h a z m a tsafety life2 ค าจํากัดที่อนุญาตให...

11
1 SAFET Y LIFE กุญแจสูความสําเร็จของงานตอบโตเหตุ ฉุกเฉินใดๆ ก็ตาม คือ การประเมินสถานการณ (Size-up) หากนักดับเพลิงเขาใจสภาพแวดลอม เขาใจตัวอาคาร เขาใจสวนประกอบของตัวอาคาร เขาใจเงื่อนไขหรือสภาพการณของเพลิงไหม พวกเขาจะสามารถเลือกยุทธวิธีที่เหมาะสมได ในเหตุฉุกเฉินสารเคมี (Hazmat Incidents) การ ทําความเขาใจธรรมชาติของสารเคมีก็เหมือน กับการทําความเขาใจพฤติกรรมของเพลิงไหม สําหรับเหตุฉุกเฉินสารเคมี คุณตองเขาใจสภาพ แวดลอม เขาใจที่บรรจุ และเขาใจสารเคมีหรือ วัตถุที่อันตรายที่เกี่ยวของกับเหตุการณนั้น ในการระงับเหตุฉุกเฉินสารเคมี โดย ทั่วไปแลว เปนเรื่องเปนไปไมไดที่เราจะมองเห็น ปญหา เทียบไดกับการไมสามารถมองผานควัน และเปลวไฟในเหตุเพลิงไหม ชางเทคนิคหรือ ผูเชี่ยวชาญดานสารเคมีจึงใชการอางอิงขอมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่สารเคมีแสดงออกมาโดย การสังเกตพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาของสารเคมี ที่มองเห็นไดแลวเอาไปเทียบกับขอมูลอางอิง ที่เชื่อถือไดเพื่อระบุชนิดและอันตรายของสาร เคมีที่เกิดเหตุนั้น ปญหาก็คือเราจะไดขอมูลทีตองการอยางงายดายและอยางถูกตองเพื่อนํา ไปใชในการกําหนดยุทธวิธีหรือไม ตัวอยาง คุณไดรับการแจงเหตุมีสารเคมี รั่วไหลในหองปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยในพื้นทีรับผิดชอบซึ่งมีการอพยพไปแลว จากรายงาน ระบุมีการใชงานสารเคมีประมาณ 1 ไพน (473 ซี.ซี.) หรือเกือบครึ่งลิตร ซึ่งมีขอมูลทางเทคนิค ของสารชนิดนี้คือ จุดเดือด [Boiling Point (BP)] = 78 F จุดเยือกแข็ง [Freezing Point (FP)] = 7 F ความดันไอ [Vapor Pressure (VP)] = 630 มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ความถวงจําเพาะมาตรฐาน [Specific Gravity (Sp. Gr.) standard] = 0.69 ความสามารถในการละลาย [Solubility (Sol)] = 40% [หมายถึงการละลายในน้ํา ยกเวน มีการระบุเปนอยางอื่น (solubility in water is implied unless indicated otherwise)] อัตราสวนผสมต่ําสุดที่ทําใหเกิดการ ระเบิด [Lower Explosive Limit (LEL)] = 5.6% อัตราสวนผสมสูงสุดที่ทําใหเกิดการ ระเบิด [Upper Explosive Limit (UEL)] = 40.0% พลังงานที่ใชในการดึงใหอิเล็กตรอน วงนอกหลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลที่อยู ในสถานะแกส [Ionization Potential (IP)] = 13.6 อิเลกตรอนโวลต (eV) H A Z M A T www.safetylifethailand.com

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

1SAFET Y LIFE

กุญแจสูความสําเร็จของงานตอบโตเหตุฉุกเฉินใดๆ กต็าม คือ การประเมินสถานการณ(Size-up) หากนกัดับเพลิงเขาใจสภาพแวดลอมเขาใจตัวอาคาร เขาใจสวนประกอบของตัวอาคารเขาใจเงื่อนไขหรือสภาพการณของเพลิงไหมพวกเขาจะสามารถเลือกยุทธวิธีท่ีเหมาะสมไดในเหตุฉุกเฉินสารเคมี (Hazmat Incidents) การทําความเขาใจธรรมชาติของสารเคมีก็เหมือนกับการทําความเขาใจพฤติกรรมของเพลิงไหมสาํหรับเหตุฉุกเฉินสารเคมี คุณตองเขาใจสภาพแวดลอม เขาใจท่ีบรรจุ และเขาใจสารเคมีหรือวัตถุท่ีอันตรายท่ีเกี่ยวของกับเหตุการณนั้น

ในการระงับเหตุฉุกเฉินสารเคมี โดยท่ัวไปแลว เปนเร่ืองเปนไปไมไดท่ีเราจะมองเห็นปญหา เทียบไดกบัการไมสามารถมองผานควันและเปลวไฟในเหตุเพลิงไหม ชางเทคนิคหรือผูเชี่ยวชาญดานสารเคมีจึงใชการอางอิงขอมูลเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีสารเคมีแสดงออกมาโดยการสังเกตพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาของสารเคมี

ท่ีมองเห็นไดแลวเอาไปเทียบกับขอมูลอางอิงท่ีเชื่อถือไดเพื่อระบุชนิดและอันตรายของสารเคมีท่ีเกิดเหตุนั้น ปญหาก็คือเราจะไดขอมูลท่ีตองการอยางงายดายและอยางถูกตองเพื่อนําไปใชในการกําหนดยุทธวิธีหรือไม

ตวัอยาง คุณไดรับการแจงเหตุมีสารเคมีร่ัวไหลในหองปฏิบติัการของมหาวิทยาลัยในพืน้ท่ีรับผิดชอบซึ่งมีการอพยพไปแลว จากรายงานระบมีุการใชงานสารเคมีประมาณ 1 ไพน (473ซี.ซี.) หรือเกอืบคร่ึงลิตร ซึง่มีขอมูลทางเทคนิคของสารชนดินีคื้อ

จุดเดือด [Boiling Point (BP)] = 78 Fํ จุดเยือกแข็ง [Freezing Point (FP)] =

7 ํF ความดันไอ [Vapor Pressure (VP)] =

630 มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ความถวงจําเพาะมาตรฐาน [Specific

Gravity (Sp. Gr.) standard] = 0.69 ความสามารถในการละลาย [Solubility

(Sol)] = 40% [หมายถงึการละลายในน้าํ ยกเวนมีการระบุเปนอยางอ่ืน (solubility in water isimplied unless indicated otherwise)]

อัตราสวนผสมตํ่าสุดท่ีทําใหเกิดการระเบิด [Lower Explosive Limit (LEL)] = 5.6%

อัตราสวนผสมสูงสุดท่ีทําใหเกิดการระเบดิ [Upper Explosive Limit (UEL)] = 40.0%

พลังงานท่ีใชในการดึงใหอิเล็กตรอนวงนอกหลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลท่ีอยูในสถานะแกส [Ionization Potential (IP)] =13.6 อิเลกตรอนโวลต (eV)

H A Z M A T

w w w . s a f e t y l i f e t h a i l a n d . c o m

Page 2: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

2SAFET Y LIFE

คาจํากัดท่ีอนุญาตใหสัมผัสได (คาความเขมขนสารเคมีเฉล่ีย 8 ชั่วโมงตอ 1 วัน)[Permissible Exposure Limits (PEL) (Time-Weighted-Average (TWA)] = 10 สวนตอลานสวน [parts per million (ppm)]

อัตราสวนผสมท่ีเปนอันตรายตอชีวิตหรือสุขภาพมนุษยอยางฉับพลัน [ImmediatelyDangerous to Life or Health (IDLH)] = 50 สวนตอลานสวน (ppm)

คาอัตราสวนผสมท่ีทําใหหนูทดลองตายไปคร่ึงหนึ่งของจํานวนท่ีใชทดลองภายในเวลา 40 นาที [LC50 (40 min, rat) = 63 ppmทางผิวหนัง (skin)

คาความเปนพิษเม่ือสัมผัสโดยตรง(ผวิหนงั) ทําใหกระตายเสยีชวิีตไปคร่ึงหนึง่ของจาํนวนท่ีใชทดลอง [LD50 (dermal, rabbit)] =6.9 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (mg/kg)

คาความเปนพิษเม่ือสัมผัสโดยตรง(ตา) ทําใหกระตายเสียชีวิตไปคร่ึงหนึ่งของจาํนวนท่ีใชทดลอง [LD50 (eye, rabbit)] = 1.1มิลลิกรัม/กิโลกรัม (mg/kg)

การจัดการขอมูล (Organizing Information)คุณจะใชขอมูลท่ีไดมาเพื่อตัดสินใจได

อยางไร คุณจะพิจารณาเลือกการตรวจจับดวยวิธใีด คุณจะเลือกอุปกรณปองกนัสวนบคุคล (PPE)ชนดิไหนจงึจะเหมาะสมกบัสถานการณท่ีเกดิข้ึนคุณจะแปลความหมายของตัวเลขตางๆ เหลานี้ไปเปนการกระทําไดอยางไร

วธิทีีดี่ในการทาํความเขาใจปญหาทีซ่บัซอนคือ แยกปญหาใหญเปนปญหายอยแลวพจิารณาอยางเปนระบบวาปญหายอยเหลานั้นมีความสัมพันธกันอยางไร หนทางหนึ่งในการจัดการขอมูลเหตุฉุกเฉินสารเคมีคือ การหาแนวทางใหผูปฏิบัติงานสามารถแปลขอมูลท่ีไดมาเพื่อ

ทํานายพฤติกรรมของสารเคมีท่ีมีสวนรวมในการเกดิเหตุ

ความเปนไปไดและผลกระทบของการสมัผสัสารเคมี

สิ่งสําคัญสองประการในการตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมีคือความเปนไปไดในการสัมผัสสารเคมีและผลกระทบจากการสมัผสัสารเคมีซึง่เกดิข้ึนไดท้ังจากตัวของสารเคมีเองและพลังงานท่ีปลดปลอยออกมาจากสารเคมี ความเปนไปไดในการสัมผัสสารเคมีเปนผลมาจากคุณสมบัติของสารเคมีรวมกบัการปฏิสมัพนัธกบัสิง่แวดลอมของตัวมันเอง

สารเคมีท่ีเผชญิหนามักอยูภายใตเงือ่นไขท่ีนอกเหนอืจากท่ีเขียนไวในตําราดังนัน้เราตองพจิารณาเงือ่นไขของเหตุฉุกเฉิน และประเด็นอ่ืนคือผลกระทบจากการสัมผัสสารเคมี

สารเคมีท่ีเกิดเหตุฉุกเฉินอาจมีกลไกท่ีสรางอันตรายไดหลายรูปแบบ การปลดปลอยพลังงาน การกดักรอน และ/หรือ การเปนพษิซึง่สิ่งตางๆ เหลานี้จะอยูแยกกันไป โดยเราตองคนหาจดุกาํเนดิหรือหลงท่ีมีอันตรายตางๆ เหลานี้พรอมกับหากลยุทธเพื่อใหสามารถคนหาจุดท่ีปลอดภัยท่ีสุดได

พิจารณาการปลดปลอยแกสไฮโดรเจนคลอไรดซึง่เปนกรดเขมขนท่ีมีคุณสมบติัดังตอไปนี้

จุดเดือด (BP) = -121 ํF ความดันไอ (VP) = 40.5 atmos-

pheres, unit of pressure (atm) ความหนาแน นสั มพั นธ ของแก ส

[Relative Gas Density (R Gas D)] = 1.27 ความสามารถในการละลายน้าํ (Sol)

= 67%เนือ่งจากสารเคมีเปนแกสจงึมีความเปน

ไปไดท่ีจะเกดิการสมัผสัขณะเขาไปในท่ีเกดิเหตุหากไมมีการปองกัน และเนื่องจากเปนกรดเขมขน ผลกระทบจากการสัมผัสจึงคอนขางเลวราย สิง่ท่ีผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุตองคิดคือหาวิธีบรรเทาผลกระทบ วิธีหนึ่งคือ ใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPE) ท่ีเหมาะสมเพื่อเปนการหลีกเล่ียงการสมัผสัสารเคมีโดยตรง กรณนีี้ใหใชชุดปองกันแบบคลุมท้ังตัวหรือชุดแคปซูลเม่ือมีความเปนไปไดสูงท่ีจะเกิดการสัมผัส อีกวิธหีนึง่สาํหรับใชหลีกเล่ียงการสมัผสัไดแก การตรวจจบั หากกระดาษวัดความเปนกรดดาง (pH)เร่ิมกลายเปนสีแดง คุณตองรูวาท่ีนั่นมีกรด จะตองยายท่ีเพือ่หลีกเล่ียงการสัมผัส วิธอ่ืีนๆ เชนการจัดการสารเคมี คุณสามารถใชคุณสมบัติการละลายน้าํของสารเคมีใหเปนประโยชนโดยการใชฝอยน้ําละเอียดดูดซับ อีกทางเลือกหนึ่งคือการระบายอากาศ การกระทําตางๆ ดังกลาวสามารถลดความเปนไปไดท่ีจะเกิดการสัมผัสสารเคมีได

ในอีกทางหนึ่ง เราสามารถทําใหกรดเปนกลางไดโดยเอาไปสัมผัสกับดาง เม่ือกรดถกูทําใหเปนกลางแลว ผลกระทบจากการสมัผสัก็จะถูกทําใหหมดไป ใหขอสังเกตไวดวยวาปฏิกริิยาท่ีทําใหเปนกลางจะมีความรอนเกดิข้ึนหากเลือกทําวิธนีี ้ตองใชฝอยน้าํละเอียดฉีดไปท่ีหมอกควันของกรด ซึง่สารเคมีจะละลายน้าํและ

Page 3: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

3SAFET Y LIFE

ลดความเปนไปไดและผลกระทบจากการสมัผสัเร่ืองสําคัญท่ีควรจําคือ คา pH เปนตัวเลขท่ีมีความผกผันมาก บางกรณีคุณตองละลายสารเคมีถึง 10 เทาถึงจะไดคา pH ลดลง 1 หนวยซึ่งผลลัพธท่ีไดจะเกิดข้ึนชามาก ยิ่งไปกวานั้นเม่ือกรดหรือดางเขมขนละลายน้ําจะใหความรอนสูงจนสามารถทําใหน้ําเดือดไดและทําใหกรดหรือดางกระฉอก

ความเปนไปไดในการสัมผสัสัมพันธกับวิธท่ีีสารเคมีเคล่ือนท่ี ยกตัวอยาง แกสขยายตัวและถกูปลอยออกมาจะเคล่ือนท่ีไดงาย ดังนัน้จงึความเปนไปไดสูงท่ีจะเกิดการสัมผัส สําหรับของแข็งและของเหลวซึ่งมีอนุภาคหรือเม็ดสารจะไมเคล่ือนท่ีเร็วไดเหมือนแกส แตหากอยูในสิง่แวดลอมท่ีเหมาะสมและมีพลังงานเพิม่เขาไปของแข็งหรือของเหลวสามารถจะเปล่ียนเปนสารแขวนลอยในอากาศ (Aerosol) และมีลักษณะเหมือนแกส ยกตัวอยากรณีนี้คือ การระเบิดท่ีเกดิในถงับรรจกุรดซัลฟูริก

กรดซลัฟริูกมีความดันไอ [Vapor Pressure(VP)] = 0.001 มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ซึ่งหมายความวา มันไมสามารถเคล่ือนท่ีไดในสภาวะปกติ จงึเปนเหตุผลวาทําไมคนจงึเทกรดซลัฟริูกเติมแบตเตอรีโดยสวมอุปกรณปองกนัตาและถุงมือ ในกรณีของการระเบิด พลังงานจากการระเบดิจะเปล่ียนกรดซลัฟริูกเปนฝอยละเอียดหรือแอโรซอลทําใหสามารถเคล่ือนท่ีไดงายและสูดหายใจเขาไดงายดวยเชนกัน จะตองมีการปองกนัในระดับท่ีแตกตางไปจากปกติเม่ือเขาไปในพื้นท่ีเกิดเหตุการณเชนนี้ข้ึน

ขอควรจํา การพิจารณาความเปนไปไดในการสมัผสัไมใชเร่ืองงายเหมือนกบัการวัดคาความดันไอ (VP) คาความดันไอเปนสิ่งหนึ่งท่ีตองเอามารวมกับสิ่ งอ่ืนๆ ในการพิจารณา

ความเปนไปไดในการสัมผัสสารเคมี การทําความเขาใจกบัตัวเลข สิง่แวดลอมของการสมัผสัประสบการณการสัมผัสในกรณีใกลเคียงกันและการตัดสนิใจท่ีดี เปนสวนสําคัญท้ังหมดใน

เคมี พลังงานท่ีปลอยออกมามีลักษณะเหมือนอะไร และพลังงานจะไปไหนเม่ือถกูปลอยออกมา ลวนเปนเร่ืองยากจะคาดการณ การฝกฝนและประสบการณเปนกุญแจสําคัญท่ีจะนําไปสูการประเมินท่ีถูกตอง เชน ลูกไฟท่ีเกิดจากการระเบดิจากการขยายตัวของไอจากของเหลวเดือด(BLEVE; Boiling-Liquid, Expanding-VaporExplosion) ในถงับรรจแุกสโพรเพนท่ีบรรทุกบนรถไฟจะมีรัศมีเทาใด ตองศึกษาจากเหตุการณท่ีเคยเกิดข้ึนมาเพื่อใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชน

สารเคมีท่ีปลอยพลังงานออกมา รวมถึงวัตถุระเบิด แกสไวไฟ ของเหลวติดไฟได และของเหลวไวไฟ ของแข็งไวไฟ สารลุกไหมไดดวยตัวเอง สารออกซิไดเซอร (สารใหออกซิเจน)สารกมัมันตภาพรังส ีและสารท่ีใหปฏิกริิยาเคมีคายความรอน เปนสารท่ัวไปท่ีใหปฏิกิริยาการเผาไหมและปฏิกิริยาการเกิดโพลีเมอร ยุทธวิธีใชในการปองกนัและตรวจจบัตองระบคุวามเปนไปไดของการเผชิญหนากับพลังงานนอกเหนือจากตัวสารเคมีไวดวยเม่ือเขาทําการตอบโตเหตุจากสารประกอบเหลานี้

เมือ่พิจารณาวาสารเคมทีีป่ลอยพลงังานออก

การคาดการณความเปนไปไดในการสมัผสัสารเคมีท่ีเกดิเหตุฉุกเฉิน

ตารางท่ี 1 (Table 1) คือคาความดันไอ(VP) ของสารเคมีท่ีมีใชงานท่ัวไป สําหรับใชเปรียบเทียบพฤติกรรมของสารเคมีทไมรูจักซึ่งมีคาความดันไอใกลเคียงกันสารเคมีเหลานี้

สารเคมีท่ีปลอยพลังงานออกมา เราจงึมีโอกาสสมัผสัพลังงานนัน้ดวยนอกเหนอืจากตัวสาร

มาแตกตางจากอันตรายของสารเคมีอ่ืนอยางไรใหพจิารณาควันไฟและปรากฏการณ Backdraftควันไฟเปนท้ังเชือ้เพลิงและแหลงรวมของสารพษิควันจะเปนพษิเม่ือคุณสมัผสั สารพษิในควันไฟจะเขาสูรางกาย โดยปกติจะเปนทางการหายใจหรือการดูดซึมทางผิวหนัง คุณตองหายใจหรือสมัผัสควันจึงจะไดรับอันตรายดังกลาว

อยางไรก็ตาม ภายใตเงื่อนไขท่ีผิดปกติ

Page 4: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

4SAFET Y LIFE

ของควันไฟ ออกซิเจน และความรอน จะมีแนวโนมการเกิดปรากฏการณ Backdraft ซึ่งเปนปญหาท่ีแตกตางออกไป ในกรณีนี้แมนักดับเพลิงจะยืนอยูดานนอกของตัวอาคาร ไมมีควัน แตพลังงานท่ีปลอยออกมาจากการระเบดิสามารถจะมาถึงตัวและทําใหเขาบาดเจ็บไดพลังงานเดินทางหางจากจุดกําเนิด ดังนั้นจึงเปนเร่ืองสําคัญท่ีจะตองหลีกเล่ียงการเขาไปในขอบเขตท่ีเปนอันตรายจากสารเคมี มิใชเพยีงแคตัวสารเคมีเทานั้น

จากประวัติการเสียชีวิตจากการทํางานตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมีพบวา มีเปอรเซน็ตสงูมากท่ีเกดิจากสาเหตุท่ีเกีย่วของกบัสารเคมีปลอยพลังงานออกมา การตระหนักถึงอันตรายและ

สารเคมีในอัตราสงูจะมีความเสีย่งการกดักรอนมากกวา แมจะมีขอยกเวนบางอยาง ยกตัวอยางกริิยาของกรดซลัฟริูกตอโลหะซึง่อัตราสวนผสมปานกลางอาจจะเลวรายกวาอัตราสวนผสมสูง

บรรยากาศท่ีเปนอันตรายเกดิไดท้ังจากการมีอยูของสารพษิหรือการขาดออกซเิจน สารพิษทําใหเกิดอันตราย ความเปนพิษข้ึนอยูกับปริมาณของสารท่ีจะทําใหเกดิอันตราย สิ่งอ่ืนๆท่ีตองพจิารณารวมกบัความเปนพษิของสารเคมีไดแก ชองทางสมัผสั ปริมาณสารท่ีเขาสูรางกายระยะเวลาท่ีมีการสัมผัส ความไวตอการสัมผัสของแตละบคุคล และการทําปฏิกริิยากบัสารอ่ืนสารบางชนดิเปนพษิในปริมาณนอยซึง่จาํเปนตองหลีกเล่ียงการสัมผัสในระดับอัตราสวนตอลานสวน (ppm) มีเอกสารอางอิงหลายแหลงท่ีมีรายละเอียดความเปนพษิของสารเคมีชนดิตางๆวิธีหนึ่งในการคาดการณความเปนพิษของสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่ง ไดแก การเปรียบเทียบแนวโนมการสัมผัสระหวางการระงับเหตุกับระดับการสัมผัสในการทํางานตามท่ีระบุไวใน

เอกสารอางอิงฉบับกระเปาของสถาบันสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานแหงชาติสหรัฐฯ(NIOSH) หรือเอกสารอางอิงลักษณะใกลเคียง จดัพิมพโดยสถาบันสุขอนามัยอุตสาหกรรมตางๆองคกรหลายแหงกําหนดคาจํากัดการสัมผัส(ตาราง 2 : Table 2) ซึง่นาํไปจดักลุมคาจาํกดัการสมัผสัในการทํางานได เชน คาจาํกดัการอนญุาตใหสัมผัส (PEL; Permissible Exposure Limit)เปนคาปลอดภัย คาเพดานการสมัผสั (Ceiling)คาจํากดัการสมัผสัระยะสัน้ (STEL short-termexposure limits) เปนคาไมปลอดภัย และคา

อยู ใหหางจากจดุท่ีพลังงานจากแหลงกาํเนดิจะเดินทางผานเปนหัวใจสาํคัญของความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีท่ีมีคุณสมบัติปลอยพลังงานออกมาได

สารเคมีกัดกรอน รวมถึงกรด ดาง และสารออกซไิดเซอรบางชนดิ เปนสาร classes 2,5, 8 และ 4 บางชนดิท่ีเกดิกรดและดางระหวางทําปฏิกริิยากบัอากาศหรือน้าํตามขอกาํหนดของกระทรวงขนสงสหรัฐฯ (DOT) โดยท่ัวไปสารกดักรอนจะทําลายผวิหนงัและเนือ้เยือ่ของมนษุยรวมท้ังกัดกรอนโลหะ เชน อุปกรณชวยหายใจSCBA

พจิารณาท้ังความรุนแรงในการกดักรอนตามธรรมชาติและอัตราสวนผสมของสารเคมียกตัวอยาง สารละลายกรดปานกลางจะเกดิข้ึนจากการละลายกรดเขมขน (เชน กรดซัลฟูริกกรดไฮโดรคลอริก กรดไนตริก และอ่ืนๆ) หรือกรดท่ีออนกวา เชน กรดอะซิติก

ผลกระทบจากสารกดักรอนแตกตางกนัไปตามอัตราสวนผสม โดยท่ัวไปอัตราสวนผสมของ

Page 5: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

5SAFET Y LIFE

ความเขมขนสูงสุดท่ีหากตองสมัผสั ณ ท่ีจดุเกดิเหตุเปนเวลา 30 นาที เม่ือหลบหนีออกมาจะยังไมมีผลกระทบเร้ือรังเกิดข้ึนกับรางกาย(IDLH; Immediately Dangerous to Life orHealth) เปนคาอันตราย ขอมูลอ่ืนสามารถใชในการเปรียบเทียบปริมาณท่ีเปนอันตรายหรืออัตราสวนผสมอันตราย (ตารางท่ี 3 : Table 3)ซึง่จะมีอยูในแผนขอมูลความปลอดภัย (SafetyData Sheets) ของบางสถาบัน

ถึงแมวาคุณไมไดเขาไปในบรรยากาศท่ีเปนอันตราย แตการสมัผสักบัสารอันตรายอาจเกิดข้ึนไดั หากการปองกันลมเหลว คุณควรใชขอมูลเพื่อเปรียบเทียบสารเคมีท่ีไมคุนเคยกับสารเคมีท่ีคุณรูจักดีเพื่อคาดการณพฤติกรรมวัตถุอันตรายท่ีกําลังเชิญหนาอยู

ขณะปฏิบั ติงานกับสารเคมีอันตรายยทุธวิธท่ัีวไปท่ีใชหลีกเล่ียงการสมัผสั ไดแก การตรวจจับ การปองกัน และการจัดการสารเคมีการปองกนัรวมถงึการปองกนัผวิหนงัและระบบหายใจ โดยใชชุดปองกันสารเคมี ชุดดับเพลิงและอุปกรณชวยหายใจ SCBA สวนการตรวจจบัจะใชอุปกรณเล็กทรอนิกสหรือเทียบเทาท่ีมีคุณสมบิติในการเตือน

“คณุสามารถมองเห็นสารเคมมีอียูในปริมาณมากพอที่จะทํารายคุณไดไหม” ถาคําตอบคือไม คุณตองหาวิธจีดัการสารเคมี การจดัการสารเคมี รวมถงึการเคล่ือนยายหรือบรรจุสารเคมี นอกจากนีย้ังมีการระบายอากาศ การทําเข่ือนหรือกาํแพงกัน้และการเบีย่งเบนทิศทาง

สันดาปอยางรุนแรงและรวดเร็ว เพลิงไหมในหองจะระเบิดออกมาเปนลูกไฟใหญพรอมกับแรงดันสงูท่ีมาก)

เคร่ื องตรวจวัดชนิดกอประจุ ไอออน(PIDs; Photoionization Detectors) มีประโยชนในการใชตรวจวัดสารปลอยหลังงานบางชนิดเคร่ืองมีความวองไวพอท่ีจะเตือนลวงหนาใหรูวามีสารเคมีอยู โดยมีการตรวจวัดละเอียดถงึระดับ

การจัดการสารเคมีอาจเปนการปฏิบัติงานเชิงปองกัน เจาหนาท่ีเทคนิคสารเคมีตองมีความเขาใจและใชแผนการปองกันสารเคมีท่ีเกิดเหตุตองมีการใชอุปกรณตรวจจับตามชนิดของสารเคมีท่ีตองสงสยั สาํหรับสารเคมีท่ีปลอยพลังงานกลองสรางภาพดวยความรอน (TIC; ThermalImaging Camera) จะมีประโยชนมากในการคนหาความรอนท่ีสารเคมีสรางข้ึนมา อุปกรณ

ตรวจวัดแกส เชน อุปกรณตรวจวัดแกส 4 ชนิดพรอมเซนเซอรหาคาข้ันตํ่าในทําใหติดไฟหรือระเบิดได (LEL) เปนเคร่ืองมือหลักในการหาอัตราสวนผสมของสารเคมีท่ีทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิด

สิ่งสําคัญท่ีควรตระหนักไวก็คือ เม่ือผูใชอุปกรณตรวจวัดกาํลังอานคาอัตราสวนผสม เขาก็อาจจะอยูในบรรยากาศท่ีสารเคมีกําลังปลอยพลังงานออกมาซึง่อาจมาถงึตัวของผูตรวจวัดไดเหมือนกบันกัดับเพลิงยนือยูดานนอกตัวอาคารท่ีเกดิปรากฏการณ Backdraft (เชือ้เพลิงภายในหองหรือภายในตัวอาคารเกดิการคุ โดยมีสภาพรอนจัดพรอมจะลุกเปนไฟ ขาดเพียงออกซิเจนท่ีจะมาทําใหเกดิสนัดาปเทานัน้ เม่ือนกัดับเพลิงเปดประตู หนาตาง หรือเจาะชองเปดเขาไปออกซิเจนจะพุงไปยังเชื้อเพลิงทําใหเกิดการ

Page 6: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

6SAFET Y LIFE

สวนตอลานสวน (ppm) ไมใชอัตราเปอรเซ็นตในบรรยากาศ

สําหรับสารปลอยพลังงานบางชนิด เชนสารไฮโดรคารบอนขนาดเล็ก (มีเธน โพรเพน)สารเมธานอล อะซโีตไนไตรล และไฮโดรเจน ไมสามารถตรวจวัดดวยอุปกรณ PID ท่ีใชหลอดไฟมาตรฐานขนาด 10.6 eV สวนสารกัดกรอนกระดาษวัดคาความเปนกรดดาง (pH Paper)และเคร่ืองตรวจวัดชนดิพเิศษเปนเคร่ืองมือท่ีใชตรวจจับ กระดาษ pH ควรใชบอยๆ เพื่อใหสามารถตรวจจับสารกัดกรอนไดกอนท่ีมันจะทําความเสียหายใหกับอุปกรณตรวจจับอ่ืนๆ

มีอุปกรณตรวจจับมากมายสําหรับใชตรวจจบัสารพษิ แตตัวอุปกรณไมสามารถตัดสนิความเปนพิษของสารประกอบท่ีใหมา แตมันตรวจจับอนุภาคระดับสวนตอลานสวน (ppm)ท่ีมีความเปนพิษ อุปกรณตรวจวัด PID เปนเคร่ืองมือหลักสาํหรับการนี ้แตอุปกรณตรวจวัดชนิดพิเศษและหลอดแกววัดสีก็สามารถใชไดเชนกนั เปนเร่ืองสาํคัญท่ีตองรู อุปกรณสามารถเห็นและไมสามารถเห็นอะไร สําหรับอุปกรณท่ีไดมาซึง่จะมีความไวสาํหรับสารเคมีชนดิตางกนัในการตรวจจบั บางคร้ังตองใชเคร่ืองมือรวมกนัหลายชนดิเพือ่ตรวจจบัอันตรายหลายชนดิท่ีมีอยู

อุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPE) เปนปราการดานสดุทายท่ีใชปองกนัขณะปฏิบติังานกับสารเคมีอันตราย ยิ่งไปกวานั้นชางเทคนิคตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมีตองใชเม่ือเขาไปในพื้นท่ีร่ัวไหลเพื่อทํางานสําคัญ เชน อุดรูร่ัว ปดวาลว ฯลฯ ในการสํารวจเบื้องตน ใหผูเขาไปทําการตรวจสอบสภาพบรรยากาศสวมใส SCBAจากนั้นสามารถหนากากกรองอากาศ (APRs;Air-purifying Respirators) ได สาํหรับการร่ัวไหลเล็กนอย อาจจะเร็วกวาถาใช SCBA แทนการใชหนากากกรองอากาศท่ีตองเลือกไสกรองท่ีเหมาะสม แตหากเปนการทํางานระยะเวลานาน การใชหนากากกรองอากาศ (APR) มีขอดีคือทีมท่ีเขาไประงับเหตุจะเม่ือยลานอยกวา

การปองกันผิวหนงัข้ึนอยูกบัสารเคมี แตก็แบงยอยออกไปตามชนิดของอันตราย หากอันตรายเกีย่วของกบัการปลอยพลังงาน เสนใยท่ีเรียกวา Nomex ใหประสิทธิภาพปองกันสูงรวมไปถึงชุดปองกันหรือชุดตานทานสารเคมีออกแบบพิเศษ หากสารเคมีเปนสารกัดกรอนหรือเปนสารพษิ ชดุท่ีเคลือบผวิดานนอกใหการปองกนัท่ีดี

เสนใยท่ีมีคุณสมบติัปองกนัเหลานีมี้การนาํไปตัดเยบ็เปนชดุหลายรูปแบบ ชดุคลุมท้ังตัวหรือชดุแคปซลูเปนชดุปองกนัระดับ A (Level A)ใชสวมใสปองกนัสารเคมีท่ีมีแนวโนมการสมัผสัสูง ชุดหมีหรือชุดลักษณะอ่ืนใชในสถานการณท่ีมีแนวโนมการสัมผัสตํ่ากวา

ผูผลิตชดุปองกนัสวนบคุคลสามารถใหคําแนะนําชุดท่ีเหมาะสมในแตละสถานการณไดและยงัมีแหลงขอมูลของสถาบันตางๆ เผยแพร ในอินเตอรเนตท่ีเราสามารถนาํมาใชประโยชนไดแตจงจาํไววา แนวโนมในการสมัผสัสารเคมีอาจแตกตางไปจากท่ีเขียนไวในตํารา พฤติกรรมของสารเคมีข้ึนอยูสภาพแวดลอมในท่ีเกดิเหตุซึง่ตองนําประเด็นนี้ไปรวมพิจารณาเม่ือมีการปรึกษากับผูผลิตในเลือกชุดปองกันดวย ท้ังนี้ อุปกรณSCBA อาจไดรับความเสยีหายเม่ือสมัผสักบัสารกดักรอน ดังนัน้จงึตองมีการปองกนัอุปกรณดวยชุดปองกันสารเคมี ตัวอยาง เม่ือสัมผัสกับสารคลอรีนเพียงคร้ังเดียวก็สามารถทําใหอุปกรณSCBA เกดิความเสียจนสังเกตเห็นได

จดุหนึง่ท่ีมักถกูมองขามไปในการปองกนัผิวหนัง นั่นคือ ถุงมือ เม่ือมีการหกลนของสารเคมีจาํเปนตองใชถงุมือปฏิบติังาน และเปนเร่ืองสาํคัญท่ีตองใชตารางการเลือกใชงานถงุมือเพือ่ใหถูกตองกับสารเคมี และบางทีก็อาจจําเปนตองปกปองถุงมือตานทานสารเคมีจากความรอนหรือความเสียหายภายนอก

โดยรวมแล ว ทางเลือกของอุปกรณปองกนัสวนบคุคลตองแบงตามชนดิของอันตรายท่ีมีอยู (โครงสรางวัสดุท่ีใชทําอุปกรณปองกัน)และความเปนไปไดในการสัมผัส (รูปแบบของชุด : ชุดแคปซูลและอ่ืนๆ)

ยอนกลับไปท่ีปญหาการหกของสาร

เคมีในหองแล็บ เราจะเขาไปสํารวจไดอยางไรข้ันแรกใหพจิารณาสารเคมีจะมีกริิยาอะไรภายใตสภาวะปกติ หากมันกลายเปนแกสท่ีอุณหภูมิหอง แสดงวามีความเปนไปไดสูงท่ีจะเกิดการสัมผัส โดยมีอันตรายหลักสองประการคือ เปนสารพษิและยานการติดไฟคอนขางกวาง (ติดไฟงาย) และจากการประเมินพบวาเปนสารท่ีมีแนวโนมจะเกิดการสัมผัสสูง คําถามคือ เราจะบรรเทาปญหานี้ไดอยางไร

อันดับแรก พิจารณาอันตรายจากการเปนพิษ คุณสามารถหลีกเล่ียงการสัมผัสสารปริมาณมากจากการปฏิบัติภารกิจนี้ไดหรือไมหากมีเคร่ืองตรวจวัด คุณจะรูปริมาณของสารและอยูหางมันไว ในกรณีนี้เคร่ืองตรวจวัด PIDใชไมไดผล สารเคมีชนิดนี้ตองใชเซนเซอรเคมีไฟฟาและการวัดคาสี ดังนั้นจึงควรใชเคร่ืองมือท่ีถูกตองเพื่อใหรูคาปริมาณสารอยางแมนยําจึงจะลดแนวโนมการสัมผัสได พรอมกันนี้ใหพจิารณาถงึการปองกนัสารเคมีท่ีสามารถดูดซบัเขาทางผวิหนงั หากเปนปฏิบติังานสํารวจพืน้ท่ีจะไมมีแนวโนมสัมผัสของเหลว สารประเภทนี้เปนพิษตอระบบหายใจจึงตองใชอุปกรณชวยหายใจ SCBA ท้ังการตรวจจับและการปองกันในการปฏิบัติงานจะทําใหแนวโนมการสัมผัสสารพษิลดลง

สําหรับอันตรายจากความไวไฟ แมวาเปนเร่ืองงายในการหลีกเล่ียงการสมัผสัอันตรายลักษณะนี้ แตหากมีการลุกไหมจนกลายเปนลูกไฟก็ยากจะหลบหนี

วิธีลดอันตรายจากเพลิงไหมรวมถึงการกําจัดหรือควบคุมสิ่งท่ีมีแนวโนมจะเปนแหลงความรอน และการระบายอากาศ สารเคมีท่ีมีอันตรายดานอัคคีภัยอาจไมสามารถควบคุมการ

Page 7: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

7SAFET Y LIFE

สัมผัสไดเหมือนกับสารพิษ และเนื่องจากเปนสวนผสมในบรรยากาศท่ีไมตองสัมผัสก็เกิดอันตรายได ดังนั้นชุดปองกันความรอนและเปลวไฟรวมกับ SCBA จึงเปนทางเลือกท่ีดีสําหรับการปฏิบัติภารกิจท่ีมีความเสี่ยง

โดยสรุปแลว การพจิารณาความเปนไปได ในการสัมผัสและผลกระทบจากการสัมผัสสารเคมีอยางเปนระบบคือการนําปญหาท่ีซับซอนมาแยกออกเปนสวนเล็กๆ เพือ่ความงายในการจัดการ ในการวางแผนงานการปองกันและตรวจจับข้ันพื้นฐาน ใหจัดประเภทของสารเคมีตามสมบัติตางๆ เชน การปลอยพลังงาน การกัดกรอน ความเปนพิษ และใหพิจารณาการเคล่ือนท่ีของสารเคมีประกอบดวย

10 หัวขอพจิารณาสาํหรบัหนวยตอบโตเหตฉุกุเฉนิสารเคมี

หนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมีหนวยแรกท่ีเขาถึงท่ีเกิดเหตุไดเรียนรูขอมูลพื้นฐานมากมายจากการฝกฝน รวมถึงวิธีการตอบโตเหตุฉุกเฉินท่ีเกี่ยวของกับวัตถุอันตรายอยางปลอดภัย แตโชครายท่ีมีการขาดติดตอระหวางความรู ในตํารากับสิ่ งท่ี เปนโลกแห งความ

เปนจริงไมไดหมายความวาการฝกไมสําคัญ

หรือไมเพียงพอ แตการสัมผัสในโลกของความเปนจริงจะชวยใหผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุไดเรียนรูวา เปนเร่ืองสําคัญอยางแทจริงในการสรางความม่ันใจเพือ่เอาชวิีตรอดจากสถานการณสุดอันตราย

10 หัวขอการพิจารณาสําหรับหนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินหนวยแรกท่ีเขาถงึท่ีเกิดเหตุท่ีจะนาํเสนอตอไปนีไ้ดมาจากประสบการณของผูปฏิบติังานในหลายเหตุการณเปนเวลาหลายปโดยไดบอกเลาถงึเร่ืองท่ีผูปฏิบติังานตอบโตเหตุสวนใหญมองขามไปเม่ือเขาถงึจดุเกดิเหตุ แมวาพวกเขาจะไดรับการฝกฝนมาเปนอยางดีแตเม่ือสัมผัสกับเหตุการณจริง อารมณและความรูสึกอาจมีสวนทําใหลืมพจิารณาประเด็นสาํคัญท่ีจะทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพ

1. วัตถอุันตรายกับสารเคม ีกาวแรกท่ีจะทําใหรอดชวิีตตองตระหนกัไววาสถานการณใดๆ ก็ตามมีความเกี่ยวของกับสารเคมี แมวาบางคร้ังจะใชคําวา “วัตถุอันตราย” ( HazardousMaterials) แตคําวา “สารเคม”ี (Chemicals) นาจะเหมาะสมกวา เพราะคําวา “วัตถุอันตราย”เปนศัพทขอบงัคับท่ีมีความหมายเฉพาะตัว และเพื่อใหหนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินหนวยแรกเม่ือเขาถงึท่ีเกดิเหตุจะไมถกูทําใหเขาใจผดิวาสารเคมีไมใชปญหาเพราะมันไมใชวัตถุอันตรายตามท่ีเขียนในกฎขอบังคับ ในความเปนจริงแลว สารเคมีทุกชนดิมีลักษณะเปนวัตถอัุนตรายรวมอยูดวยหนวยตอบโตเหตุตองเตรียมการสบืคนขอเท็จจริง

ตอไป จงจําไววา สารเคมีเปนตนกําเนิดของปญหาจากการร่ัวไหลโดยอุบัติเหตุ หรือการใชงานผิดวิธี นอกจากนี้ ยังมีแนวโนมจะเกิดการสัมผัสจากอุบัติเหตุอ่ืน เชน ไฟไหมหรือโครงสรางถลมซึ่งเปนผลมาจากความไมม่ันคงของท่ีบรรจ ุโดยปราศจากการตัดสนิดวยทัศนคต ิดังกลาว ผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุสามารถลดแนวโนมจะไดรับอันตราย เม่ือใครบางคนบอกไมตองกังวลกับสถานการณเพราะไมเกี่ยวของกบัวัตถอัุนตราย คุณตองรูวาสิง่ท่ีเขาบอก จริงๆแลวก็คือ สิ่งท่ีเกิดเหตุไมใชวัตถุอันตรายตามท่ีระบุไวในกฎขอบังคับ (วาเปนวัตถุอันตราย)มันเปนสารเคมีซึ่งอยางไรก็ตามมันก็สามารถทําอันตรายคุณไดอยูดี

2. สารเคมีที่เกิดเหตุเปนที่รูจัก ตองสงสัยหรือตรวจพบ สารเคมีท่ีเกิดเหตุหรือเกี่ยวของกับสถานการณสามารถแบงออกได 3 ลักษณะไดแก

(1) สารเคมีท่ีเกี่ยวของกับสถานการณเปนท่ี รู จัก (รถบรรทุกถังน้ํามันเชื้ อเพลิงพลิกควํ่า)

(2) สารเคมีท่ีเกี่ยวของกับสถานการณยังไมรูวาเปนชนิดใด (มีคนสามคนหมดสติภายในโกดังเก็บสารเคมี)

(3) สารเคมีท่ีเกี่ยวของกับสถานการณเปนสารเคมีซึ่งคุณคนพบหลังจากเขาถึงท่ีเกิดเชน เม่ือคุณไดรับแจงเหตุฉุกเฉินทางการแพทย(EMS) แลว เดินทางเขาถึงท่ีเกิดเหตุแลวพบวามีคนหายใจลําบาก และจากการประเมินทําใหรูวาผูประสบเหตุใชงานสารเคมีโดยไมไดใชอุปกรณปองกัน (PPE) ท่ีเหมาะสม

สารเคมีประเภทหลังเปนประเภทหนึ่งท่ีจะสรางความลําบากใหกบัผูปฏิบติังานตอบโตเหตุฉุกเฉิน เพราะพวกเขาอาจเกดิความผดิพลาดจากการพจิารณาชนดิสารเคมีไมถกูตอง ทันทีท่ีพวกเขาระบวุาเปนสารเคมีชนดิใด พวกเขากจ็ะปฏิบติังานตอบโตตามวิธกีารเฉพาะสาํหรับสารเคมีชนิดนั้น โดยเฉพาะเร่ืองการกําหนดระยะหางท่ีปลอดภัยระหวางตนกําเนิดของสารเคมีกับตัวบุคคล นอกจากนี ้ยังเปนการตอบโตเหตุท่ีคอนขางยาก ในกรณีท่ีอาจมีผูปวยไดรับการปนเปอนสารเคมีทําใหคนอ่ืนๆ ลังเลท่ีจะอพยพออกไปเพราะไมอยากท้ิงผูปวยไว กรณีดีท่ีสุดใหนาํตัวผูปวยออกไปดวยหากพวกเขาสามารถเดินได เม่ือคุณนาํตัวผูปวยไปยงัท่ีปลอดภัย คุณกต็องตระหนกัดวยวาอาจปนเปอนสารเคมีขณะ

Page 8: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

8SAFET Y LIFE

ชวยเหลือผูปวย เนื่องจากเปนการรับแจงเหตุทางการแพทย คุณไมตองสวมอุปกรณปองกันสวนบุคคล ยกเวนถุงมือยาง

การท้ิงคนปวยรายหนึ่งหรือหลายรายเพื่อปกปองหนวยตอบโตเหตุหนวยแรกจากการปนเปอนสารเคมี เปนการตัดสนิใจท่ีลําบากซึง่จะตองพจิารณาเปนกรณีๆ ไป แตไมวาคุณจะออกจากพืน้ท่ีไปโดยมีหรือไมมีผูปวย คุณจะตองตัดสินอยางรวดเร็ว

3. วธิกีารตรวจจับสารเคมทีีม่อียู คุณสามารถพจิารณาการมีอยูของสารเคมีในท่ีเกิดเหตุดวยการดมกล่ิน การมองพฤติกรรมตางๆท่ีสารเคมีแสดงออกมา และการบอกเลาของผูประสบเหตุและผูเห็นเหตุการณ การตรวจจบัดวยกล่ินจะเปนการบงัเอิญมากกวาการจงใจ ถาคุณไดกล่ินอะไรแปลกๆ จงใชมันคนหาการร่ัวไหลจากถังบรรจุ จงหยุดและถอยหลัง บางทีกล่ินแปลกๆ อาจไมมีอะไรเกี่ยวของกบัสถานการณแตกต็องใชโอกาสนีใ้หเปนประโยชนจนกวาคุณจะพบคําตอบ

การคนหาดวยการสงัเกตดวยตาเปลาจะเปนการมองหาผลิตภัณฑท่ีปลอยออกมา ไมวาจะเปนหมอก ไอ หยดของเหลวหรือของแข็ง แตอยาลืม สารเคมีบางชนิดไมมีกล่ิน ไมมีสี ซึ่งไมสามารถคนหาไดดวยการมองเห็นและการดมกล่ินคุณอาจจะสัมผัสมันโดยไมรูตัว

ผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมีไดรับการสั่งสอนใหสังเกตการระบุสารเคมีในรูปแบบตางๆ เชน ปายติดท่ีบรรจ ุแผนระบสุารเคมีของกระทรวงการขนสงสหรัฐฯ (DOT) รวมถงึปายตามมาตรฐาน NFPA 704 (มาตรฐานระบบการระบุวัตถุอันตรายสําหรับการตอบโตเหตุ

ฉุกเฉิน) เพือ่ระบชุนดิและอันตรายของสารเคมีแตจงจาํไววา มีขอแมและขอยกเวนมากมายเม่ือใชวิธกีารระบสุารเคมีเหลานี ้อยาแปลความหมายผิดวาการท่ีไมมีปายแสดงจะหมายถึงการไมมีสารเคมีใดอยู เพราะถงึอยางไรกย็งัมีสารเคมีอยูเพียงแตไมมีปายบอกวาเปนสารเคมีชนิดใดและเพื่อความปลอดภัยสูงสุด ควรอยูในระยะหางท่ีปลอดภัยเม่ือตรวจสอบปายระบุสารเคมีและการเกบ็ท่ีบรรจท่ีุเสยีหายข้ึนมาอานขอความถือเปนการกระทําท่ีอันตรายอยางยิ่ง

ขอมูลและขอคิดเห็นของผูพบเหตุการณก็สามารถใชเปนประโยชนในการระบุสารเคมีท่ีเกี่ยวของในเหตุการณได อยางไรก็ตาม จากประสบการณสวนบุคคลพบวา คนท่ีใหขอมูลมักเกิดการปนเปอนสารเคมีท่ีเขากําลังพูดถึงนีคื่อปญหาใหญท่ีแทจริง โดยเฉพาะเม่ือคุณเชญิเขาเขามาในยานพาหนะท่ีเขาถึงท่ีเกิดเหตุเพื่อทําการพูดคุยเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ใหพิจารณาระดับความเกี่ยวของกับเหตุการณของเขา และเพือ่ความปลอดภัยใหทําการชาํระการปนเปอนและใหการบําบัดทางการแพทย...ปลอดภัยไวกอนดีกวาจะเสียใจภายหลัง

4. การมาถึงที่เกิดเหตุ เม่ือคุณมาถึงท่ีเกิดเหตุ ไมวาจะรูชนิดของสารเคมีท่ีเกี่ยวของหรือยงัสงสยัอยู ใหหยดุอยูท่ีระยะปลอดภัยจาก

จุดเกิดเหตุ การท่ีผูประสบเหตุหรือผูพบเห็นเหตุการณจะกวักมือเรียกใหเขาไปใกลๆ ก็ไมควรตอบสนอง การท่ีคุณเขาไปใกลจุดเกิดเหตุเกินไปอาจทําใหเสี่ยงตอการสัมผัสสารเคมี ในกรณคุีณรับรูสารเคมีภายหลังเขาไปในท่ีเกดิเหตุแลว ทันทีท่ีคุณทราบขอมูลตางๆ ของสารเคมีท้ังชนิด อันตราย และแหลงกาํเนิด หากอยูใกลเกนิไป ใหรีบยายออกไป หากจอดรถใกลแหลงร่ัวไหล ใหรีบไปหาท่ีจอดท่ีปลอดภัยทันที

อีกปญหาท่ีจะพบเม่ือเขาถงึท่ีเกดิเหตุซึง่เกีย่วของกบัสารเคมีท่ีรูจกัหรือยงัสงสยัอยูนัน่คือ“ทัศนวิสัยเหมือนอยูในอุโมงค” (Tunnel Vision)และการไมระมัดระวังอันตรายอ่ืนในท่ีเกิดเหตุเชน ไฟไหม แนวโนมการระเบิด สายไฟท่ีตกลงมา หรือยานพาหนะท่ีไมม่ันคง ในการฝกข้ันกาวหนา ครูฝกจดัฉากอุบติัเหตุทางยานพาหนะรถตูขนาดเล็กบรรทุกท่ีบรรจุสารกัมมันตภาพรังสีว่ิงชนเสาไฟฟา ผูปฏิบัติงานหนวยแรกทําทุกอยางท่ีถกูตองในการระบวัุตถท่ีุเกีย่วของ นาเสยีใจท่ี 2 คนในหนวยเสียชวิีต เนือ่งจากเรงรีบสาํรวจอันตรายจากสารเคมี พวกเขาไมไดสงัเกตสายไฟฟาท่ีตกลงมาบนรถตู มารูอีกที มือของพวกเขาก็แตะตัวถังรถไปแลว

5. แยกอนัตราย อพยพ และปฏเิสธจะเขาไป สิ่งเหลานี้ มีความสําคัญอยางยิ่งยวดเพราะไมวาผลลัพธออกมาอยางไร เหตุฉุกเฉินท่ีเกี่ยวของกับสารเคมี ในสถานการณเลวรายท่ีสดุ มักมีการบาดเจบ็หรือเสยีชวิีตเสมอ แมวาเร่ืองนี้เปนเร่ืองท่ีเกิดข้ึนประจํา แตในบางกรณีผูปฏิบัติงานฉุกเฉินก็เกรงจะถูกตําหนิวาทําเกนิเลยไป (โอเวอรแอ็คต้ิง) หรือสรางความไมสะดวกใหคนท่ัวไป จึงทําใหเกิดการลังเลท่ีจะ

Page 9: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

9SAFET Y LIFE

ปดการจราจรเพื่อกั้นเขตอันตราย หรือทําการอพยพ พดูงายๆ พวกเขาไมวองไวในการปกปองสาธารณชนดวยเหตุผล เกรงใจท่ีจะทําใหคนอ่ืนไมสะดวก ใหจําไววาความไมสะดวกเปนเร่ืองชั่วคราว แตความตายเปนความสูญเสียท่ีเรียกกลับคืนมาไมได ฉะนั้นตองตดสินใจท่ีจะทําอะไรก็ตามท่ีชวยผูคนใหรอดตายทันทีโดยไมตองคิดวาคนอ่ืนจะมองวาเราโอเวอรแอ็คต้ิงหรือทําใหเกิดความไมสะดวก

ท้ังนี้ อยาลืมพิจารณาถึงสภาพดินฟาอากาศดวย เชน ฝนจะชําระลางของแข็งหรือของเหลวท่ีหกลนไปยงัท่ีระบายน้าํและแหลงน้าํท่ีอยูใกลๆ ท้ังลําธารและทางน้าํไหลอ่ืนๆ สภาพดินฟาอากาศมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาดังนัน้ใหตรวจสอบสภาพอากาศและปฏิบติังานสอดคลองกบัสภาพอากาศท่ีเกิดข้ึนในเวลานั้น

6. หาขอมูลการตอบโตเหต ุ หนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินเบื้องตนไดรับการสัง่สอนใหใชคูมือตอบโตเหตุฉุกเฉิน (ERG; Emergency ResponseGuidebook) กระนัน้กย็งัมีความเขาใจผดิกนัข้ึนพรอมกบัการฝก สิง่แรกท่ีจะตองคํานงึถงึเม่ือใชคูมือฯ นั่นคือ ผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุตองจําคําเตือนในหนาคํานาํท่ีระบ ุ“มขีอจํากัดในการใชงาน เมือ่อยูในบรเิวณทีจั่ดเก็บประจําที”่

เม่ือใชเอกสารอางอิงความปลอดภัยสารเคมี (MSDS) หนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินจะไดรับการบอกเลาวาเอกสารตองขอจากสาํนกังานของผูจําหนาย แตความจริงเอกสาร MSDS ปกติจะอยูท่ีตัวของผูปฏิบัติงานท่ีใชสารเคมีไมใชคน

ขายหรือคนดูแลคลังเก็บสารเคมี แมวาคุณจะหาเอกสาร MSDS ไดจากรานคาหรือคลังเก็บสารเคมี แตกไ็มควรไปหวังอะไรมากนกั จาํไววาแมหลายคนจะเชื่ อม่ันอยางไร แตก็ไมมีขอกําหนดใดๆ ท่ีระบุวาตองแนบขอมูล MSDS ไวกับเอกสารกํากับการขนสง

ศูนยขอมูลฉุกเฉินการขนสงสารเคมีแหงสหรัฐอเมริกา (CHEMTREC; The ChemicalTransportation Emergency Center) เปนอีกสถาบนัหนึง่ท่ีใหบริการขอมูลสารเคมี แตขอมูลของ CHEMTREC มีเฉพาะของบริษัทผูผลิตและผูขนสงท่ีเปนสมาชิกเทานั้น จึงอาจเปนแหลงขอมูลท่ีมีความจํากัด เนื่องจากขอมูลสารเคมีของผูผลิตและผูขนสงท่ีไมไดข้ึนทะเบียนไวกับCHEMTREC จะไมปรากฏบนฐานขอมูลของสถาบันนี้

ไมตองสงสัย วิธีดีท่ีสุดในการหาขอมูลสารเคมีคือติดตอกบัผูผลิตโดยตรง บริษทัผูผลิตมีคนท่ีผลิต ใชงาน และจดัการสารเคมีเปนชีวิตประจําวัน ดังนั้นพวกเขาจึงรูวาอะไรทําใหมันระเบิด และทําใหคนเราปวยไดอยางไร ติดตอผูผลิตตามหมายเลขโทรศัพทซึ่งสามารถพบไดในปายติดท่ีบรรจหุรือในเอกสาร MSDS หากหาไมพบใหคนหาทางชองทางบริการท้ังสายดวนและทางอินเตอรเนต ในบางกรณีหมายเลขโทรศัพทของผูผลิตไมมีประโยชนใดๆ เพราะชวงเวลาเกดิเหตุ บริษทัผูผลิตปดทําการไปแลว เม่ือเปนเชนนี้ ใหขอหมายเลขโทรศัพทหนวยงานทองถิ่นท่ีบริษัทสารเคมีต้ังอยู จากนั้นขอให

เจาหนาศูนยวิทยแุจงหมายเลขโทรศัพทสาํหรับติดตอนอกเวลางานของบริษัทเคมีเหลานั้น

7. พจิารณาใชยุทธวธิเีชิงรบัหรอืเชิงรกุเม่ือเขาปฏิบติัระงบัเหตุสารเคมีทีท่ัวร่ัวไหลหรือมีแนวโนมจะร่ัวไหล คุณตองตัดสินใจวาจะเขาแทรกแซงในระดับใด การตัดสินใจปฏิบัติงานเชงิรับเปนการกระทําท่ีรวมถงึความพยายามจะหยดุการร่ัวไหลท่ีจะตองมีท้ังอุปกรณและทักษะจากการฝกอบรม แมวาจะดูเหมือนงายในการเขาไปปรับหรือปดวาลวท่ีบรรจสุารท่ีร่ัวไหล แตหากคนท่ีไปทําหนาท่ีนี้ไดรับบาดเจ็บแสดงวาอุปกรณโดยเฉพาะ PPE และระดับของการฝกอบรมของเขามีปญหาซึง่หนวยงานของรัฐจะเขาไปตรวจสอบ และอาจมีการลงโทษโดยการปรับฐานไมจัดการความปลอดภัยท่ีดีพอ

ไมวาจะตัดสินใจตอบโตเหตุเหตุฉุกเฉินอยางไร ผูปฏิบติังานมีเวลาแคชัว่วินาทีหรือนาทีในขณะท่ีผูวิเคราะหการตัดสินใจของเขามีเวลาหลายวัน หลายสัปดาห หรือหลายเดือนในการสอบสวนเหตุการณ หากคุณแยกพื้นท่ีเกิดเหตุออกไปไดอยางปลอดภัยและรอใหหนวยทีมีเคร่ืองมือเหมาะสมและไดรับการฝกเขามายงัท่ีเกิดเหตุ คุณก็ไมตองรีบรอนปฏิบัติงาน ยกตัวอยาง นกัดับเพลงเขาไประงบัเหตุสารคลอรีนร่ัวเล็กนอยท่ีถังบรรจุนอกอาคาร และหลังจากพูดคุยกับตัวแทนของโรงงานทําใหทราบวาสามารถหยดุการร่ัวไหลไดงายดวยการปดวาลวอยางไรกต็าม นกัดับเพลิงท่ีอยูในท่ีเกดิเหตุไดรับการฝกมาในระดับปฏิบัติการ และแมวาเปนเร่ืองงายท่ีพวกเขาจะเขาไปปดวาลว แตพวกเขาไมไดฝกการหยุดการร่ัวไหลมา อีกท้ังชุดดับเพลิงอาคารท่ีพวกเขาสวมใสอยูกไ็มไดออกแบบมาเพือ่ปองกนัสารเคมี ผูปฏิบติังานตอบโตเหตุเบื้องตนไมไดรับการฝกมาและไมมีอุปกรณท่ีเหมาะสม อีกท้ัง เปนความจริงท่ีวาสถานการณไมมีความเสี่ยงฉับพลันตอสาธารณชนเพราะไดกัน้แยกพืน้ท่ีอันตรายไวแลว จากเงือ่นไขและปจจัยตางๆ ดังกลาว พวกเขาจึงตัดสินใจรอหนวยวัตถอัุนตรายพรอมชางเทคนคิและเสือ้ผาปองกันสารเคมีเพื่อทําการปดวาลว แมวาจะมีคําถาม ทําไมนักดับเพลิงไมเขาไปในท่ีเกิดเหตุโดยเร็ว บางกรณี การหยุดการร่ัวไหลอาจไมไดชวยอะไรมาก และการท่ีนักดับเพลิงเขาไปอาจเปนผลเสยีมากกวา ผูคนมีแนวโนมไดรับบาดเจบ็อุปกรณไดรับความเสยีหาย รวมถงึอาจจะเปนคดีความและถกูปรับ อยาลืม มันจะเปนประเด็น

Page 10: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

10SAFET Y LIFE

จริยธรรม ถาผลของการตัดสินใจของคุณทําใหบางคนไดรับบาดเจบ็หรือเสยีชวิีต ท้ังๆ ท่ีมันจะปลอดภัยกวา ถาใชยุทธวิธีเชิงรับ จําไวเสมอวาการตัดสินใจปฏิบัติการใดๆ ตองชั่งน้ําหนักระหวางความเสี่ยงกับผลประโยชนท่ีจะไดรับ

8. คาดการณสิง่เลวรายทีส่ดุ ใหทําการประเมินปจจัยการเกิดเหตุอยางท่ัวถึงกอนจะลงมือปฏิบติังาน ประเด็นนีร้วมถงึความคิดท่ีวาสถานการณไมไดเปนอยางท่ีมองเห็นไดท้ังหมดหรือสิง่ปรากฏไมใชท้ังหมดของสถานการณ ยงัมีสิ่ งท่ี เรามองไมเห็นในขณะนั้นอีกมากมายโชครายท่ีการมองขามความเลวรายท่ีซอนตัวอยูทําใหเกิดหายนะ จึงจําเปนตองมีการวิเคราะหอยางสมบูรณในทุกการกระทํา ในสถานการณหนึ่ง รถตักพลิกควํ่าขณะถมคันดิน ระหวางนั้นสายไฮดรอลิกแตกออก หนวยดับเพลิงไดเขามาเกบ็ของเหลวท่ีร่ัวไหลออกมาและไดยนือยูใกลๆขณะท่ีหนวยบริการยกรถพยายามทําใหรถต้ังข้ึนสิ่งท่ีผูปฏิบัติงานระงบัเหตุไมไดทําคือปลดสายแบตเตอรี และเม่ือตัวรถกําลังขยับตําแหนงเคร่ืองยนต ก็สตารทข้ึนมา ทําใหท่ัวบริเวณนั้นเต็มไปดวยน้าํมันไฮดรอลิกท่ีฉีดเปนฝอยออกมาทางสายท่ีแตกออก เม่ือถามวามันเกิดข้ึนไดอยางไร ปรากฏวาไมมีใครเลยนึกถึงแบตเตอรี

อีกเหตุการณหนึ่ง มีการขนถายน้ํามันเชื้อเพลิงจากรถบรรทุกท่ีพลิกควํ่าท่ีคันดินขางถนน ผูปฏิบัติงานระงบัเหตุเบื้องตนไมไดทําใหถังบรรจุมีความม่ันคงในตําแหนงเดิม ขณะท่ีน้าํมันไหลลงพืน้ ถงับรรจกุเ็ร่ิมเสยีศูนย จากนัน้กเ็อียงแลวไหลไปกระแทกกบัรถฉุกเฉินคันหนึง่

อยาลืมวา การเปล่ียนแปลงสามารถเกดิข้ึนไดระหวางเกดิเหตุฉุกเฉิน การเปล่ียนแปลงเหลานี้เกี่ยวของกับสภาพดินฟาอากาศ รวมถึงเร่ืองแสงสวางท่ีไมพอเพยีงและการขาดบคุลากรหากคุณปฏิบติังานตอบโตเหตุชวงเวลา 9.00 น.ในตอนเชา ควรพยายามทํางานใหเสร็จกอนพระอาทิตยตกดิน แมบางคนบอกวาสามารถใชไฟสองสวางท่ีอยูในรถกไ็ด แตใครจะเสีย่งเอารถดับเพลิงราคาแพงมาจอดสองสวางในสถานการณท่ีรอบตัวมีแตสารเคมีท่ีสามารถทําใหโครเมียมหลุดรอนและทําใหสายไฮดรอลิกขาดได หรืออาจขอยืมระบบสองสวางมือถือจากหนวยงานใกลเคียงได แตก็ตองทํารีบทําเร่ืองเพื่อใหไดอุปกรณมากอนจะมืด

9. การแจงขาว อยาลืมวามีบุคคลและหนวยงานตางๆ มากมายใหความสนใจกรณี

สารเคมีเกิดการร่ัวไหลจากท่ีบรรจุ หนวยงานเหลานี้รวมถึงหนวยงานท่ัวไป เชน สํานักงานสาธารณสขุและสิง่แวดลอม หนวยงานบงัคับใชกฎหมาย เชน ตํารวจ หนวยงานความปลอดภัยจราจร และเจาหนาท่ีความปลอดภัย และผูมีหนาท่ีรับผิดชอบในการปองกันสาธารณูปโภคท่ีอยูใตดิน

แจงขาวใหหนวยงานทางหลวงท้ังระดับทองถิน่และรัฐบาลกลางทราบทันทีเม่ือใดกต็ามท่ีผวิถนนหรือไหลทางไดรับความเสยีหาย อุบติัเหต ุทางรถยนตท่ีเกดิข้ึนหลังจากผวิถนนไดรับความเสยีหายถอืเปนความประมาทเลินเลอของหนวยดับเพลิงท่ีไมยอมแจงใหหนวยงานทางหลวงมาซอมแซม

นอกจากนี้ ใหแจงขาวเจาของทรัพยสินผูเชา รวมถึงอสังหาริมทรัพยทางอุตสาหกรรมตามเสนทางน้ําท่ีอาจไดรับผลกระทบจากสารเคมีปนเปอนท่ีไหลไปตามลําน้ํา และแจงใหโรงพยาบาลทองถิน่ดวยเพราะหนวยปฏิบติังานตอบโตเหตุเบื้องตนอาจสัมผัสสารเคมีซึ่งทางโรงพยาบาลจะไดเตรียมหองฉุกเฉินไวรองรับผูบาดเจ็บ/เจ็บปวยจากสารเคมีอยางเพียงพอ

หนวยงานท่ีรับผิดชอบ (ResponsibleParty ตองแจงไปยงัศูนยตอบโตเหตุฉุกเฉินแหงชาติ (National Response Center) เม่ือปริมาณร่ัวไหลเกินปริมาณท่ีตองรายงาน (ReportableQuantity) อยางไรก็ตาม หนวยตอบโตเหตุเบือ้งตนไมสามารถแจงขาวในนามของหนวยงานท่ีรับผิดชอบได

ใหคนหาหมายเลขโทรศัพทและชองทางการติดตอกบัหนวยงานท่ีจะตองแจงขาวใหทราบกอนเขาไปยงัจุดเกดิเหตุ และใหทําบญัชีรายชือ่เตรียมไวเพื่อปองกันการละเลยหนวยงานท่ีจะตองแจงขาวใหทราบ เม่ือทําการแจงขาวแลว ให

บันทึกไวเปนหลักฐาน10. จัดตัง้ระบบบัญชาการสถานการณ

ที่มีประสิทธิภาพ การบัญชาการและควบคุมทรัพยากรระหวางเกิดเหตุเปนเร่ืองท่ีมีความจาํเปนเพือ่ใหการปฏิบติัหนาท่ีรับผดิชอบเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ หนวยปฏิบัติงานตอบโตไมไดใชระบบงานนี้ทํางานประจําท่ัวไปซึ่งอาจทําใหพวกเขาไมตระหนักในประเด็นนี้ อยางนอยท่ีสุด สวนของความรับผิดชอบตองรวมสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้เขาไปดวย

การควบคมุจุดเกดิเหต ุ (Scene Control)การควบคุมจุดเกิดเหตุไมไดจํากัดเฉพาะการควบคุมจราจร แตใหรวมถงึการควบคุมพืน้ท่ีซึ่งมีการอพยพและการดูแลความม่ันคงของท่ีกั้นในการแยกพื้นท่ี การใชสายเทปและแทงกรวยกั้นอาจไมเพียงพอ คุณควรจะใหใครบางคนท่ีสามารถสื่อสารกับบุคคลอ่ืนไดดีมายืนเฝาเพื่อกันไมใหบุคคลไมเกี่ยวของเขาไปในพื้นท่ีไมปลอดภัย มีหลายสถานการณท่ีบุคคลเขาไปในพื้นท่ีเพลิงไหมหรือมีแนวโนมเกิดเพลิงไหม(Hot Zone) โดยไมไดต้ังใจ เชน คนข่ีจักรยานออกมาจากปาตรงไปยัง Hot Zone ท่ีมีแกสร่ัวจากถังบรรจุ หรือมีคนจงูสุนัขเดินตามทางเดินและไมยอมหยดุ หรือเล่ียงไปทางอ่ืนเม่ือพบกบัสายเทปกัน้พืน้ท่ี (คนท่ีเจอสายเทปกัน้พืน้ท่ีจะใชวิธีงายๆ เชน ยกสายเทปข้ึนแลวเดินลอดเชือกและเดินตอไป) งานควบคุมพืน้ท่ีเปนงาน

Page 11: H A Z M A TSAFETY LIFE2 ค าจํากัดที่อนุญาตให สัมผัสได (ค า ความเข มข นสารเคมีเฉลี่ย

11SAFET Y LIFE

ไมจบสิ้น ผูท่ีทําหนาท่ีนี้ตองแนใจวาไดทําตามแผนงานท่ีวางไวและมีการเผาระวังอยางตอเนือ่ง

การควบคุมอันตราย (Hazard Control)สิง่นีร้วมถงึการปฏิบติังานในเชงิและเชงิรุก นอกเหนอืจากการสรางความม่ันใจเร่ืองความปลอดภัยของบคุคลแลว ผูมีหนาท่ีรับผดิชอบการควบคุมอันตรายตองทํางานใกลชดิกบัผูไดรับการแตงต้ังใหดูแลทรัพยากรตางๆ เพือ่ใหแนใจวามีอุปกรณท่ีจาํเปนเตรียมไวใชงาน จาํไววา อุปกรณสาํหรับใชในสถานการณเหลานี้อาจไมไดเตรียมพรอมไวใชงานเสมอไป บางคร้ัง ผูปฏิบัติงานตอบโตเหตุตองแกปญหาเฉพาะหนาเปนกรณีๆ ไปท้ังนี้ ตองแนใจวาบุคคลท่ีไดรับมอบหมายใหควบคุมอันตรายตองไดรับการฝกอบรมและมีอุปกรณเหมาะสม ในบางสถานการณ เชน การทาํงานรวมกับผูรบัเหมาทาํความสะอาดทีท่าํหนาที่ผูชวยผูปฏิบติังานตอบโตเหตุ เจาหนาท่ีควบคุมอันตรายไดขอสําเนาบันทึกการฝกอบรมของลูกจางผูรับเหมาซึ่งเปนเร่ืองปกติ ลูกจางของบริษทัผูรับเหมาตองทํางานเตียงขางผูปฏิบติังานระงบัเหตุจงึจาํเปนตองรูวาลูกจางของผูรับเหมาเหลานั้นทําอะไรมาบาง

การแพทย (Medical) เม่ือมีการสมัผสัสารเคมี บคุคลท่ีไดรับมอบหมายใหทํางานดานการแพทยจะตองเขาถงึขอมูลท่ีเกีย่วของกบัการดูแลผูปวย เจาหนาท่ีทางการแพทยตองสามารถพดูคุยกบับคุลากรของผูผลิตสารเคมี เจาหนาท่ีแพทยฉุกเฉินของโรงพยาบาลทองถิน่ และตัวแทนศูนยพิษวิทยาในพื้นท่ี แทนการพยายามแปลความหมายขอมูลจากเอกสารคูมือการตอบโตเหตุฉุกเฉิน (ERG) และขอมูลความปลอดภัยสารเคมี (MSDS) เจาหนาท่ีตอบโตเหตุเบือ้งตนบางรายอาจรูสกึไมสะดวกเม่ือตองทํางานกบัสารเคมีท่ีไมเคยเผชิญมากอน คุณจะตองทําใหเขาม่ันใจวาเขาสามารถจัดการผูปวยไดอยางดีเจาหนาท่ีทางการแพทยตองแนใจวาผูปวยไดรับการชําระการปนเป อนกอนได รับการรักษา

พยาบาลในระดับใดๆ ก็ตามมีความจําเปนบางอยางท่ี ทําใหผู ให

บริการแพทยฉุกเฉินมีอุปสรรคในการทํางานซึ่งเขาอาจจริงจังกับการรักษาผูปวยเดินไปจนละเลยความปลอดภัยของตัวเอง เขาตองไดรับการอบรม จัดระเบียบความคิดและการกระทํารวมท้ังสามารถทํารายงานการปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวของการการดูแลผูปวยอยางครอบคลุม

การปกปองสาธารณะ (Public Protection)ระหวางเกิดเหตุฉุกเฉินสารเคมี จะตองมีการพิจารณาการปฏิบติังานทุกระยะ บุคคลท่ีไดรับมอบหมายใหทําหนาท่ีแจงขาวใหสาธารณะรับรูและต้ังท่ีหลบภัย ตองทํางานรวดเร็ว ยิ่งไปกวานัน้ พวกเขาอาจเผชญิกบัคําถามจากสาธารณชนเกี่ยวกับการสัมผัสสารเคมีและผลกระทบตอสุขภาพ พวกเขาตองสามารถใหขอมูลท่ีถูกตองและสรางความม่ันใจใหกบัผูคน ซึง่งานนีถ้าเปนเจาหนาท่ีประชาสมัพนัธท่ัวไปจะไมสามารถทํางานไดอยางสมบูรณไดเพราะไมคุนเคยกับสารเคมีและอาจอธบิายไมไดวาสารเคมีมีผลกระทบตอสุขภาพไดอยางไรซึ่งไมเปนประโยชนใดๆ ในการเตือนภัยแกชุมชุน

ตวัอยาง ระหวางเกดิเหตุการณหนึง่ สนี้าํผสมกาวยางสาํหรับทาผนงัร่ัวไหลเขาไปในระบบประปาของชมุชน ศูนยปฏิบติังานฉุกเฉินทองถิน่พยายามทําทุกวิถทีางเพือ่แกปญหานี ้มีชวงหนึง่บุคคลผูมีหนาท่ีรับผิดชอบปกปองสาธารณชนไดรับโทรศัพทจากสตรีท่ีกําลังเครียดเนื่องจากต้ังครรภและไดด่ืมน้าํท่ีคาดวาจะมีการปนเปอนเขาไปแกวหนึง่ เธอถามอยางวิตก “ลูกของฉันจะตายไหม” ซึ่งคนท่ีตอบคําถามนี้ไดตองมีขอมูลขอเท็จจริงและสามารถสื่อสารกับคนท่ีกําลังมีความทุกขใหคลายกังวลไดดี

บทสรปุการตอบโตเหตุฉุกเฉินสารเคมี หรือ

Hazmat เปนภารกิจของหนวยงานท่ีมีหนาท่ีนี้โดยตรง สวนใหญจะเปนแผนกหนึ่งของหนวย

ดับเพลิง บางสวนเปนหนวยบริการภาครัฐสงักดักระทรวงท่ีเกีย่วของ ซึง่เม่ือไดรับแจงเหตุจะเขาไปยงัท่ีเกดิเหตุเพือ่ตอบโตเหตุ ไมวาจะเปนการกําจัดหรือหยุดการร่ัวไหล ดับไฟกรณีเกดิเพลิงไหม อพยพประชาชน เคล่ือนยายทรัพยสินปองกันระบบสาธารณูปโภคไมใหไดรับความเสยีหาย แตการทํางานเหลานีใ้หมีประสทิธภิาพหนวยตอบโตเหตุจะตองประเมินสถานการณและระบุชนิดและอันตรายของสารเคมีท่ีเกิดเหตุใหไดเสียกอนจึงจะสามารถกําหนดแนวทางการทํางานไดอยางถกูตองและเหมาะสม รวมท้ังตองพจิารณาปจจยัและเงือ่นไขของสถานการณอยางถี่ถวน และจะตองไมลืมประเด็นท่ีตองใหความสนใจเปนพิเศษ นั่นคือความปลอดภัยในการทํางานท้ังของตัวผูปฏิบติังานเองและประชาชนท่ีอยูโดยรอบ

ตราบใดท่ีเราไมรูวาสารเคมีท่ีเกิดเหตุเปนชนดิใด เรากย็งัไมรูวาเรากาํลังสูอยูกบัอะไรและมีอันตรายมากขนาดไหน เราจึงเปนฝายเสียเปรียบ พลาดพล้ังไปอาจถึงแกชีวิตได สิ่งสาํคัญประการแรกก็คือ ระบชุนดิของสารเคมีท่ีเกิดเหตุใหได แลวระงับเหตุตามท่ีไดฝกฝนมาผสมผสานความรูตามตํารากบัประสบการณรวมถงึขอปรึกษาจากผูเชีย่วชาญหรือหนวยงานบริการตางๆ กจ็ะทําใหสามารถยุติสถานการณไดอยางสมบูรณแบบภายในเวลาท่ีไมนานนัก

REFERENCE1. Hazmat: Initial Actions and Chemical

Assessment by Kristina Kreutzer; http://www.fireengineering.com/articles/print/volume-168/issue-3/features/hazmat-initial-actions-and-chemical-assessment.html

2. Hazmat Survival Tips: 10 InitialResponse Considerations for First Respondersby Steven De Lisi; http://www. fireengineering.com/articles/2009/11/ hazmat-survival-tips.html