home | กรมควบคุมโรค - ด้านนอกกับ...

2
มะเร็งปากมดลูก เป ็นมะเร็งที่พบมากเป็น อันดับสองในหญิงไทยรองจากมะเร็งเต้านม จากระบบ เฝ้าระวังโรคมะเร็งของประเทศไทย พบว่า ในช่วง 5 ปีท่ผ ่านมา ประเทศไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ประมาณ 6,500 รายต่อปี และมีผู ้ป่วยเสียชีวิต จากมะเร็งปากมดลูก ประมาณ 2,000 รายต่อปี โรคนี้ไม่ได ้เกิดจากกรรมพันธุ์ แต่เกิดจาก การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแปบปิโลมา (Human Papillomavirus) หรือเชื้อเอชพีวีชนิดก่อมะเร็งแบบฝังแน่น ซึ่งมีอย่างน้อย 15 สายพันธุ ์แล้วท�าให้เซลล์ปากมดลูกเกิดความผิดปกติ และเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งในที่สุด มะเร็งปากมดลูก น่ารูการติดเชื้อเอชพีวีส่วนใหญ่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู ้หญิงทุกคนมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ โดยอัตราการติดเชื้อ จะสูงสุดในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้น การติดเชื้อไวรัสนีจะใช้เวลา 10-15 ปี ในการพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูก โดยไม่แสดงอาการใด ๆ ในระยะเริ่มติดเชื้อ แต่จะเริ่ม มีอาการเมื่อกลายเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกแล้ว ถึงแม้ว่า ส่วนใหญ่ ของผู ้หญิงที่ติดเชื้อเอชพีวี ร่างกายจะสามารถ ก�าจัดเชื้อได้เอง แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าผู ้หญิงคนไหน จะสามารถก�าจัดเชื้อไดทั้งนี้ ผู ้หญิงวัยเจริญพันธุ์สามารถลดความเสี่ยง การเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วยการมีเพศสัมพันธ์ อย่างปลอดภัย และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเมื่อถึงอายุที่เหมาะสม ส�าหรับเด็กหญิงนั้น ผู้ปกครองสามารถป้องกัน มะเร็งปากมดลูกให้บุตรหลานของท่านได้ตั้งแต่ก่อนเข้าสู วัยรุ ่น โดยการอนุญาตให้บุตรหลานได้รับวัคซีนป้องกัน การติดเชื้อเอชพีวี ตามที ่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขแนะน�า ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้บริการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกัน การติดเชื้อเอชพีวีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ส�าหรับนักเรียนหญิง ชั้นประถมศึกษาปีท่ 5 วัคซีนดังกล่าวช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์หลักๆ ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก การฉีดวัคซีนในเด็กนักเรียนหญิงจ�านวน 2 เข็ม โดยเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน มีประสิทธิภาพ ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกสูงถึง ร้อยละ 70-90 วัคซีนจะช่วยกระตุ ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ ้มกันเพื่อป้องกัน เชื้อเข้าเซลล์บริเวณปากมดลูก และวัคซีนมีประโยชน์สูงสุด เมื่อให้ในช่วงก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เนื่องจากร่างกาย สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้สูงกว่าผู้ใหญ่มาก 8 4 4 กิ๊ก วัคซีนเอชพีวี ตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก มดล ช่องคลอด รอยต่อระหว่างปากมดล ด้านนอกกับด้านใน เซลล์ชนิดคอลัมนาร์ อย ่ลกลงไปในบริเวณคอมดล เซลล์ชนิดสแควมัส อย ่บริเวณปากมดล กด้านนอก ปากมดลูก ร็ ติ ล์ ผิ ติ ล์ ผิ ติ

Upload: others

Post on 21-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Home | กรมควบคุมโรค - ด้านนอกกับ ......กองโรคป องก นด วยว คซ น กรมควบค มโรค ความร

มะเรงปากมดลก เปนมะเรงทพบมากเป น

อนดบสองในหญงไทยรองจากมะเรงเตานม จากระบบ

เฝาระวงโรคมะเรงของประเทศไทย พบวา ในชวง 5 ปทผานมา

ประเทศไทยมผปวยมะเรงปากมดลกรายใหม ประมาณ

6,500 รายตอป และมผปวยเสยชวต จากมะเรงปากมดลก

ประมาณ 2,000 รายตอป

โรคนไม ไดเกดจากกรรมพนธ แตเกดจาก

การตดเชอไวรสฮวแมนแปบปโลมา (Human Papillomavirus)

หรอเชอเอชพวชนดกอมะเรงแบบฝงแนน ซงมอยางนอย

15 สายพนธแลวท�าใหเซลลปากมดลกเกดความผดปกต

และเปลยนแปลงเปนเซลลมะเรงในทสด

มะเรงปากมดลกนาร

การตดเชอเอชพวสวนใหญตดตอทางเพศสมพนธ

ผหญงทกคนมความเสยงทจะตดเชอ โดยอตราการตดเชอ

จะสงสดในวยรนและผใหญตอนตน การตดเชอไวรสน

จะใชเวลา 10-15 ป ในการพฒนาไปเปนมะเรงปากมดลก

โดยไมแสดงอาการใด ๆ ในระยะเรมตดเชอ แตจะเรม

มอาการเมอกลายเปนโรคมะเรงปากมดลกแลว ถงแมวา

สวนใหญ ของผหญงทตดเชอเอชพว รางกายจะสามารถ

ก�าจดเชอไดเอง แตกไมสามารถบอกไดวาผหญงคนไหน

จะสามารถก�าจดเชอได

ทงน ผหญงวยเจรญพนธสามารถลดความเสยง

การเกดมะเรงปากมดลกดวยการมเพศสมพนธ อยางปลอดภย

และตรวจคดกรองมะเรงปากมดลกเมอถงอายทเหมาะสม

ส�าหรบเดกหญงนน ผปกครองสามารถปองกน

มะเรงปากมดลกใหบตรหลานของทานไดตงแตกอนเขาส

วยรน โดยการอนญาตใหบตรหลานไดรบวคซนปองกน

การตดเชอเอชพว ตามทเจาหนาทสาธารณสขแนะน�า

ปจจบนกระทรวงสาธารณสขใหบรการฉดวคซนเพอปองกน

การตดเชอเอชพวโดยไมมคาใชจาย ส�าหรบนกเรยนหญง

ชนประถมศกษาปท 5

วคซนดงกลาวช วยปองกนการตดเชอเอชพว

สายพนธ หลกๆ ทเปนสาเหตของมะเรงปากมดลก

การฉดวคซนในเดกนกเรยนหญงจ�านวน 2 เขม

โดยเขมท 2 หางจากเขมแรก 6 เดอน มประสทธภาพ

ในการปองกนมะเรงปากมดลกสงถง รอยละ 70-90

วคซนจะชวยกระตนใหรางกายสรางภมคมกนเพอปองกน

เชอเขาเซลลบรเวณปากมดลก และวคซนมประโยชนสงสด

เมอใหในชวงกอนเขาสวยเจรญพนธเนองจากรางกาย

สามารถสรางภมคมกนไดสงกวาผใหญมาก

8 4

4

กก

วคซนเอชพว

ตรวจคดกรองมะเรงปากมดลก

มดลก

ชองคลอด

รอยตอระหวางปากมดลก

ดานนอกกบดานใน

เซลลชนดคอลมนารอยลกลงไปในบรเวณคอมดลก

เซลลชนดสแควมสอยบรเวณปากมดลกดานนอก

ปากมดลก มะเรง

ปกต

เซลลผดปกตเซลล

ผดปกตมาก

Page 2: Home | กรมควบคุมโรค - ด้านนอกกับ ......กองโรคป องก นด วยว คซ น กรมควบค มโรค ความร

กองโรคปองกนดวยวคซน

กรมควบคมโรค

ความรเรองวคซนเอชพว1. วคซนเอชพวมประโยชนอยางไร วคซนเอชพวมประสทธภาพดในการปองกนการตดเชอไวรสเอชพวสายพนธทอยในวคซน โดยเฉพาะสายพนธ 16 และ 18 ดงนน ผไดรบวคซนเอชพวอยางเหมาะสม จะลดความเสยงจากการตดเชอเอชพวสายพนธ 16 และ 18 รวมถงมะเรงปากมดลกทสมพนธกบไวรสเอชพวทงสองสายพนธดวย2. วคซนเอชพวตองฉดกครง เดกอาย 9-14 ป ควรไดรบวคซน 2 เขม โดย เขมทสองหางจากเขมแรก 6 เดอน แตส�าหรบผทมอายตงแต 15 ป ขนไป หรอผทมภมคมกนบกพรอง ควรไดรบ วคซน 3 เขม โดยเขมแรกหางจากเขมทสอง 1-2 เดอน และเขมสดทายหางจากเขมแรก 6 เดอน3. อาการขางเคยงทอาจเกดขนหลงรบวคซนเอชพว วคซนเอชพว ท�าใหเกดผลขางเคยงนอยและไมรนแรง อาจพบปฏกรยาเฉพาะท ไดแก อาการปวด บวม ผนแดงและคนบรเวณทฉด อาจพบอาการไข ซงมกหายไดเอง ผลขางเคยงรนแรงกวานพบไดนอยมาก การดแลรกษาอาการขางเคยง หากปวด บวม บรเวณทฉดใหประคบ ดวยผาเยน หากมไขใหรบประทานยาลดไขในขนาด ทเหมาะสม หากอาการขางเคยงเปนรนแรง หรอเปนมาก ควรรบปรกษาแพทยทนท และบอกอาการใหแพทยทราบโดยละเอยด

4. วคซนเอชพวมขอควรระวงอยางไร วคซนเอชพวเปนวคซนเชอตายทมความปลอดภย ผทตองการไดรบวคซนควรตรวจสอบวา ตนแพสวนประกอบในวคซน หรออยในขณะตงครรภหรอไม หลงฉดวคซน ผไดรบวคซนอาจมอาการปวดบวม แดงคนบรเวณทฉด หรออาจมไข อยางไรกด อาการดงกลาวอาจหายไดเอง5. ผไดรบวคซนเอชพวจะไมปวยเปนมะเรงปากมดลกในอนาคตแนนอนใชหรอไม ผไดรบวคซนเอชพวยงมความเสยงตอการปวยเปนมะเรงปากมดลกทเกดจากสาเหตอน ๆ ทไมใชเชอเอชพว หรอมะเรงปากมดลกทสมพนธกบเชอเอชพวสายพนธอน ๆ ทไมไดอยในวคซน ดงนน การมเพศสมพนธอยางปลอดภย และการตรวจคดกรองมะเรงปากมดลกเปนระยะยงคงมความจ�าเปนอย6. ผใหญสามารถรบวคซนเอชพวไดหรอไม วคซนเอชพวจะมประสทธภาพสงสดเมอไดรบวคซนครบถวนกอนมเพศสมพนธครงแรก ส�าหรบผใหญทสนใจไดรบวคซนเอชพวนน อาจขอค�าปรกษาจากแพทยวาควรไดรบวคซนเอชพวหรอไม

รไว หางไกล มะเรงปากมดลก

วคซนเอชพว