยที่มีสีหลักเปนสีเขียวและสีรองเปนสีสม ตัวอยางการเขียน orangish Green (oG), สีสม - แดง หมายถึง พลอยมีสีสมและสีแดงเดนเทาๆ กัน เขียนOrange – Red (OR)

การบรรยายเรื่องความมืด – ความสวาง บรรยายไดตามระดับความมืด – ความสวาง ดังนี้ สวางมาก (Very light) สวาง (Light) สวางปานกลาง (Medium light) ปานกลาง (Medium) มืดปานกลาง (Medium dark) มืด (Dark) มืดมาก (Very dark)

การบรรยายเรื่องความเขมของสี สามารถบรรยายในลักษณะของสีเขมหรือสีสด เชน สีแดงเขม

Page 7: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

2. ความโปรงแสง (Transparency) คือ คุณสมบัติของพลอยในการยอมใหแสงผานในการทดสอบความโปรงแสงของพลอยจะใชไฟฉาย (Pen light) สองผานพลอย ความโปรงแสงของพลอยดังนี้คือ

2.1 โปรงใส (Transparent) แสงผานเขาไปในตัวพลอยไดดี สามารถเห็นรูปราง ของวัตถุที่อยูดานหลังของพลอยไดชัดเจน เชน เหมือนแกวใสน้ําใส ๆ สามารถที่จะมองเห็นทะลุดานหลังของมัน 2.2 ก่ึงโปรงแสง (Semi – transparent) แสงผานเขาไปในตัวพลอยไดดี สามารถ เห็นรูปรางของวัตถุที่อยูดานหลังของพลอยไดแตไมชัดเจน 2.3 โปรงแสง (Translucent) แสงผานเขาไปในตัวพลอยได แตไมสามารถ มองเห็นรูปรางของวัตถุที่อยูดานหลังของพลอย เชน มองกระจกฝา 2.4 ก่ึงโปรงแสง (Semi – translucent) แสงสามารถผานเขาไปในตัวพลอยได นอยมาก จะเห็นแสงเฉพาะตรงขอบพลอยเทานั้น 2.5 ทึบแสง (Opaque) แสงไมสามารถผานเขาไปในตัวพลอยได

3. การกระจายแสง (Dispersion) คือการที่แสงสีขาวเดินทางเขาไปในตัวพลอย แลวแตกเปนสีรุง 6 สีเมื่อ

เดินทางออกจากพลอย สีรุง 6 สีคือ มวง น้ําเงิน เขียว เหลือง สมและแดง การสังเกตการกระจายแสงของพลอย เรานิยมใชดูพลอยใสไมสี และพลอยที่มีสีออนมากๆทั้งนี้เพราะถาพลอยที่มีสี สีของพลอยจะบังการกระจายแสงของพลอย อัญมณที่มีการกระจายแสงชัดเจน ไดแก เพชรและเพชรเลียนแบบ ระดับการกระจายของแสงมีดังนี้คือ การกระจายแสงสูง (Extreme dispersion) เชน รูไทลสังเคราะห กระจายแสงปานกลาง (Moderate dispersion) เชน เพชร กระจายแสงต่ํา (Weak dispersion) เชน แยก

ตารางแสดงคาการกระจายแสงของเพชรและเพชรเลียนแบบ ช่ือเพชรและเพชรเลียนแบบ การกระจายแสง

รูไทลสังเคราะห สตอนเทียมทิทาเนต คิวบิกเซอรโคเนียสังเคราะห จีจีจี (GGG = Gadolinium Gallium Garnet) เพชร เพทาย แยก (YAG = Yttrium Aluminium Garnet)

.330

.190

.060

.045

.044

.038

.028

Page 8: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 6โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

4. ความวาว (Luster) คือคุณภาพและปริมาณของแสงที่สะทอนจากผิวพลอยมาเขาตา ความวาวของพลอยขึ้นกับความแข็ง การขัดมันที่ผิว และคาดัชนีหักเหของพลอย ความวาวมีดังนี้คือ

4.1 วาวแบบโลหะ (Metallic luster) เปนความวาวที่สูงมากเหมือนผิวโลหะ เชน ฮีมาไทต และไพไรต เปนตน

4.2 วาวแบบเพชร (Adamantine luster) เปนความวาวที่พบไดในพลอยที่มีคาดัชนี หักเหสูง เชน เพชร และดีมานทอยด เปนตน

4.3 วาวแบบแกว (Vitreous luster) เปนความวาวที่พบไดในพลอยทั่วไปลักษณะ เหมือนผิวของแกว เชน คอรันดัม โทแพซ และเบริล เปนตน 4.4 วาวแบบน้ํามันเคลือบ (Greasy luster) ผิวพลอยจะเหมือนเคลือบดวยน้ํามัน เชน เนฟไฟร เปนตน

4.5 วาวแบบยางสน (Resinous luster) มองดูเหมือนยาง เชน อําพัน เปนตน 4.6 วาวแบบขี้ผ้ึง (Waxy luster) มองดูเหมือนขี้ผ้ึงเทียนไข เชน เจดไดต และ เทอรควอยส เปนตน 4.7 วาวแบบใยไหม (Silky luster) มองดูคลายใยไหม เกิดจากการสะทอนของแสง จากตําหนิและเสนไหมภายในพลอย เชน พลอยตาเสือ และพลอยที่มีสตาร เปนตน 4.8 วาวแบบทึบ (Dull) เปนความวาวที่ไมมีปริมาณของแสงสะทอนจากผิว มองดู ทึบดาน พบในพลอยที่ทึบแสงและผิวไมไดขัดมัน เชน เทอรควอยสที่ไม ไดเจียระไน เปนตน

5. ปรากฎการณ (Phenomena)เปนลักษณะพิเศษพบในพลอยบางชนิด ลักษณะเหลานี้อาจเกิดจากตําหนิ

ในพลอย การเลือกดูดกลืนและการผานแสงในพลอย หรือโครงสรางทางกายภาพของพลอย ปรากฎณที่พบในพลอยมีดังนี้คือ

5.1 สาแหรกหรือสตาร (Asterism of star) เกิดจาการสะทอนแสงของตําหนิเสน เข็มที่ตัดกันมากกวา 1 ระนาบ พบในสตารทับทิม สตารแซฟไฟร และ สตาร แซฟไฟรสีดําเปนตน

Page 9: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพปรากฏการณสาแหรกหรือสตารในสตารแซฟไฟร

5.2 ตาแมว (Chatoyancy or cat’s eye) เกิดจากการสะทอนแสงของตําหนิเสนเข็มที่ ขนานกัน 1 ระนาบ พบในคริสโซเบริลตาแมว และ ควอรตตาแมว และทัวมา รีนตาแมว เปนตน

ภาพปรากฏการณตาแมวในคริสโซเบริลตาแมว

5.3 อะเวนจูเรสเซนส (Aventurescence) เกิดจากการสะทอนแสงของตําหนิแผนแร

Page 10: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 8โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ซึ่งมีลักษณะเปนเกล็ดเล็ก ๆ จะเห็นเปนเกล็ดระยิบระยับ พบในซันสโตนโอลิ โกเคลส และ อะเวนจูรีนควอรตซ เปนตน

ภาพปรากฏการณอะเวนจูเรสเซนส

5.4 การเปลี่ยนสี (Color change) พลอยบางชนิดจะเกิดการเปลี่ยนสี ภายใตแสงที่ ตางกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเลือกดูดกลืนแสงและการผานแสงของพลอย พบ แซฟไฟร ซึ่งจะเห็นเปนสีเขียวภายใตแสงธรรมชาติหรือแสงฟลูออเรสเซนส และเห็นเปนสีแดงภายใตหลอดไฟไส

ภาพแซฟไฟรปกติ

Page 11: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 9โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

อเล็กซานไดรตคริสโซเบริลภายใตแสงฟลูออเรสเซนส

5.5 การเลนสี (Play of color) พบในโอปอลและโอปอลสังเคราะห เกิดเนื่องจาก โครงสรางภายในประกอบดวยผนึกรูปซิลิการูปทรงกลม เมื่อแสงแทรกซอน ผานผลึกซิลิกาจะเกิดการหักเหของแสงทําใหเห็นเปนหยอมสีตาง ๆ กัน หลายสี

ภาพปรากฏการณการเลนสีในโอปอล

Page 12: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 10โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

5.6 แลบบราโดเรสเซนส (Labradorescence) เกิดเนื่องจากการสอดแทรกของแสง เขาไปในชั้นบาง ๆ ของระนาบผนึกแฝด ทําใหเห็นเปนแผนสีฟาเขียวเหลือบ ไปมาบนผิวพลอยพบในแลบบราโดไรตเฟลดสปาร

ภาพปรากฏการณแลบบราโดเรสเซนสในแลบบราโดไรตเฟลดสปาร

5.7 อะดูลาเรสเซนส (Adularescence) เกิดจากสอดแทรกหรือแตกออกของลําแสง ซึ่งสะทอนจากแผนแรเฟลดสปาร ทําใหเปนแผนสีขาวหรือฟาเหลือบไปมา บนผิวพลอยพบในมูนสโตนออรโธเคลส เปนตน

ภาพปรากฏการณอะดูลาเรสเซนสในมูนสโตนออรโธเคลส 5.8 อิริเดสเซนส (Iridescence) เกิดจากการสอดแทรกของแสงที่แผนฟลมบาง ๆ ในเนื้อพลอยทําใหเห็นเปนสีสเปกตรัม พบในไฟรอะเกต และไอริสควอรตซ

Page 13: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพปรากฏการณอิริเดสเซนสในไฟรอะเกต

5.9 โอเรียนท (Orient) เกิดจากการสอดแทรกและหักเหของแสงจากโครงสรางที่

เปนช้ัน ๆ ของไขมุกจะเห็นเปนสีรุง

ภาพปรากฏการณโอเรียนทในไขมุก

6. การเจียระไน (Cutting) การเจียระไนพลอยตองคํานึงถึงรูปราง แบบ สัดสวนและฝมือของการเจียระไน

เพื่อใหพลอยมีความงดงามมากที่สุด การเจียระไนที่ดีมีผลตอการเพิ่มคุณคาของพลอยอยางมาก รูปรางและแบบของการเจียระไนมีดังนี้ คือ 6.1 เหลี่ยมเกสร ( Brilliant Cut) มีหนาเหลี่ยมขัดมันทั้งหมด 57 – 58 เหลี่ยมนิยม ใชสําหรับการเจียระไนเพชร การเจียระไนแบบเหลี่ยมเกสรประกอบดวย 3

Page 14: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 12โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

สวนคือ - สวนบนของพลอย เรียกวา คราวน (Crown) ประกอบดวยเหลี่ยมตรงกลาง ใหญรูปแปดเหลี่ยม และเหลี่ยมดานขางซึ่งเปนรูปสามเหลี่ยมและรูปวาว - สวนกลางของพลอย เรียกวา ขอบพลอย (Girdle) เปนขอบบาง ๆ แบงแยก สวนบนและสวนลางของพลอยออกจากกัน - สวนลางของพลอย ประกอบดวยเหลี่ยมเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูเรียงตัวเปน แถวลดหลั่นเปนขั้นบันได 6.2 เหลี่ยมผสม ( Mixed cut ) เปนการเจียระไนผสมระหวางเหลี่ยมเกสรและ เหลี่ยมขั้นบันได นิยมใชสําหรับการเจียระไนทับทิม ไพลิน และบุษราคัมที่ โปรงใส เพราะเปนการเจียระไนที่รักษาน้ําหนักพลอยไดดีโดยสวนบนของ พลอยเจียระไนเปนเหลี่ยมเกสรและสวนลางของพลอยเจียระไนเปนเหลี่ยมขั้น บันได

6.3 หลังเบี้ย ( Cabochon ) เปนการเจียระไนคลายหลังหลังเตา นิยมเจียระไนพวก พลอยโปรงแสงถึงทึบแสง เชน ทับทิม ทับทิมสตาร ไพลิน เจดไดต และมรกต เปนตน

6.4 ลูกกลม ( Bead ) การเจียระไนลูกกลมมักเจาะรูตรงกลางเพื่อรอยเปนเสนทํา เปนสรอยคอ เชน ไขมุก อําพัน เทอรควอยส และลาปสลาซูลี เปนตน 6.5 คามีโอ (Cameo) เปนการแกะสลักโดยใหรูปสูงนูนขึ้นมาจากเนื้อพลอย 6.6 อินทากลิโล ( Intaglio ) เปนการแกะสลักใหภาพลึกลงไปในเนื้อพลอยล 6.7 แผนกลม ( Tablet ) เปนการเจียระไนที่มีพ้ืนผิวแบนขนานกัน

Page 15: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 13โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

การวิเคราะหอัญมณีดวยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร

ลักษณะทางแสง และภาพทางแสง (Optic figure) 1. แสงเดินทางในอากาศมีลักษณะเปนคลื่น มีการสั่นสะเทือนและตั้งฉากกับทิศทางการเดินทางของแสง และระนาบของการสั่นสะเทือนตั้งฉากกับทิศทางการเดินทางของแสง แสงที่มีการสั่นสะเทือนโดยรอบทุกทิศทางนี้เรียกแสงอันโพลาไรซ (Unpolarized light) แสงจะเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 300,000 กิโลเมตรตอวินาที หรือ 186,000 ไมลตอวินาที 2. แสงเมื่อเดินทางเขาไปในพลอย ความเร็วของแสงจะลดลงและเกิดการหักเห 2.1 ถาพลอยอยูในระบบไอโซเมตริก (Isometric) และพลอยอสัณฐาน(Amorphous) แสงจะเดินทางเขาไปในพลอยเปนลําแสงเดียวไมแตกเปน 2 ลําแสง เรียกพลอยที่มี ลักษณะทางแสงนี้วา พลอยหักเหเดี่ยว (Single Refractive Gemstone) นิยมใชตัวยอ “SR” และแสงจะมีการสั่นสะเทือนโดยรอบเปนแสงอันโพลาโรซ 2.2 พลอยที่อยูในระบบอื่น ๆ นอกเหนือจากระบบไอโซเมตริก ไดแก พลอยในระบบ เตตระโกนัล (Tetragonal) เฮกซะโกนัล (Hexagonal) ออรโธรอมบิก (Orthorhombic) โมโนคลีนิก (Monoclinic) และไตรคลีนิก (Triclinic) เมื่อแสงเดิน ทางผานเขาไปในทิศทางที่ไมใชแกนแสง (Optic axis) แสงจะแตกเปน 2 ลําแสง เรียก พลอยที่มีลักษณะทางแสงเชนนี้วาพลอยหักเหคู (Double refractive gemstone) นิยมใชตัว ยอ “DR” และแตละลําแสงมีการสั่นสะเทือนเพียงระนาบ เดียว เรียก แสงโพลาไรซ (Polarized light) 3. แกนแสง (Optic Axis) นิยมใชตัวยอ “OA” เปนทิศทาง (ยกเวนในพลอยหักเหคูที่แสง เดินทางเปนลําแสงเดียว ไมเปน 2 ลําแสง)

Page 16: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 14โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ตารางแสดงลักษณะทางแสงของพลอยในระบบตาง ๆ

ระบบผลึก

พลอยหักเหเดี่ยว (SR) พลอยหักเหคู (DR)

ไอโซเมตริก

อสัณฐาน

เตตระโกนัล เฮกซะโกนัล ไตรโกนัล

ออรโธรอมบิก โมโนคลีนิก ไตรคลีนิก

4. พลอยหักเหคู แบงตามภาพแสง (Optic figure) เปน 2 ประเภท

ตารางแสดงภาพทางแสงของพลอยในระบบตาง ๆ

ระบบทางแสงของพลอยในระบบตาง ๆ พลอยหักเหคูยูนิแอกเซียล

(DRU) พลอยหักเหคูไบแอกเซียล

(DRB) เตตระโกนัล เฮกซะโกนัล ไตรโกนัล

ออรโธรอมบิก โมโนคลีนิก ไตรคลีนิก

4.1 พลอยหักเหคูแบบยูนิแอกเซียล (Uniaxial) ใชตัวยอ “DRU” คือ พลอยที่มีแกนแสง 1 แกน และแกนแสงนี้จะขนานกับแกนยาวของผลึก ไดแก พบที่อยูในระบบเตตระ โกนัล เฮกซะโกนัล และไตรโกนัล ภาพทางแสงของพลอยหักเหคูยูนิแอกเซียลมี ลักษณะเปนรูปกากบาทซึ่งอยูในระบบเฮกซะโกนัลมีภาพทางแสงเปนรูปตาวัว (Bull’s eye)

Page 17: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 15โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพทางแสงของพลอยหักเหคูแบบยูนิแอกเชียล

ภาพทางแสงรูปตาวัว

4.2 พลอยหักเหคูแบบไบแอกเซียล (Biaxial) ใชตัวยอ “DRB” คือ พลอยที่มีแกนแสง 2 แกน และแกนแสงทั้งสองแกนทํามุมกันเรียกวา “มุม 2V” ไดแก พลอยที่อยูใน ระบบออรโธรอมบิก โมโนคลีนิก และไตรคลีนิก ภาพทางแสงของพลอยหักเหคู ไบแอกเซียลมีลักษณะเปนเสนดํา 1 เสนพาดผานกลางวงกลม 1 วง ในกรณีที่มุม 2V เล็ก จะเห็นเปนเสนดํา 2 เสนพาดผานกลางวงกลม 2 วง

ภาพทางแสงของพลอยหักเหคูแบบไบแอกเชียล

Page 18: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 16โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพทางแสงของพลอยหักเหคูแบบไบแอกเชียลในกรณีที่มุม 2V เล็ก

เครื่องมือที่ใชหาลักษณะทางแสงและภาพทางแสงของพลอยคือ โพลาริสโคป (Polariscope) โพลาริสโคป (Polariscope) ใชตรวจสอบวาเปนพลอยหักเหเดี่ยวหรือหักเหคู และถาเปนพลอยหักเหคูก็สามารถบอกไดวาเปนพลอยหักเหคูแบบยูนิแอกเชียล หรือแบบไบแอกเชียล

ภาพโพลาริสโคป (Polariscope)

Page 19: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 17โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ขั้นตอนการตรวจสอบลักษณะทางแสง

1. เปดไฟ 2. หมุน Analyzer ที่อยูดานบนไปยังตําแหนงมืด 3. วางพลอยบน Analyzer ที่อยูดานลาง หมุนพลอยแลวมองดูจาก Analyzer อันบน 4. - ถาพลอยมืด เปนพลอยหักเหเดี่ยว

- ถาพลอยสวางตลอด เปน Aggregate (AGG) - ถาพลอยกระพริบ คือมืดสลับสวางใหตรวจสอบโดย - หมุน Analyzer ที่อยูดานบนไปยังตําแหนงมืด - หมุนพลอยใหอยูตําแหนงสวางสุด - มองจากแผน Analyzer แลวคอยๆ หมุนพลอย

- พลอยสวางขึ้น แสดงวาเปนพลอยหักเหเดี่ยวแบบคูปลอมใชอักษรยอ SR แบบ ADR (Anomalous Double Refractive Gemstone) - มืดลงหรือคงที่ แสดงวาเปนพลอยหักเหคู (DR)

ขั้นตอนการตรวจสอบคุณสมบัติภาพทางแสง 1. เปดไฟ 2. หาสีรุงบนพลอย เพราะสีรุงจะแสดงทิศทางของแกนแสงของพลอย 3. นําแทงแกว (Glass Ball) มาแตะที่บริเวณสีรุง ภาพทางแสงจะปรากฏออกมา เพราะแทงแกวทําหนาที่

เปนเลนซรวมแสงทําใหเห็นภาพไดชัดเจน

คาดัชนีหักเห (Refractive index) เปนอัตราสวนระหวางความเร็วของแสงในอากาศตอความเร็วของแสงในพลอย คาดัชนี หักเหมีความสําคัญในการแยกชนิดของพลอยอยางมาก

คาดัชนีหักเหของพลอย = ความเร็วของแสงในอากาศ ความเร็วของแสงในพลอย

แสงมีความเร็วในอากาศซึ่งมีคาคงที่เทากับ 300,000 กิโลเมตรตอวินาทีและเมื่อแสงเดินทางผานอากาศเขาไปในพลอยซึ่งมีความหนาแนนมากกวา ความเร็วของแสงจะลดลง ดังนั้นคาดัชนีหักเหของพลอยมีคามากกวา 1 เสมอและไมมีหนวย เชน คาดัชนีหักเหคอรันดัมมีคาเทากับ 1.770 หมายความวา ความเร็วของแสงที่ผานอากาศจะเปน 1.770 เทาของความเร็วของแสงที่ผานเขาไปในคอรันดัม นั่นคือความเร็วของแสงที่ผานคอรันดัมจะเทากับ 169,000 กิโลเมตรตอวินาที

ไบรีฟรินเจนซ (Birefringence) คือ คาความแตกตางระหวางคาดัชนีหักเหสูงสุดกับ

Page 20: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 18โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

คาดัชนีหักเหต่ําสุดของพลอยหักเหคู เชนเทอรควอยสมีคาดัชนีหักเห 1.610-1.650 คาไบรีฟรินเจนซ 0.04 เปนตน

เครื่องมือที่ใชวัดคาดัชนีหักเหของพลอย เรียกวา รีแฟรคโตมิเตอร(Refractometer)

ภาพรีแฟรคโตมิเตอร

ขั้นตอนการหาคาดัชนีหักเห

1. เปกไฟโดยใชแสงสีขาวสองเขาทางดานหลังของเครื่องรีแฟรคโตมิเตอร 2. หยดน้ํายา RI เพียงเล็กนอยไวดานบนของแผนโลหะบนเครื่องรีแฟรคโตมิเตอร 3. จับพลอยใหแตะน้ํายา RI แลวเลื่อนไปตรงกลางของแผนแกว 4. นําเลนซขยายออก แลวเริ่มดูจากกําลังขยายต่ํากอนเพื่อใหเห็นสเกลทั้งหมด 5. มองสเกลตั้งแตบนลงลางอยางชาๆ จนเห็นแถบตัดสีเขียว-ฟา 6. ใสเลนซขยาย จะเห็นแถบสีนั้นชัดเจนขึ้น อานคาดัชนีหักเหที่ขีดลางของแถบสี

เขียว-ฟา เปนทศนิยม 2 ตําแหนง 7. เปลี่ยนแสงไฟจากสีขาวเปนสีเหลือง จะเห็นแถบสีเขียว-ฟาหายไปแตขอบเงามืดจะชัดเจน อานคาที่

ไดเปนทศนิยม 3 ตําแหนง 8. หมุนแผนโพลารอยดที่อยูดานบนเลนซขยายอยางชาๆ สังเกตขอบเงามืด

Page 21: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 19โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

- ขอบเงามืดคงที่ แสดงวาเปนพลอยหักเหเดี่ยว - ขอบเงามืดมีการเคลื่อนขยับขึ้น-ลง แสดงวาเปนพลอยหักเหคู

เพลียวโครอิซึม (Pleochroism) เปนคุณสมบัติที่พบในพลอยหักเหคู ในการแสดงสีมาก กวา 1 สี ในทิศทางที่ไมใชแกนแสง เนื่องจากแสง

ที่ผานเขาไปในพลอยหักเหคู ในทิศทางที่ไมใชแกนแสง แสงจะแตกเปน 2 ลําแสง และในแตละทิศทางของลําแสงพลอยมีคุณสมบัติในการเลือกดูดกลืนแสงและเลือกสองผานแสงไดไมเหมือนกัน จึงทําใหเห็นสีตางกัน สวนแสงที่ผานเขาพลอยในทิศทางของแกนแสงยังคงเห็นสีเดียวเนื่องจากแสงเขาไปเปนลําแสงเดียว ไมแตกเปน 2 ลําแสง

1. เพลียวโครอิซึม มี 2 แบบคือ 1.1 ไดโครอิซึม (Dichroism) คือ พลอยหักเหคูที่แสดงสี 2 สี พบไดในพลอยหัก เหคูยูนิแอกเซียล และพลอยหักเหคูไบแอกเซียล 1.2 ไตรโครอิซึม (Trichroism) คือ พลอยหักเหคูที่แสดงสี 3 สี พบในพลอยหักเห คูไบแอกเซียล 2. คุณสมบัติของพลอยทีมีเพลียวโครอิซึม มีดังนี้ 2.1 ตองเปนพลอยหักเหคู 2.2 ตองเปนพลอยที่มีสี การดูเพลียวโครอิซมึในพลอยสีเขม เห็นไดชัดกวาพลอยสี ออน 2.3 ตองเปนพลอยที่โปรงใสถึงกึ่งโปรงใส ตัวอยางพลอยที่มีเพลียวโครอิซึม เชน ทับทิม อาจพบสีมวงแดงสมแดง ไพลินอาจพบสีน้ําเงินและน้ําเงิน

อมเขียว เปนตน เครื่องมือที่ใชตรวจเพลียวโครอิซึมเรียก “ไดโครสโคป”

ภาพไดโครสโคป

Page 22: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 20โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

การเรืองแสง (Fluorescence) พลอยบางชนิดสามารถเรืองแสงไดเมื่อถูกกระตุนดวยแสงอุลตราไวโอเลตคลื่นสั้นและ

คลื่นยาว เรียกคุณสมบัตินี้วา ฟลูออเรสเซนส พลอยบางชนิดสามารถเรืองแสงตอไปไดสักพักหลังปดแหลงแสงที่เปนตัวกระตุนออกไปแลวก็ตาม คุณสมบัตินี้เรียกวาฟอสฟอเรสเซนส(Phosphorescence) เชน โอปอลบางเม็ด เปนตน

1. คลื่นแสงอุลตราไวโอเลต ที่ใชทดสอบการเรืองแสงมี 2 แบบคือ 1.1 คลื่นสั้น (Short ware) มีขนาดคลื่น 2,537 อังสตรอม 1.2 คลื่นยาว (Long ware) มีขนาดคลื่น 3,660 องัสตอม 2. ความเขมของการเรืองแสงของพลอยมีหลายระดับคือ 2.1 เขม (Short ware) 2.2 ปานกลาง (Moderate) 2.3 ออน (Weak) 2.4 เฉื่อย (Inert) ขอควรระวังในการปฏิบัติ 1.อยามองแสงอุลตราไวโอเลตคลื่นสั้นขณะที่เปดไฟอยู เพราะอาจทําใหตาบอดได 2.อยาใชมือจับพลอยขณะทําการทดสอบดวยคล่ืนสั้น เพราะจะเปนอันตรายตอผิวหนัง

ความถวงจําเพาะ (Specific gravity) ความถวงจําเพาะ คืออัตราสวนระหวางน้ําหนักของวัตถุในอากาศตอน้ําหนักของน้ําที่มีปริมาตรเทากับ

วัตถุ พลอยแตละชนิดมีคาความถวงจําเพาะคงที่ เชน ความถวงจําเพาะของเพริดอต เทากับ 3.34 หมายความวา เพริดอตหนักเปน 3.34 เทาของน้ําที่ปริมาตรเทาเพริดอต

การหาคาความถวงจําเพาะมี 2 วิธีคือ 1. วิธีไฮโดรสแตติค (Hydrostatic) 2. วิธีใชน้ํายา (Heavy liquids)

Page 23: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 21โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

การหาความถวงจําเพาะโดยวิธีไฮโดรสแตติค การหาคาความถวงจําเพาะโดยใชเครื่องช่ัง (Balance) โดยช่ังพลอยในอากาศและชั่งพลอยในน้ํา แลวนํา

คาที่ไดมาคํานวณหาความถวงจําเพาะ ความถวงจําเพาะ = น้ําหนักของวัตถุในอากาศ น้ําหนักของน้ําที่มีปริมาตรเทาวัตถุ

น้ําหนักของวัตถุในอากาศ

น้ําหนักของวัตถุที่หายไปในน้ํา = น้ําหนักของวัตถุในอากาศ น้ําหนักของวัตถุในอากาศ – น้ําหนักของวัตถุในน้ํา เชน ช่ังทับทิมในอากาศ 4.00 กระรัต ช่ังทับทิมในน้ํา 3.00 กระรัต ความถวงจําเพาะของทับทิม = 4.00

4.00 – 3.00 = 4.00 1.00 = 4.00

ภาพเครื่องช่ังหาความถวงจําเพาะ

Page 24: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 22โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ขอดีของการหาความถงจําเพาะโดยวิธีไฮโดรสแตติค 1. ไดคาความถวงจําเพาะเปนตัวเลขที่แนนอน 2. หาคาความถวงจําเพาะไดไมมีขีดจํากัดไมวาความถวงจําเพาะของพลอย นั้นจะสูงหรือตํ่า เชน ความถวงจําเพาะของ จีจีจี เทากับ 7.05 และ ออบซิเดียน เทากับ 2.40 เปนตน ขอเสียของการหาความถวงจําเพาะโดยวิธีไฮโดรสแตติค

1. ไมควรช่ังพลอยที่มีน้ําหนักนอยกวา 1 กระรัต เพราะพลอยยิ่งมีน้ําหนัก นอยความคลาดเคลื่อนในการชั่งยิ่งมีมาก ซึ่งจะทําใหคาความถวง จําเพาะคลาดเคลื่อนมาก 2. ไมสะดวกในการพกพา เพราะเครื่องช่ังคลาดเคลื่อนไดงาย และตองหมั่น ตรวจความเที่ยงตรงเครื่องช่ังเสมอ การหาความถวงจําเพาะโดยน้ํายา เปนการหาคาความถวงจําเพาะโดยประมาณโดยมีหลักวา - ถาพลอยลอยในน้ํา แสดงวา พลอยมีคาความถวงจําเพาะนอยกวาคา ความถวงจําเพาะของน้ํายา - ถาพลอยจมในน้ํายา แสดงวา พลอยมีคาความถวงจําเพาะมากกวาคา ความถวงจําเพาะของน้ํายา - ถาพลอยแขวนลอยในน้ํายา แสดงวา พลอยมีคาความถวงจําเพาะเทากับคา ความถวงจําเพาะของน้ํายา การดูความเร็วที่พลอยจมในน้ํายาทําใหคาดคะเนความถวงจําเพาะของพลอยไดโดยมีหลักวา -ถาพลอยมีอัตราการจมเร็ว แสดงวา พลอยมีคาความถวงจําเพาะสูงกวาคา ความถวงจําเพาะของน้ํายา -ถาพลอยมีอัตราการจมชา แสดงวา พลอยมีคาความถวงจาํเพาะสูงกวาคา ความถวงจําเพาะของน้ํายา

น้ํายาที่ใชทดสอบหาความถวงจําเพาะของพลอยเตรียมไดโดยนําน้ํายาเมททิลีนไอโอไดด (Methylene

iodide) ซึ่งมีคาความถวงจําเพาะ 3.32 และน้ํายาเบนซิลเบนโซเอท (Benzyl benzoate) ซึ่งมีคาความถวงจําเพาะ 1.17 มาผสมกันใหไดคาความถวงจําเพาะ 3.32 3.05 2.85 2.67 และ 2.57 ตามลําดับและแยกบรรจุใสขวด เพื่อปองกันความคาดเคลื่อนของน้ํายาจึงนิยมใชพลอยเปรียบเทียบใสไวในขวดน้ํายาเพื่อตรวจสอบคาความถวงจําเพาะของน้ํายา

Page 25: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 23โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ตารางแสดงน้ํายามาตรฐานที่ใชหาคาความถวงจําเพาะและพลอยเปรียบเทียบในน้ํายา คาความถวงจําเพาะของน้ํายา (ถ.พ) พลอยเปรียบเทียบ

3.32

3.05 2.85 2.67

2.57

หยกเจดไดต ถ.พ. 3.34 – คอย ๆ จม คอรันดัม ถ.พ. 4.00 – จมเร็ว ทัวมาลีน ถ.พ. 3.02 – ลอย เนฟไฟรต ถ.พ. 2.95 – จม มรกตสังเคราะหแบบฟลักซ ถ.พ. 2.66 – ลอย แคลไซต ถ.พ. 2.71 – จม ไมโครไคลน ถ.พ. 2.56 – ลอย คาลซีโดนี ถ.พ. 2.60 - จม

ขอระมัดระวังในการหาคาความถวงจําเพาะโดยใชน้ํายา 1. ทําความสะอาดพลอยและปากคีบทุกครั้งกอนการจุมพลอยลงในน้ํายา 2. คีบพลอยจุมลงในน้ํายา โดยใหน้ํายาทวมมิดพลอยแลวปลอยพลอย 3. ยกขวดน้ํายาใหอยูในระดับสายตา เพื่อสังเกตอัตราเร็วของการจม การลอย ของพลอยในน้ํายา 4. หลีกเลี่ยงการสูดดมน้ํายา ระวังไมใหน้ํายาเขาตาและปาก ลางมือให สะอาดทุกครั้งหลังการทดสอบเพราะน้ํายาเปนสารเคมีที่มีอันตราย ขอดีของการหาคาความถวงจําเพาะโดยใชน้ํายา

1. สะดวก และรวดเร็ว 2. สามารถพกพาขวดน้ํายาไปไดงาย

ขอเสียของการหาคาความถวงจําเพาะโดยใชน้ํายา 1. คาที่ไดเปนเพียงคาประมาณ 2. การหาคาความถวงจําเพาะของพลอยโดยวิธีนี้ไมเหมาะที่จะใชกับพลอย กอนใหญ

ภาพซอน (Doubling)

Page 26: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 24โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

เปนคุณสมบัติที่พบในพลอยหักเหคูเทานั้น พลอยที่มีคาไบรีฟรินซเจนสูงจะเห็นภาพซอนไดชัดเจน เชน เพริดอตมีคาไบรีฟรินเจนซ .036 ทัวมาลีน มีคาไบรีฟรินเจนซ .020 และรูไทลสังเคราะหมีคาไบรีฟรินเจนซ .287 เปนตน

Page 27: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 25โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

บทเรียนที่ 2

คุณสมบัติทางกายภาพ

คุณสมบัติทางกายภาพ เปนคุณสมบัติอันเนื่องจากโครงสรางภายในของอะตอม และ

ชนิดของธาตุที่ยึดกันในอะตอม คุณสมบัติทางกายภาพมี ความแข็ง ความเหนียว รอยแตก รอยแยกแนวเรียบ รอยแยกแนวเรียบแบบปลอม และความถวงจําเพาะ

Page 28: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 26โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

คุณสมบัติทางกายภาพของพลอย

คุณสมบัติทางกายภาพของพลอย มีดังนี้ 1. ความแข็ง (Hardness) คือ ความทนทานตอการขูดขีดของแร แรที่แข็งกวาจะขูดขีดแรที่ออนกวาเปน

รอย ในการเปรียบเทียบความแข็งของแรจะใชตารางสเกลของโมหส (Mohs scale)เปนตารางเปรียบเทียบ (Relative scale)

ตารางแสดงสเกลความแข็งของโมหส

อันดับความแข็ง ช่ือแร คุณสมบัติเดน 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10

ทัลก ยิปซั่ม แคลไซต ฟลูออไรต อะพาไทต ออรโธเคลส ควอรตซ โทแพซ คอรันดัม เพชร

ออนลื่นมือ เล็บขูดเขา เล็บขูดเขา ผิวหยาบ ฝดมือ สตางคแดงขูดเปนรอย มีดหรือตะไบขูดเปนรอย กระจกขีดผิวแรจะเปนรอยบนผิวแร แรขีดผิวกระจกจะเปนรอยบนผิวกระจก แรขีดผิวกระจกเปนรอยไดงาย ขีดแรออนกวาเปนรอย ขีดแรออนกวาเปนรอย ขีดแรออนกวาเปนรอย

การทดสอบความแข็งของแรไมนิยมทดสอบกับพลอยที่เจียระไนแลว เพราะรอยขูดขีด จะทําใหพลอยเสียหายไดซึ่งจะทําใหความสวยงามลดลง แตถาหากจําเปนจริง ๆ ก็ควรขูดขีดบริเวณดานหลังของพลอย อัญมณีที่มีความเเข็งนอยกวา 7 จัดวาเปนพลอยคอนขางออน สวนมากอัญมณีที่มีความแข็งตั้งแต 7 ขึ้นไป จัดวามีความทนทานสูง อัญมณีบางชนิดแมจะมีความแข็งนอยมาก เชน ไขมุก แตก็เปนที่นิยมใชกันและมีราคาสูง อัญมณีบางชนิดมีความแตกตางกันตามทิศทาง เชน ไคยาไนต มีความแข็งในแนวดิ่ง 4-4.5 และในแนวขวาง 6-7

2. ความเหนียว (Toughness) คือ ความทนทานตอการแตกหัก กระเทาะของพลอย ความเหนียวขึ้นกับโครงสรางของอะตอม ระดับความเหนียวของพลอยแบงเปน ดีมาก (Exceptional)

Page 29: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 27โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ดีเลิศ (Excellent) ดีมาก (Very good) ดี (Good) พอใช (Fair) ไมดี (Poor)

พลอยที่มีความแข็งสูงมาก ไมจําเปนตองมีความเหนียวสูงดวย เชน เพชรมีความแข็งสูงสุดเปนอันดับ 10 แตมีความเหนียวเปนอันดับ 3 คือดีมาก สวนเนฟไฟรตเปนพลอยที่มีความแข็ง 6-6.5 แตมีความเหนียวมากที่สุดเปนอันดับที่ 1คือดีที่สุด พลอยบางชนิดมีความแข็งนอยมากและเปราะดวย เชนอําพัน มีความแข็ง 2 และมีความเหนียวเปนอันดับ 5 คือพอใช พลอยที่มีความเหนียวนอย จะแตกหักไดงาย เรียกวามีความเปราะ (Brittle) เชน เพทาย พลอยที่มีความเหนียวมากเหมาะแกการนําไปแกะสลัก เชน เนฟไฟรต เจดไดต และคาลซีโดนี เปนตน

3. รอยแตก (Fracture) เปนการแตกอยางไมมีทิศทางที่แนนอน และพื้นผิวของรอยแตก ไมเปนระนาบเรียบ รอยแตกที่พบในพลอยมี 4 แบบคือ

3.1 รอยแตกแบบกนหอย (Conchoidal) รอยแตกจะโคงเวาเหมือนกนหอย พบในพลอยทั่ว ๆ ไป เชน ควอรตซ โอปอล แกว และโกเมน เปนตน

3.2 รอยแตกแบบเสี้ยนไม (Splintery) พบในพลอยที่มีโครงสรางเปนเสนใย เชน เจดไดต เนฟไฟรต ฮีมาไทต และงาชาง เปนตน 3.3 รอยแตกแบบมวลเมล็ด (Granular) พบในพลอยที่เกิดเปนผลึกเล็ก ๆ อยูดวย กันซึ่งจะเห็นไดภายใตกลองจุลทรรศน เชน ควอรตซ เปนตน 3.4 รอยแตกผิวเรียบ (Even) ผิวของรอยแตกจะเรียบสม่ําเสมอแตไมมีทิศทางที่แน นอนพบไดในพลอยทั่ว ๆ ไป 3.5 รอยแตกผิวขรุขระ (Uneven) ผิวของรอยแตกจะขรุขระ เชน อําพัน และ ลาปสลาซูลี เปนตน

4. รอยแยกแนวเรียบ (Cleavage) เปนคุณสมบัติที่พบในพลอยบางชนิดเทานั้น พลอยจะแตกอยางมีทิศทางการแตกที่แนนอน และผิวหนาของรอยแยกแนวเรียบ (Cleavage plane) จะเปนแผนเรียบมัน รอยแยกแนวเรียบนี้จะขนานไปตามผิวหนาของผลึกและเกิดเนื่องจากระนาบที่ออนแอของโครงสรางของอะตอมภายในผลึก พลอยที่แสดงคุณสมบัติของรอยแยกแนวเรียบเดนชัด เชน โทแพซ เพชร ฟลูออไรต และแคลไซต เปนตน

Page 30: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 28โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ตารางแสดงพลอยที่มีคุณสมบัติของรอยแยกแนวเรียบและจํานวนทิศทางของรอยแยกแนวเรียบ จํานวนทิศทาง ช่ือพลอย

1 2 3 4 6

โทแพซ ออรโธเคลส สปอดูมีน

แคลไซต ฟลูออไรต สฟาเลอไรต

ในการเจียระไนพลอยที่มีรอยแยกแนวเรียบ ชางเจียระไนตองระมัดระวังไมใหเหลี่ยมพลอยขนานกับทิศ

ทางของรอยแยกแนวเรียบเพราะพลอยจะแตกออกไดงายตามทิศทางของรอยแยกแนวเรียบ 5.รอยแยกแนวเรียบปลอม (Parting) เปนการแตกออกตามระนาบเรียบ ลักษณะที่เห็นคลายกับรอยแยกแนวเรียบแตสาเหตุของการเกิดจะตางกันโดยรอยแยกแนวเรียบปลอมจะพบในพลอยที่มีระนาบผลึกแฝด (Repeated twinning plane) เชน คอรันดัม ดังนั้นจํานวนระนาบของรอยแยกแนวเรียบปลอมขึ้นกับจํานวนระนาบของผลึกแฝด หรือ การที่มีระนาบของแรอื่นแทรกอยูในพลอย เชน ระนาบของแรฮีมาไทตในสตารแซฟไฟรสีดํา รอยแยกแนวเรียบปลอมไมเกิดในพลอยชนิดเดียวกันทุกกอน แตรอยแยกแนวเรียบจะเกิดในพลอยชนิดเดียวกันทุกกอน เชน โทแพซจะมีรอยแยกแนวเรียบ 1 ทิศทางที่เรียกวารอยแยกแนวเรียบเบเซิลเสมอ

ตารางแสดงความแตกตางระหวางรอยแยกแนวเรียบและรอยแยกแนวเรียบปลอม รอยแยกแนวเรียบ รอยแยกแนวเรียบปลอม

1. เปนลักษณะเฉพาะของพลอยบางชนิดซึ่งจะเกิดกับพลอยนั้นทุกกอน

2. มีทิศทางที่แนนอน การแตกออกไมจํากัด

จํานวนสามารถแตกไดจนหมดกอน

1. เกิดเฉพาะพลอยที่มีความผิดปกติทางโครงสราง เชน ระนาบผลึกแฝด หรือ ระนาบของแรอื่นแทรกอยู ถาไมมีความผิดปกติทางโครงสรางจะไมเกิด

2. การแตกออกมีจํานวนจํากัดตามจํานวนระนาบที่ผิดปกติ

Page 31: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 29โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

6. ความถวงจําเพาะ (Specific gravity) คือ อัตราสวนระหวางน้ําหนักของวัตถุในอากาศตอ น้ําหนักของน้ําที่มีปริมาตรเทากับวัตถุ พลอยแตละชนิดมีคาความถวงจําเพาะคงที่ เชน ความถวงจําเพาะของเพริดอต เทากับ 3.34 หมายความวา เพริดอตหนักเปน 3.34 เทาของน้ําที่ปริมาตร เทาเพริดอต

7. การนําความรอน (Thermal conductivity) คือ ความสามารถของอัญมณีในการนํา ความรอน เพชรเปนอัญมณีที่มีความสามารถในการนําความรอนสูงที่สุด คาความสามารถในการ นําความรอนมีหนวยเปนวัตตตอเมตรตอองศาเซลเซียส เนื่องจากเพชรมีคุณสมบัติของการนําความรอนสูงมากเมื่อเทียบกับพลอยเลียนแบบเพชร จึงไดมีการคิดเครื่องมือโดยอาศัยคุณสมบัตินี้แยกเพชรออกจากพลอยเลียนแบบเพชร เครื่องมือนี้ เรียกวา เทอรมอลคอนดัคทิวิต้ีโพรบ (Thermal probe) สะดวกในการใชเพราะพกพาไดงาย ใชไดกับเพชรทุกขนาด และรวดเร็ว

8. พีโซอิเลคทริซิต้ี (Piezoelectricity) คือ คุณสมบัติในการนําไฟฟาของพลอยเมื่อไดรับแรงกดดัน เชน ทัวมาลีน และควอรตซ เปนตน

9. ไพโรอิเลคทริซิต้ี (Pyroelectricity) คือ คุณสมบัติในการนําไฟฟาของพลอยเมื่อพลอยไดรับความรอน เชน ทัวมาลีน เปนตน

10. ความคงทน (Stability) คือ ความทนทานตอการผุพัง และปฏิกริยาเคมีใด ๆ อัญมณีที่ดีควรมีความคงทนสูง และไมเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดลอมใด ๆ

ระบบผลึก

อัญมณีสวนใหญไดมาจากแร “แร” หมายถึงธาตุหรือสารประกอบอนินทรียที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สวนประกอบทางเคมีของแรคงที่และเขียนแทนไดดวยสูตรทางเคมี การเรียงตัวของอะตอมของธาตุภายในโครงสรางของแรแตละชนิดเปนระเบียบ ทําใหปรากฎออกมาเปนรูปผลึก ตาง ๆ กัน การตกผลึก ของแรจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยสภาพแวดลอมที่เหมาะสม คือ มีพ้ืนที่กวางขวางพอที่จะใหแรตกผลึก มีระยะเวลาในการตกผลึก และมีปริมาณของแรที่เย็นตัวลงตองไมเขมขนเกินไป ถาสภาพแวดลอมดังกลาว เหมาะสมจะไดผลึกใหญและสวยงามแต ถาสภาพแวดลอมไม เหมาะสมจะไดผลึกเล็กและเบียดเสียดกันแนนจนเสียรูปไป

ลักษณะของผลึก แบงเปน 2 แบบคือ

1. ผลึกเดี่ยว (Single crystal) คือ ผลึกที่เกิดขึ้นเดี่ยวๆ ไมจับกลุมกัน เชน ควอรตซ โทแพซ คอรันดัม และโกเมน เปนตน

Page 32: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 30โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

2. แอกกริเกท (Aggregates) คือผลึกหลาย ๆ ผลึกมาจับตัวกันเปนกลุม แตละผลึกมีการเรียงตัวของอะตอมภายในเปนระเบียบ แตการจับตัวเปนกลุมไมเปนระเบียบ เนื่องจากแตละกลุมจะมีทิศทางการเรียงตัวเฉพาะ แบงเปน 2.1 คริสตัลแอกกริเกท (Crystal aggregates) ผลึกแตละอันใหญพอสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลามาอยูรวมกันเปนกลุม เชน ควอรตซ และโกเมน เปนตน 2.2 ไมโครคริสตัลไลนแอกกริเกท (Microcrystalline aggregates) คือ ผลึกเล็กละเอียดมากจนมองดวยตาเปลาไมเห็นตองอาศัยกลองจุลทรรศน ผลึกเล็กละเอียดเหลานี้จับตัวกันเปนกลุมหลายกลุมทําใหการเรียงตัวของกลุมผลึกไมเปนระเบียบแตการเรียงตัวของอะตอมภายในของแตละผลึกยังคงเปนระเบียบ เชน เจดไดต และเนฟไฟรต เปนตน 2.3 คริปโตคริสตัลไลน (Cryptocrystalline aggregates) คือ ผลึกเล็กละเอียดมากจนมองดวยตาเปลาและกลองจุลทรรศนไมเห็น ตองใชกลองจุลทรรศนอิเล็คตรอนจึงจะเห็น เชน คาลซีโดนี ซึ่งเปนควอรตซเนื้อละเอียด เปนตน

ผลึกแอกกริเกทประเภทไมโครคริสตัลไลนและคริปโตคริสตัลไลนมีขนาดเล็กมากจนมองดวยตาเปลาไมเห็นและอยูเบียดเสียดกัน ดังนั้นรูปรางลักษณะที่ปรากฏใหเห็นจะเปนดังนี้คือ

-เนื้อสมาน (Massive) เนื้อเกาะกันแนนเปนกอน เชน ควอรตซสีชมพู เปนตน -มวลเมล็ด (Granuar) เนื้อเปนเม็ดเล็ก ๆ เกาะกันคลายเม็ดน้ําตาลทราย เชน ไอโดเครส เปนตน -เสนใย (Fibrous) เปนเสน ๆ คลายใยไหม เชน เนฟไฟรต เปนตน -พวงองุน (Botryoidal) มองดูคลายพวงองุน เชน มาลาไคต และฮีมาไทต เปนตน

รูปแบบเฉพาะตัวของอัญมณี (Crystal habit)

รูปแบบเฉพาะตัวของอัญมณี คือรูปรางลักษณะเดนของอัญมณี มักพบในธรรมชาติ เชน รูปรางเดนที่มักพบในธรรมชาติของเพชร คือ รูปออกตะฮีดรอน ซึ่งเปนรูปสามเหลี่ยม 8 หนาประกบกันเปนรูปปรามิค 2 รูป

ตารางแสดงรูปแบบเฉพาะตัวของพลอย รูปรางเดนเฉพาะตัว ช่ือพลอยที่พบ

รูปเข็ม (Acicular) รูปพวงองุน (Botryoidal) รูปกิ่งไม (Dendritic) รูปตะกรอ (Dodecahedral) รูปออกตะฮีดรอน (Tabular)

ตําหนิรูปเข็มของรูไทลและทัวมาลีนในควอรตซ คาลซีโดนี มอสอะเกต โกเมน เพชร สปเนล

Page 33: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 31โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

รูปแผนแบน (Tabular) ทับทิม

ผลึกและระบบผลึก (Crystal and crystal system) ผลึกหมายถึงของแข็งที่ปดลอมดวยผิวหนาที่เปน

ระนาบเรียบ ผลึกเปนคุณสมบัติของแรที่ปรากฎใหเห็นเดนชัด เพื่อใหเขาใจงายจึงจําเปนตองกําหนดแกนสมมุติขึ้นภายในรูปผลึกรูปลูกเตา เมื่อต้ังแกนสมมุติแลวจะเห็นวามีสวนกวาง สวนยาว และสวนสูง เทากัน จึงกลาวไดวาแกนของลูกเตาเทากันหมดทั้ง 3 แกน และตั้งฉากซึ่งกันและกัน ไดมีการจัดแบงผลึกแรเปน 6 ระบบ (Crystal system) รูปผลึกระบบตาง ๆ นั้น ตางกันที่แกนของผลึกแรที่สมมุติขึ้น ระบบผลึกมีดังนี้คือ

1. ระบบไอโซเมตริก มีแกน 3 แกนเทากัน และตัดกันที่ก่ึงกลางเปนมุมฉาก

ภาพแสดงลักษณะแกนผลึกระบบไอโซเมตริก พลอยที่อยูในระบบไอโซเมตริก ไดแก

- เพชร - โกเมน - สปเนล - สปเนลสังเคราะห - แยก - จีจีจี - คิวบกิเซอรโคเนียสังเคราะห - สตรอนเทียมทิทาเนต เปนตน

Page 34: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 32โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

2. ระบบเตตระโกนัล (Tetragonal system) มีแกน 3 แกนตัดตั้งฉากกันที่ก่ึงกลาง 2 แกนยาวเทากันสวนแกนที่ 3 อาจยาวหรือสั้นกวาก็ได

ภาพแสดงลักษณะแกนผลึกระบบเตตระโกนัล

พลอยที่อยูในระบบเตตระโกนัล ไดแก - เพทาย - รูไทล - รูไทลสังเคราะห - แคสซิเทอไรต - ไอโดเครส เปนตน

3. ระบบออรโธรอมบิก มีแกน 3 แกนตัดตั้งฉากกันที่ก่ึงกลางแกนทั้ง 3 ยาวไมเทากัน

ภาพแสดงลักษณะแกนผลึกระบบออรโธรอมบิก

พลอยที่อยูในระบบออรโธรอมบิก ไดแก โทแพซ เพริดอต แอนดาลูไซต คริสโซเบริล และ ซอยไซต เปนตน

Page 35: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 33โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

4. ระบบโมโนคลีนิก มีแกน 3 แกนยาวไมเทากัน 2 แกนตัดตั้งฉากกัน สวนแกนที่ 3 ตัดทํามุมกับ 2 แกนแรกและไมต้ังฉากกับ 2 แกนแรก

ภาพแสดงลักษณะแกนผลึกระบบโมโนคลีนิก

พลอยที่อยูในระบบโมโนคลีนิก ไดแก เจดไดต เนฟไฟรต สปอดูมีน ออรโธเคลส เอพิโดต มาลาไคต และ อะซูไรต เปนตน

5. ระบบไตรคลีนิก (Triclinic system) มีแกน 3 แกนไมเทากันและไมต้ังฉากกันเลย

Page 36: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 34โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลัษณะแกนผลึกระบบไตรคลีนิก

พลอยที่อยูในระบบไตรคลีนิก ไดแก - เทอรควอยส - โรโดไนต - ไมโครไคลน และ ไคยาไนต เปนตน

6. ระบบเฮกซะโกนัล (Hexagonal system) มีแกน 4 แกน 3 แกนอยูในแนวราบยาวเทากันและทํามุม 60o ซึ่งกันและกัน แกนที่ 4 ยาวหรือสั้นกวาก็ไดและตั้งฉากกับ 3 แกนแรก

ภาพแสดงลัษณะแกนผลึกระบบเฮกซะโกนัล

พลอยที่อยูในระบบเฮกซะโกนัล ควอรตซ คอรันดัม ทัวมาลีน เบริล และ โรโดโครไซต เปนตน

ซูโดมอรฟ (Pseudomorph) คือ แรที่มีสวนประกอบทางเคมีและโครงสรางของอะตอมภายในเปนของแรชนิดหนึ่ง แตมีรูปรางลักษณะภายนอกเปนของแรอีกชนิดหนึ่ง ขบวนการเกิดนี้เรียกวา ซูโดมอรฟซึม (Pseudomorphism) เชน พลอยตาเสือ เกิดจากการที่แรควอรตซเขาไปแทนที่แรโครซิโดไลตซึ่งเปนแรใยหิน (Asbestos) ชนิดหนึ่งทําใหไดลักษณะเปนเสน ๆ ของโครซิโดไลต

Page 37: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 35โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

โพลีมอรฟ (Polymorph) คือ แรมีสวนประกอบทางเคมีเหมือนกัน แตมีการเรียงตัวของโครงสรางอะตอมภายในตางกัน ขบวนการเกิดนี้เรียก โพลีมอรฟสซึม (Polymorphism) เชน เพชรและแกรไฟร เปน โพลีมอรฟกัน โดยตางประกอบดวยธาตุคารบอนเหมือนกันแตมีระบบผลึกตางกัน จึงทําใหคุณสมบัติของเพชรและแกรไฟตตางกัน

ตารางแสดงสวนประกอบ ระบบผลึก และคุณสมบัติของเพชร และแกรไฟต เพชร แกรไฟต

สวนประกอบทางเคมี ระบบผลึก รอยแตก ความแข็ง ความถวงจําเพาะ สี

ธาตุคารบอน (C) ไอโซเมตริก แบบกนหอย

10 3.54

ใสไมมีสีและมีสีอื่น ๆ

ธาตุคารบอน(C ) เฮกซะโกนัล

ไมมี 1

2.23 ดํา

ตารางแสดงสวนประกอบ ระบบผลึก และ คุณสมบัติของเพชร และแกรไฟต

เพชร แกรไฟต

รอยขีดสีผง ความวาว ความโปรงแสง

ขาว แบบเพชร โปรงใสถึงโปรงแสง

ดํา แบบโลหะ ทึบแสง

ไอโซมอรฟ (Isomorph) คือ แรที่มีโครงสรางของระบบผลึกเหมือนกัน และมีสวนประกอบทางเคมีสวน

ใหญเหมือนกัน มีเพียงสวนเล็กนอยของสวนประกอบที่ตางกัน เชน พลอยในตระกูลโกเมนมีหลายชนิด ทุกชนิดตางอยูในระบบไอโซเมตริกอเพียงแตสวนประกอบเปลี่ยนไปเล็กนอย

ตารางแสดงสวนประกอบทางเคมีของพลอยในตระกูลโกเมน ช่ือพลอย สวนประกอบทางเคมี

ไพโรป แอลแมนไดต สเปซซาไไทต

Mg3Al2(SiO4)3

Fe3Al2(SiO4)3

Mn3Al2(SiO4)3

ผลึกแฝด (Twin crystals) ผลึกแฝด คือ แรที่มีการเจริญเติบโตผิดปกติทําใหผลึกที่ชิดกันนั้นมีการใชระนาบรวมกัน ผนึกแฝดอาจมี

ลักษณะเปน

Page 38: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 36โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

1. ผนึกแฝดสัมผัส (Contact twin) หมายถึงการที่ผลึก 2 ผลึกติดกันโดยมีระนาบสัมผัสรวมกัน เชน สป

เนล และเพชร เปนตน

ภาพผลึกแฝดสัมผัสของสปเนล

2. ผลึกแฝดซ้ํา (Repeated twin) ผลึกหลายผลึกเกิดตอเนื่องกันโดยมีระนาบสัมผัสหลายระนาบ ระนาบ

สัมผัสอาจเกิดขนานกัน เชน แอลไบต เปนตน หรืออาจเกิดไมขนานกัน เชน คริสโซเบริล เปนตน

ภาพผลึกแฝดซ้ําของคริสโซเบริล

Page 39: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 37โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

บทเรียนที่ 3

คุณสมบัติของอัญมณีตางๆ

กระ (Tortoise Shell)

ภาพแสดงลักษณะกระ สวนประกอบ เปนสารอินทรียพวกโปรตีน

ความโปรงแสง ก่ึงโปรงใสถึงโปรงแสง สี รอยแตมสีเหลือง น้ําตาล ดํา และขาว

ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว คาดัชนีหักเห 1.550 ความถวงจําเพาะ 1.29 ความวาว แบบยางสนหรือขี้ผ้ึง ความแข็ง 2.5 รอยแตก แบบเสี้ยนไม ลักษณะเดน รอยแตมของสีที่ตางกัน เมื่อใชกําลังขยายจะเห็นเปนอนุภาคกลมๆ มากมาย

โกเมน (Garnet) 1.กรอสซูลาไรต หรือกรอสซูลา (Grossularite or Grossular)

Page 40: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 38โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะกรอสซูลาไรต - ซาโวไรต

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Ca3Al2(Sio4)3 ความโปรงแสง โปรงใสถึงกึ่งโปรงใส

สี เขียวเขม เหลือง และสม ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.730-1.760 ปกติมีคา 1.740 ความถวงจําเพาะ 3.57-3.73 ปกติมีคา 3.61 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย

2. ไพโรป (Pyrope)

Page 41: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 39โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะไพโรป

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Mg3Al2(SiO4)3 ความโปรงแสง โปรงใสถึงกึ่งโปรงแสง สี แดง และแดงอมมวง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดียวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.720-1.756 ปกติมีคา 1.746 ความถวงจําเพาะ 3.62-3.87 ปกติมีคา 3.78 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน ตําหนิเสนเข็ม และตําหนิผลึกขนาดใหญบาง เล็กบาง ปะปนกัน 3.มาลายา (Malaya or Malaia)

Page 42: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะมาลายา

สวนประกอบ มีสูตรทางเคมี (Mg Mn)3Al2(SiO4)3 ซึ่งผสมระหวางไพ โรปและสเปซซาไทต

ความโปรงแสง โปรงใส สี สมอมชมพู สมอมแดง และสมอมเหลือง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.742-1.780 ปกติมีคา 1.760 ความถวงจําเพาะ 3.78-3.85 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน ตําหนิผลึกแรรูไทล ไพไรต และอะพาไทต

4.โรโดไลต (Rhodolite)

Page 43: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 41โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะโรโดไลต

สวนประกอบ มีสูตรทางเคมี (Mg Fe)3Al2(SiO4)3 ความโปรงแสง โปรงใส สี แดงอมมวงเขม และมวงอมแดงเขม ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.740-1.770 ปกติมีคา 1.760 การกระจายแสง 0.026 ความถวงจําเพาะ 3.74-3.94 ปกติมีคา 3.84 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน ตําหนิเสนเข็มตัดกันทํามุม 70° และ 110° ในระนาบ เดียวกัน ตําหนิผลึกคอนขางกลม และตําหนิผลึกแร เซอรคอน 5.สเปซซาไทต หรือ สเปซซาทีน (Spessatite or Spessartine)

Page 44: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 42โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะสเปซซาไทต

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Mn3Al2(SiO4)3 ความโปรงแสง โปรงใส สี สมอมเหลือง และสมอมแดง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.790-1.814 ปกติมีคา 1.810 คากระจายแสง 0.027 ความถวงจําเพาะ 4.12-4.20 ปกติมีคา4.15 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน ตําหนิแบบคลื่นคลายขนนก ตําหนิสองสถานะ และ

ตําหนิผลึกกลวง

6.แอนดราไดต(Andradite)

Page 45: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 43โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะแอนดราไดต – ดีมานทอยด

ภาพแสดงลักษณะตําหนิหางมาในดีมานทอยด

สวนประกอบ Ca3Fe2( SiO4)3 ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี เหลือง เขียว น้ําตาล และดํา ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม คาดัชนีหักเห 1.855-1.895 ปกติมีคา 1.888 การกระจายแสง 0.057 ความถวงจําเพาะ 3.81-3.87 ปกติมีคา 3.84 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 6.5-7 รอยแตก แบบกนหอย 7.แอลแมนไดต หรือแอลแมนดีน (Almandite or Almandine)

Page 46: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 44โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะแอลแมนไดต

ภาพแสดงเสนเข็มรูไทลตัดกันทํามุม 110° และ 70° ในแอลแมนไดต

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Fe3Al2(SiO4)3 ความโปรงแสง โปรงใสถึงกึ่งโปรงแสง สี สมอมแดง แดง แดงอมมวง และมวงอมแดง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว มักแสดงหักเหเดี่ยวแบบคูปลอม ปรากฎการณ มีสตารแตหายาก ถามีสตารจะมี 4ขาหรือบางครั้งพบ 6 ขา คาดัชนีหักเห 1.760-1.820 ปกติมีคา 1.790 การกระจายแสง 0.024 ความถวงจําเพาะ 3.93-4.30 ปกติมีคา 4.05 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน ตําหนิเสนแข็มของแรรูไทลตัดกันทํามุม 70° และ110°

ในระนาบเดียวกัน ตําหนิผลึกคอนขางกลม และตําหนิผลึกแรเซอรคอนลอมรอบดวยรอยแตกเปนระนาบ

8.โฮโดรกรอสซูลาร (Hydrogrossular)

Page 47: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 45โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะไฮโดรกรอสซูลาร

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Ca3Al2(SiO4)3- x(OH)4x ความโปรงแสง โปรงแสงถึงทึบแสง สี เขียว ชมพู ขาว และเทา ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยวแบบAGG (Aggregate) คาดัชนีหักเห 1.670-1.730 ปกติมีคา 1.720 ความถวงจําเพาะ 3.15-3.55 ปกติมีคา 3.47 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7 รอยแตก แบบมวลเม็ด และแบบเสี้ยนไม ลักษณําเดน กรอสซูลาไรตโปรงแสงสีเขียวมีตําหนิแรผลึกสีดํา

เล็กๆ เนื่องจากวามองดูคลายหยกจึงอาจเรียกผิดเปนหยกแอฟริกา (African Jade) หรือ หยกทรานสวาล (Transvaal Jade)

ไขมุก (Pearl)

Page 48: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 46โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะไขมุกหลายสี

สวนประกอบ เปนสารพวก CaCo3 ประมาณ 80% สวนประกอบที่เหลือเปนสารพวกคอน

ไคโอลิน (Conchiolin) และน้ํา ความโปรงแสง โปรงแสงถึงทึบแสง สี สีขาว เหลืองออน ชมพู เขียว และน้ําเงิน ลักษณะทางแสง AGG (Aggregate) ปรากฏการณ โอเรียนท คาดัชนีหักเห 1.530-1.685 ไบรีฟรินเจนซ 0.155 ความถวงจําเพาะ ไขมุกน้ําเค็มมีความถวงจําเพาะ 2.61-2.85 ไขมุกน้ําจืดมีความถวงจําเพาะ 2.66-2.78 ความวาว แบบมุก ความแข็ง 2.5-4.5 รอยแตก ขรุขระ

คริสโซเบริล (Chrysoberyl)

Page 49: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 47โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะคริสโซเบริล - ตาแมว

สวนประกอบ สูตรทางเคมี BeAl2O4 ความโปรงแสง โปรงใสถึงโปรงแสง สี เหลือง เขียวอมเหลือง เขียวอมเทา น้ําตาล และน้ําตาลอมเหลือง ลักษณะทางแสง หักเหคู ไบแอกเซียลบวก ปรากฏการณ การเปลี่ยนสีและตาแมว คาดัชนีหักเห 1.746-1.755 ไบรีฟรินเจนซ 0.008-0.010 การกระจายแสง 0.015 ความถวงจําเพาะ 3.71-3.75 ปกติมีคา 3.75 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 8.5 รอยแตก แบบกนหอย ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -คริสโซเบริลโปรงใส -คริสโซเบริลตาแมว

-อะเล็กซานไดรต มีปรากฏการณการเปลี่ยนสี ถาอยู ภายใตแสงแดดพลอยจะมีสีเขียวอมเหลืองถึงเขียวอม น้ําเงิน จากหลอดไฟพลอยจะมีสีแดงอมน้ําตาลถึงแดง มวง -อะเล็กซานไดรตตาแมว

ควอรตซ (Quartz)

Page 50: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 48โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะควอรตซชนิดตางๆ

สวนประกอบ สูตรทางเคมี SiO2 ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี มีเกือบทุกสี ลักษณะทางแสง หักเหคู ยูนิแอกเซียลบวก หรือAGG ปรากฏการณ อิริเดสเซนส สตาร อะเวนจูเรสเซนส และตาแมว คาดัชนีหักเห 1.544-1.553 ไบรีฟรินเจนซ 0.009 การกระจายแสง 0.013 ความถวงจําเพาะ 2.64-2.69 ปกติมีคา2.66 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7 รอยแตก แบบแกว และแบบไมเรียบ

ลักษณะเดน ตําหนิของเหลว 2 สถานะและ 3 สถานะ ตําหนิผลึกกลวง แถบสี และภาพทางแสงที่เปนตาวัวหรือแอรี่สไปรัล

ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -ซิทริน มีสีเหลือง

Page 51: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 49โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพซิทริน -มิลก้ีควอรตซ เปนพลอยโปรงแสงถึงทึบแสง มีสีขาวถึง

เทาออน -ร็อคคริสตัล เปนพลอยโปรงแสงไมมีสี -รูทิเลทเทดควอรตซ เปยพลอยโปรงใสไมมีสี มีตําหนิ

เสนเข็มสีทองของแรรูไทล

ภาพรูทิเลทเทดควอรตซ -โรสควอรตซ มีสีชมพู -สโมคกี้ควอรตซ เปนพลอยโปรงใสถึงโปรงแสง มีสีน้ํา

ตาล

-อะมิทริน หรือ ทริสติน เปนพลอยโปรงใส มีสองสี ระหวางสีมวงของอะมิทิสต และสีเหลืองของซิทริน

Page 52: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 50โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพอะมิทริน หรือ ทริสติน -อะมิทิสต มีสีมวง

ภาพอะมิทิสต -ควอรตซตาแมว -พลอยตาเสือ เปนพลอยโปรงแสงถึงทึบแสง มีสีเหลือง

อมน้ําตาล

ภาพพลอยตาเสือ

-พลอยตาเหยี่ยว เปนพลอยโปรงแสงถึงทึบแสง มีสีน้ํา เงินอมเทา

-อะเวนจูรีนควอรตซ เปนพลอยโปรงแสงถึงทึบแสง มี ปรากฏการณอะเวนจูเรสเซนส

คอรันดัม (Corundum)

Page 53: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 51โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะคอรันดัมสีตางๆ

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Al2O3 ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี มีหลายสี ลักษณะทางแสง หักเหคู ยูนิแอกเซียลลบ ปรากฏกาณ การเปลี่ยนสี สตาร และตาแมว คาดัชนีหักเห 1.762-1.770 ไบรีฟรินเจนซ 0.008-0.010 การกระจายแสง 0.018 ความถวงจําเพาะ 3.95-4.10 ปกติมีคา 4.00 ความวาว แบบแกวถึงแบบกึ่งเพชร ความแข็ง 9 รอยแตก แบบกนหอย

ลักษณะเดน -เสนไหมของแรรูไทลตัดกันเปนมุม 60° และ120° -แถบสีตรง แถบสีหักมุม และแถบสีหกเหลี่ยม

Page 54: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 52โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะเสนไหมรูไทลตัดกันทํามุม 120° - 60°

ในทับทิมพมา

ภาพแสดงลักษณะแถบสีหักมุมในทับทิม

-ตําหนิดาวเสารในทับทิมไทย

ภาพแสดงลักษณะตําหนิดาวเสารในทับทิมไทย

ชนิดของพลอยและชื่อทางการคา -ทับทิม โปรงใสถึงทึบแสง มีสีแดง

Page 55: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 53โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพทับทิม -ไพลิน โปรงใสถึงทึบแสง มีสีน้ําเงิน

ภาพไพลิน -แซฟไฟรพัดพะรัดชา มีสีสมอมชมพู -แซฟไฟรสีขาว ใสไมมีสี -แซฟไฟรสีเขียวหรือพลอยเขียวสอง มีสีเขียว -แซฟไฟรสีชมพู มีสีแดงออน -แซฟไฟรสีมวง มีสีมวง -แซฟไฟรสีเหลืองหรือบุษราคัม มีสีเหลืองอมน้ําตาล

ภาพบุษราคัม -แซฟไฟรเปลี่ยนสี ภายใตแสงแดดพลอยจะมีสีน้ําเงิน และถาอยูภายใตแสงจากหลอดไฟพลอยจะมีสีมวง คิวบิกเซอรโคเนียสังเคราะห (Synthetic cubic zirconia)

Page 56: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 54โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะคิวบิกเซอรโคเนียสังเคราะห

สวนประกอบ สูตรทางเคมี ZrO2 เปนพลอยสังเคราะหมักใชเลียนแบบเพชร สังเคราะหโดยวิธีสกัลเมลติ้ง (Skull melting) ความโปรงแสง โปรงใส สี ใสไมมีสี ชมพู น้ําเงิน เหลือง สม แดง เขียว มวง และน้ําตาล ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว คาดัชนีหักเห 2.150 การกระจายแสง 0.060 ความถวงจําเพาะ 5.60-6.00 ปกติมีคา 5.80 ความวาว แบบกึ่งเพชร ความแข็ง 8.5 รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน เมื่อดูดวยกลองจุลทรรศน พบพาวิเลียนแฟลช (Pavillian flash) มี สีสม งา (Ivory)

Page 57: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 55โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะงานแกะสลักงาชาง

สวนประกอบ เปนสารอินทรียพวกแคลเซียมฟอสเฟต สวนใหญจะหมายถึง งาชาง แตก็มีการนํางาของสัตวชนิดอื่นมาใชเชน ตัววอลรัส เปนตน ความโปรงแสง โปรงแสงถึงทึบแสง สี ขาวถึงเหลืองออน ลักษณะทางแสง AGG คาดัชนีหักเห 1.535-1.540 ความถวงจําเพาะ 1.70-2.00 ความวาว แบบน้ํามันเคลือบ และแบบทึบแสง ความแข็ง 2.25-2.75 รอยแตก แบบเสี้ยนไม ลักษณะเดน ลายเสนเปนคลื่นและตัดกันเรียกวา เอนจีนเทอรนเอฟเฟค (Engine turned effect) ซึ่งเปนลักษณะของงาชาง เซอรคอน (Zircon)

Page 58: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 56โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะเซอรคอน

สวนประกอบ สูตรทางเคมี ZrSiO4 มีช่ือเรียกในภาษาไทยวา เพทาย ความโปรงแสง โปรงใส สี ใสไมมีสี เหลือง เขียวอมเหลือง เขียวอมน้ําตาล แดงอมสม และ แดงอมน้ําตาล ลักษณะทางแสง หักเหคู แบบยูนิแอกเชียลบวก คาดัชนีหักเห จะแตกตางกันขึ้นกับคุณภาพ

-เซอรคอนชนิดคุณภาพสูง 1.885-2.040 ปกติมีคา 1.925-1.984 -เซอรคอนชนิดคุณภาพปานกลาง 1.845-1.935 ปกติมีคา 1.875-1.905 -เซอรคอนชนิดคุณภาพต่ํา 1.780-1.845 ปกติมีคา 1.810-1.815

ไบรีฟรินเจนซ ต้ังแต 0.000-0.059 เซอรคอนคุณภาพต่ําจะมีคาไบรีฟรินเจนซตํ่า เซอรคอนคุณภาพสูงจะมีคาไบรีฟรินเจนซสูง การกระจายแสง 0.038 ความถวงจําเพาะ 3.90-4.73 เซอรคอนคุณภาพยิ่งสูงจะมีคาความถวงจําเพาะสูงขึ้น ดวย ความวาว แบบแกวถึงแบบเพชร ความแข็ง เซอรคอนชนิดคุณภาพต่ํามีความแข็ง 6 และเซอรคอนคุณภาพสูง มีคาความแข็ง 7.5 รอยแตก แบบกนหอย ทัวมาลีน (Tourmaline)

Page 59: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 57โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะทัวมาลีน

สวนประกอบ สูตรทางเคมี(CaKNa)(AlFeLiMgMn)3(AlCrFeV)6(BO3)3 Si6O18 (OHF)4 ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี มีทุกสี ลักษณะทางแสง หักเหคู แบบยูนิแอกเซียลลบ ปรากฏการณ ตาแมว และอาจพบปรากฏกาณการเปลี่ยนสีบาง คาดัชนีหักเห 1.615-1.655 ปกติมีคา 1.624-1.644 ไบรีฟรินเจนซ 0.018-0.040 ปกติมีคา 0.020 คาไบรีฟรินเจนซของพลอยที่มีสี เขม อาจจะสูงถึง 0.040 การกระจายแสง 0.017 ความถวงจําเพาะ 3.00-3.26 ปกติมีคา 3.06 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7-7.5 รอยแตก แบบกนหอย ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -โครมทัวมาลีน มีสีเขียวเขม -ดราไวต มีสีเหลืองและน้ําตาล -พารติคัลเลอรทัวมาลีน ในพลอยกอนเดียวจะมีสีมาก กวา 1 สี -รูเบลไลต มีสีชมพู และสีแดง -วอเตอรเมลอน ตรงกลางมีสีชมพู รอบๆมีสีเขียว -เวอดีไลต มีสีเขียวอมเหลือง และสีเขียวอมน้ําเงิน -สคอรล มีสีดาํ -อะโครไอต ใสไมมีสี -อินดิโคไลต มีสีน้ําเงินอมมวง และสีน้ําเงินอมเขียว -ทัวมาลีนเปลี่ยนสี ถาอยูภายใตแสงแดดจะมีสีเขียวอม

Page 60: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 58โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

เหลือง และถาอยูภายใตแสงจากหลอดไฟจะมีสี แดงอมสม

เทอรควอยส (Turquoise)

ภาพแสดงลักษณะเทอรควอยส

สวนประกอบ สูตรทางเคมี CuAl6(PO4)4(OH)8·5H2O ความโปรงแสง ก่ึงโปรงแสงถึงทึบแสง สี ฟา ฟาอมเขียว มักมีรอยแตมหรือลายเสน ลักษณะทางแสง AGG คาดัชนีหักเห 1.610-1.650 ความถวงจําเพาะ 2.40-2.90 ปกติมีคา 2.76 ความวาว แบบขี้ผ้ึง และแบบแกว ความแข็ง 5-6

รอยแตก แบบกนหอย และแบบมวลเม็ด ลักษณะเดน มักพบแมทริกซ (Matrix) คือลักษณะเปนสายคลายใยแมงมุมอาจ เปนพวกเหล็กออกไซด โทแพซ (Topaz)

Page 61: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 59โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะโทแพซ

สวนประกอบ สูตรทางเคมีAl2(FOH)2SiO4 ความโปรงแสง โปรงใส สี ใสไมมีสี เหลือง สม น้ําตาล ชมพู แดง มวง-แดง ฟาออน ฟาเขม และเขียวออน ลักษณะทางแสง หักเหคู แบบไบแอกเซียลบวก คาดัชนีหักเห 1.609-1.637 ปกติมีคา 1.619-1.627 ไบรีฟรินเจนซ 0.008-0.010 การกระจายแสง 0.014 ความถวงจําเพาะ 3.49-3.57 ปกติมีคา 3.53 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 8 รอยแตก แบบกนหอย

ลักษณะเดน ตําหนิ 2 สถานะ และ 3 สถานะ

แสดงลักษณะตําหนิ ของเหลวในโทแพซ

Page 62: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 60โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

แสดงลักษณะฟองอากาศในตําหนิของเหลวในโทแพซ

ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -เชอรี่โทแพซ พลอยโปรงใส มีสีเหลืองอมน้ําตาล -อิมพีเรียลโทแพซ พลอยโปรงใส มีสีสมอมแดง และ แดงอมสม เบริล (Beryl)

ภาพแสดงลักษณะเบริล

สวนประกอบ สูตรทางเคมี Be3Al2Si6O18 ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี ใสไมมีสี เขียว เหลือง สมออน ชมพู ฟา น้ําตาล และดํา ลักษณะทางแสง หักเหคู แบบยูนิแอกเซียลลบ ปรากฏการณ ตาแมว คาดัชนีหักเห 1.560-1.600 ปกติมีคา 1.577-1.583 ไบรีฟรินเจนซ 0.005-0.009 การกระจายแสง 0.014 ความถวงจําเพาะ 2.67-2.90 ปกติมีคา 2.72 ความวาว แบบแกว ความแข็ง 7.5-8

Page 63: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 61โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

รอยแตก แบบกนหอย ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -โกชีไนต พลอยโปรงใส ไมมีสี -โกลเดนเบริล หรือเฮลิโอดอร พลอยโปรงใส มีสีเหลืองอม เขียว -บิกซไบต พลอยโปรงใส มีสีชมพูอมมวง -มรกต พลอยโปรงใสถึงทึบแสง มีสีเขียว

ภาพมรกตและมรกตสีชมพู -มอรแกไนต พลอยโปรงใส มีสีชมพูอมมวงออน

-อะควอมารีน พลอยโปรงใสถึงโปรงแสง มีสีฟาอมเขียว ออน

ภาพอะควอมารีน เพชร (Diamond)

Page 64: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 62โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะเพชร

สวนประกอบ สูตรทางเคมี C ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง สี สวนใหญมักพบใสไมมีสี เหลืองออน น้ําตาลออน และเทาออน นอกจากนี้ยังพบสีเหลือง น้ําตาล เทา น้ําเงิน เขียว สม ชมพู แดง และมวง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว คาดัชนีหักเห 2.417 การกระจายแสง 0.044 ความถวงจําเพาะ 3.50-3.53 ปกติมีคา 3.52 ความวาว วาวแบบเพชร ความแข็ง 10 รอยแตก แบบขั้นบันได ลักษณะเดน -ที่ขอบของเกอเดิล (Girdle) จะมีลักษณะแบบขี้ผ้ึงถึงมวลเม็ด -มักเห็นรอยเสนคลายหนวดเครา (Bearding) จากขอบเกอเดิลเขา ไปในเนื้อ ซึ่งเปนผลจากการเจียระไน -ขอบของเหลี่ยมจะคมมาก -ตําหนิรูปสามเหลี่ยมที่เรียกไทรกอน (Trigon) ที่เกอเดิล -ความวาวแบบเพชร ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -แจคเกอร เปนเพชรใสไมมีสี จะเรืองแสงสีฟา -ชามีเลียน เปนเพชรที่มีสีเหลืองทองเมื่ออยูในที่มืด และมีสี เขียวอมเทาเมื่อถูกกับแสง -ปเก หมายถึงเพชรที่มีคุณภาพต่ํา -พรีเมียร เปนเพชรที่มีสีอมเหลือง จะเรืองแสงสีฟา เพอริดอต (Peridot)

Page 65: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 63โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะเพริดอต

ภาพแสดงลักษณะตําหนิของเหลวลิล่ีแพด

สวนประกอบ สูตรทางเคมี (MgFe)2SiO4 ความโปรงแสง โปรงใสถึงโปรงแสง สี เขียวอมเหลือง คาดัชนีหักเห 1.634-1.710 ปกติมีคา 1.654-1.690 ไบรีฟรินเจนซ 0.035-0.038 ปกติมีคา 0.036 การกระจายแสง 0.020 ความถวงจําเพาะ 3.27-3.48 ปกติมีคา 3.34 ความวาว แบบแกว รอยแตก แบบกนหอย ลักษณะเดน -เห็นภาพซอนชัดเจนอันเนื่องจากคาไบรีฟรินเจนซ -ตําหนิของเหลวรูปจานที่เรียกวา ลิล่ีแพด (Lilypads) เฟลดสปาร (Feldspar)

Page 66: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 64โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงลักษณะอะเมโซไนต

สวนประกอบ สูตรทางเคมี KAlSi3O8 ความโปรงแสง ก่ึงโปรงแสงถึงทึบแสง สี เขียวออน น้ําเงินอมเขียว และขาว ลักษณะทางแสง หักเหคูแบบไบแอกเซียลลบ และAGG ปรากฏการณ พลอยอะเมโซไนตจะมีปรากฏการณอะเวนจูเรสเซนส คาดัชนีหักเห 1.518-1.534 ปกติมีคา 1.522-1.530 ไบรีฟรินเจนซ 0.008 ความถวงจําเพาะ 2.54-2.58 ปกติมีคา 2.56 ความวาว แบบแกว และแบบน้ํามันเคลือบ ความแข็ง 6-6.5 รอยแตก แบบขรุขระ และแบบเสี้ยนไม ชนิดพลอยและชื่อทางการคา -อะเมโซไนต มีสีเขียวออน และสีน้ําเงินอมเขียว รูไทลสังเคราะห (Synthetic rutile)

ภาพแสดงลักษณะรูไทลสังเคราะห

สวนประกอบ สูตรทางเคมี TiO2 เปนอัญมณีสังเคราะห และมักใชเปนพลอย

Page 67: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 65โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

เลียนแบบเพชร ผลิตโดยวิธีโชคราลสกี้ และเฟลมฟวช่ัน ความโปรงแสง โปรงใส สี สวนใหญมีสีเหลืองออน แตอาจมีสีฟา เขียวอมฟา สม น้ําตาล และดํา ลักษณะทางแสง หักเหคู แบบยูนิแอกเซียลบวก คาดัชนีหักเห 2.616-2.903 ไบรีฟรินเจนซ 0.287 การกระจายแสง 0.330 ความถวงจําเพาะ 4.23-4.29 ปกติมีคา 4.26 ความวาว แบบกึ่งเพชร และแบบกึ่งโลหะ ความแขง็ 6-6.5 รอยแตก แบบกนหอย และแบบขรุขระ ลักษณะเดน -การกระจายแสงสูง -ภาพซอนชัดเจน -สวนใหญจะสะอาดมากไมมีตําหนิ แตอาจพบฟองอากาศ โอปอล (Opal)

ภาพแสดงลักษณะโอปอล

สวนประกอบ สูตรทางเคมี SiO2·nH2O โดยปกติจะมีน้ําอยู 3-10% โดยน้ําหนัก บางครั้งพบวามีน้ําปะปนอยูถึง 20% โดยน้ําหนัก ความโปรงแสง โปรงใสถึงทึบแสง ลักษณะทางแสง หักเหเดี่ยว และหักเหเดี่ยวแบบหักเหคูปลอม ปรากฏการณ การเลนสี คาดัชนีหักเห 1.370-1.470 ปกติมีคา 1.450 โอปอลจากเม็กซิโกอาจมีคาดัชนี

Page 68: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 66โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

หักเห 1.37 แตโดยปกติมักพบวามีคาอยูระหวาง 1.42-1.43 ความถวงจําเพาะ 1.25-2.23 ปกติมีคา 2.15 ความวาว แบบแกว และแบบยางสน ความแข็ง 5-6.5 รอยแตก แบบกนหอย และแบบขรุขระ ลักษณะเดน ปรากฏการณการเลนแสง ชนิดพลอยและชื่อทางการคา ชื่อท่ีเรียกตามความนิยม -คริสตัลโอปอล พลอยโปรงใสถึงกี่งโปรงใส ใสไมมีสี มี ปรากฏการณของการเลนสีมาก -เจลลี่ หรือวอเตอรโอปอล พลอยโปรงใสถึงกึ่งโปรงใส มี ปรากฏการณของการเลนสีเล็กนอยหรือไมมีเลย -เชอรี่โอปอล พลอยโปรงใสถึงกึ่งโปรงใส มีสีพ้ืนเปนสี แดงมีปรากฏการณของการเลนสีหรือไมมีก็ได -โอปอลไฟ พลอยโปรงใสถึงกึ่งโปรงใส มีสีพ้ืนเปนสี เหลือง สม ละน้ําตาล มีปรากฏการณของการเลนสีหรือ ไมมีก็ได อาจเรียกอีกช่ือวา เม็กซิกันโอปอล -โอปอลสีขาว พลอยโปรงใสถึงกึ่งโปรงใส มีสีพ้ืนเปนสี ขาว มีปรากฏการณของการเลนสี -โอปอลสีดํา พลอยโปรงใสถึงทึบแสง มีสีพ้ืนเปนสีดํา เทา น้ําเงิน เขียว และน้ําตาล มีปรากฏารณของการเลนสีเปน โอปอลที่มีราคาแพงที่สุด

ช่ือที่เรียกตามปรากฏการณ -พินไฟร หรือพินพอยท เปนโอปอลที่แสดงแถบของการ เลนสีเล็กๆ ติดตอกัน

ภาพแสดงลักษณะการเลนสี ในพินไฟร หรือ พินพอยท -ฮารเลควิน หรือแผนโมเสค เปนโอปอลที่แสดงแถบของ

Page 69: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 67โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

การเลนสีเปนแผนกวางและมีเหลี่ยมมุมติดตอกัน

ภาพแสดงลักษณะการเลนสี ในฮารเลควิน -โอปอลเปลวไฟ เปนโอปอลที่มีแถบสีแดงพาดขามเม็ด พลอย

ภาพแสดงลักษณะการเลนสีใน โอปอลเปลวไฟ -โอปอลแฟลช เปนโอปอลที่มีปรากฏการณของการเลน แสงคลายกับแสงแฟลช ซึ่งจะหายไปทันทีเมื่อขยับ พลอย

ภาพแสดงลักษณะปรากฏการณของการเลน

Page 70: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 68โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

แสงคลายกับแสงแฟลชในโอปอลแฟลช -โอปอลหางนกยูง เปนโอปอลที่แสดงปรากฏการณของ การเลนแสงเปนสีน้ําเงิน และเขียว -โอปอลเลอโชส เปนโอปอลที่แสดงปรากฏการณของ การเลนสีเปนสีเขียวสีเดียว

พลอยธรรมชาติมีปริมาณไมเพียงพอกับความตองการของมนุษย จึงทําใหมีการคิดผลิตพลอยสังเคราะหขึ้นเพื่อทดแทนพลอยธรรมชาติ โดยการผลิตพลอยสังเคราะหถือเปนความสําเร็จอยางมากในวงการอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ พลอยสังเคราะหสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นในมีลักษณะ สวนประกอบทางเคมี โครงสรางอะตอม คุณสมบัติทางฟสิกส คุณสมบัติของกายภาพ และคุณสมบัติทางแสง เหมือนพลอยธรรมชาติ ทําใหบางครั้งพิสูจนระหวางพลอยธรรมชาติกับพลอยสังเคราะหคอนขางยาก เนื่องจากวิธีสังเคราะหนั้นมีความใกลเคียงกับธรรมชาติมาก ตางกันที่ระยะเวลาการเกิด โดยพลอยธรรมชาติเกิดจากการตกผลึกตามธรรมชาติตองใชเวลาเปนรอยเปนพันป สวนพลอยสังเคราะหใชขบวนการผลิตซึ่งใชเวลาไมก่ีวัน ขึ้นอยูกับขั้นตอนและชนิดของพลอย กรรมวิธีการผลิตพลอยสังเคราะห มีหลายวิธีดังนี้

1. แบบเฟลมฟวช่ัน (Flame Fusion) หรือ แบบหลอมละลาย (Melt Growth Process) 2. แบบโชคราวสกี้ (Czochralski) หรือ แบบการดึง (Pulling Process) 3. แบบโพสตติ้งโซน (Floating Zone Process) 4. แบบสกัลลเมลท (Skull Melt Process) 5. แบบวิธีละลาย (Solution Process) 6. แบบไฮโดรเทอรมอล (Hydrothermal Process) 1. แบบเฟลมฟวชั่น (Flame Fusion) หรือ แบบหลอมละลาย (Melt Growth Process)

แบบเฟลมฟวช่ัน หรือ เวอรนอยล คําวา เวอรนอยล มาจากชื่อชาวฝรั่งเศสเปนผูคิดคน ในการผลิตทับทิมสังเคราะห แบบเฟลมฟวช่ัน เวอรนอยลผลิตทับทิมสังเคราะหดวยวิธี ใหผงอะลูมิเนียมออกไซดไหลผานลงมาตามทอจนถึงตําแหนงเปลวไฟ ผงอะลูมิเนียมออกไซดจะหลอมเหลวหยดลงสูฐานที่หมุนตลอดเวลา และในขณะเดียวกันก็จะคอย ๆ เคลื่อนต่ําลงทําใหแทงยาวขึ้น เรียกวา บูล ( Boule)

Page 71: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 69โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพเครื่องมือการสังเคราะหแบบเฟลมฟวช่ัน

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจากการสังเคราะหแบบเฟลมฟวช่ัน มีดังนี้ - ทับทิมสังเคราะห - แซฟไฟรสังเคราะห - แซฟไฟรสตารสังเคราะห - สปเนลสังเคราะห - สตอนเตียทินาเนต - รูไทลสังเคราะห

ตําหนิภายใน (Inclusions) ของพลอยสังเคราะหแบบเฟลมฟวช่ัน - ฟองอากาศ (Gas bubble) - แถบสีโคง (Curved color banding) - เสนโคง (Curved striae) - รอยแตกระแหงคลายรังผึ้ง (Quench crackle)

2. แบบโชคราวสกี้ (Czochralski) หรือ แบบการดึง (Pulling Process)

คิดคนโดย เจ โชคราวสกี้ ใชเทคนิคหลอมผงอะลูมิเนยีมออกไซดหลอมเหลวในเบาหลอม ใชเมล็ดผลึกนําติดกับปลายดานหนึ่งของหลอดหมุนรอบตัวเอง และแตะกับสารหลอมเหลวของอะลูมิเนียมออกไซดแลวคอย ๆ ดึงสารละลายในเบาหลอมขึ้น อุณหภูมิที่ลดลงทําใหสารละลายตกผลึก ผลึกที่สังเคราะหไดหนาถึง 10 ซม. และ สูงถึง 50-60 ซม. เมื่อนําแบบเฟลมฟวช่ันกับแบบโชคราวสกี้มาเปรียบเทียบกัน แบบหลังจะมีคาใชจายในการผลิตสูงกวา แตผลิตออกมาตอช่ัวโมงผลิตไดมากกวา ผลึกสังเคราะหที่ไดสะอาดกวาแบบเฟลมฟวช่ัน

Page 72: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 70โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพการสังเคราะหแบบโซคราลสกี้

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจากการสังเคราะหแบบโชคราวสกี้

- ทับทิมสังเคราะห - แซฟไฟรสังเคราะห - สตารทับทิมสังเคราะห - อะเล็กซานไดรสังเคราะห - อะเล็กซานไดรตาแมวสังเคราะห - แยก - จีจีจี

ตําหนิภายใน (Inclusions) ของพลอยสังเคราะหแบบโชคราวสกี้ - ฟองอากาศ (Gas bubble) - เสนโคง (Curved striae) - หมอกควันสีขาว (Smoke – like inclusion) - กลุมของผลึกที่ตกคางเปนกลุมเล็ก ๆ สีดํา - จะเห็นสตารชัดเจนมากในทับทิมสังเคราะหของอนิาโมริ เปนเสนสตารคลายกับเสนไหมรูไทล

3. แบบโฟลตติ้งโซน (Floating Zone Process) เปนกรรมวิธีสังเคราะหแบบลาสุด ใชในการผลิตคอรันดัมสังเคราะหโดยบริษัท ไซโก (Seiko) เพื่อใชทําหนาปดนาฬิกา พลอยสังเคราะหที่ไดจะมีความสะอาดกวาชนิดอื่น ใชเทคนิคใหความรอนจนผงอะลูมิเนียมออกไซดหลอมและทิ้งใหตกผลึก ผลึกมีความสะอาดมาก เพราะวามลทินที่ปะปนอยูดวยยังอยูในสารหลอมเหลว

Page 73: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 71โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพการสังเคราะหแบบโฟลตติ้งโซน

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจาการสังเคราะหแบบโฟลตติ้งโซน

- ทับทิมสังเคราะห - ไพลินสังเคราะห - แซฟไฟรสังเคราะหสีสม - แซฟไฟรสังเคราะหสีเหลือง

ตําหนิภายใน (Inclusions) ของพลอยสังเคราะหแบบโฟลตติ้งโซน - ฟองอากาศ (Gas bubble) - เสนไหล (Swirl line) - มีแถบสีไมสม่ําเสมอเปนคลื่น ๆ (Colour swirl) - ระนาบผลึกแฝด (Twinning) และเสนเข็มในระนาบผลึกแฝด

4. แบบสกัลเมลท ใชในการผลิตคิวบิกเซอรโคเนียสังเคราะหชนิดเดียวเทานั้น ใชเทคนิคคือใหความรอนโดยใชคลื่นวิทยุทําใหผงเซอรโคเนียมออกไซดที่อยูในเบาหลอมเหลวเรียกวา สกัล เบาหลอมทําจากภาชนะที่ทนความรอนสูงมากมีทอทองแดงรอบและมีน้ําไหลเวียนอยู เพื่อควบคุมอุณหภมิใหสารหลอมเหลวเย็นลงและตกผลึก

Page 74: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 72โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงการสังเคราะหแบบสกัลเมลท

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจาการสังเคราะหแบบสกัลเมลท - คิวบิกเซอรโคเนียสังเคราะหทุกสี

ตําหนิภายใน ของพลอยสังเคราะหแบบสกัลเมลท ทั่วไปจะสะอาด บางครั้งอาจพบ - ฟองอากาศ (Gas bubble) - ผงเซอรโคเนียออกไซดที่ไมละลาย หลงเหลืออยู (Zirconium oxide)

5. แบบฟลักซ (Flux Growth) วิธีละลาย (Solution Process) เทคนิคการผลิตพลอยสังเคราะหแบบฟลักซ (Flux Growth) ผสมผงฟลักซและสารเคมีลงในเบาหลอมที่ทําจากโลหธ แพลทตินัม ทอง เงิน หรือ เหล็ก เนื่องจากสารารถทนความรอนไดสูง ใหความรอนจนผงฟลักซละลายรวมกับสารอื่น จากนั้นควบคุมอุณหภูมิใหลดลงอยางชา ๆ สารละลายในเบาหลอมจะตกผลึกและเกาะกันละเอียดประมาณ 0.5 ซม. ถึง 7.5 ซม. ซึ่งในการตกผลึกอาจใชผลึกนํา หรือไมใชก็ได ขอดีของการใชผลึกนําจะไดผลึกใหญและการตกผลึกเกิดขึ้นเร็วแตจะมีตําหนิมาก การตกผลึกแบบไมใชตัวนํามีขอดีเชนกันคือผลึกที่ไดจะสะอาดแตมีขนาดผลึกเล็กและใชเวลาในตกผลึกนาน คาใชจายในการผลิตจะสูงกวาแบบเฟลมฟวช่ันมาก เพราะบางครั้งการกอตัวของผลึกตองใชเวลานานเปนป แตคุณภาพของของผลึกมีความใกลเคียงธรรมชาติมาก

Page 75: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 73โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ภาพแสดงการสังเคราะหแบบฟลักซ

บริษัทที่ผลิตพลอยสังเคราะหแบบฟลักซ (Flux Growth)

- บริษัทชาทัม (Chatham) ของอเมริกา - บริษัทคาชาน (Kashan) ของอเมริกา - บริษัทกิลสัน (Gilson) ของฝรั่งเศส - บริษัทคนิชคา (Knischka) ของออสเตรเลีย - บริษัทเล็คไลทเนอร (Lechleitner) ของออสเตรเลีย - บริษัทอินาโมริ (Inamori) ของญี่ปุน

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจาการสังเคราะหแบบฟลักซ (Flux Growth) - ทับทิมสังเคราะห - แซฟไฟรสังเคราะห - มรกตสังเคราะห - อะเล็กซานไดรตสังเคราะห - แยกสังเคราะห

ตําหนิภายใน ของพลอยสังเคราะหแบบฟลักซ (Flux Growth)

- ผลึกฟลักซ (Coarse globule)

Page 76: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 74โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

- รอยนิ้วมือฟลักซ (Flux fingerprint) และมวนตัวคลายมานพริ้ว (Wispy veil – like fingerprint) - แผนแรแพลตตินัมรูปหกเหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม (Hexagonal or triangular platinum platelet) - รองรอยการเจริญเติบโตเปนเสนตรงขนานกัน (Straight parallel growth structure) - เหมือนเสาน้ําแข็งละลาย (Icicle or drippy inclusions)

6. แบบไฮโดรเทอรมอล (Hydrothermal Process) เริ่มครั้งแรกในการผลิตควอรตสังเคราะห เพื่อใชในอุตหสากรรมไฟฟาและคมนาคม เทคนิคการผลิตแบบไฮโดรเทอรมอล ผลึกที่ไดจะมีความคลายของธรรมชาติมากที่สุด คือเกิดขึ้นภายใตความรอนสูง และความกดดันสูง เครื่องมือที่ใชในการผลิตช่ือวา ออโตเคลฟ หรือบอมบ เปนภาชนะที่ใหผลึกกอตัวโดยใชอุณหภูมิและความกดดันสูง ภายในบอมบมีสารละลายของนฎและสารเคมีทําหนาที่เปนตัวทําละลาย และมีผลึกตัวนํา แขวนเพื่อใหผลึกอิ่มตัวมาเกาะ เมื่อใหความรอนทางตอนลางของบอมบ สารละลายเคลื่อนที่ไปทางตอนบนของบอมบแลวเกาะตัวที่ผลึกนําเกิดการตกผลึก ผลึกที่ไดจะคอยโตขึ้น ผลึกควอรตสังเคราะห สามารถผลิตไดยาวถึง18 นิ้ว กวาง 6 นิ้ว

ภาพการสังเคราะหแบบไฮโดรเทอรมอล

บริษัทที่ผลิตพลอยสังเคราะหแบบไฮโดรเทอรมอล (Hydrothermal Process) - บริษัทเล็คไลทเนอร (Lechleitner) ของออสเตรเลีย - บริษัทไบรอน (Biron) ของออเตรเลีย - บริษัทลินดี้ (Linde) ของอเมริกา - บริษัทของรัสเซีย - บริษัทพูล (Pool) ของออสเตรเลีย

Page 77: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 75โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

พลอยสังเคราะหที่ผลิตจาการสังเคราะหแบบไฮโดรเทอรมอล (Hydrothermal Process) - มรกตสังเคราะห - ทับทิมสังเคราะห - ควอรตซสังเคราะห

ตําหนิภายใน ของพลอยสังเคราะหแบบไฮโดรเทอรมอล (Hydrothermal Process) - ตําหนิ 2 สถานะ รูปกรวย (Two – phase conical spicule) - รองรอยการเจริญเติบโตเปนแนวเสนตรงขนานกัน (Straight uniform parallel growth structure) - ในมรกตสังเคราะหพบผลึกฟนาไคต (Phenakite) ลักษณะใสไมมีสี และมีตําหนิ 2 สถานะติดกับ

ผลึกฟนาไคต รูปรางคลายหัวตะปู (Nail head inclusion) - ตําหนิคลายฝาย หรือแผนสําลีบาง ๆ (Cottony inclusion) - ตําหนคิลายมานควันบาง ๆ (Wispy veil – like inclusion) - ผลึกใส ดูเปนคลื่นไมเรียบภายในพลอย (swirl lines)

บทที่ 4 การปรับปรุงคุณภาพพลอย

การปรับปรุงคุณภาพพลอย (Gem enhancement) หมายถึง การทําใหคุณภาพของพลอยดีขึ้นสวยงามขึ้น ดวยกรรมวิธรตาง ๆ วิธีการปรับปรุงคุณภาพพลอย มีดังนี้

1. การเผาพลอย (Heat tratment) 2. การซานสีพลอย (Diffusion) 3. การฉายรังสี (Irradiation) 4. การยอมสี (Dyed) 5. การแชน้ํามัน (Oiling)

Page 78: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 76โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

6. การอุด (Surface repair) 7. การฟอกสี (Bleaching) 8. การเคลือบผิวพลอยดวยสารตาง ๆ (Surface modifications) 9. การเคลือบผิวพลอยดวยขี้ผ้ึงหรือพลาสติก (Wax or plastic impregnation) 10. พลอยปะ (Assembled stones) 11. การฉาบสี (Foilback)

1. การเผาพลอย (Heat tratment) สีสันของพลอยบางชนิด ถูกทําใหดีขึ้นหรืออาจจะเปลี่ยนเปนอีกสีหนึ่งได โดยการเผาพลอยดวยความรอนที่ถูกตอง การเผาพลอยอาจเผาทั้งกอนหรือพลอยที่เจียระไนแลวก็ได วัตถุประสงคของการเผาพลอยเพื่อไลตําหนิเสนไหมซึ่งชวยใหพลอยใส สะอาดขึ้น หรือ เพื่อเพิ่มสีใหเขมขึ้น และการเผาเพื่อลดสีใหออนลงหรือเปลี่ยนสี วิธีการทั่วไปคือ นําพลอยใสในเบาแลวเผาดวยเตาไฟฟาหรือแกส อุณหภูมิของเตาเผาประมาณ 1,600-1,900 C เมื่อเผาแลวตองทําใหพลอยเย็นตัวลงอยางรวดเร็ว เพื่อปองกันการตกผลึกใหมของเสนไหม การเผาพลอยมีดวยกันหลายวิธี สวนใหญจะเปนเคล็ดลับไมคอยเปดเผย พลอยที่นิยมเผา ไดแก ทับทิม ไพลิน บุษราคัม เขียวสอง และเซอรคอน เปนตน คอรันดัมที่ผานการเผาแลวสามารถใชตําหนิภายใน ตรวจวาพลอยชนิดนี้เผามาแลวหรือไม 2. การซานสีพลอย (Diffusion) สวนใหญนิยมทํากับพลอยตรธกูลคอรันดัม ไดแก ทับทิมและแซฟไฟร เนื่องจากพลอยธรรมชาติสวนใหญที่ผานการเผาพลอยเพื่อเพิ่มสีแตบางครั้งการเผาพลอยอาจไมชวยในการเพิ่มสีในกรณีกับพลอยบางชนิด จึงใชการปรับปรังคุณภาพดวยการซานสี โดยนําผงธาตุที่ใหสีมาเผาพรอมกับพลอยดวยความรอนสูง ธาตุใหสีสามารถแทรกเขาไปในเนื้อพลอยเปนช้ันบาง ๆ ประมาณ 0.10 – 0.50 มม. ไมสามารถเขาไปลึกไดมากกวา เพราะการขยายตัวของคอรันดัมในอุณหภูมิประมาณ 1800 –1900 C :ซึ่งเปนการขยายตัวไดเต็มที่แลว หากใหอุณหภูมิรอนกวานี้ พลอยอาจละลายได การวิเคราะหพลอยซานสี

1. สีที่แทรกเขาไปในเนื้อพลอยไดประมาณ 0.10 – 0.50 มม. เมื่อนําพลอยแชลงในน้ํายาเมททิลีน ไอโอไดด แลวควํ่าหนาพลอยลงจะเห็นเสนขอบรอบพลอย ซึ่งมีสีที่เขมจัด (อยาสับสนกับแสงสะทอนจากพลอยโดยเฉพาะพลอยที่มีขอบหนามาก ๆ จะดูเหมือนขอบซานสี)

2. จะเห็นสีของพลอยที่ผานการซานสี หากมีการเจียระไนตามเหลี่ยมเจียระไน บางเหลี่ยมอาจดูสีออนบางเหลี่ยม ซึ่งขึ้นอยูกับรูปแบบการเจียระไนของพลอย และจะพบวาขอบของแตละเหลี่ยม จะมีสีเขมกวาเนื้อพลอยบริเวณอื่น

3. จะเห็นสีที่ซานชัดเจนตามหลุมลึกที่ผิว รอยแตก รอยกระแทก และรอยนิ้วมือที่ติดกับ

Page 79: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 77โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

ผิวพลอย

3. การฉายรังสี (Irradiation) การฉายรังสีทําใหเพชรพลอยหลายชนิดเกิดการเปลี่ยนสีได แตเปอรเซ็นตการเปลี่ยนอยางถาวรนอยมาก ยกเวนโทแพซและเพชร เพชรที่ไมมีสีหรือสีน้ําตาลออน จะเปลี่ยนเปนสีน้ําเงินออน – เขม เมื่อฉายรังสีแกมมา โดยจะเปลี่ยนสีอยางถาวร โทแพซ เมื่อผานการฉายรังสี จะตองนําไปเผาอีกครั้ง สัจึงจะอยูอยางถาวร จะได โทแพซสีฟาและสีน้ําเงิน พลอยแซฟไฟรสีเหลอืงออนหรือสีสมของลังกา เมื่อทําการฉายรังสีแลวใหสีเขมขึ้ ดูสวยขึ้น แตจะไปคงทนถาวร ซึ่งสามารถทดสอบไดโดยวิธีเฟดเทสต (Fade test ) วางพลอยไวใตสปอตไลท 150 วัตต ประมาณ 1-2 ช่ัวโมง สีจะจางลง พลอยอะมีทีสต เมื่อนําไปเผาจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง ซิทริน และเมื่อฉายรังสีจะจะกลับบมาเปนสีมวงของอะมีทิสตได 4. การยอมสี (Dyed) เปนการเปลี่ยนสีของพลอยอีวิธีหนึ่ง การยอมสีพลอยนิยมทํากับพลอยที่มีรอยแตกเพราะสารละลายสีสามารถแทรกซึมเขารอยแตกได เชน ควอรตซ หยก ลาปสลาซูลี ทับทิม คาลซิโดนี เทอรควอยช และปะการัง การวิเคราะหยอมสี

1. จะเห็นสีตามรอยแตก เปนสีเขม ถาใชความรอนจี้ที่รอยแตก ฟองอากาศที่อยูในรอยแตกจะขยายตัวทําใหเห็นสีซึมออกมา จะเห็นไดชัดเมื่อใชกลองจุลทรรศน

2. บางครั้งมีการเรืองแสงตามแนวรอยแตกของพลอย 3. ทับทิมยอมสามารถทดสอบโดยนําสําลีที่ชุบแอลกอฮอล หรืออะซีโตนเช็ดดานหลังของพลอยจะเห็น

สีแดงติดที่สําลี

5. การแชน้ํามัน (Oiling) การแชน้ํามัน เปนอีวิธีหนึ่งที่ชวยใหพลอยที่มีรอยแตกที่ผิวดูสวยขึ้น นิยมทํากับมรกต เพราะมรกตเปนพลอยที่มีรอยแตกมาก การแชน้ํามันนั้นทําใหพลอยดูดีขึ้นทั้งสีและความสะอาด เนื่องจากน้ํามันจะแทรกซึมเขาไปตามรอยแตก เพื่อปกปดรอยแตก การวิเคาระหการแชน้ํามัน

1. น้ํามันที่ซึมเขาตามรอยแตก จะเห็นเปนรอยเงา ๆ ที่รอยแตก หากใชเข็มรอนจี้ที่รอยแตก ฟองอากาศที่อยูในรอยแตกจะขยายตัวทําใหน้ํามันซึมออกมาเมื่อดูดวยกลองจุลทรรศน

2. บางครั้งอาจจะเรืองแสงตามแนวรอยแตกที่ถูกแชน้ํามัน

6. การอุด (Surface repair) การอุดพลอยทําโดยการนําซิลิกาเจล (Silica gel) ทาบริเวณที่ตองการอุด แลวนําพลอยไปเผา ซิลิกาเจลจะกลายเปนแกวติดเขาไปในหลุม

Page 80: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 78โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

การวิเคราะหการอุด ความวาวของบริเวณผิวพลอย และบริเวณที่ทําการอุดแตกตางกัน โดยบริเวณที่ทําการอุดจะพบฟองอากาศ เมื่อหยดกรดกัดลงไปในหลุมที่อุด กรดกัดแกวจะทําปฎิกิริยากับแกวที่อุดทําใหเห็นเปนหลุมดังเดิม

7. การฟอกสี (Bleaching) การฟอกสีสวนมากทํากับไขมุก งาชาง และหยก โดยการใชสารเคมีฟอกเพื่อใหดูผิวเรียบสะอาด ไขมุกและงาชางมักจะตองผานการฟอกสี เพื่อทําใหดูดี และสีจะอยูถาวร สวนหยก การฟอกสี ทําเพื่อใหดูสวยขึ้น เนื้อพลอยดูสะอาด แตสีจะไมถาวร การวิเคราะหพลอยฟอกสี

1. นําหยกที่มีสีเทา น้ําตาล ดํา และสีที่ไมสม่ําเสมอ โดยนําไปแชในกรด ทิ้งไวเปนเวลา 2-3 วัน 2. นําหยกขึ้นจากกรด โดยหยกจะกลับไปมีสภาพขาวเหมือกับชอลก มีรอยแตกเกือบทั้งเม็ด เนื่องจากถู

การกัดกรอนจากกรด 3. นําหยกที่ไดมาใสเรซิ่นสีเขียว หยกจะดูเขียว เรียบทั้งเม็ด แตจะไมอยูอยางถาวร จะจางหายไป 2-3 ป

8. การเคลือบผิวพลอยดวยสารตาง ๆ (Surface modifications) มีหลายลักษณะดังนี้

1. การทาสีที่ผิวพลอย (Painting) ทาสีที่กนผิวพลอยเพื่อเปลี่ยนสีของพลอยเมื่อดูจากหนาพลอย 2. การเคลือบสีที่พ้ืนผิวพลอย (Coating) เคลือยสไีวรอบ ๆ ผิวพลอยเพื่อทําใหพลอยดูสีเขมขึ้น

การวิเคราะหการเคลือบผิวพลอยดวยสารตาง ๆ -พลอยที่มีการทาสี (Painting) การเคลือบสี (Coating) หรือ สามารถตรวจสอบไดโดยใชแอลกอฮอล หรือทินเนอร โดยทําการเช็ดที่ผิวของพลอย สีจะหลุดหายไป 9. การเคลือบผิวพลอยดวยขี้ผ้ึงหรือพลาสติก (Wax or plastic impregnation) การเคลือบผิวดวยพลอยดวยขี้ผ้ึงหรือพลาสติกนิยมใชกับพลอยที่ผิวไมเรียบ เปนหลุมมากทั่วหนาพลอย เมื่อเคลือบแลวพลอยจะสวยขึ้น พลอยที่นิยมเคลอืบ ไดแก เทอรควอยส ลาปสลาซูลี และหยก การวิเคราะหการเคลือบผิวพลอยดวยขี้ผ้ึงหรือพลาสติก -ใชฮอทพอยทจี้ จะมีกลิ่นขี้ผ้ึงและพลาสติก

10. พลอยปะ (Assembled stones) เปนกรรมวิธีในการเลียนแบบ หรือในบางครั้งก็เพื่อเพิ่มความคงทนใหกับพลอยบางชนิด ชนิดของพลอยปะ 2 ช้ัน

Page 81: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 79โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

1. แซฟไฟรปะดวยแซฟไฟรสังเคราะห ดานบน : แซฟไฟรธรรมชาติ นิยมใชแซฟไฟรสีเขียว ดานลาง : แซฟไฟรน้ําเงินสังเคราะห แบบเฟลมฟวช่ัน เมื่อดูจากดานบนจะเห็นเปนสีน้ําเงิน น้ําเงินอมเขียว

2. แซฟไฟรปะดวยทับทิมสังเคราะห ดานบน : แซฟไฟรธรรมชาติ นิยมใช แซฟไฟรสีเขียว ดานลาง : ทับทิมสังเคราะห เมื่อดูจากดานบนจะเห็นเปนสีแดง แดงอมมวง แดงอมสม

3. แซฟไฟรสังเคราะหปะดวยสตอนเทียมทิทาเนต ดานบน : แซฟไฟรสังเคราะห แบบโปรงใสไมมีสี ดานลาง : สตอนเตียมทิทาเนท เมื่อดูจากดานบนดูเหมือนเพชร

4. สปเนลสังเคราะหปะดวยสตรอนเทียมทิทาเนต ดานบน : สปเนลสังเคราะห แบบโปรงใสไมมีสี ดานลาง : สตอนเตียมทิทาเนท เมื่อดูจากดานบนดูเหมือนเพชร

5. การเนทปะดวยแกว ดานบน : การเนทสีแดง ดานลาง : แกว อาจจะเหน็สีน้ําเงิน แดง เขียว พลอยปะนี้จะเห็นวงแหวนสีแดง (Red ring effect) โดยการวางหนาพลอยควํ่าลง

6. โอปอลปะ 2 ช้ัน ดานบน : แผนโอปอลบาง ๆ ดานลาง : แผนนิลดํา (Black chalcedony) หรือแผนแกว หรือแผนโอปอลที่ไมมี การเลนสีปะดวยน้ํายายางสีดํา

ชนิดของพลอยปะ 3 ช้ัน 1. สปเนลสังเคราะหปะ 3 ช้ัน

ดานบน : สปเนลสังเคราะหแบบโปรงใสไมมีสี กลาง : แผนน้ํายายางสี ดานลาง : สปเนลสังเคราะหแบบโปรงใสไมมีสี ดูจากดานบนพลอยปะ เห็นสีตามน้ํายายาง 2. หยกปะ 3 ช้ัน

ดานบน : หยกสีขาว

Page 82: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 80โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

กลาง : แผนเยลลี่สีเขียวบาง ๆ ดานลาง : หยกสีขาวโปรงแสง เพื่อเลียนแบบหยกสีเขียว 3. เบอริลปะ 3 ช้ัน ดานบน : เบอริลโปรงใสไมมีสี หรือสีออน กลาง : แผนน้ํายายางสี ดานลาง : เบอริลโปรงใสไมมีสี หรือสีออน ร็อคคริสตัล 4. ควอรตปะ 3 ช้ัน ดานบน : ร็อคคริสตัล กลาง : แผนน้ํายายาง ดานลาง : ร็อคคริสตัล ร็อคคริสตัล 5. ควอรตปะดวยเบอริล ดานบน : ควอรต กลาง : แผนน้ํายายาง ดานลาง : เบอริล 6. โอปอลปะ 3 ช้ัน

ดานบน : ร็อคคริสตัล กลาง : โอปอลแผนบาง ๆ

ดานลาง : นิลดํา (Black chalcedony) หรือแกว หรือแผนโอปอลที่ไมมีการเลนสี

11. การฉาบสี (Foilback) การฉาบสีเปนการฉาบโลหะสีไวดานหลังพลอยจะชวยใหสีและการประกายแสงของพลอยดีขึ้น เพราะโลหะสีที่ใชฉาบจะชวยการสะทอนแสงของพลอย

Page 83: Gem Identification Lab 1 - Srinakharinwirot Universitymylesson.swu.ac.th/syllabus/doc_5320040903135546.pdf · 1.1 เราสามารถจําแนกพลอยตามสาเหต

รายวิชาGJ 322 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 81โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

หนังสืออางอิง 1. พลอยและแหลงกําเนิดพลอย , ผ.ศ. วรณิช ทังสุพานิช

2. วิเคราะหอัญมณี ,สถาบันอัญมณีวิทย (ประเทศไทย) ,สุมาลี เทพโสพรรณ พิมพครั้งที่ 1