jutharat rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม...

269
(1) ธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี Good Governance and Social Capital of Local Authority in Solid Waste Management: A Case Study of Ta-kham Municipality, Amphoe Punpin, Changwat Surat Thani จุฑารัตน รัตนพิทักษชน Jutharat Rattanaphithakchon วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Environmental Management Prince of Songkla University 2552 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Upload: others

Post on 14-Mar-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(1)

ธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี Good Governance and Social Capital of Local Authority in Solid Waste

Management: A Case Study of Ta-kham Municipality, Amphoe Punpin, Changwat Surat Thani

จุฑารัตน รตันพิทักษชน Jutharat Rattanaphithakchon

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Environmental Management

Prince of Songkla University 2552

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(2)

ชื่อวิทยานิพนธ ธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน:กรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี

ผูเขียน นางสาวจุฑารัตน รัตนพิทักษชน สาขาวิชา การจัดการส่ิงแวดลอม ______________________________________________________________________________

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก คณะกรรมการสอบ .......................................................................... ..............................................ประธานกรรมการ (ดร.ชนิษฎา ชูสุข) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาแว มะแส) ............................................................กรรมการอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชัย กาญจนสุวรรณ) .......................................................................... ............................................................กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวนิจ กิตติธรกลุ) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ) ............................................................กรรมการ (ดร.ชนิษฎา ชูสุข) ............................................................กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวนิจ กิตติธรกลุ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอม ................................................................ (รองศาสตราจารย ดร.เกริกชัย ทองหน)ู คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

Page 3: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(3)  

ช่ือวิทยานิพนธ ธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวม ของชุมชน : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎรธานี

ผูเขียน นางสาวจุฑารัตน รัตนพิทักษชน สาขาวิชา การจัดการส่ิงแวดลอม ปการศึกษา 2551

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ปจจัยธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ตลอดจนศึกษาแนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน พื้นท่ีศึกษาคือ เทศบาลเมืองทาขาม และคัดเลือกชุมชน 3 แหงในพื้นท่ีเทศบาล ไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชน ทายควน และชุมชนเจริญลาภ วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใชไดแก การสังเกต และการสัมภาษณผูบริหาร เจาหนาท่ีเทศบาล ผูนําชุมชน และประชาชนในชุมชน จํานวนประมาณ 35 คน และเสริมดวยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการสัมภาษณดวยแบบสอบถามกลุมตัวอยาง จํานวน 105 คน จาก 3 ชุมชน ผลการศึกษา พบวา เทศบาลเมืองทาขามมีการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ต้ังแตป พ.ศ.2539-2549 กิจกรรมท่ีดําเนินการ ไดแก 1) ถนนปลอดถังขยะ 2) ขยะแลกไข 3) ธนาคารขยะชุมชน 4) น้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ และ 5) ทอดผาปาขยะรีไซเคิล แตมีเพียง 3 กิจกรรมที่สามารถดําเนินการไดอยางเน่ือง ไดแก 1) ถนนปลอดถังขยะ 2) น้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ 3) ธนาคารขยะชุมชน ผลลัพธคือสามารถลดปริมาณขยะลงไดจาก 22.5 ตันตอวัน ป พ.ศ.2547 เปน 18.74 ตันตอวันในป พ.ศ. 2550 ปจจัยธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ในการวิจัยนี้ศึกษาธรรมาภิบาล 4 ประเด็น ไดแก 1) การมีสวนรวม 2) ความรับผิดชอบ 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน และ 4) ความโปรงใส เทศบาลเมืองทาขามบริหารงานโดยเนนการมีสวนรวมของประชาชน ปฏิบัติงานในหนาท่ีอยางรับผิดชอบ เขาถึงปญหาและความตองการของประชาชน รวมถึงแสดงความโปรงใสผานทางส่ือ/ชองทางท่ีประชาชนสามารถเขาถึงไดงาย การบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามจึงเปนท่ียอมรับของประชาชนและ

Page 4: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(4)  

หนวยงานตางๆ ประเด็นธรรมาภิบาลที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรมคือ การมีสวนรวม เพราะประชาชนไดรวมวางแผน รวมปฎิบัติ และไดรับผลจากการทํากิจกรรม สวนทุนทางสังคมนั้น พบวา ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขาม และทุนทางสังคมของชุมชน สัมพันธกับการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวม อยางไรก็ตาม แมวาแตละชุมชนมีทุนทางสังคม แตผลการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมมีความแตกตางกัน เนื่องจากเง่ือนไขที่แตกตางกันของชุมชน ไดแก 1) ปญหาขยะในชุมชน 2) รูปแบบกิจกรรม 3) แกนนําในการทํากิจกรรม 4) สถานท่ีในการทํากิจกรรม และ 5) ความชวยเหลือจากหนวยงานภายนอก แนวทางในการสงเสริมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและท่ัวถึงทุกชุมชนนั้น ตองไดรับการสนับสนุนจากเทศบาลเมืองทาขาม เพื่อขับเคล่ือนใหเกิดความตอเนื่องของการดําเนินกิจกรรม โดยชุมชนท่ีสามารถดําเนินกิจกรรมไดอยางตอเนื่องควรดําเนินการเพื่อเปนตัวแบบและทําหนาท่ีเปนพี่เล้ียงใหชุมชนอ่ืนๆ

Page 5: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(5)  

Thesis Title Good Governance and Social Capital of Local Authority in Solid Waste Management: A Case Study of Ta-kham Municipality, Amphoe Punpin, Changwat Surat Thani

Author Miss Jutharat Rattanaphithakchon Major Program Environment Management Academic Year 2008

Abstract

The objectives of this research are to study the development of communities’ participatory solid waste management, and its related factors of good governance and social capital; as well as approaches to promoting participatory solid waste management in the communities. The study focuses on Ta-Kham Muang Municipality and its 3 communities: Faay Tha, Thaay Kuan, and Chareon Larp. The main qualitative research methods include observations and interviews of about 35 informants, namely the municipal executives and officials, both core-team and their community members. The supplementary quantitative research method is based on an interview with a questionnaire for 105 community members in the target communities. The participatory solid waste management activities of Ta-Kham Municipality during 1996 – 2006 are as follows: 1) roads without bins, 2) exchanges of eggs and garbage, 3) community garbage bank, 4) compost & liquid compost, and 5) merit making with recyclable. Only 3 activities were continuously undertaken: 1) roads without bins, 2) compost & liquid compost, and 3) community garbage bank. Consequently, the waste quantity reduced from 22.5 ton/day in 2004 to 18.74 ton/day in 2007. Factors of good governance and social capital are related to the participatory solid waste management in the communities. The study focuses on 4 issues of good governance: 1) participation, 2) responsibility, 3) responsiveness, and 4) transparency. The municipality emphasized on public participation, responsible conducts, approaches to people’s problems and needs, and expressing transparency via media/channels with easy accesses. The municipal

Page 6: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(6)  

administration was well accepted by the people and other organizations. Good governance is related to the community activities in terms of the participation, as the people took part in planning, implementing and gaining the outcomes. Regarding the social capital, ones of the Mayor, the municipality, and the communities are related to the activities. Nevertheless, although there is social capital in each community, different activity outcomes are evident due to the following conditions: 1) waste problems in the communities, 2) activity patterns, 3) core-team members of the activities, 4) operation venues, and 5) support from outside organizations. Regarding approaches to promoting the efficiency and expansion of the participatory solid waste management in the communities, it is to gain support from the municipality to mobilize for the continuity of activities. The communities which could sustain such activities are to be models and mentors for other communities.

Page 7: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(9)

สารบาญ

หนา บทคัดยอ (3) Abstract (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบาญ (9) รายการตาราง (10) รายการภาพประกอบ (11) รายการภาพประกอบภาคผนวก (12) บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ความสําคัญและท่ีมาของการวิจยั 1 1.2 คําถามการวิจยั 5 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย 5 1.4 ประโยชนท่ีไดรับ 5 1.5 กรอบแนวคิดการวิจยั 5 1.6 ขอบเขตการวิจยั 7 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ 8 2 เอกสารและงานวจิัยท่ีเกี่ยวของ 10 2.1 แนวคิดเกีย่วกับการจัดการขยะชุมชน 10 2.2 แนวคิดเกีย่วกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 19 2.3 แนวคิดเกีย่วธรรมาภิบาล 26 2.4 แนวคิดเกีย่วทุนทางสังคม 39 2.5 ขอมูลพื้นท่ีศึกษา 53 3 วิธีการวิจยั 74 3.1 พื้นท่ีศึกษา 74 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง 75

Page 8: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(10)

สารบาญ (ตอ)

หนา 3.3 วิธีการศึกษา 76 3.4 คุณภาพของเคร่ืองมือ 78 3.5 การวิเคราะหขอมูล 79 4 ผลการศึกษา 81 4.1 พัฒนาการของการจดัการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแตป พ.ศ.2539-2549

82

4.2 ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 110 4.2.1 ปจจัยธรรมาภบิาล 110 4.2.2 ปจจัยทุนทางสังคม 151 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 177 5.1 สรุปผล และอภิปรายผลการวิจยั 177 5.2 ขอเสนอแนะ 202 บรรณานุกรม 204 ภาคผนวก 216 ภาคผนวก ก คาความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม 217 ภาคผนวก ข รายละเอียดโครงการหรือกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

223

ภาคผนวก ค ขอมูลเชิงปริมาณของกลุมตัวอยางท่ีศึกษา 3 ชุมชน 232 ภาคผนวก ง แบบสัมภาษณ 239 ภาคผนวก จ แบบสอบถาม 248 ประวัติผูเขียน 260

Page 9: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(11)

รายการตาราง

ตาราง หนา 1 ชุมชนกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา 75 2 จํานวนประชากรตัวอยางท่ีใชในการเก็บขอมูล 76 3 โครงการหรือกิจกรรมการจดัการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ต้ังแตป

พ.ศ.2539-พ.ศ.2549 85

4 สรุปรูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ต้ังแตป พ.ศ.2539-พ.ศ.2549

91

5 ประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการจดัการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนกรณีศึกษา 3 ชุมชน

104

6 แกนนํากิจกรรมขยะชุมชน 108 7 กิจกรรมการจดัการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนกรณีศึกษา 3 ชุมชน 109 8 หลักการธรรมาภิบาลในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม 129 9 ความคิดเหน็ของประชาชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม 131 10 ส่ือ ชองทางการรับรูขาวสารของเทศบาลเมืองทาขาม 137 11 ปจจัยธรรมาภบิาลในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

กรณีศึกษา 3 ชุมชน 145

12 การมีสวนรวมของประชาชนในกจิกรรมการจัดการขยะ 147 13 สรุปทุนทางสังคมของชุมชนท่ีศึกษา 3 ชุมชน 188 14 สรุปประเด็นการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนกรณีศึกษา 3 ชุมชน 197 15 ขอมูลท่ัวไป 233 16 กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม 235

Page 10: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

(12)

รายการภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา 1 กรอบแนวคิดการศึกษา 6 2 ความสัมพันธระหวางธรรมาภิบาลกับสวนตางๆของสังคม 35 3 แผนท่ีเทศบาลเมืองทาขาม 54 4 โครงสรางการทํางานของเทศบาลเมืองทาขาม 58 5 แผนท่ีชุมชนฝายทา 66 6 แผนท่ีชุมชนทายควน 68 7 แผนท่ีชุมชนเจริญลาภ 69 8 องคประกอบขยะของเทศบาลเมืองทาขาม 82

Page 11: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

1

บทท่ี 1

บทนํา 1.1 ความสําคญัและท่ีมาของปญหา การจัดการส่ิงแวดลอมในชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการของเสีย เชน น้ําเสีย ขยะ ของเสียอันตราย ฯลฯ เปนเร่ืองท่ีตองดําเนินการทุกวัน เพราะเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมตางๆในการดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชน หากไมมีการบริหารจัดการท่ีดีจะกอใหเกิดปญหาท่ีทับทวีและสงผลรุนแรงข้ึนทุกวัน เนื่องจากปญหาดังกลาวสงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นท่ีและบริเวณใกลเคียงปญหาการจัดการของเสีย โดยเฉพาะอยางยิ่งขยะ จึงเปนปญหาท่ีหนวยงานท่ีรับผิดชอบตองเรงดํา เนินการท้ังดานการแกไขปญหาและปองกัน (สุรีย บุญญานุพงศ, 2548) ในปจจุบันขยะชุมชนกําลังมีปริมาณเพิ่มมากข้ึนทุกป อัตราการเกิดขยะมูลฝอยชุมชนมีปจจัยท่ีเกี่ยวของหลายประการ ไดแก สภาพเศรษฐกิจและสังคม จํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึน เปนตน ปจจัยดังกลาวสงผลใหปริมาณขยะชุมชนของประเทศไทยเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วและตอเนื่อง ปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในป พ.ศ. 2550 มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท่ัวประเทศประมาณ 14.72 ลานตันหรือ 40,332 ตันตอวัน โดยเกิดข้ึนในเขตเทศบาลและเมืองพัทยาประมาณวันละ 13,600 ตัน (รอยละ34) นอกเขตเทศบาลและในเขตองคการบริหารสวนตําบล ประมาณวันละ 18,200 ตัน (รอยละ 45) และกรุงเทพมหานคร ประมาณวันละ 8,532 ตัน (รอยละ 21) (กรมควบคุมมลพิษ, 2550) ขยะชุมชนเปนปญหาที่ทําใหหนวยงานที่ รับผิดชอบการจัดการขยะตองเสียคาใชจายท้ังการเก็บรวบรวม การขนสง และกําจัดขยะท่ีเกิดข้ึนเปนจํานวนมาก ปญหาการจัดการขยะเปนปญหาท่ีมีการกลาวถึงอยูเสมอ และหนวยงานท่ีรับผิดชอบตางก็พยายามหาทางออกในการกําจัดและแกไขปญหา ไมวาจะเปนการสรางจิตสํานึกใหกับประชาชน การลดจํานวนขยะ การท่ีปริมาณขยะมีแนวโนมสูงข้ึนนี้ยอมจะเปนการเพิ่มปญหาใหแกส่ิงแวดลอม และสุขภาพอนามัย รวมท้ังปญหาอื่นๆในสังคมดวย แมวาภาครัฐจะใหความสําคัญตอการแกไขปญหาขยะชุมชน แตปญหาการจัดการขยะชุมชนในอนาคตมีแนวโนมท่ีจะเพิ่มมากข้ึน เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เชน การขาดแคลนพ้ืนท่ีในการกําจัดขยะ การตอตานของประชาชนในการกอสรางสถานท่ีบําบัดและกําจัดขยะ เปนตน ชวงระยะเวลาท่ีผานมา การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย สวนใหญเปนการดําเนินการดานการกําจัด เชน การฝงกลบ การเผาโดยเตาเผาขยะ และการทําปุยหมัก

Page 12: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

2

ซ่ึงวิธีการเหลานี้จัดเปนการแกปญหาท่ีปลายเหตุ และไมนาจะเปนทางออกท่ีเหมาะสมในระยะยาว อีกท้ังวิธีการท่ีรัฐมีบทบาทหลักมีขอจํากัดมากมายดวยเหตุนี้ นโยบายและแผนสงเสริมและรักษาส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540-2559 ไดเนนการมีสวนรวมของประชาชนมากย่ิงข้ึน ดวยเล็งเห็นวาการจัดการขยะไมใชเปนเร่ืองของรัฐเพียงอยางเดียว การแกปญหาเร่ืองขยะมิไดเปนบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน แตประชาชนควรท่ีจะเขามามีสวนรวมอยางจริงจังดวยเชนกัน (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2548) องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนองคกรท่ีถูกกําหนดข้ึนบนพ้ืนฐานการกระจายอํานาจและอุดมการณประชาธิปไตย เพื่อเปดโอกาสและสนับสนุนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการทางการเมืองและกิจกรรมการปกครองตนเองในระดับหนึ่ง ซ่ึงจะเห็นไดจากลักษณะสําคัญของการปกครองทองถ่ินท่ีเนนการมีอํานาจอิสระในการปกครองตนเอง มีการเลือกต้ัง มีองคกรและสถาบันท่ีจําเปนในการปกครองตนเอง และท่ีสําคัญก็คือประชาชนในทองถ่ินมีสวนรวมในการปกครองตนเอง เพราะองคกรปกครองสวนทองถ่ินเปนหนวยงานของภาครัฐท่ีอยูใกลชิดกับประชาชนมากท่ีสุด และมีภารกิจหนาท่ีสําคัญๆท่ีเกี่ยวของโดยตรงตอส่ิงแวดลอมไดแก การจัดใหมีการสาธารณสุขพื้นฐาน การดูแลรักษาความสะอาดของทางนํ้า ทางบก การกําจัดส่ิงปฏิกูล หรือการจัดเก็บขยะ เปนตน จะเห็นไดวาในการจัดการขยะชุมชนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินนั้นทุกทองถ่ินลวนตองประสบปญหาปริมาณขยะชุมชนท่ีมีปริมาณมากกับพื้นท่ีฝงกลบมีอยูอยางจํากัด วิธีการหนึ่งท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินนํามาใชแกปญหาขยะชุมชน คือการชักจูงประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการจัดการปญหาขยะท่ีเกิดข้ึน โดยการลดขยะจากแหลงกําเนิดท่ีเกิดจากครัวเรือนของประชาชน ซ่ึงเปนวิธีการท่ีตองอาศัยความรวมมือจากประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการจัดการอยางจริงจัง (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2548) ในการศึกษาเร่ืองการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนน้ัน ความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถ่ินเพียงอยางเดียวไมนาจะเพียงพอท่ีจะจัดการกับปญหาขยะชุมชนท่ีเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง ตองมีปจจัยท่ีเขามาเปนตัวชวยสนับสนุนใหการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนสามารถดําเนินการได ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยสนใจปจจัยธรรมาภิบาล (Good governance) และปจจัยทุนทางสังคม (Social capital) ท่ีสงผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เนื่องจากต้ังแตมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซ่ึงถือเปนรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน เปนรัฐธรรมนูญท่ีวางรากฐานในแนวคิดเร่ือง “ธรรมาภิบาล” ซ่ึงสามารถพัฒนาขยายตอไปได ท้ังในดานเปาหมายการบริหารจัดการสังคม โครงสราง และสาระของการบริหารจัดการ เม่ือรัฐธรรมนูญเปนรากฐานสําคัญของแนวคิดธรรมาภิบาลสากล และรัฐธรรมนูญก็เปนท่ีตองการและยอมรับของประชาชน จึงเทากับประชาชนเห็นชอบ ยอมรับแนวคิดธรรมาภิบาล และประสงค

Page 13: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

3

จะใหเกิดข้ึนในสังคมไทยโดยเร็ว ดังนั้นการสรางบานเมืองท่ีดีใหมีลักษณะธรรมาภิบาลจึงมีความสําคัญยิ่งสําหรับประเทศไทย (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, 2542) แมวาหลักธรรมาภิบาลเพิ่งเขามามีบทบาทในประเทศไทยในปพ.ศ.2540 จึงเปนเร่ืองท่ีคอนขางใหมสําหรับสังคมไทย แตจากการศึกษาของโครงการธรรมาภิบาลในการจัดการส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (2548) และ การศึกษาตัวช้ีวัดดานการบริหารจัดการท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาล ของสถาบันส่ิงแวดลอมไทย (2548) พบวาการนําเอาหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในงานดานส่ิงแวดลอม ไดรับการยอมรับและประสบความสําเร็จจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีเขารวมโครงการเพ่ิมจํานวนข้ึนทุกป อีกท้ังยังเปนท่ียอมรับของประชาชน เนื่องจากไดเขามามีสวนหนึ่งในการทําโครงการ/กิจกรรมดานส่ิงแวดลอมดวยตนเองทุกข้ันตอน แสดงใหเห็นวาหลักธรรมาภิบาล เปนปจจัยหนึ่งท่ีสามารถชวยในการจัดการส่ิงแวดลอมได

ในขณะท่ีทุนทางสังคม (Social capital) เปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตของประชาชน ท้ังในระดับตัวบุคคล (Individual) และในระดับสาธารณะ (Public) เปนส่ิงท่ีเกิดจากการสะสมและถายทอดประสบการณ และภูมิปญญาของชุมชน/สังคม รวมท้ังลักษณะของภูมิประเทศและทรัพยากรในทองถ่ิน จนทําใหมีพฤติกรรม จารีต และวัฒนธรรม ซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของชุมชน โดยผานการกล่ันกรองจากอดีตสูปจจุบัน ทุนทางสังคมน้ีมีความจําเปนและมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาสังคมในหลายๆดาน ซ่ึงรวมถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอีกดวย โดยมีการศึกษาและยอมรับวาทุนทางสังคมเปนปจจัยท่ีมีผลตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (วรวุฒิ โรมรัตนพันธ, 2548) แมวาประเด็นทุนทางสังคมเปนเร่ืองท่ีคอนขางใหมสําหรับสังคมไทย ท้ังมีการนําทุนทางสังคมมาใชในงานวิจัยดานส่ิงแวดลอมนอยมาก แตดวยทุนทางสังคมเปนของท่ีมีอยูในตัวของบุคคลทุกคนอยูแลว ซ่ึงสามารถพบเห็นไดท่ัวไป เชน การแสดงออกถึงความมีไมตรีจิตท่ีดีตอเพื่อนบาน การใหส่ิงของ หรือการเขารวมและชวยเหลืองานกิจกรรมสังคมตางๆ เปนตน ดังนั้นทุนทางสังคมจึงเปรียบเสมือนกาวท่ีเช่ือมความผูกพันระหวางประชาชนในชุมชนใหเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ เทศบาลเมืองทาขาม เปนเทศบาลขนาดกลาง ต้ังอยูท่ีเลขท่ี 168 ถนนธราธิบดี อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ประชากรตามสถิติทะเบียนราษฎรของเทศบาลเมืองทาขาม ณ เดือนมีนาคม พ.ศ.2551 มีจํานวนท้ังส้ิน 20,201 คน แยกเปนชาย 9,844 คน หญิง 13,357 คน จํานวนบาน 7,857 หลังคาเรือน จํานวนชุมชน 22 ชุมชน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) มีอัตราการผลิตขยะจํานวน 22.5 ตันตอวัน วิธีการกําจัดขยะท่ีผานมาทําโดยการใชวิธีการฝงกลบ มีพื้นท่ีในการฝงกลบขยะจํานวน 5 ไร ปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึน รอยละ 50 จากปริมาณขยะท้ังหมดเปนขยะอินทรียท่ีเกิดจากครัวเรือนของประชาชน ซ่ึงยังไมไดผานการคัดแยก ถายังคงมีการผลิตขยะใน

Page 14: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

4

ปริมาณเทาเดิม พื้นท่ีฝงกลบจะสามารถใชงานตอไปไดอีกเพียง 5 ป (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) และเทศบาลเมืองทาขามยังไมสามารถหาพ้ืนท่ีฝงกลบขยะพื้นท่ีใหมได ดังนั้นเทศบาลจึงมีแนวคิดท่ีจะลดปริมาณขยะท่ีจะเขาสูพื้นท่ีฝงกลบ โดยมีการสงเสริมใหมีกิจกรรมตางๆท่ีเกี่ยวของกับการลดปริมาณขยะ และนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกมาทําใหเกิดประโยชน เชน กิจกรรมขยะแลกไข ธนาคารขยะ และกิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ เปนตน จากการดําเนินงานพบวา ปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจากเดิมในป พ.ศ.2546 มีปริมาณขยะ 22.5 ตันตอวัน ลดลงในป พ.ศ.2547 เหลือ 19 ตันตอวัน และในป พ.ศ.2550 ปริมาณขยะลดลงเหลือ 18.74 ตันตอวัน ซ่ึงปริมาณขยะชุมชนท่ีลดลงไดนั้น เปนผลมาจากการบริหารงานท่ีมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบตอหนาท่ี และเขาถึงความตองการของประชาชนอยางแทจริง (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) การศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดคัดเลือกชุมชนเพื่อใชในการศึกษา 3 ชุมชน โดยใชเกณฑการเขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีทางเทศบาลเมือง ทาขามไดจัดข้ึนมา และกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการเองภายในชุมชน และเทศบาลเขาไปใหไปความชวยเหลือ ซ่ึงท้ัง 3 ชุมชนมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะภายในชุมชนท่ีแตกตางกัน 3 ระดับ ไดแก 1) ชุมชนฝายทา (ชุมชนเกษตร) มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะภายในชุมชน 1 กิจกรรมไดแก กิจกรรมขยะแลกไข 2) ชุมชนทายควน (ชุมชนแออัด) มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะชุมชน 2 กิจกรรมไดแก กิจกรรมขยะแลกไข และกิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ และ 3) ชุมชนเจริญลาภ (ชุมชนเมือง) มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะชุมชน 3 กิจกรรมไดแก กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ และกิจกรรมธนาคารขยะชุมชน ท้ังยังเปนชุมชนตนแบบการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม ท้ังนี้ 3 ชุมชนท่ีไดคัดเลือกมาเปนตัวแทนชุมชนท่ีเกิดข้ึนภายในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงมีชุมชน 3 ลักษณะไดแก ชุมชนเกษตร ชุมชนแออัด และชุมชนเมือง (พ.จ.ต. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2551) ดังนั้น การศึกษาปจจัยธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยจึงสนใจรูปแบบของโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการในเทศบาลเมืองทาขาม และวิธีการท่ีสามารถทําใหประชาชนในพ้ืนท่ียอมรับและเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม

Page 15: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

5

1.2 คําถามการวิจัย 1) พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแต พ.ศ.2539-2549 เปนอยางไร? 2) ปจจัยธรรมมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเปนอยางไร? 3) แนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเปนอยางไร? 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย 1) ศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแต พ.ศ.2539-2549 2) ศึกษาปจจัยธรรมมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 3) ศึกษาแนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.4 ประโยชนท่ีไดรับ 1) ทราบถึงพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแต พ.ศ.2539-2549 2) ทราบถึงปจจัยธรรมมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 3) ทราบถึงแนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.5 กรอบแนวคิดการวิจัย การศึกษาวิจัยในคร้ังนี้เปนการศึกษาธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เทศบาลเมืองทาขาม ศึกษาการจัดการขยะท่ีสนับสนุนใหชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดการ โดยโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะท่ีเกิดข้ึนคํานึงถึงบริบทของชุมชนเปนหลัก เพราะผลที่เกิดข้ึนจากการดําเนินการนั้นสงผลตอประชาชนโดยตรง และการเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะจะมากนอยเพียงใด ยอมข้ึนอยูกับปจจัยท่ีเกี่ยวของ รวมท้ังเง่ือนไขของแตละชุมชน และองคกรท่ีเกี่ยวของโดยตรง คือ เทศบาลเมืองทาขาม ดังแสดง (ภาพประกอบ 1)

Page 16: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

6

ภาพประกอบ 1 : กรอบแนวคิดการศึกษาธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฏรธานี ท่ีมา : ผูวิจัย

ธรรมาภิบาล - การมีสวนรวม - ความรับผิดชอบ - การสนองตอบตอความตองการของประชาชน - ความโปรงใส

ทุนทางสังคม - ความไวเน้ือเช่ือใจ - กลุม องคกร และเครือขาย - กิจกรรมการมีสวนรวม - ทัศนคติและบทบาทของผูนํา

นายกเทศมนตรี - กลุม/ ฐานเสียงทางการเมือง - การเมืองทองถ่ิน - ความสัมพันธตอเจาหนาที่เทศบาลและประชาชน - ความสัมพันธตอหนวยงาน ภายนอก

เทศบาล

เง่ือนไขของชุมชน - ลักษณะทางกายภาพ - อาชีพ/วิถีของชุมชน - การเขามาสนับสนุนจากองคกรภายนอก - ผูนําชุมชน (ผูนําที่เปนทางการ และไมเปนทางการ) - ความสัมพันธของประชาชนในชุมชน และตอเทศบาล

ชุมชน

เจาหนาท่ีเทศบาล - วัฒนธรรมภายในองคกร - ความสัมพันธตอผูบริหารเทศบาล - ความสัมพันธตอประชาชน

การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

Page 17: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

7

1.6 ขอบเขตของงานวิจัย การวิจัยนี้มุงศึกษา พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ปจจัยธรรมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน รวมท้ังปญหา และอุปสรรคในการดําเนินกิจกรรม โดยใชวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ และการศึกษาเชิงปริมาณ โดยมีขอบเขตการศึกษาดังนี้ 1) ขอบเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พื้นท่ีในการศึกษาคือ เทศบาลเมืองทาขาม กลุมตัวอยางท่ีทําการศึกษา ประกอบดวย ผูบริหารเทศบาล และเจาหนาท่ีเทศบาลจํานวน 15 คน และศึกษาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามจํานวน 3 ชุมชนไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ กลุมตัวอยางท่ีทําการศึกษา ประกอบดวยคณะกรรมการชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) คณะกรรมการกลุมตางๆในชุมชน และประชาชนในชุมชนท้ัง 3 ชุมชนจํานวน 20คน รวม 35 คน และกลุมตัวอยางท่ีใชในการเก็บขอมูลเชิงปริมาณจากชุมชน ท้ัง 3 ชุมชน รวม 105 ครัวเรือน 2) ขอบเขตดานเน้ือหา ผูวิจัยศึกษาปจจัยธรรมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ซ่ึงไดแบงรายละเอียดของการศึกษาออกเปนประเด็นตางๆดังตอไปนี้ 2.1) ศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามต้ังแต พ.ศ.2539-2549 2.2) ศึกษาปจจัยธรรมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยมีประเด็นท่ีใชในการศึกษาดังนี้ 2.2.1) ปจจัยธรรมาภิบาล ศึกษาประเด็นดังนี้ 1) การมีสวนรวม 2) ความรับผิดชอบ 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน และ 4) ความโปรงใส 2.2.2) ปจจัยทุนทางสังคม ศึกษาประเด็น 1) ความไวเนื้อเช่ือใจ 2) กลุมองคกรและเครือขาย 3) กิจกรรมการมีสวนรวม และ 4) ทัศนคติและบทบาทของผูนํา การวิจัยคร้ังนี้ศึกษาทุนทางสังคม ไดแก 1) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม และ 2) ทุนทางสังคมของชุมชน ไดแก ทุนทางสังคมของชุมชนฝายทา ทุนทางสังคมของชุมชนทายควน และทุนทางสังคมของชุมชนเจริญลาภ 2.3) ศึกษาแนวทางในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จากความเปนไปไดในการดําเนินการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตอไปในอนาคต

Page 18: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

8

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง การจัดการขยะโดยเนนท่ีการลดปริมาณขยะจากแหลงกําเนิด ดวยวิธีการ 5R ไดแก Reduce, Reuse, Repair, Reject และRecycle ซ่ึงเปนวิธีการที่ทําใหปริมาณขยะลดลง ในงานวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยศึกษาเฉพาะการจัดการขยะโดยเนนท่ีการคัดแยก ลดปริมาณขยะจากแหลงกําเนิดท่ีครัวเรือนของประชาชน และมีการนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกมาทําใหเกิดประโยชน โดยอยูในรูปแบบของการทํากิจกรรมการจัดการขยะชุมชน เชน กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ กิจกรรมขยะแลกไข เปนตน ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารจัดการ การปกครองท่ีดี ประกอบดวย การมีสวนรวม การปฏิบัติตามกฎ ความโปรงใส ความรับผิดชอบ ความเสมอภาค การมีประสิทธิภาพประสิทธิผล การสนองตอความตองการของประชาชน และการมีเหตุผล ในงานวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยศึกษาเฉพาะการบริหารจัดการกิจการบานเมืองท่ีดี ผูบริหารมีความเปนธรรมและมีความเสมอภาคในการปฏิบัติงานท้ังตอเจาหนาท่ี และประชาชน ซ่ึงมีหลักการที่เปนองคประกอบสําคัญ ไดแก การมีสวนรวม ความรับผิดชอบ การสนองความตองการของประชาชน และความโปรงใส ซ่ึงผูวิจัยไดใชหลักการเหลานี้เปนกรอบในการศึกษา ในงานวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยศึกษาปจจัยธรรมาภิบาล โดยมีรายละเอียดแตละประเด็นยอย ไดแก การมีสวนรวม หมายถึงการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการปฏิบัติ 4 ข้ันตอนดังนี้ การมีสวนรวมในการระบุปญหา การมีสวนรวมในการตัดสินใจ การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน และการมีสวนรวมในการประเมินผล ในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมการจัดการขยะ การทําแผนพัฒนาเทศบาล เปนตน เพื่อใหเกิดความคิดริเร่ิมและพลังในการทํางานท่ีสอดคลองกัน ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติหนาท่ีของผูบริหาร และเจาหนาท่ีเปนไปตามภาระหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย ผลของการปฏิบัติหนาท่ีตองไมมีขอรองเรียนจากประชาชน และหากมีขอรองเรียนจะตองสามารถแสดงขอมูล และเหตุผลท่ีใชในการตัดสินใจใหกับประชาชนได การสนองตอบตอความตองการของประชาชน หมายถึง การดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน มีการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนตอประชาชนในพื้นท่ีไดอยางรวดเร็ว มีการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนตอการทํางาน การบริการของเทศบาลตอประชาชนอยางสมํ่าเสมอ และนําผลการประเมินมาเปนแนวทางหนึ่งในการแกไข ปรับปรุงตอไป ความโปรงใส หมายถึง การทํางานท่ีมีการเปดเผยขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน และมีผลกระทบตอประชาชนอยางตรงไปตรงมา สรางความไววางใจซ่ึงกันและกัน มีส่ือและ

Page 19: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

9

ชองทางการเขาถึงขอมูลขาวสารที่งาย สะดวก และมีกระบวนการใหประชาชนสามารถตรวจสอบความถูกตองชัดเจน ทุนทางสังคม หมายถึง พลังท่ีมีอยูในชุมชนและสังคม เกิดจากการรวมตัวของกลุมคนเพื่อท่ีจะอยูรวมกัน ประกอบดวย ความไววางใจ บรรทัดฐาน และเครือขายท่ีจะชวยใหการรวมมือรวมใจในผลประโยชนกอใหเกิดรวมกัน โดยทุนทางสังคมจะประสบความสําเร็จไดก็ตอเม่ือมีการเช่ือมตอกัน และไววางใจซ่ึงกันและกัน ในงานวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยศึกษาเฉพาะระบบความสัมพันธของคนท่ีมีความสัมพันธระหวางคนในชุมชน และเทศบาล มีประเด็นท่ีทําการศึกษา คือ 1) ความไวเนื้อเช่ือใจ 2) กลุมองคกรและเครือขาย 3) กิจกรรมการมีสวนรวม และ 4) ทัศนคติและบทบาทของผูนํา

Page 20: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

10

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การศึกษาเร่ืองธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร งานวิจัย แนวคิดท่ีเกี่ยวของ เพื่อนํามาใชเปนกรอบในการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 แนวคิดเกีย่วกับการจัดการขยะชุมชน 2.2 แนวคิดเกีย่วกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 2.3 แนวคิดเกีย่วกับธรรมาภิบาล 2.4 แนวคิดเกีย่วกับทุนทางสังคม 2.5 ขอมูลพื้นท่ีศึกษา 2.1 แนวคิดเก่ียวกับการจัดการขยะชุมชน ขยะชุมชน เปนปญหาท่ีทําใหหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะตองเสียคาใชจายท้ังการเก็บรวบรวม การขนสง และกําจัดขยะท่ีเกิดข้ึนเปนจํานวนมาก โดยผูท้ิงขยะมีหนาท่ีเพียงจายคาธรรมเนียมในการเก็บขนขยะซ่ึงเปนอัตราท่ีคอนขางตํ่า ดวยความเขาใจวาการจัดการขยะเปนบริการสาธารณะประเภทหน่ึงท่ีรัฐพึงใหบริการแกประชาชน ซ่ึงความเปนจริงแลวเร่ืองการจัดการขยะเปนหนาท่ีของทุกคนจะตองรวมกันรับผิดชอบ เนื่องจากทุกคนเปนผูกอใหเกิดขยะ ปริมาณขยะจากชุมชนตางๆ ท่ัวประเทศจึงมีมากข้ึนอยางตอเนื่องจนเกินขีดความสามารถของราชการสวนทองถ่ินท่ีจะดําเนินการใหมีประสิทธิภาพ สงผลใหมลพิษจากขยะเปนปญหาส่ิงแวดลอมที่ทวีความรุนแรงข้ึนเปนลําดับ นโยบายการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย รัฐมีการวางแผนการแกไขปญหาขยะในระยะยาว โดยเสนอเปนนโยบาย และมาตรการในการจัดการขยะมูลฝอยในดานตางๆ เชน การสนับสนุนดานงบประมาณ บุคลากร วิชาการแกทองถ่ิน เพื่อใหมีการจัดการขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูลต้ังแตการเก็บกัก การเก็บขน การขนสง การกําจัดท่ีถูกตองตามหลักสุขาภิบาล สงเสริม และสนับสนุนใหภาคธุรกิจเอกชน องคกรเอกชน และประชาชนท่ัวไปมีสวนรวมในการแกไขปญหาขยะ และส่ิงปฏิกูลมากข้ึน เชน รวมลงทุน การใหสัมปทานกอสรางและบริหารดําเนินการจัดทําระบบจัดการขยะ และส่ิงปฏิกูลรวมถึงการนําขยะกลับมาใชประโยชน (กรมควบคุมมลพิษ ,2547)

Page 21: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

11

ในท่ีนี้ขอใหคําจํากัดความของคําวา “ขยะ” ดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2530) ไดใหความหมายของคําวามูลฝอย คือ เศษของท่ีท้ิงแลว สวนขยะน้ันไดใหความหมายไวเชนกันกับมูลฝอย กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ ท้ังสองคํานี้มีความหมายเหมือนกันจะใชคําใดนั้นแลวแตผูใช เชนนักวิชาการส่ิงแวดลอมใชคําวา มูลฝอย ในขณะท่ีชาวบานใชคําวา ขยะ สําหรับภาษาทางกฎหมายใชคําวา ขยะมูลฝอย ซ่ึงเปนคําท่ีทุกคนเขาใจดี สํานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2532 ไดใหความหมายเก่ียวกับมูลฝอยไววา หมายถึง ส่ิงตางๆซ่ึงคนไมตองการ และท้ิงไป ท้ังนี้รวมถึงเศษผา เศษอาหาร มูลสัตว ซากสัตว เถา ฝุนละออง และเศษวัสดุส่ิงของท่ีเก็บกวาดจากเคหะสถาน อาคาร ถนน ตลาด ท่ีเล้ียงสัตว โรงงานอุตสาหกรรม และท่ีอ่ืนๆ พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ใหคําจํากัดความของคําวา “ของเสีย” วาหมายถึง ขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล น้ําเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุอ่ืนใด ซ่ึงถูกปลอยท้ิงหรือมีท่ีมาจากแหลงกําเนิดมลพิษ รวมท้ังกากตะกอนหรือส่ิงตกคางจากส่ิงเหลานั้น ท่ีอยูในสภาพของแข็ง ของเหลว หรือ กาซ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ใหคําจํากัดความของมูลฝอยวา หมายถึง เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใสอาหาร เถา มูลสัตวหรือซากสัตว รวมตลอดถึงส่ิงอ่ืนใดซ่ึงเก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเล้ียงสัตวหรือท่ีอ่ืน ดังนั้นในการวิจัยคร้ังนี้ ขยะ หมายถึง เศษส่ิงของท่ีเหลือจากการใชสอยในครัวเรือนท่ีตองกําจัด และสามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมได สามารถแบงขยะออกเปน 2 ประเภท ไดแก เศษอาหารในครัวเรือน เศษผัก เศษไม กิ่งไม และขยะท่ีสามารถคัดแยกนํากลับมาใชประโยชนใหม ไดแก เศษกระดาษ ถุงพลาสติก พลาสติก ขวดแกว อลูมิเนียม เหล็ก ยาง 2.1.1 ประเภทและแหลงกําเนิดขยะ (1) ชนิดหรือประเภทของขยะ การแบงชนิดหรือประเภทของมูลฝอยสามารถทําไดหลายแบบ และการใหคํานิยามมักจะแตกตางกันไปสําหรับผูใชแตละคน มูลฝอยสามารถแบงได 10 ประเภท ดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ, 2534 อางใน ชรัตน รุงเรืองศิลป, 2537) 1) มูลฝอยสด (garbage) เปนมูลฝอยประเภทเศษอาหารท่ีเหลือจากการรับประทาน เศษพืชผัก และเปลือกผลไม จากการเตรียมหรือปรุงอาหาร ตลอดจนเศษใบตองท่ีหอหุมอาหาร เปนตน มูลฝอยประเภทนี้จะประกอบดวยอินทรียสาร จึงเกิดการยอยสลายไดงาย มี

Page 22: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

12

น้ําหนักและความช้ืนคอนขางสูง เนื่องจากมูลฝอยสดกอใหเกิดปญหาเกี่ยวกับกล่ิน การคุยเข่ียขยะของแมลงวัน แมงสาบและหนู จึงควรจะกําจัดใหหมดไปในแตละวัน 2) มูลฝอยแหง (refuse) เปนมูลฝอยท่ีมีความชื้น และน้ําหนักคอนขางตํ่า สวนใหญจะประกอบดวยสารที่สลายตัวยากหรือไมสลายตัวปะปนมา เชน เศษกระดาษ เศษแกว ไม โลหะ กระปอง ขวด เปนตน 3) เถา (ashes) เศษมูลฝอยท่ีเหลือจากการเผาไหมเช้ือเพลิง อาจอยูในรูปของข้ีเถา เขมา ซ่ึงจะทําใหเกิดมลภาวะทางอากาศได 4) มูลฝอยอันตราย (hazardous waste) หมายถึง มูลฝอยท่ีอันตรายอันเกิดจากการปนเปอนดวยเชื้อโรค สารเคมี สารกํามันตภาพรังสี จึงควรมีการเก็บกัก เก็บขน และการกําจัดท่ีสามารถปองกันการแพรกระจายของสารอันตรายน้ันได เชน มูลฝอยติดเช้ือจากสถานพยาบาล กระปองยาฆาแมลง สารเคมี เปนตน 5) มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (industrial waste) เปนมูลฝอยท่ีเหลือจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม เชน โรงงานผลิตอาหารกระปองจะมีมูลฝอยประเภทเปลือกผลไม เศษพืชผัก เศษเหล็ก เปนตน 6) มูลฝอยจากถนน (street sweeping) หมายถึง เศษวัสดุ ส่ิงของตางๆ ท่ีเก็บกวาดจากถนนท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปจะเปนพวกถุงพลาสติก เศษกระดาษ ผงละออง เศษดิน เปนตน มูลฝอยประเภทนี้ถาท้ิงไวนานๆ โดยไมมีการกวาดหรือเก็บขนไปจะกอใหเกิดปญหาทอระบายนํ้าอุดตัน จึงควรเก็บกวาดสมํ่าเสมอเพ่ือปองกันปญหาดังกลาว 7) มูลฝอยประเภทซากสัตว (dead animal) หมายถึง สัตวท่ีตายแลวจากอุบัติเหตุหรือโรคตางๆ ซ่ึงกรณีท่ีเกิดจากโรคก็ควรมีการกําจัดอยางระมัดระวัง เพื่อปองกันการแพรเช้ือ และควรจะจัดการอยางเรงดวนเพื่อปองกันปญหากล่ินรบกวนท่ีจะเกิดข้ึน 8) มูลฝอยประเภทซากรถยนต (abandoned vehicles) เปนซากรถยนตหรือช้ินสวนรถยนตท่ีไมใชแลว มีผูนําซากมาท้ิงไวตามริมถนน กอใหเกิดปญหากีดขวางทางจราจร และยังทําใหเกิดทัศนียภาพท่ีไมนาดู 9) มูลฝอยประเภทเศษวัสดุจากการกอสราง (construction waste) เปนพวกเศษวัสดุตางๆ จากการกอสราง และการร้ือถอนอาคารพักอาศัย เชน เศษปูน เศษหิน เศษอิฐ และเศษไม เปนตน 10) มูลฝอยตะกอนจากน้ําโสโครก (sludge waste) เปนกากตะกอนท่ีเหลือจากบําบัดน้ําโสโครก ตะกอนพวกนี้อาจมีเช้ือโรคหรือสารเคมีปะปนอยู ซ่ึงจําเปนตองมีการจัดการใหเหมาะสม

Page 23: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

13

(2) แหลงกําเนิดขยะ แหลงกําเนิดของขยะ สามารถแบงไดหลายวิธี ท้ังนี้ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคของผูใช ซ่ึงพอสรุปการแบง แหลงกําเนิดของมูลฝอย ไดดังนี้ 1) การแบงตามลักษณะเขตการปกครอง ไดแก มูลฝอยในเขตเทศบาล และมูลฝอยนอกเขตเทศบาล (องคการบริหารสวนตําบล) 2) การแบงตามการใชประโยชนของท่ีดิน ไดแก มูลฝอยชุมชน (Community Wastes) มูลฝอยจากการเกษตร (Agricultural Wastes) มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Wastes) และมูลฝอยจากสถานพยาบาล (Hospital Wastes) 3) การแบงตามลักษณะของกิจกรรม ไดแก ท่ีอยูอาศัย ยานธุรกิจ และพาณิชยกรรม โรงแรม ภัตตาคาร และรานอาหาร สถานศึกษา สํานักงาน โรงงานอุตสาหกรรม ตลาดสด ท่ีสาธารณะ การประปา และกําจัดน้ําท้ิง การเกษตรกรรม และสถานพยาบาล 2.1.2 การจัดการขยะ

กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม (2544) พบวา ปจจุบันมูลฝอยกลายเปนปญหาท่ีสําคัญของชุมชนเมือง ซ่ึงหากไมไดรับการจัดการอยางถูกวิธี และมีประสิทธิภาพแลวจะกอใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอมอ่ืนๆตามมาอีกมากมาย ซ่ึงการจัดการอยางถูกวิธี เพื่อใหเกิดปญหากับส่ิงแวดลอมนอยท่ีสุด สามารถปฏิบัติไดดังนี้ 1) การปลอยใหยอยสลายเองตามธรรมชาติ วิธีนี้อาจเกิดกล่ิน และการแพรระบาดของเช้ือโรค แตเปนการเพิ่มธาตุอาหารใหดิน 2) การนํามาทําปุยหมัก เปนวิธีท่ีงายโดยแตละครัวเรือนหรือแตละชุมชนสามาถทําเองได ซ่ึงผลพลอยไดคือ ปุย แตวัสดุท่ีจะนํามาทําปุยหมัก ตองมีการคัดแยกมูลฝอยชนิดท่ียอยสลายยากออกกอนเชน ถุงพลาสติก กระปอง ขวดแกว และมูลฝอยอันตราย เปนตน จากน้ันนํามูลฝอยท่ียอยสลายไดไปทําเปนปุยหมัก โดยนําไปหมักในบอหรือหลุม ใสมูลสัตว หรือใชจุลินทรียเปนตัวเรงการยอยสลายหมักไวประมาณ 1-3 เดือน นําปุยมาใชในการบํารุงพันธุพืชตอไปได 3) การรีไซเคิล เปนการนําเอาวัสดุท่ีใชแลว กลับไปเขากระบวนการผลิตใหเปนของใหมท่ีอาจเหมือนเดิมหรือไมเหมือนเดิมก็ได วัสดุท่ีนําเขาไปกระบวนการผลิตใหม ไดแก พลาสติก โลหะ กระดาษ แกว ซ่ึงการแปรรูปของใชแลวกลับมาใชใหมมีกระบวนการอยู 4 ข้ันตอน ไดแก การเก็บรวบรวม การแยกประเภทวัสดุ การผลิตหรือปรับปรุง และการนํามาใชประโยชน มูลฝอยเม่ือผานการรีไซเคิลแลว จะอยูในรูปผลิตภัณฑใหม สามารถนํากลับมาใชประโยชนได ผลิตภัณฑรีไซเคิลจะมีเคร่ืองหมายสีเขียวประทับไวบนผลิตภัณฑ

Page 24: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

14

4) การนํามูลฝอยไปฝงกลบ เปนการนํามูลฝอยไปฝงกลบลงในดิน แตอาจเกิดการปนเปอนในดิน และแหลงน้ําใกลเคียงได ดังนั้นตองมีการเตรียมสถานท่ีท่ีใชในการฝงกลบ โดยตองมีการพิจารณาถึงระดับน้ําใตดิน และผลกระทบอ่ืนๆท่ีอาจเกิดข้ึน รวมทั้งการดําเนินการอยางถูกหลักวิชาการ มิฉะนั้นแลวจะเกิดปญหาดานกาซ น้ําชะลางมูลฝอยที่เกิดจากการฝงกลบรวมถึงกล่ินดวย แตเปนวิธีการลงทุนท่ีตํ่าและสามารถทําไดงาย 5) การใชเตาเผา การเผาในเตาเผาท่ีมีหนวยกําจัดเถาพรอมอยูในเตาสามารถทําไดเร็ว ไมมีสารพิษตกคาง และยังไดประโยชนจากพลังงานความรอน การลงทุนสูง วิธีนี้ใชลดปริมาณมูลฝอย โดยมูลฝอยท่ีถูกเผาจะมีปริมาณลดลงประมาณ 90 % และนําวัสดุท่ีเหลือไปทําการฝงกลบตอไป ซ่ึงจะสามารถประหยัดพื้นท่ีไปไดมาก ผลพลอยไดนําไปใชสวนใหญคือ กระแสไฟฟา แตขอเสียจุดใหญของวิธีนี้ คือ คาใชจายในการลงทุน การดําเนินการ และการบํารุงรักษาคอนขางสูง เหมาะสําหรับชุมชนท่ีมีรายไดสูงและมีพื้นท่ีนอย 2.1.3 การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ปจจุบันแนวคิดการมีสวนรวมของประชาชนมีการกลาวถึงกันอยางกวางขวางในหลายๆกิจกรรม ไดรับการยอมรับและใชเปนแนวทางปฏิบัติในงานพัฒนา สวนในกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการส่ิงแวดลอมนั้น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการเสริมสราง และสนับสนุนการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยการใหประชาชนมีสวนรวมในการชวยเหลือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ในพระราชบัญญัติวาดวยการสงเสริม และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2535 ไดมีการกําหนดสิทธิ บทบาท และหนาท่ีของประชาชนในการมีสวนรวมประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม คําวา “การมีสวนรวม” นั้นไดมีผูใหความหมายท่ีหลากหลายและแตกตางกันออกไปตามความเขาใจของแตละบุคคล ดังนี้ ไพรัตน เตชะรินทร (2534) ใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชน หมายถึงกระบวนการที่รัฐทําการสงเสริม ชักนํา สนับสนุน และสรางโอกาสใหกับประชาชนในชุมชนท้ังในรูปแบบสวนบุคคล กลุมชมรมสมาคมมูลนิธิ และองคกรอาสาสมัครรูปแบบตางๆ ใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงหรือหลายเร่ืองรวมกัน ปาริชาติ วลัยเสถียร (2542) ไดสรุปการมีสวนรวมมีความหมาย 2 ลักษณะคือการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ต้ังแตเร่ิมจนส้ินสุดโครงการ โดยโครงการพัฒนาจะตองสอดคลองกับวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของชุมชน และการมีสวนรวมในนัยทางการเมือง โดยการสงเสริมสิทธิและพลังอํานาจของพลเมืองโดยประชาชนหรือชุมชนเปนผูจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชนของชุมชน รวมท้ังการเปล่ียนแปลงกลไกการพัฒนา

Page 25: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

15

โดยรัฐมาเปนการพัฒนาท่ีประชาชนมีบทบาทเปนหลักหรือการคืนอํานาจในการพัฒนาใหกับประชาชนน่ันเอง การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญมาก กรมการปกครอง และ DANCED (ม.ป.ป. อางถึงในกมลศักดิ์ ธรรมาวุธ, 2545) ไดกลาวถึงความสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชนตอโครงการของรัฐวา 1) จะชวยใหประชาชนยอมรับโครงการมากข้ึน เนื่องจากเปนโครงการท่ีตรงกับปญหาและความตองการของประชาชน 2) ประชาชนจะมีความรูสึกผูกพัน และรูสึกเปนเจาของโครงการมากข้ึน 3) การดําเนินโครงการจะราบร่ืนไดรับความรวมมือจากประชาชนมากข้ึน 4) โครงการจะใหประโยชนแกประชาชนมากข้ึน เพราะมีการระดมทรัพยากรพัฒนาอยางถูกวิธี 5) จะชวยพัฒนาขีดความสามารถของประชาชนมากข้ึน เม่ือนําการมีสวนรวมของประชาชนเขามาเปนกลไกในการจัดการขยะท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดตระหนัก และเห็นถึงความสําคัญของปญหาขยะท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงกรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม (2545) กลาววา ชุมชนสามารถเขามามีสวนรวมโดยวิธ ีการตางๆดังนี้ 1) การลดการขนมูลฝอยเขาบาน เชน ถุงพลาสติก ถุงกระดาษ กระดาษหอของ โฟม หนังสือพิมพ ฯลฯ หากมีความจําเปนตองใชส่ิงเหลานี้จริงๆไมควรใชบอยคร้ังเกินไป และเม่ือซ้ือส่ิงใดเขาบานตองฉุกคิดถึงความจําเปนสักนิดวาส่ิงนั้นจะกอใหเกิดมูลฝอยปริมาณเทาใด 2) การนําส่ิงของท่ีใชกลับมาใชประโยชนใหคุมคา หรือนําส่ิงของท่ีไมใชแลวมาหมุนเวียนดัดแปลงใชประโยชนอีก เชน ถุงพลาสติก ถุงกระดาษท่ีไมเปรอะเปอนใหเก็บไวใชใสของอีก สวนขวดแกว ขวดพลาสติก กระปองเคร่ืองดื่ม ก็สามารถนํามาดัดแปลงใชประโยชนไดอีกมาก สําหรับกระดาษท่ีใชในสํานักงานชนิดสีขาว สามารถนํามาใชอีกดานหนึ่งไดโดยอาจนํามาทํากระดาษทดเลข กระดาษจดบันทึกโทรศัพท หรือใชหอของได 3) การใชผลิตภัณฑชนิดเติม หรือท่ีเรียกวา “Refill” นอกจากจะราคาถูกกวาแลวยังเปนการลดบรรจุภัณฑหีบหอ ในสวนท่ีเปนมูลฝอยภายในบานไดดวย นอกจากนี้ยังเปนการลดตนทุนในการใชทรัพยากรจํานวนมากในการผลิตอันเปนการชวยรักษาส่ิงแวดลอม 4) การแยกประเภทมูลฝอยภายในบานเพ่ือสะดวกแกผูเก็บขน และยังสามารถนํามูลฝอยบางชนิดไปขายเพ่ิมรายไดใหเขาบานอีกดวย

Page 26: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

16

5) การแปรสภาพมูลฝอยใหเปนปุย มูลฝอยท่ียอยสลายไดเชน เศษพืชผัก ใบไม สามารถนํามาหมักปุยใสตนไม และบํารุงดินเปนการลดการซ้ือปุยเคมี ซ่ึงนอกจากราคาแพงแลวยังมีสารพิษตกคางดวย 6) การลดปริมาณมูลฝอยอันตรายในบาน ทําไดดวยการรักษาความสะอาดภายในบาน จัดส่ิงของเคร่ืองใชใหมีระเบียบ การกําจัดเศษอาหาร เศษภาชนะแตกหัก หรือท่ีไมไดใชประโยชนท้ิง ซ่ึงนอกจากจะทําใหบานเรือนสวยงานเปนระเบียบ แลวยังปองกันสัตวพาหนะท่ีนําเช้ือโรค จากมูลฝอยมาสูคนไดดวย และควรหันมาใชวิธีทางธรรมชาติ ท่ีไมทําลายส่ิงแวดลอมแทน เชน การใชการบูรปองกันมดและแมลงสาบ เปนตน จะชวยลดมูลฝอยท่ีเปนกระปองสารเคมี ปองกันแมลงภายในบานได 7) การเก็บรวบรวมมูลฝอยภายในบานใหเรียบรอย ใสภาชนะท่ีถูกสุขาภิบาล เพื่อความสะดวกแกพนักงานเก็บขนมูลฝอยท่ีเปนเศษอาหาร ควรเก็บรวบรวมใสถุงใหเรียบรอย เพื่อเวลาเก็บขนจะไดไมหกเลอะเทอะ สกปรก และกอใหเกิดกล่ินเหม็นในระหวางท่ีรอพนักงานมาเก็บรวบรวม ท้ังนี้ แนวทางท่ีดีท่ีสุดในการแกปญหามูลฝอย คือ วิธีปองกันไมใหเกิดมูลฝอยหรือลดปริมาณมูลฝอย โดยมุงเนนท่ีการเปล่ียนแปลงทัศนคติในการบริโภค การเปล่ียนแปลงวิถีในการดําเนินชีวิต ตลอดจนรูปแบบการผลิต และการบริโภค (สุนีย มัลลิกะมาลย, 2543) การลดปริมาณมูลฝอยท่ีจะท้ิงลดลงโดยเนนการมีสวนรวม นอกจากจะชวยลดปริมาณมูลฝอยแลว ยังชวยลดการใชวัตถุดิบจากธรรมชาติลดปญหาส่ิงแวดลอม การลดปริมาณมูลฝอยสามารถได (บัณฑิต เอ้ือวัฒนานุกลู, 2544) กลาวโดยสรุปไดวา การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญตองานการจัดการขยะชุมชน ถือเปนความสํานึกและความรับผิดชอบของประชาชนรวมกันในการกอขยะ เปนการพัฒนาชุมชนและสังคม และยังเปนแนวทางในการแกปญหาและจัดการขยะชุมชนท่ีตรงกับความตองการของชุมชนไดเปนอยางดี 2.1.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของเรื่องการจัดการขยะแบบมีสวนรวม สุนีย มัลลิกะมาลย (2543) ศึกษาโครงการวิจัยการมีสวนรวมของประชาชนในทองถ่ินในการจัดการมูลฝอยชุมชน พบวา ในการคัดแยกมูลฝอยใหมีประสิทธิภาพนั้น จําเปนตองใหประชาชนผูท้ิงมูลฝอยยอมรับวิธีการคัดแยกมูลฝอย นั่นคือ ใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยกอนท้ิง โดยตองใหประชาชนเขามามีสวนรวมต้ังแต การรับรู การคิด และการแสดงความคิดเห็น การดําเนินการ การติดตามและการขยายผล นอกจากน้ันตองหาแนวทางท่ีเหมาะสม เพื่อสงเสริม และจูงใจใหเกิดความรวมมือจากประชาชน

Page 27: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

17

กมลศักดิ์ ธรรมาวุธ (2545) ศึกษาเร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ จังหวัดสงขลา ซ่ึงคลายคลึงกับ สุดธิดา สุวรรณะ (2545) ท่ีศึกษาเร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนรัตนวิบูลยและชุมชนไทยโฮเต็ล ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา จากการศึกษาพบวา ผูนําชุมชนมีบทบาทเปนอยางมากในเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย และมีสวนชวยในการประชาสัมพันธ แตจากการศึกษาของ กมลศักดิ์ ธรรมาวุธ (2545) ยังพบอีกวา ลักษณะของชุมชนท่ีแตกตางกันมีผลทําใหประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยแตกตางกัน โดยประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนท่ีมีลักษณะความเปนเมืองจะมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยมากกวาประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนลักษณะอ่ืน และคณะกรรมการชุมชนท่ีมีความรูในเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย และมีสวนชวยเทศบาลในการรณรงคประชาสัมพันธ รวมท้ังการใหความรูในเร่ืองของการคัดแยกมูลฝอยแกประชาชน ปญหาในดานการคัดแยกมูลฝอยท่ีพบในชุมชน คือ ประชาชนสวนใหญยังไมเห็นความสําคัญของการคัดแยกมูลฝอยเพราะคิดวาปญหามูลฝอยเปนปญหาท่ีไกลจากตัว ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธุ (2544) ศึกษาเร่ืองการจัดการขยะชุมชน: กรณีบาน ดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง พบวาในกระบวนการดําเนินงานการจัดการขยะชุมชน ปจจัยการรับรูขาวสาร ผูนํา การมีสวนรวมของชุมชน การสนับสนุนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ และเทศบาลนครลําปางเปนปจจัยท่ีมีผลตอการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน โดยเปนการหนุนเสริมการดําเนินงานของชุมชนใหมีศักยภาพในการจัดการขยะมูลฝอยเพ่ิมมากข้ึน พนัส พฤกษสุนันท (2545) ไดทําการวิจัยเชิงปฏิบัติ เร่ืองการจัดทําแผนแมบทชุมชนพ่ึงตนเอง กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี ผลการศึกษาปรากฏวาสมาชิกชุมชนสามารถเรียนรู รูจักชุมชนของตนเองมากข้ึน จากการยอนอดีต การวิเคราะหจุดออนจุดแข็ง การมองอนาคตชุมชน รูปญหาและทุนของชุมชน สามารถรวมกันวิเคราะหปญหา และแนวทางแกไข รวมกันตัดสินใจในทุกข้ันตอน จนเกิดแผนแมบทชุมชนพ่ึงตนเองเพ่ือพัฒนาชุมชนนาอยู เกิดจากจัดต้ังสภาชุมชน และคณะกรรมการบริหารชุมชน ในดานปจจัยสําคัญท่ีสนับสนุนการเสริมสรางศักยภาพชุมชน ไดแก การไดแกนนําจากชุมชนท่ีเปนนักพัฒนา การจัดประชุมตามพ้ืนท่ี และเวทีท่ีชุมชนกําหนด เทคนิคการประชุม แรงจูงใจ ทีมวิทยากร และระยะเวลาในการดําเนินงาน ปานกมล พิสิฐอรรถกุล (2545) ศึกษาเร่ืองการสงเสริมการมีสวนรวม และกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน: กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบวา การสงเสริมการมีสวนรวม และกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอย สามารถพัฒนาการมีสวนรวม และกระบวนการเรียนรูของชุมชนได โดยการให

Page 28: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

18

ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอนของการศึกษา เพื่อใหเกิดการจัดการมูลฝอยท่ีเหมาะสมกับชุมชน วิวัฒน อ่ึงเจริญ (2546) ศึกษาเร่ือง การพัฒนาการกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน : กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบวา การพัฒนากระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน กอใหเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยชุมชนในดานความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และการปฏิบัติ นําไปสูการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการจัดการมูลฝอยท่ีเหมาะสมกับชุมชน และในสวนเทศบาลมีความเขาใจตอสภาพความตองการของชุมชนมากข้ึน รวมถึงเห็นความสําคัญ และยอมรับในศักยภาพของชุมชน และมีการปรับการทํางานดานการจัดการมูลฝอยใหเหมาะสมกับชุมชน นฤดี บุญชุม (2547) ศึกษาเร่ือง แนวทางการปรับปรุงการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนปริกตก เทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบวา การมีจัดการมูลฝอยในชุมชนปริกตกมีการพัฒนาท่ีดีข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงป พ.ศ. 2545-2546 ภายหลังจากการท่ีมีกิจกรรม และทํากิจกรรมดานการจัดการมูลฝอยในชุมชนมาเปนเวลา 2 ป ประชาชนเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการจัดการมูลฝอยที่เหมาะสมสําหรับชุมชน ชุมชนมีปริมาณมูลฝอยลดลง และมีความสะอาดเรียบรอยมากข้ึน รัชดา บุญแกว (2551) ศึกษาเร่ือง การพัฒนากระบวนการเรียนรูของแกนนําชุมชนในการจัดการส่ิงแวดลอมชุมชนแบบบูรณาการ : กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยใชวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ พบวากลุมเปาหมายมีการจัดการขยะอยางถูกวิธี มีความเขาใจปญหาในชุมชน และสามารถวางแผนกิจกรรมตางๆอยางบูรณาการ รวมท้ังมีการขยายผลการเรียนรูสูครัวเรือน ชุมชน โรงเรียน และองคกรทองถ่ิน ปจจัยท่ีเอ้ือตอการดําเนินงาน คือ 1) ปจจัยดานชุมชน ไดแก ทุนทางสังคม การไดรับขาวสารอยางตอเนื่อง การดําเนินการเชิงรุกโดยใชวิธีการปฏิบัติการในชุมชน 2) ปจจัยดานกลไกของรัฐ ไดแก ผูบริหารเทศบาล นโยบายท่ีเปนอุปสรรค การประสานงาน 3)ปจจัยสนับสนุนจากองคกรภายนอก ปจจัยท่ี เปนอุปสรรคในการพัฒนากระบวนการเรียนรูของแกนนําชุมชน ไดแก ความขัดแยงในชุมชนอันเนื่องมาจากการเลือกต้ัง และภาระหนาท่ีของแกนนํา จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวของในเร่ืองการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน พบประเด็นท่ีนาสนใจท่ีทําใหประชาชนเขามามีสวนรวม ไดแก การรับรูขาวสาร การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอน ลักษณะของชุมชน ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม บทบาทของหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการเขามาสนับสนุน ใหความรู ความชวยเหลือในการ

Page 29: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

19

ทํากิจกรรม และทัศนคติของประชาชนตองานการจัดการขยะ ซ่ึงประเด็นเหลานี้มีผลตอการเขามามีสวนรวมของประชาชนในการรวมกันจัดการขยะชุมชน 2.2 แนวคิดเก่ียวกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 2.2.1 การปกครองทองถ่ิน การปกครองทองถ่ินกําหนดข้ึนบนพ้ืนฐานทฤษฎีการกระจายอํานาจ และอุดมการณประชาธิปไตย ซ่ึงมุงเปดโอกาส และสนับสนุนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการทางการเมือง และกิจกรรมการปกครองตนเองในระดับหนึ่ง ซ่ึงจะเห็นไดจากลักษณะสําคัญของการปกครองทองถ่ินท่ีเนนการมีอํานาจอิสระในการปกครองตนเอง มีการเลือกต้ัง มีองคกร และสถาบันท่ีจําเปนในการปกครองตนเอง และท่ีสําคัญก็คือประชาชนในทองถ่ินจะมีสวนรวมในการปกครองตนเองอยางกวางขวาง ไดมีผูใหความหมายของคําวา “การปกครองทองถ่ิน” ดังนี้ อุทัย หิรัญโต (2523) ใหนิยามวา การปกครองทองถ่ิน คือการปกครองท่ีรัฐบาลมอบอํานาจใหแกประชาชนในทองถ่ินใดทองถ่ินหนึ่งจัดการปกครอง และดําเนินการบางอยาง โดยดําเนินการเองเพื่อบําบัดความตองการของตน การบริหารงานของทองถ่ินมีการจัดเปนองคการมีเจาหนาท่ีซ่ึงประชาชนเลือกต้ังข้ึนมาท้ังหมดหรือบางสวน ท้ังนี้มีความอิสระในการบริหารงานแตรัฐบาลตองควบคุมวิธีการตางๆตามความเหมาะสม ประทาน คงฤทธ์ิศึกษากร (2535) ใหความหมายวา การปกครองทองถ่ิน เปนระบบการปกครองท่ีเปนผลสืบเนื่องมาจากการกระจายอํานาจทางการปกครองของรัฐ และโดยนัยนี้จะเกิดองคกรการทําหนาท่ีการปกครองทองถ่ิน โดยคนในทองถ่ินนั้นๆ องคกรนี้จัดต้ังและถูกควบคุมโดยรัฐบาล แตก็มีอํานาจในการกําหนดนโยบายและควบคุมใหมีการปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปตามนโยบายของตนเองได กลาวโดยสรุปไดวา การปกครองทองถ่ินมีการกระจายอํานาจใหแกทองถ่ิน เพื่อใหมีบทบาทในการปกครองตนเอง โดยมีความอิสระในการบริหารงานมีบุคลกร มีงบประมาณ และเคร่ืองมือเคร่ืองใชเปนของตนเอง ท้ังนี้รัฐบาลมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย และควบคุมการปฏิบัติงานของทองถ่ิน เพื่อใหเปนไปตามระเบียบกฏหมายและเกิดผลที่ดีตอประชาชน การปกครองทองถ่ินนั้น มีขอบเขตของวัตถุประสงคในการบริหารงานท่ีชัดเจน วีระชัย คําลาน (2547) ไดกลาวถึงวัถตุประสงคของการปกครองทองถ่ินไวดังนี้ 1) ชวยแบงเบาภาระของรัฐบาล ท้ังทางดานการเงิน ตัวบุคคล ตลอดจนเวลาท่ีใชในการดําเนินการ

Page 30: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

20

2) เพื่อสนองตอความตองการของประชาชนในทองถ่ินอยางแทจริง 3) เพื่อใหหนวยการปกครองทองถ่ินเปนสถาบันท่ีใหการศึกษาการปกครองระบบประชาธิปไตยแกประชาชน จากความหมาย และวัตถุประสงคของการปกครองทองถ่ินท่ีไดกลาวมาขางตนจะเห็นไดวาการจัดใหมีหนวยการปกครองทองถ่ินข้ึน ไมวาจะเปนในรูปแบบใดก็เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน และทําใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจอนาคตของทองถ่ินตนเอง ในการศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัยศึกษาการปกครองทองถ่ินในระดับเทศบาลเมือง ชุมชนเมืองจะมีลักษณะความเจริญท้ังในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง และจะขยายตัวออกไปเรื่อยๆจากเมืองเล็กเปนเมืองใหญ และเติบโตตอไปเปนมหานคร (Metropolis) (วีระชัย คําลาน, 2547) เมืองจะมีประชากรหนาแนน มีการอพยพเคลื่อนยายถายเทอยูตลอดเวลา และมีความตองการในการบริหารหรือการจัดการท่ีจะตอบสนองตอปญหาและหรือความตองการ โดยเฉพาะอยางยิ่งความตองการความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตความเปนอยู เชน บานเรือน ท่ีอยูอาศัย ระบบสาธารณูปโภค ไดแก ถนน ไฟฟา ประปา โทรศัพท และรวมถึงไปถึงความตองการตางๆเชนสถานท่ีพักผอนหยอนใจ ความสะอาดปราศจากมลพิษตางๆ และการใหบริการตางๆ เชน การใหบริการทางดานสาธารณสุข การศึกษา สนามกีฬา เปนตน ความตองการของคนท่ีอยูในเขตเมืองและเมืองใหญ ท่ีกลาวมานั้นยอมมีความจําเปนท่ีจะตองมีผูบริหารหรือผูจัดการท่ีมีความสามารถ ทําใหการบริหารหรือการใหบริการตางๆมีประสิทธิภาพ และเปนท่ีพึงพอใจของประชาชน นายกเทศมนตรีหรือผูบริหารเทศบาลจึงเปนบุคคลสําคัญของการเมืองระดับทองถ่ิน 2.2.2 เทศบาล เทศบาลถือวาเปนหนวยการปกครองสวนทองถ่ิน ท่ีจัดต้ังข้ึนในเขตชุมชนท่ีมีความเจริญ และใชในการบริหารเมืองเปนหลัก ซ่ึงหลายประเทศประสบความสําเร็จในการใช “เทศบาล” เปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการปกครองประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศท่ีพัฒนาแลวท้ังหลาย สําหรับสังคมไทยเทศบาลเปนรูปแบบการบริหารราชการสวนทองถ่ินในเขตชุมชนเมืองท่ีใชมาต้ังแต พ.ศ. 2476 จนถึงปจจุบัน ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2543 ไดกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาจัดตั้งทองถ่ินใดข้ึนเปนเทศบาลไว 3 ประการไดแก 1) จํานวนของประชากรในทองถ่ินนั้น 2) ความเจริญทางเศรษฐกิจของทองถ่ิน โดยพิจารณาจากการจัดเก็บรายไดตามท่ีกฎหมายกําหนด และงบประมาณรายจายในการดําเนินการของทองถ่ิน

Page 31: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

21

3) ความสําคัญทางการเมืองของทองถ่ิน โดยพิจารณาถึงศักยภาพของทองถ่ินนั้นวาจะสามารถพัฒนาความเจริญไดรวดเร็วมากนอยเพียงใด จากหลักเกณฑดังกลาวขางตน กฎหมายไดกําหนดใหจัดต้ังเทศบาลขึ้นได 3 ประเภท ดังนี้ 1) เทศบาลตําบล กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดหลักเกณฑการจัดต้ังเทศบาลตําบลไวอยางกวางๆดังนี้ มีรายไดจริงโดยไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณท่ีผานมา ต้ังแต 12,000,000 บาทข้ึนไป มีประชากรตั้งแต 7,000 คนข้ึนไป และไดรับความเห็นชอบจากราษฎรในทองถ่ินนั้น สําหรับกรณีท่ีมีความจําเปน เชน การควบคุมการกอสรางอาคาร การแกปญหาชุมชนแออัด การอนุรักษส่ิงแวดลอม การพัฒนาทองถ่ินหรือการสงเสริมการปกครองทองถ่ินรูปเทศบาล 2) เทศบาลเมือง มีหลักเกณฑการจัดต้ังดังนี้ 2.1) ทองท่ีท่ีเปนท่ีต้ังศาลากลางจังหวัดทุกแหง ใหยกฐานะเปนเทศบาลเมืองไดโดยไมตองพิจารณาถึงหลักเกณฑอ่ืนๆประกอบดวย 2.2) สวนทองท่ีท่ีมิใชเปนท่ีต้ังศาลากลางจังหวัดจะยกฐานะเปนเทศบาลเมือง ตองประกอบดวยหลักเกณฑดังนี้ เปนทองท่ีท่ีมีประชากรตั้งแต 10,000 คนข้ึนไป มีรายไดพอแกการปฏิบัติหนาท่ีอันตองทําตามกฎหมายกําหนดไว และมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเปนเทศบาลเมือง 3) เทศบาลนคร มีหลักเกณฑการจัดต้ังดังนี้ เปนทองท่ีท่ีมีประชากรตั้งแต 50,000 คนข้ึนไป มีรายไดพอแกการปฏิบัติหนาท่ีอันตองทําตามท่ีกฎหมายกําหนดไว และมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะข้ึนเปนเทศบาลนคร 2.2.3 อํานาจหนาท่ีของเทศบาล อํานาจหนา ท่ีและความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองทาขาม เปนไปตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2542 ซ่ึงกําหนดหนาท่ีของเทศบาลไวดังนี้ มาตรา 50 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลตําบล มีหนาท่ีตองทําใหเขตเทศบาลดังตอไปนี ้ 1) รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน 2) ใหมีและบํารุงทางบกและทางน้ํา 3) รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดนิ และท่ีสาธารณะรวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอยส่ิงปฏิกูล

Page 32: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

22

4) ปองกันและระงับโรคติดตอ 5) ใหมีเคร่ืองใชในการดับเพลิง 6) ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม 7) สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและพิการ 8) บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ินและวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ิน 9) หนาท่ีอ่ืนๆซ่ึงมีคําส่ังกระทรวงมหาดไทย หรือกฎหมายบัญญัติใหเปนหนาท่ีของเทศบาล 10) ใหมีน้ําสะอาดหรือการประปา 11) ใหมีโรงฆาสัตว 12) ใหมีและบํารุงสถานท่ีทําการพิทักษและรักษาคนเจ็บไข 13) ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า 14) ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ 15) ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน 16) ใหมีการดาํเนินการกิจการโรงรับจํานําหรือสถานสินเช่ือทองถ่ิน มาตรา 53 ภายใตบังคับแหงกฏหมาย เทศบาลเมืองมีหนาท่ีตองทําในเขตเทศบาล ดังตอไปนี ้ 1) กิจกรรมตามท่ีระบุไวในมาตรา 50 2) ใหมีน้ําสะอาดหรือการประปา 3) ใหมีโรงฆาสัตว 4) ใหมีและบํารุงสถานท่ีทําการพิทักษและรักษาคนเจ็บไข 5) ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า 6) ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ 7) ใหมีและบํารุงการไฟฟา หรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน 8) ใหมีการดําเนินกิจการโรงรับจํานําหรือสถานสินเช่ือทองถ่ิน มาตรา 54 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลเมือง อาจจดัทํากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังตอไปนี ้ 1) ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม 2) ใหมีสุสานและฌาปนสถาน 3) บํารุงและสงเสริมการทํามาหากินของราษฎร

Page 33: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

23

4) ใหมีและบํารุงการสงเคราะหมารดาและเด็ก 5) ใหมีและบํารุงโรงพยาบาล 6) ใหมีการสาธารณูปการ 7) จัดทํากิจการซ่ึงจําเปนเพือ่การสาธารณสุข 8) จัดต้ังและบํารุงโรงเรียนอาชีวศึกษา 9) ใหมีและบํารุงสถานท่ีสําหรับการกฬีาและพลศึกษา 10) ใหมีและบํารุงสวนสาธารณะ สวนสัตว และสถานท่ีพักผอนหยอนใจ 11)ปรับปรุงแหลงเส่ือมโทรมและรักษาความสะอาดเรียบรอยของทองถ่ิน 12) เทศพาณิชย 2.2.4 การจัดการขยะของเทศบาล เทศบาลซ่ึงเปนหนวยการปกครองสวนทองถ่ินมีหนาท่ีรับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ซ่ึงมีต้ังแตการจัดระบบการเก็บรวบรวม การขนถาย การขนสง การกําจัด ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2546 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2542 มีการกําหนดอํานาจหนาท่ีในการรักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดิน และท่ีสาธารณะรวมท้ังการกําจัดขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูลในเขตเทศบาล โดยมีพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัตินี้เปนกฏหมายแมบทท่ีเกี่ยวกับการคุมครองส่ิงแวดลอม และการควบคุมมลพิษ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมการจัดการส่ิงแวดลอมดังนี้ 1) การสงเสริมประชาชน และองคกรเอกชนใหมีสวนรวมในการสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม 2) การจัดระบบการบริหารงานดานส่ิงแวดลอมใหเปนไปตามหลักการจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอม 3) กําหนดอํานาจหนาท่ีของสวนราชการรัฐวิสาหกิจ และราชการสวนทองถ่ินใหเกิดการประสานงาน และมีหนาท่ีรวมกันในการสงเสริม และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม และกําหนดแนวทางปฏิบัติในสวนท่ีไมมีหนวยงานรับผิดชอบ 4) การกําหนดมาตรฐานควบคุมดวยการจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบกําจัดของเสีย และเคร่ืองมือ หรือ อุปกรณเพื่อแกไขปญหาเกี่ยวกับมลพิษ จากพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 กําหนดใหสวนราชการหรือราชการสวนทองถ่ินซ่ึงเปนผูจัดใหมีระบบกําจัดของเสียรวมโดยใชเงินงบประมาณแผนดินหรือเงินรายไดของราชการสวนทองถ่ิน และเงินกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้ มีหนาท่ีการดําเนินงาน และควบคุมการทํางานของระบบกําจัดของเสียรวมท่ีราชการหรือราชการ

Page 34: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

24

สวนทองถ่ินนั้นจัดใหมีข้ึน ดังนั้นเทศบาลจึงตองมีการจัดต้ังระบบกําจัดของเสียรวมเพ่ือใหบริการแกประชาชนในเขตของตน หรือถาไมพรอมท่ีจะกระทําก็อาจใหเอกชนมาดําเนินการแทนได นอกจากนี้ยังมีกฎหมายท่ีกําหนดหนาท่ีใหเทศบาลดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล คือ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 20 ใหอํานาจเทศบาลในการตราเทศบัญญัติ เพื่อประโยชนในการรักษาความสะอาด และการจัดระเบียบในการเก็บขน และกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอย ในเร่ืองดังตอไปนี้ 1) หามการถายเท ท้ิง หรือทําใหมีข้ึนในที่หรือทางสาธารณะซ่ึงส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอยนอกจากท่ีท่ีเทศบาลจัดไวให 2)กําหนดใหมีท่ีรองรับส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยตามท่ีหรือทางสาธารณะ และสถานท่ีเอกชน 3) กําหนดวิธีการเก็บขน และกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอย หรือใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือสถานท่ีใด ๆ ปฏิบัติใหถูกตองดวยสุขลักษณะตามสภาพหรือลักษณะการใชอาคารหรือสถานท่ีนั้นๆ 4) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมการใหบริการของเทศบาลในการเก็บ และขนส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยไมเกินอัตราตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงสาธารณสุข 5) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขในการเก็บขน และกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอย เพื่อใหผูรับใบอนุญาตปฏิบัติตาม 6) กําหนดการอื่นใดท่ีจําเปนเพื่อใหถูกตองดวยสุขลักษณะ นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติ ประมวลกฏหมายตางๆที่ถูกกําหนดข้ึนมาเพื่อรองรับการจัดการขยะ นอกจากน้ีมีกฎหมายทองถ่ินท่ีเกี่ยวของกับการความคุมปองกัน หรือแกไขปญหามูลฝอย โดยเฉพาะในสวนท่ีเกี่ยวของกับงานอนามัยและส่ิงแวดลอม งานรักษาความสะอาด งานโยธา งานสาธารณสุข และสุขาภิบาล ไดแก เทศบัญญัติ และขอบังคับตางๆ ท้ังนี้พระราชบัญญัติ ประมวลกฏหมาย ประกาศ เทศบัญญัติ และขอบังคับตางๆ ถูกกําหนดข้ึนมาดวยวัตถุประสงคเดียวกันตองการรักษาบานเมืองใหมีความสะอาด เรียบรอย ปราศจากแหลงเพาะพันธุโรค เพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน

Page 35: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

25

2.2.5 ปญหาการจัดการขยะของเทศบาล สํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม (2547) ไดสรุปถึงปญหาการจัดการขยะท่ีเทศบาลท่ัวไปจะตองเผชิญหนากับปญหาหลักๆดังนี้ 1) ขีดความสามารถในการเก็บขนมูลฝอยของเทศบาลมีจํากัด ไมเพียงพอกับปริมาณมูลฝอยท่ีเพิ่มข้ึนในแตละวัน จึงมีมูลฝอยท่ีตกคางมาก และกระจัดกระจายอยูตามสถานท่ีตางๆ สงผลกระทบดานส่ิงแวดลอมของชุมชนอยางมาก ทั้งกล่ินเหม็น ความรกรุงรัง พาหะนําเช้ือโรคมาปะปน และสารพิษท่ีปนเปอน 2) วิธีการกําจัดมูลฝอยยังใชวิธีดั้งเดิม คือ กองบนพื้นดิน และไถกลบเปนคร้ังคราว หรือท้ิงไวกลางแจงแลวเผาท้ิง ซ่ึงไมถูกสุขลักษณะ สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมของชุมชน นําไปสูการตอตานจากประชาชนในพื้นท่ีและบริเวณใกลเคียง 3) ขาดแคลนสถานท่ีกําจัดมูลฝอย เกือบทุกเทศบาลที่ตองประสบกับปญหานี้ เพราะท่ีดินมีราคาสูงมาก จนเทศบาลไมมีกําลังทุนทรัพยเพียงพอท่ีจะซ้ือได จึงตองแสวงหาพื้นท่ีหางไกลซ่ึงนําไปสูปญหาการเก็บขน เคล่ือนยาย และขนถายมูลฝอย ตอไปยิ่งกวานั้นแมบางเทศบาลจะมีเงินทุนจัดซ้ือท่ีดินได แตกลับมีปญหาดานการบริหาร เชน ผู สูญเสียผลประโยชนรองเรียนคัดคานบาง และประชาชนในบริเวณใกลเคียงชุมนุมตอตานบาง เปนตน 4) บุคลากรระดับผูปฏิบัติขาดความรูความเขาใจ ประสบการณ และจิตสํานึกในการเก็บขน เคล่ือนยาย และการกําจัดมูลฝอยอยางถูกสุขลักษณะ และมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากรายไดตํ่า ขณะเดียวกันงานเก็บขนมูลฝอยก็เปนงานหนัก อัตราความเส่ียงสูงและสวัสดิการตอตนเอง และครอบครัวนอย จึงขาดความสนใจ และจิตสํานึกในการปฏิบัติงานเม่ือมีงานท่ีดีกวาก็จะลาออกไปทํางานอ่ืนอยูเนืองๆ 5) เคร่ืองจักรหรือยานพาหนะในการกําจัดมูลฝอยมีนอย คาใชจายในการซอมบํารุงรักษา และบุคลากรท่ีชํานาญการใชเคร่ืองจักรกลตางๆ มีอยูอยางจํากัด โดยเฉพาะอยางยิ่งบุคลากรท่ีเกือบจะหยุดงานตามสิทธิของพนักงานไมไดเลย เพราะขาดผูท่ีจะมาปฏิบัติงานและใชเคร่ืองจักรแทน 6) การเก็บคาธรรมเนียม อัตราคาธรรมเนียมในปจจุบันตํ่า และไมเคยไดรับการปรับปรุงเลย เพราะผูบริหารเกรงวาจะมีผลกระทบตอการเมืองของตน และคณะ นอกจากนั้นประสิทธิภาพในการบริหารการจัดเก็บคาธรรมเนียมยังตํ่าอีกดวย ทําใหเงินรายไดเพื่อการบริหารจัดการมูลฝอยมีนอย และไมเพียงพอกับคาใชจายเพื่อการจัดการมูลฝอยเปนอยางมาก จะเห็นไดวาปญหาการจัดการมูลฝอยในพื้นท่ีภูมิภาคมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน กลาวคือ เม่ือรายไดจากคาธรรมเนียมมีนอย งบประมาณจึงนอยตามไปดวย ไมเพียงพอกับคาใชจาย

Page 36: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

26

และไมสามารถจัดการมูลฝอยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะขาดเคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีทันสมัย ไมมีเงินทุนในการจัดซ้ือท่ีดินเพื่อการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาลได สวัสดิการของพนักงานจึงนอย ทําใหขาดความเอาใจใสในการทํางาน ปริมาณมูลฝอยท่ีตกคางการเก็บขนในแตละวันจึงมีมาก ดังนั้น ประเด็นของการรณรงคใหมีการลดปริมาณมูลฝอยจากแหลงกําเนิดโดยการใหประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกประเภทมูลฝอยท่ีสามารถนํากลับมาใชประโยชนไดกอนการท้ิง จากการศึกษาพบวา มูลฝอยเหลานี้มีอยูไมนอยซ่ึงจะชวยลดภาระการจัดการมูลฝอย ท้ังการเก็บขน การกําจัด การใชพื้นท่ีฝงกลบ การยืดอายุการใชหลุมฝงกลบ ประหยัดงบประมาณ และทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนั้นควรมีการคัดแยกมูลฝอยติดเช้ือออกมากําจัดอยางถูกวิธีดวย 2.3 แนวคิดเก่ียวกับธรรมาภบิาล 2.3.1 ความหมายของธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาลเปนเร่ืองท่ีไดรับความสนเปนใจเปนอยางมาก เพราะเปนแนวคิดในการบริหารจัดการท่ีใหม และนาจะนํามาปรับใชในสังคมไทย ทําใหมีผูใหความหมายและคํานิยามไวตางๆดังนี้ พนัส ทัศนียานนท (2541) ไดใหความหมายของ “ธรรมาภิบาล หรือ “ธรรมรัฐ” ท้ังในทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ โดยมีองคประกอบท่ีสําคัญเช่ือมโยงกันอยู ไดแกการทํางานอยางมีหลักการและรับผิดชอบตอสาธารณะ (Accountability) มีความโปรงใส (Transparency) ซ่ึงรวมถึงการท่ีสาธารณชนสามารถเขาถึงขอมูลตางๆได และมีหลักการที่แนนอนเปนธรรม ทําใหประชาชนเกิดความม่ันใจ (Predictability) สามารถคาดการณได หมายความวากฎเกณฑตางๆจะไมเปล่ียนไปเปล่ียนมา หรือมีการเลือกปฏิบัติการมีสวนรวมของประชาชน (Participation) อานันท ปนยารชุน (2541) ใหความหมายของ Good governance วาหมายถึงผลลัพธของการจัดการกิจกรรมซ่ึงบุคคลและสถาบันท้ังในภาครัฐและภาคเอกชนมีผลประโยชนรวมกันไดกระทําลงในหลายทางมีลักษณะเปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง ซ่ึงอาจนําไปสูการผสมผสานผลประโยชนท่ีหลากหลายและขัดแยงกันได พรนพ พุกกะพันธ (2545) ใหความหมายธรรมาภิบาลไววา “ผลลัพธของการจัดกิจกรรมซ่ึงบุคคลหรือสถาบันท่ัวไป ท้ังภาครัฐและภาคเอกชนมีผลประโยชนรวมกันไดกระทําลงไปในหลายทาง มีลักษณะเปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง ซ่ึงอาจนําไปสูการผสมผสานประโยชนท่ีหลากหลาย ท่ีขัดแยงกันได”

Page 37: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

27

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2545) ใหความหมาย ธรรมาภิบาลวาเปน “กฎเกณฑการปกครอง บํารุง รักษาสังคม บานเมืองท่ีดี อันหมายถึง การจัดการบริหารสังคมท่ีดีในทุกๆดาน และทุกๆระดับรวมถึงการจัดระบบองคกร และกลไกของคณะรัฐมนตรี สวนราชการองคกรของรัฐและรัฐบาลท่ีไมใชสวนราชการ การบริหารราชการสวนภูมิภาคและทองถ่ิน องคกรท่ีไมใชรัฐบาล องคกรของเอกชน ชมรม และสมาคม เพื่อกิจกรรมตางๆนิติบุคคล ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม” สุธาวัลย เสถียรไทย(2545) ใหความหมายของธรรมาภิบาลวา หมายถึง “ระบบโครงสรางและกระบวนการตางๆที่วางกฎเกณฑความสัมพันธระหวางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของประเทศ เพื่อท่ีภาครัฐ ภาคเอกชนและจากภาคประชาชนจะพัฒนาและอยูรวมกันอยางสงบสันติสุข” ธนาคารโลก (ม.ป.ป.)ไดใหความหมายธรรมาภิบาลไววา “เปนลักษณะและวิถีทางของการใชอํานาจในการใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืน” ดังนั้น ธรรมาภิบาล จึงหมายถึง การบริหารจัดการท่ีดีภายในองคกร ท้ังภาครัฐและเอกชน เปนอํานาจในการใชทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดและการพัฒนาท่ียั่งยืน 2.3.2 ความเปนมาของธรรมาภิบาล การเปล่ียนแปลงของระบบการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ สงผลใหสังคมตองเผชิญกับสภาพปญหาตางๆ การบริหารงานขาดความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ขาดความม่ันคงในการดําเนินการ เม่ือเกิดสภาพปญหาจึงทําใหตองมีการปรับเปล่ียนการบริหารจัดการ เพื่อใหการบริหารงานดําเนินตอไปไดในอนาคต รูปแบบการจัดการภาครัฐแนวใหมเปนรูปแบบการจัดการปกครอง (Governance approach) ท่ีเนนความสัมพันธเชิงอํานาจตามแนวนอน มีการกระจายอํานาจใหแกชุมชน และทองถ่ิน มีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน กลุมทางสังคม การลดบทบาทองคกรภาครัฐ การปฏิบัติงานในหนาท่ี อยางมีเหตุผล มีความรับผิดชอบ ความโปรงใส และมีความพรอมท่ีจะถูกตรวจสอบไดของภาครัฐ (อมรา พงศาพิชญ, 2540) จากกระแสของการปฏิรูประบบราชการก็ไดมีการเรียกรองใหมีการปฏิรูประบบราชการใหเปนไปตามคุณลักษณะของการบริหารกิจการบานเรือน และสังคมท่ีดี ซ่ึงแนวคิดเกี่ยวกับบริหารจัดการบานเมืองท่ีดีนั้นไดรับอิทธิพลมาจากกระแสของการจัดการในภาคเอกชนท่ีมุงหวังใหระบบราชการมีคุณภาพ สามารถใหบริการอยางมีคุณภาพและใชทรัพยากรอยางคุมคา

Page 38: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

28

คําวา “Good Governance” มีการใชศัพทกันอยูหลายคํา ไดแก ธรรมาภิบาล การปกครองท่ีดี ธรรมรัฐ อยางไรก็ดี Good Governance โดยศัพท หมายถึง กติกา หรือ กฎเกณฑ การปกครองที่ดี เหมาะสม และเปนธรรม ท่ีใชในการรักษาบานเมือง และสังคมท่ีดีในทุกๆดาน และทุกๆระดับ รวมถึงการจัดระบบองคกร และกลไกของคณะรัฐมนตรี สวนราชการ องคกรของภาครัฐ และรัฐบาลท่ีไมใชสวนราชการ การบริหารราชการสวนภูมิภาคและสวนทองถ่ิน องคกรท่ีไมใชรัฐบาล องคกรเอกชน ชมรม และสมาคมเพื่อกิจกรรมตางๆ นิติบุคคลเอกชน และภาคประชาสังคม (สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2548) หลักธรรมาภิบาล (Good governance) นั้นอันท่ีจริงแลวก็คือหลักการบริหาร (Administrative Principles) ท่ัวไป ซ่ึงเปนการรวบรวมเอาคุณคา (Values) หรือแนวทางท่ีพึงประสงคเพื่อใหองคกรหรือหนวยงานใชสําหรับกําหนดแนวทางและการประพฤติปฏิบัติในการทํางาน อยางไรก็ดี หลักธรรมาภิบาลนี้ก็มีลักษณะเฉพาะซ่ึงตางจากหลักการบริหารโดยทั่วไปในสาระสําคัญ นั่นคือ เปนหลักการที่มุงเนนปรับใชกับองคการหรือหนวยงานที่มีบทบาทใน “พื้นท่ีสาธารณะ” ซ่ึงหมายถึงองคการหรือหนวยงานท่ีมีกระบวนการใชทรัพยากร การบริหารจัดการ หรือผลผลิตและผลลัพธ ในการดํ า เนินงาน ท่ี มีความ เกี่ ย วข องห รือมีผลกระทบตอ สังคม(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548) การที่หลักการธรรมาภิบาลไดรับความสนใจ และเปนท่ียอมรับอยางแพรหลายท่ัวโลกน้ัน เกิดจากบทบาทขององคกรระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งธนาคารโลก (World Bank) กลาวคือ ในระยะคริสตทศวรรษที่ 1980 ธนาคารโลกในฐานะผูใหความชวยเหลือ และเงินทุนกูยืมเพื่อการพัฒนาแกประเทศโลกท่ีสาม ไดตระหนักวาการท่ีประเทศเหลานี้จะสามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวมไดนั้น หัวใจสําคัญอยูท่ีการปรับโครงสราง และระบบการบริหารปกครองประเทศ จากประสบการณของการพัฒนาในทวีปแอฟริกาไดช้ีใหเห็นวา การพัฒนาอยางยั่งยืนจะเกิดข้ึนไดนั้นก็ตอเม่ือประเทศเหลานี้มีรัฐบาลท่ีมีเสถียรภาพ มีความชอบธรรมในทางการเมืองการปกครอง และการมีระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ ภายใตทัศนะดังกลาว ธนาคารโลกจึงไดริเร่ิมรณรงคใหประเทศโลกท่ีสามตางๆมีระบบการบริหารปกครองท่ีดีภายใตหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงมีสาระสําคัญ ใน 4 ประการดังนี้ ความรับผิดชอบตอประชาชน ความชอบธรรมทางการเมือง ความโปรงใสในการทํางาน และการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา ซ่ึงในระยะเวลาตอมาองคกรระหวางประเทศหลายตอหลายแหงก็ไดขานรับ และชวยตอกย้ําแนวคิดดังกลาว พรอมท้ังนําเสนอหลักธรรมาภิบาลของตนเองใหแพรหลายออกไป อาทิเชน องคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและพัฒนา (OECD) โครงการ

Page 39: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

29

เพื่อการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) ธนาคารเพ่ือการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) เปนตน (สุธาวัลย เสถียรไทย, 2545) ธรรมาภิบาลเร่ิมใชกันอยางแพรหลายในประเทศไทยภายหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เนื่องมาจากการตกลงกับกองทุนการเงินระหวางประเทศท่ีเขามาชวยแกปญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจในป 2540 ซ่ึงท้ังรัฐบาลไทย และกองทุนการเงินระหวางประเทศเช่ือวาวิกฤติเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึน เปนผลสวนหนึ่งมาจากการบริหารจัดการท่ีไมดี(บวรศักดิ์ สุวรรณโณ, 2543) 2.3.3 หลักการของธรรมภิบาล ระเบียบสํานักนายกรัฐมาตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2542 มุงเนนใหหนวยงานของรัฐดําเนินงานตามภาระหนาท่ีโดยยึดหลักการพื้นฐาน 6 ประการ ไดแก 1) หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตางๆ ใหทันสมัยและเปนธรรม เปนท่ียอมรับของสังคม และสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับเหลานั้น โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของบุคคล 2) หลักคุณธรรม ไดแก การยึดม่ันในความถูกตองดีงาม โดยรณรงคใหเจาหนาท่ีของรัฐยึดถือหลักนี้ในการปฏิบัติหนาท่ีใหเปนตัวอยางแกสังคม และสงเสริมสนับสนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอมกัน เพื่อใหคนไทยมีความซ่ือสัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริตจนเปนนิสัยประจําชาติ 3) หลักความโปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซ่ึงกันและกันของคนในชาติ โดยปรับปรุงกลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก และมีกระบวนการใหประชาชนตรวจสอบความถูกตองชัดเจนได 4) หลักความมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม รับรู และเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญของประเทศ ไมวาดวยการแจงความเห็นการไตสวนสาธารณะ การประชาพิจารณ การแสดงประชามติ หรืออ่ืนๆ 5) หลักความรับผิดชอบ ไดแก การตระหนักในสิทธิหนาท่ี ความสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาสาธารณะของบานเมือง และกระตือรือรนในการแกปญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นท่ีแตกตาง และความกลาท่ีจะยอมรับผลจากการกระทําของตน

Page 40: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

30

6) หลักความคุมคา ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัดเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัด ใชของอยางคุมคาสรางสรรคสินคาและบริการที่ มี คุณภาพสามารถแขงขันไดในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติใหสมบูรณยั่งยืน หลักการธรรมาภิบาลตามท่ี UN ESCAP (United Nations Economic and Social Commission for Asia and The Pacific) กําหนดไวมี 8 ประการ (อางถึงในสุทัศนา สุทธิกุลสมบัติ, 2549) กลาวคือ 1) การมีสวนรวม การมีสวนรวมของสมาชิกท้ังชายหญิง คือการตัดสินใจที่สําคัญในสังคมและสรางความสามัคคีใหเกิดกับประชาชน การมีสวนรวมสามารถทําไดโดยอิสระไมมีการบังคับ สมาชิกเต็มใจใหความรวมมือดวยตนเอง หรือมีสวนรวมผานหนวยงาน สถาบันหรือผูแทนตามระบอบประชาธิปไตย 2) การปฏิบัติตามกฎ ธรรมาภิบาลตองการความถูกตองตามกฎหมาย ไมเลือกปฏิบัติ ไมลําเอียง มีการปฏิบัติอยางเสมอภาค และเปนธรรมกับประชาชนโดยเทาเทียมกัน ทุกคนในสังคมอยูภายใตขอกําหนดของกฎหมายเดียวกัน 3) ความโปรงใส ความโปรงใสเปนการตรวจสอบความถูกตอง มีการเปดเผยขอมูลอยางตรงไปตรงมาส่ิงนี้ชวยแกปญหาการทุจริต และคอรัปช่ันไดท้ังในภาครัฐ และเอกชน ส่ือจะเขามามีบทบาทอยางมากในการตรวจสอบ และรายงานผลการดําเนินงานโดยการนําเสนอขาวสารใหแกสังคมไดรับทราบ 4) ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบเปนการพยายามใหทุกคนทุกฝายทําหนาท่ีของตนใหดีท่ีสุดในการทํางาน กลาท่ีจะตัดสินใจ และรับผิดชอบตอการตัดสินใจนั้นๆ 5) ความสอดคลอง ความสอดคลองตองกันเปนการกําหนด และสรุปความตองการของคนในสังคม ซ่ึงมีความแตกตางกันอยางมาก โดยพยายามหาจุดสนใจรวมกัน และความตองการท่ีสอดคลองกันของสังคมมาเปนขอปฏิบัติเพื่อลดปญหาความขัดแยงในสังคม การพัฒนาสังคมได ตองทราบความตองการท่ีสอดคลองตองกันของสังคมนั้นๆดวยวิธีการเรียนรู วัฒนธรรมของสังคมนั้นๆกอน

Page 41: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

31

6) ความเสมอภาค ความเสมอภาคเปนสิทธิข้ันพื้นฐานท่ีประชาชนทุกคนพึงไดรับจากรัฐบาล ท้ังการบริการดานสวัสดิการตลอดจนสาธารณูปโภคดานอ่ืนๆ 7) การมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เปนวิธีการจัดการทรัพยากรที่มีอยู โดยการผลิตและจําหนายเพื่อใหไดผลตอบแทนท่ีคุมคากับเงินท่ีลงทุนหรือการใชทรัพยากรใหไดประโยชนสูงสุดตอมวลมนุษยชาติ โดยมีการพัฒนากระบวนการเพ่ิมผลผลิตอยางตอเนื่องและยั่งยืน 8) การมีเหตุผล การมีเหตุผลเปนความตองการในทุกสังคม ประชาชนทุกคน ตองตัดสินใจ และรับผิดชอบตอการกระทําของตนดวยเหตุดวยผลท่ีสมเหตุสมผล การมีเหตุผลไมสามารถกระทําไดถาปราศจากการปฏิบัติตามกฎหมายและความโปรงใส เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2541) ไดเสนอธรรมาภิบาล ประกอบดวยการมีสวนรวมของประชาชน กฎหมายท่ียุติธรรม ความเปดเผยโปรงใส การมีฉันทามติรวมในสังคมกลไกการเมืองท่ีชอบธรรม ความเสมอภาค ประสิทธิภาพและประสิทธิผล พันธะความรับผิดชอบตอสังคม และการมีวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ มีรายละเอียดดังนี้ 1) การมีสวนรวมของประชาชน (Public participation) ประชาชนท้ังชายและหญิงมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจอยางเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนการมีสวนรวมโดยตรงหรือทางออม โดยผานสถาบันตางๆท่ีมีอํานาจอันชอบธรรม 2) กฎหมายท่ียุติธรรม (Rule of law) การปกครองประเทศจะใชกฎหมายเปนบรรทัดฐาน และทุกคนเคารพกฎหมาย โดยท่ีกรอบของกฎหมายที่ใชในประเทศตองมีความยุติธรรม และถูกบังคับใชกับคนกลุมตางๆอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน 3) ความเปดเผยโปรงใส (Transparency) กระบวนการทํางาน กฎเกณฑกติกา มีความเปดเผยตรงไปตรงมา ขอมูลขาวสารตางๆในสังคมสามารถถายโอนไดอยางเปนอิสระ (Free flow of information) ประชาชนสามารถเขาถึง และรับทราบขอมูลขาวสารหรือขาวสารสาธารณะของทางราชการไดตามกฎหมายบัญญัติ 4) การมีฉันทานุมัติรวมในสังคม (Consensus orientation) การตัดสินใจดําเนินนโยบายใดๆของภาครัฐ ตองมีการประสานความตองการหรือผลประโยชนท่ีแตกตางของกลุมคนในสังกัดใหเกิดความเห็นรวมกัน (Broad consensus) บนพื้นฐานของส่ิงท่ีเปนประโยชนสูงสุดแกสังคมโดยรวม

Page 42: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

32

5) กลไกการเมืองท่ีชอบธรรม (Political legitimacy) กระบวนการเขาสูอํานาจทางการเมืองมีความชอบธรรม และเปนท่ียอมรับของสังคมในสังคม เชน การไดมาซ่ึงสมาชิก สภาผูแทนราษฎร ท่ีมีคุณภาพ การมีคณะรัฐมนตรีท่ีปฏิบัติงานเพื่อประโยชนแกสวนรวม การมีระบบราชการสุจริต โปรงใส ตรวจสอบได การมีกระบวนการเปดเผยทรัพยสินและหน้ีสินของนักการเมือง การมีคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ทําหนาท่ีไตสวน และวินิจฉัยเจาหนาท่ีรัฐท่ีรํ่ารวยผิดปกติ 6) ความเสมอภาค (Equity) ประชาชนทุกคนมีความสามารถอยางเทาเทียมกันในการเขาถึงโอกาสตางๆในสังคมเชน โอกาสพัฒนาหรือความเปนอยูท่ี โดยรัฐเปนผูจัดสรรสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงบริการโดยเทาเทียมกัน 7) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Effectiveness and efficiency) กระบวนการและสถาบันตางๆ เชนรัฐสามารถจัดสรรใชทรัพยากรตางๆไดอยางคุมคา และเหมาะสม เพื่อตอบสนองความตองการของคนในสังคมโดยรวม รวมถึงการทํางานท่ีรวดเร็วมีคุณภาพและกอใหเกิดประโยชนสูงสุด 8) พันธะความรับผิดชอบตอสังคม (Accountability) การตัดสินใจใดๆของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนตองกระทําโดยมีพันธะความรับผิดชอบในส่ิงท่ีตนเองกระทําตอสาธารณชนหรือผูมีสวนไดสวนเสียกับหนวยงานนั้น โดยคํานึงผลประโยชนท่ีจะเกิดข้ึน แกสวนรวมเปนหลัก และมีจิตใจเสียสละ เห็นคุณคาสังคมท่ีตนเองสังกัดอยู 9) การมีวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic vision) การที่ผูนํา และประชาชนในประเทศมีวิสัยทัศนในการสรางธรรมาภิบาลและการพัฒนาอยางยั่งยืน หลักการธรรมาภิบาลตามท่ีธนาคารโลก นําเสนอมี 4 ประการดังนี้ (เอก ต้ังทรัพยวัฒนา, 2546 อางถึงใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548) 1) หลักความรับผิดชอบ หมายถึงวา รัฐบาลจะตองมีความรับผิดชอบตอประชาชน โดยถือวาขอเรียกและปญหาตางๆของประชาชนน้ันมีความสําคัญ และตองมีการรับไปปฏิบัติ 2) หลักความชอบธรรม หมายถึงวา การใชอํานาจในทางการเมือง และการบริหารประเทศนั้นจะตองเปนท่ียอมรับของประชาชน 3) หลักความโปรงใส หมายถึงวา กระบวนการทํางานของรัฐบาลนั้นจะตองเปนไปโดยเปดเผย สุจริต มีขอมูลรายละเอียดตางๆท่ีพรอมตอการตรวจสอบตอลดเวลา

Page 43: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

33

4) หลักการมีสวนรวม หมายถึงวา กระบวนการบริหารปกครองประเทศนั้นจะตองมุงเนนการลดบทบาทของรัฐลง โดยเปดโอกาสใหประชาชน และภาคธุรกิจเอกชนเขามามีสวนรวม ธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (Asian Development Bank) ซ่ึงเปนหนวยงานภายใตการกํากับของธนาคารโลก ไดกําหนดองคประกอบของธรรมาภิบาล หรือ Good Governance วาประกอบดวย 1) หลักความรับผิดชอบ หมายถึง ขาราชการหรือผูที่ปฏิบัติงานในภาครัฐจะตองรับผิดชอบตอผลงานของตนเอง และภารกิจท่ีตนเองมีอํานาจหนาท่ีดําเนินการ 2) การมีสวนรวม หมายถึงการมีสวนรวมของภาคสวนตางๆท่ีมิใชเพียงภาคประชาชน แตยังหมายถึงการมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย หรือกลุมท่ีไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการหรือนโยบายสาธารณะบางประเภทของรัฐ การกระจายอํานาจและการมอบอํานาจใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และการประสานงานพัฒนารวมกับองคกรพัฒนาเอกชนตางๆ 3) การคาดการณ หมายถึง การดํารงอยูของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบายและกระบวนการซ่ึงเกี่ยวของกับการควบคุมทางสังคม และการปฏิบัติงานของภาครัฐท่ีสามารถตอบสนองตอปญหาในอนาคตได 4) ความโปรงใส หมายถึงการเปดเผยขอมูลขาวสารของทางราชการ ขอบังคับ และกระบวนการตัดสินใจของภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งความโปรงใสในกระบวนการทางงบประมาณ (Asian Development Bank, 2002 อางถึงใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548) ธรรมาภิบาล หรือ Good governance นับวาเปนเร่ืองใหมท่ีมีความจําเปนและตองปลูกฝงและสรางสรรคใหเกิดข้ึนกับทุกภาค สวนในสังคมไทยกระทําโดยการปรับเปล่ียนความคิดและคุณคาใหมหรือปฏิรูปจากกระบวนทัศนเกา ระบบสถาบันเกา และวิธีการทํางานแบบเกา ซ่ึงเปนปญหาไมสามารถปรับตัวใหเผชิญกับกระแสของโลกในยุคโลกาภิวัตน และสภาพแวดลอมในยุคใหมท่ีมีลักษณะสลับซับซอนเช่ือมโยงตอกัน และมีการเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว ดังนั้นในการปรับเพื่อสรางสรรคธรรมาภิบาลใหเกิดข้ึน จําเปนจะตองรวมดําเนินการจากทุกภาคสวนในสังคมอยางตอเนื่องท้ังในระยะเฉพาะหนา ท่ีตองใหความสําคัญกับการรณรงคสรางความตระหนักและเรียนรูรวมกันของคนในสังคม และผลักดันเพื่อใหเกิดกระบวนการสรางสรรคกลไกธรรมาภิบาลข้ึน โดยในการสรางสรรคตองมีการปฏิรูปใน 3 สวนหลัก คือ (เจริญพงษ วิญูนุรักษ, 2543)

Page 44: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

34

1) ภาครัฐ ตองมีการปฏิรูปบทบาทหนาท่ีโครงสรางและกระบวนการทํางานของหนวยงาน/กลไกการบริหาร ใหสามารถเปนกลไกซ่ึงบริหารทรัพยากรของสังคมอยางโปรงใส ซ่ือตรง เปนธรรม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและสมรรถนะสูงสุดในการนําบริการของรัฐท่ีมีคุณภาพไปสูประชาชน โดยจุดสําคัญอยูท่ีการเปล่ียนทัศนคติ คานิยม และวิธีทํางานของเจาหนาท่ีรัฐใหทํางาน โดยยึดถือประชาชนเปนศูนยกลางในการทํางาน และสามารถรวมทํางานกับภาคประชาชน และภาคเอกชนไดอยางราบร่ืนเปนมิตร 2) ภาคธุรกิจเอกชน ตองมีการปฏิรูปและกําหนดกติกาใหหนวยงานเอกชน เชน บริษัท หางหุนสวน ฯลฯ ใหมีกติกาการทํางานท่ีโปรงใส ซ่ือตรง เปนธรรมตอลูกคา มีความรับผิดชอบตอผูถือหุน และตอสังคมรวมท้ังมีระบบติดตามตรวจสอบที่มีคุณภาพ มาตรฐานการใหบริการเทียบเทาระดับสากล และรวมทํางานกับภาครัฐและภาคประชาชนไดอยางราบร่ืน เปนมิตร และมีความไววางใจซ่ึงกันและกัน 3) ภาคประชาชน ตองสรางความตระหนักหรือสํานึกต้ังแตระดับปจเจกบุคคลถึงระดับกลุมประชาสังคม ในเร่ืองของสิทธิหนาท่ี ความรับผิดชอบของตนเอง และสาธารณะ ท้ังในทางเศรษฐกิจสังคมและการเมือง เพื่อเปนพลังของประเทศท่ีมีคุณภาพ มีความรู มีความเขาใจในหลักการของการสรางกลไกการบริหารกิจการบานเมือง และสังคมท่ีดีหรือธรรมาภิบาลใหเกิดข้ึนและทํานุบํารุงรักษาใหดียิ่งข้ึนตอไป ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ธรรมาภิบาลเปนการนําบานเมืองและสังคมไปสูคุณภาพท่ีดีข้ึน เปนแนวทางในการจัดระเบียบใหแกท้ังสวนของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนใหสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข มีความรัก ความสามัคคี นําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนตอไป ความสัมพันธระหวางธรรมาภิบาลกับสวนตางๆของสังคม สามารถแสดงสรุปเปนแผนภาพ ดังแสดง (ภาพประกอบ 2)

Page 45: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

35

ภาพประกอบ 2: ความสัมพันธระหวางธรรมาภิบาลกับสวนตางๆของสังคม ท่ีมา : เจริญพงศ วิญูนุรักษ, 2543 ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยใหความสําคัญตอหลักธรรมาภิบาล เพราะผลของ ธรรมาภิบาลทําใหประชาชนมีอํานาจ มีสวนรวม สามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาไดมากยิ่งข้ึน และประชาชนมีความใกลชิด ผูกพันกันมากข้ึน ในขณะเดียวกันรัฐจะเล็กลง ระบบการเมืองและระบบราชการในแบบอุปถัมภจะลดความสําคัญลง เพราะประชาชนมีความเขมแข็ง จากหลักการของธรรมาภิบาลขางตน จะเห็นไดวาเม่ือองคกรนําหลักการธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงาน ประชาชนก็จะเขามาเปนสวนหนึ่งของการบริหารจัดการ การวิจัยคร้ังนี้ศึกษาธรรมาภิบาลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยมีประชาชนในพ้ืนท่ีมีสวนรวม และสรางสรรคแนวคิดใหมๆ โดยการรวมคิด รวมทํา รวมติดตามความสําเร็จ ภายใตการสนับสนุน การรวมมือและการรวมอยางจริงใจจากสวนราชการ 2.3.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของเรื่องธรรมาภิบาล กิตติพงศ อุรพีพัฒนพงศ (2545) ศึกษาเร่ือง หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ : กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทําการศึกษาเปรียบเทียบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยเร่ือง การสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี พ.ศ. 2542 หลักเกณฑและแนวทางการกํากับดูแลท่ีดีในรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2544 ของกระทรวงการคลัง พบวาหลักเกณฑไมไดมีความแตกตางในสาระสําคัญนัก โดยเฉพาะเรื่องหลักความโปรงใส หลักความซ่ือสัตยสุจริต หลักความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาท่ี และหลักความสามารถในการแขงขัน ซ่ึงมีความแตกตางบางเล็กนอย เชน บริษัทจดทะเบียนตองดูแล

ภาคธุรกิจเอกชน

(Private Sector)

ภาครัฐ

(Public Sector)

ธรรมาภิบาล (Good Governance)

ภาคประชาสังคม

(Civil Society)

Page 46: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

36

ผลประโยชนของผูถือหุน หรือ ผูลงทุนเปนหลักสําคัญ แตบริษัทจดทะเบียนจะตองมีความรับผิดชอบกับผูมีสวนไดสวนเสียดวย โดยคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ จะเปนผูมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการปฏิบัติหนาท่ี และบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจที่เปนรัฐวิสาหกิจท่ีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย โดยท่ีกระบวนการแตงต้ังคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจจะตองไดผูท่ีมีความรูความสามารถ ซ่ือสัตยสุจริต และมีความโปรงใส เพื่อใหคณะกรรมการนําหลักธรรมาภิบาลไปบริหารจัดการองคกรนั้น เพื่อปฏิบัติงานไดอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหแกธุรกิจหรือกิจการนั้นๆ รวมท้ังการมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนหรือผูลงทุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ควรมีการประเมินผลงานฝายจัดการและคณะกรรมการเอง และจัดทําจรรยาบรรณของกรรมการผูบริหาร และพนักงานดวยกระบวนการสรรหาคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ควรเปดโอกาสใหผูถือหุนรายยอยหรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีสวนรวมในการพิจารณา ควรคัดเลือกจากบุคคลท่ีมีความรูความสามารถอยางแทจริง และมีความเปนอิสระ เพื่อจะกํากับดูแลการดําเนินงานของฝายบริหารรัฐวิสาหกิจ ดูแลผลประโยชนของผูถือหุนรายยอย โดยหนวยงานของรัฐท่ีเปนผูกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจและดูแลผูถือหุน ตองมีหลักธรรมาภิบาลทุกหนวยและปฏิบัติตามอยางเครงครัด ภาคภูมิ นิยมวัทยพันธุ (2546) ศึกษาเร่ืองความเปนธรรมาภิบาลในองคการบริหารสวนตําบล: ศึกษากรณี องคการบริหารสวนตําบลดงบัง อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี พบวา ดานนิติธรรม ในดานนี้มีขอนาสังเกตวาประชาชนยังไมไดเขามามีสวนรวมในการเสนอออกขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบล โดยสวนใหญประชาชนมักจะใชวิธีการรองเรียนผานสมาชิกหรือปลัดองคการบริหารสวนตําบล เพื่อแกไขปญหาท่ีตนเองเผชิญอยู ซ่ึงมีอยูหลายปญหาท่ีองคการบริหารสวนตําบลไดนําไปประชุมเพื่อแกไขปญหา และไดออกขอบัญญัติองคการบริหารสวนตําบล สวนการอบรมเร่ืองกฎหมายทองถ่ิน พบวาองคการบริหารสวนตําบลดงบังไดดําเนินการในเร่ืองนี้นอย ดานคุณธรรม พบวาคณะกรรมการบริหารและพนักงานสวนตําบลไมเคยถูกรองเรียนเร่ืองทุจริตและการใหบริการโดยไมเลือกปฏิบัติ มีการส่ือสารเพื่อใหเกิดความเขาใจในแนวทางการปฏิบัติงานท่ีมีความเปนธรรมาภิบาล ดานความโปรงใส พบวา องคการบริหารสวนตําบลดงบังไดจัดใหมีกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธขาวสารขององคการบริหารสวนตําบลในหลายรูปแบบ อีกท้ังยังเปดโอกาสใหบุคคลหรือองคกรตางๆเขามาศึกษาและตรวจสอบการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลดงบัง ดานการมีสวนรวม พบวา ในหลายกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับประชาชนใน ตําบลดงบัง องคการบริหารสวนตําบลจะเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการ

Page 47: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

37

วางแผน ดําเนินงานและตรวจสอบ ดังท่ีพบในกิจกรรมปาชุมชน การวางแผนพัฒนา 5 ป หรือ วางแผนพัฒนาตําบลประจําป รวมถึงการเปดโอกาสใหประชาชนเขามาเปนกรรมการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจาง ดานความรับผิดชอบ พบวา สมาชิกองคการบริหารสวนตําบลมีความรับผิดชอบตอการประชุม โดยไมขาดการประชุมบอยคร้ัง แตก็ยังมีบรรยากาศในการประชุมท่ีมีการแสดงความคิดเห็นหรือการซักถามยังไมท่ัวถึง และองคการบริหารสวนตําบลไดจัดสรรงบประมาณสอดรับกับแผนพัฒนามากกวารอยละ 70 องคการบริหารสวนตําบลดงบังใหความสําคัญกับประชาชนท่ีมาใชบริการเปนอันดับแรก ดานความคุมคา พบวา องคการบริหารสวนตําบลดงบัง ไดทําการจัดซ้ือจัดจางไดตํ่ากวาราคากลางท่ีต้ังไว และไดจัดใหมีการตรวจสอบการใชงบประมาณอยางเปนระบบ โดยมีหลายฝายเปนผูตรวจสอบ รวมท้ังการเปดโอกาสใหประชาชนเขามาตรวจสอบการใชงบประมาณไดตลอดเวลา แตวาองคการบริหารสวนตําบลจัดใหมีการอบรมคณะกรรมการบริหาร และพนักงานสวนตําบลในเร่ืองเทคนิควิธีการตางๆคอนขางนอย สุธาวัลย เสถียรไทย (2546) ไดทําการศึกษาวิจัย ธรรมาภิบาลและการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการส่ิงแวดลอม: กรณีศึกษาการจัดการมูลฝอย พบวาเง่ือนไขหลักท่ีจําเปนตอการเกิดธรรมาภิบาล ตลอดจนปญหาท่ีเกี่ยวเนื่องเง่ือนไขเหลานั้น ไดแก 1) การมีระบบการคานและถวงดุลอํานาจท่ีสามารถตรวจสอบไดโดยการมีสวนรวมของประชาชน 2) การมีการสรางแรงจูงใจท่ีเหมาะสม สามารถเอาผลและชดเชยผูเสียหายไดอยางประสิทธิผล และเปนธรรม 3) การสรางองคความรูกระบวนการเรียนรู และคนหาขอมูลโดยการมีสวนรวมของประชาชน 4) การปองกันการคอรัปช่ัน และลดอํานาจในการใชวิจารณญาณของเจาหนาท่ีรัฐ รวมถึงการลดปญหาการมีเปาหมายหรือวัตถุประสงคท่ีสวนทางกัน (Conflict of interest) ของหนวยราชการ 5) การลดตนทุนดําเนินการ (Transaction cost) ในกระบวนการจัดการตางๆ เพื่อทําใหระบบมีประสิทธิภาพมากข้ึน 6) การสงเสริมดานจริยธรรมและคุณธรรม ตลอดจนสรางจิตสํานึกท่ีถูกตองใหกับผูท่ีเกี่ยวของในทุกระดับ เจนสรร เจนสัจวรรณ (2549) ศึกษาเร่ืองธรรมาภิบาลดานการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลหนองไผ อําเภอดานมะขามเต้ีย จังหวัดกาญจนบุรี พบวาองคการบริหารสวนตําบลหนองไผมีการใชหลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการในระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานของการมีสวนรวม ความโปรงใส และการยึดหลักนิติธรรม ในขณะท่ีสภาพชุมชนในพื้นท่ีตําบลหนองไผเองนั้น ก็ถือไดวาเปนพื้นท่ีท่ีมีระดับทุนทางสังคมอยูในระดับสูง กลาวคือเปนชุมชนท่ีมีความเปนภราดรภาพ

Page 48: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

38

เนื่องจากประชาชนในพื้นท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกับแบบเครือญาติ พรรคพวก ท่ีนอง ชาวบานท่ัวไปจะใหความสนใจและใหความรวมมือในกิจกรรมสาธารณะในระดับท่ีสูงพอสมควร โดยผานบทบาทของผูหลักผูใหญ และบุคคลท่ีไดรับการยอมรับนับถือและเคารพยําเกรงในพ้ืนท่ี เชน กํานันผูใหญบาน ตลอดจนถึงสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลในพื้นท่ีหมูบานตางๆ ในขณะท่ีผลการศึกษาวิเคราะหตามกรอบแนวคิดวาดวยการกระจายอํานาจนั้น พบวาความเปนอิสระในการบริหารจัดการขององคการบริหารสวนตําบลมีคอนขางตํ่า เนื่องจากสาเหตุดานความจํากัดของงบประมาณ และแหลงรายไดท่ีมีอยูนอยขององคการบริหารสวนตําบลเองเปนสําคัญ ดานปจจัยท่ีสงผลใหองคการบริหารสวนตําบลหนองไผ มีรูปแบบการบริหารจัดการดานส่ิงแวดลอมท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาลนั้น เกิดจากปจจัยสําคัญหลายประการ ท้ังในสวนท่ีเปนปจจัยภายใน ไดแก รูปแบบการบริหารจัดการ และลักษณะความสัมพันธของบุคลากรฝายตางๆภายในองคการบริหารสวนตําบลเอง ตลอดจนถึงทัศนคติและบุคลิกลักษณะสวนตัวของผูนําฝายบริหารคือนายกองคการบริหารสวนตําบล และความสามารถของผูนําฝายขาราชการคือปลัดองคการบริหารสวนตําบล ปจจัยภายนอก ไดแก ลักษณะเฉพาะของสภาพพื้นท่ี ซ่ึงยังคงเปนสังคมเกษตรกรรมท่ีมีขนาดไมใหญนักและมีประชากรนอย ตลอดจนระดับทุนทางสังคมในพ้ืนท่ีท่ีมีอยูคอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชรูปแบบความสัมพันธในเชิงดิ่ง เตือนใจ ฤทธิจักร (2550) ศึกษาเร่ืองธรรมาภิบาลในการบริหารสถาบันนิติวิทยาศาสตรตามทัศนะของบุคลากรสถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม พบวาบุคลากรมีทัศนะตอธรรมาภิบาลในการบริหารสถาบันนิติวิทยาศาสตร ระดับปานกลางทุกดาน ประเด็นท่ีบุคลากรมีทัศนะระดับมาก ไดแก สถาบันนิติวิทยาศาสตรรณรงคใหบุคลกรปฏิบัติหนาท่ีโดยยึดหลักความรับผิดชอบ กําหนดกฎระเบียบการปฏิบัติงานตามระเบียบของทางราชการตามระเบียบสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน บุคลากรปฏิบัติหนาท่ีโดยคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม และผูบริหารสถาบันนิติวิทยาศาสตรรณรงคใหบุคลากรปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและทํางานอยางมีคุณภาพ บุคลากรสถาบันนิติวิทยาศาสตร ท่ีมีอายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และตําแหนงหนาท่ีท่ีแตกตางกัน มีทัศนะตอธรรมาภิบาลในการบริหารสถาบันนิติวิทยาศาสตรแตกตางกัน กลาวโดยสรุป ธรรมาภิบาลมีความสําคัญ และมีความเก่ียวของในการบริหารจัดการในหนวยงานหรือองคกรตางๆ ท่ีตองการไปสูเปาหมาย และการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดี โดยมีรูปแบบการทํางานท่ีดําเนินไปดวยกันทุกฝาย สําหรับในงานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนั้น ซ่ึงการจัดการขยะมีผลตอคุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชนในพ้ืนท่ีโดยตรง ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาหลักการธรรมาภิบาลใน 4 ประเด็น ดังนี้

Page 49: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

39

1) การมีสวนรวม เปนการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม และรับรูการดําเนินงานไดอยางเสรี ซ่ึงข้ันตอนในการเขามามีสวนรวม 4 ข้ันตอน ไดแกการมีสวนรวมในข้ันตอนการระบุปญหา การมีสวนรวมในข้ันตอนการตัดสินใจ การมีสวนรวมในข้ันตอนการรับผลประโยชน และการมีสวนรวมในข้ันตอนการประเมินผล 2) ความรับผิดชอบ ไมเพียงแตการปฏิบัติในหนาท่ีหลักท่ีไดรับมอบหมายเทานั้น การไมมีขอรองเรียนในการทํางาน หรือถามีตองมีการแกไข พรอมท้ังสามารถตอบคําถามท่ีเกิดข้ึนได และตองมีการทํางานเชิงรุกท่ีสามารถเขาถึงประชาชนใหไดมากท่ีสุด 3) การสนองตอบตอความตองการประชาชน การดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางๆท่ีเปนไปตามความตองการของประชาชน อาจจะไมสามารถดําเนินการไดทุกโครงการ/กิจกรรม แตตองมีการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน และนําผลการประเมินมาปรับใชในการดําเนินการโครงการและกิจกรรมในคร้ังๆตอไป 4) ความโปรงใส เปนการสรางความไววางใจซ่ึงกันและกันของเจาหนาท่ีตอผูบริหาร และประชาชนท่ีมีตอเทศบาล ผานทางการเปดเผยขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอประชาชนอยางตรงไปตรงมา ผานทางส่ือและชองทางที่หลากหลาย ประชาชนเขาถึงไดอยางงาย และสะดวก เม่ือเกิดความไววางใจในการทํางานของเทศบาลแลว ท้ังเจาหนาท่ีและประชาชนก็จะเขามารวมในงานโครงการและกิจกรรมตางๆ 2.4 แนวคิดเก่ียวกับทุนทางสังคม แนวคิดเกี่ยวกับ “ทุนทางสังคม” เร่ิมตนข้ึนมากวา 80 ปแลวในรัฐเวสตเวอรจิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในป 2000 Woolock and Narayan (2000) ทําการศึกษาความสัมพันธของการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมการเรียนการสอนในโรงเรียน และพบวาทุนทางสังคมเปนส่ิงท่ีพบเห็นไดในชีวิตประจําวันไมวาจะเปนไมตรีจิต มิตรภาพ ความเห็นอกเห็นใจ และปฏิสัมพันธทางสังคมระหวางปจเจกบุคคลกับครอบครัว ชุมชน และหากแตละปจเจกบุคคลตางมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับเพื่อนบาน แลวขยายออกไปเร่ือยๆอยางกวางขวาง ก็จะนําไปสูการสะสมทุนทางสังคมในชุมชนนั้นๆ(วรวุฒิ โรมรัตนพันธ, 2547) ในปจจุบันคําวา “ทุนทางสังคม” (Social Capital) กําลังไดรับความสนใจและเปนท่ียอมรับวามีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆทั้งในประเทศและตางประเทศ

Page 50: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

40

2.4.1 ความหมายและองคประกอบของทุนทางสังคม นักวิจัยท้ังในประเทศ และตางประเทศไดใหความหมายของคําวา “ทุนทางสังคม” ไวมากมายไดแก World Bank (1999 อางถึงในรัตนพงษ จันทวงษ, 2546: 15) ไดกลาวถึงทุนทางสังคมวา “เปนสถาบัน (Institutions) ความสัมพันธ (Relationships) และบรรทัดฐาน/จารีต (Norms) ซ่ึงมีลักษณะท่ีเปนท้ังคุณภาพและปริมาณของการปฏิสัมพันธกันของคนในสังคม ทุนทางสังคมไมไดเกิดไดในสถาบันท้ังหมดของสังคม แตเปนกาวท่ีเช่ือมสถาบันเหลานั้นเขาดวยกัน บรรทัดฐาน/จารีต และความสัมพันธในสังคมเปนส่ิงท่ีฝงอยูในโครงสรางสังคม ซ่ึงสามารถทําใหผูคนเกิดความรวมมือเพื่อเปาหมายสูงสุด นอกจากนั้นทุนทางสังคมอาจจะถูกมองในลักษณะท่ีเปนเจตคติและคุณคาท่ีเกิดจากการดําเนินงานระหวางคนภายในชุมชนและความชวยเหลือในดานเศรษฐกิจ และการพัฒนาจากภายนอกชุมชน” Woolcock และ Narayam (อางถึงใน วรวุฒิ โรมรัตนพันธ, 2548) เห็นวา “ทุนทางสังคมเปนบรรทัดฐาน (Norms) และเครือขาย (Network) ท่ีชวยใหคนมาทํากิจกรรมรวมกัน” ประเวศ วะสี (2541) ไดใหความหมายของทุนทางสังคม คือ การที่คนมารวมกัน เอาความดีมารวมกัน เอาความรูมารวมกัน เรียกวา เกิดทุนทางสังคม ซ่ึงนําไปสูพลังทางสังคมท่ีจะแกปญหาตางๆไดทุกอยาง อมรา พงศาพิชญ (2543) ไดใหความหมายของคําวา ทุนทางสังคม วาเปนความสัมพันธทางสังคมในแนวราบและแนวต้ัง ระหวางบุคคล สถาบันและ/หรือองคกร ท้ังในรูปปจเจก กลุมและรูปเครือขาย รวมท้ังคานิยม บรรทัดฐานท่ีสังคมยึดถือ ซ่ึงมีผลตอวิถีชีวิตและวิถีการผลิตในระดับครอบครัว ชุมชนและประชาสังคม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) (2546) กําหนดให “ทุนทางสังคม” หมายถึง ผลรวมของส่ิงดีงามตาง ๆ ท่ีมีอยูในสังคมท้ังในสวนท่ีไดจากการส่ังสมและการตอยอด รวมถึงการรวมตัวของคน ท่ีมีคุณภาพเพื่อสรางประโยชนตอสวนรวม บนพื้นฐานของความไวเนื้อเช่ือใจ สายใยแหงความผูกพันและวัฒนธรรมท่ีดีงาม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (2548) ไดใหคํานิยามของ ทุนทางสังคม วาคือ “ลักษณะทางสังคมท่ีปจเจกชนและองคกรทางสังคมมีเครือขาย (Network) มีความไววางใจ (Trust) และมีบรรทัดฐานในการปฏิบัติ (Norms) เพื่อการสงเสริม เกื้อหนุน และรวมมือในการดําเนินงานซ่ึงกันและกัน ซ่ึงกอใหเกิดความสามารถในการปรับปรุงภาวะสังคม องคกร และตนเองใหบรรลุเปาประสงคท่ีกําหนดรวมกัน”

Page 51: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

41

ในบริบทของสังคมไทย คําวา “ทุนทางสังคม” นาจะหมายถึง ผลรวมของส่ิงดีงามตางๆ ท่ีมีอยูในสังคม ท้ังในสวนท่ีไดจากการส่ังสม และการตอยอด ซ่ึงครอบคลุมถึงการรวมตัวของคนท่ีมีคุณภาพ เพื่อสรางประโยชนตอสวนรวม บนพื้นฐานของความไวเนื้อเช่ือใจ สายใยแหงความผูกพัน และวัฒนธรรมท่ีดีงาม 2.4.2 แหลงกําเนิดทุนทางสังคม การศึกษาของโรเบิรต ดี พัทนัมท่ีเผยแพรผานทางเว็บไซตของธนาคารโลก (อางถึงใน World Bank, 2002) ท่ีระบุแหลงท่ีมาของทุนทางสังคมซ่ึงทําใหระดับของทุนทางสังคมเพิ่มข้ึน หรือลดลง และสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนไดแก 1) ครอบครัว (Families) เปนปจจัยหลักท่ีทําใหเกิดทุนทางสังคมท้ังทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมถึงคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ครอบครัวถือไดวาเปนแหลงแรกท่ีสรางรูปแบบของทุนทางสังคม และขยายสูสังคมภายนอก กลาวคือพอแมจะมีอิทธิพลตอการปฏิบัติตัวของเด็กในแงของการส่ังสอนปลูกฝงเร่ืองความซ่ือสัตย การไววางใจผูอ่ืน การรวมมือกับผูอ่ืน และเปนข้ันแรกในการเรียนรูของเด็ก มีประเด็นสําคัญ 2 หัวขอในสวนนี้ คืออิทธิพลดานความไววางใจของพอแมท่ีมีตอเด็กจะสามารถขยายไปสูกลุมคนอ่ืนๆหรือไม และความแตกตางบางอยางของชุมชนในดานระดับทุนทางสังคม ตองสามารถประเมินการกระจายเหลานี้จากการเติบโตของเด็กได 2) ชุมชน (Communities) การติดตอส่ือสาร ความสัมพันธระหวางเพื่อนบาน เพื่อนและกลุมตางๆ การทํางานรวมกัน ซ่ึงเปนปจจัยสําคัญท่ีนําไปสูพลวัตของการปฏิบัติงานรวมกันของมนุษยในสังคม กลาวคือ ประชาชนในชุมชน มีปฏิสัมพันธกับกลุมคนอ่ืนในสมาคมอ่ืนๆ ท่ีแตกตางกันและมีประสบการณดานความรวมมือท่ีเปนบวก ซ่ึงส่ิงเหลานี้จะสงเสริมศักยภาพของสมาชิกในการแกปญหา และในท่ีสุดจะมีอิทธิพลกอใหเกิดการไววางใจและบรรทัดฐานในการตอบแทนซ่ึงกันและกัน ขยายครอบคลุมท้ังชุมชนขยายครอบคลุมท้ังชุมชน     3) รานคา (Firm) ประสิทธิภาพขององคกร การกอต้ังและความยั่งยืน มีความตองการอยางยิ่งคือความไววางใจ ความคาดหวัง ผลประโยชนท่ีไดจากทุนทางสังคมคือ การลดตนทุนทางการผลิต     4) ประชาสังคม (Civil Society) ทุนทางสังคมคือเบาหลอมความสําเร็จขององคกร เพราะน่ันคือโอกาสเพื่อการมีสวนรวม และการออกเสียงเลือกต้ัง ฉันทามติ ลดความขัดแยง และชวยลดความเส่ียงของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนดวย 5) ภาคสาธารณะ (Public sector) เปนสวัสดิการและศูนยรวมส่ิงอํานวยความสะดวกใหแกคุณภาพชีวิตโดยท่ัวไปของสังคม เชน บริการสวัสดิการจากรัฐ หรือส่ิงท่ีชุมชนรวมมือรวมใจกันสรางสรรคเพื่อประโยชนของสวนรวม และมีบทบาทใน 2 ประเด็นคือ การกระจายรายได

Page 52: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

42

ท่ีเทาเทียมกันมีอิทธิพลตอความไววางใจ เชน ประเทศแถบสแกนดิเนเวียซ่ึงมีระดับของความไมเทาเทียมกันของรายไดตํ่า พบวามีระดับของความไววางใจสูงกวาอยางมีนัยสําคัญเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศเยอรมนีและสหรัฐฯ ดังนั้นรัฐบาลจึงควรมีบทบาทในการกําหนดนโยบายดานการกระจายรายได โดยอาจดําเนินการผานทางระบบสวัสดิการ และการสรางความไววางใจระหวางรัฐบาลกับประชาชน กลาวคือถาประชาชนเช่ือถือหรือไววางใจในการทํางานของรัฐบาล เช่ือม่ันวารัฐบาลมีความยุติธรรม มีบุคคลท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางาน และถาพวกเขาเช่ือวาประชาชนคนอ่ืนๆมีพฤติกรรมเชนเดียวกับรัฐบาล ก็จะไววางใจประชาชนเหลานั้นดวย จากการทดสอบความเปนเหตุเปนผลกันระหวางความไววางใจโดยท่ัวไป และความไววางใจในสถาบันการเมือง พบวามีความสัมพันธท่ีเปนไปในทิศทางเดียวกัน     6) กลุมชาติพันธุ (Ethnicity) หรือเช้ือชาติ อาจมองไดอีกมุมหนึ่งท่ีเปนตัวถวงของการพัฒนา เนื่องจากอาจมีท่ีรักมักท่ีชัง หรือการกําหนดตัวผูนํา ความขัดแยงดานเช้ือชาติ ซ่ึงมีผลตอการแสดงออกทางวัฒนธรรม และผลประโยชนท่ีไดรับรวมกัน     7) เพศ (Gender) ยกตัวอยางเชน เครือขายทางสังคมของกลุมสตรีในบราซิล มีความสําคัญตอการสรางรายไดและความเปนอยูของครอบครัวเปนอยางมากในการดําเนินชีวิตประจําวัน ทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนอาจมีการเปล่ียนแปลงเพ่ิมข้ึนหรือลดลง อาจเนื่องมาจากปจจัยตางๆดังท่ีไดกลาวมาแลวท่ีสงผลตอทุนทางสังคมที่เกิดจากปฏิสัมพันธทางสังคมของสมาชิกท่ีมีตอกัน และสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในท่ีสุด 2.4.3 ทุนทางสังคมในบริบทของสังคมไทย แนวความคิดเกี่ยวกับ “ทุนทางสังคม” (Social Capital) เปนแนวคิดท่ีคอนขางใหม และกําลังไดรับความสนใจในสังคมไทยเม่ือไมนานมานี้ แนวคิดทุนทางสังคมเร่ิมแพรหลายมากข้ึนในสังคมไทยในป พ.ศ. 2540 เปนชวงท่ีประเทศไทยเกิดปญหาทางเศรษฐกิจและการเงิน ธุรกิจหลายอยางปดตัวลง มีการวางงาน เรียกไดวาวิกฤตการณทางสังคม (สํานักงานกองทุนเพื่อสังคม, 2542) ทําใหสังคมไดหันกลับไปมองคุณคาท่ีเราคงมีอยูแตอาจถูกมองขามไป เปนส่ิงท่ีมีอยูในบุคคล เชนความมีน้ําใจ ความเอ้ืออาทร ความชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เปนตน และเปนส่ิงท่ีไดรับการถายทอดมาจากคนรุนกอน เชน ภูมิปญญา ประเพณี ความเช่ือ และวัฒนธรรมที่มีอยูในชุมชน รวมท้ังเปนส่ิงท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาของชุมชน เชนผูนํา กลุม องคกรประชาชน เครือขาย เปนตน หนวยงานท่ีทําใหคําวา “ทุนทางสังคม” แพรหลายในประเทศไทยมากท่ีสุด ไดแก กองทุนเพื่อสังคม (Social Investment Fund : SIF) ท่ีไดมองวาทุนของชุมชนเปนทุนทางสังคมอยาง

Page 53: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

43

หนึ่งท่ีทําใหชุมชนเขมแข็ง ซ่ึงประกอบดวย (ทุน) ทรัพยากรธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรม ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ การหลอมจิตใจ หลอมความคิด และการผนึกกําลัง การสรางทักษะในการจัดการ รวมท้ังการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน ซ่ึงท้ังหมดจะสงเสริมใหเกิดความเอ้ืออาทร และความสามัคคีท่ีทําใหคนมีความเสียลสละท่ีจะทํางานรวมกัน โดยมีการรวมกําลังความคิด ความรู สติปญญา และความชํานาญท่ีมีอยูไปใชในการจัดการแกไขปญหารวมกัน ทุนทางสังคมเหลานี้มีอยูหลากหลายในสังคมไทย ซ่ึงถือไดวาเปนแหลงท่ีกอใหเกิดทุนทางสังคมไดดังนี้ 1) วัฒนธรรมชุมชน เปนส่ิงผูกพันแนบแนนกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน เปนส่ิงสะทอนใหเห็นถึงวิธีการคิด การมองโลก ความเช่ือ และ จิตสํานึกท่ีสัมพันธกับบุคคลในระดับปจเจกบุคคล ไดแก ความเช่ือในส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ พิธีกรรม และประเพณีตางๆ ตามแตละเช้ือชาติ 2) กฎจารีต ประเพณี เปนลักษณะเฉพาะของทองถ่ินท่ีหลอหลอมจากประสบการณของคนรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง เปนสํานึกรวมของคนในชุมชนท่ีมุงสรางระบบข้ึนมาเพื่อดูแลควบคุมชุมชนใหดําเนินชีวิตไปตามระบบคิดของชุมชนนั้น 3) ภูมิปญญาทองถ่ิน และกระบวนการเรียนรูท่ีชุมชนส่ังสมกันมา เชน ภูมิปญญาดานเกษตรกรรม การแพทยพื้นบาน เปนตน 4 ) ระบบกรรมสิทธ์ิและการจัดการทรัพยากรของชุมชน ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ท่ีตกทอดมาจากคนรุนกอน ท่ีตองปกปอง บํารุงรักษา 5) ระบบความสัมพันธของคนในชุมชนท่ีมีลักษณะของการเปนครอบครัวเครือญาติ โดยมีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผกัน ชวยเหลือกันในยามตกทุกขไดยาก ซ่ึงเปนโครงสรางสําคัญท่ีจะยึดโยงชุมชนใหเขมแข็ง 6) ทรัพยากรบุคคล ซ่ึงเปนกําลังสําคัญในการสรางชุมชนใหเขมแข็งแบงออกเปน 2 กลุม คือ - ผูนําชาวบาน พระ ผูอาวุโส ผูนําเกษตรกร และปราชญชาวบานซ่ึงมีความสําคัญในกระบวนการเรียนรูของชุมชน การเสริมสรางภูมิปญญาทองถ่ิน - กลุมองคกรชุมชนท่ีดําเนินกิจกรรมสาธารณะ เปนกลุมท่ีรวมกันทางความคิด กลุมอาชีพ กลุมศาสนา เพื่อทํากิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอชุมชน เอนก นาคะบุตร (2545) ไดศึกษาทุนทางสังคมในประเทศไทย และไดสรุปวาทุนทางสังคมมี 5 รูปแบบไดแก ทุนในรูปแบบแรก คือ จิตวิญญาณ ระบบคุณคา สํานึกทองถ่ิน ความภาคภูมิใจท่ีมีตอถ่ินฐานบานเกิด รวมเรียกวา Spirit Capital ส่ิงนี้ในสังคมไทยมีมาตลอดใน

Page 54: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

44

ความรูสึกของคนท่ีรักบานรักเมือง และพรอมท่ีจะลุกข้ึนมา เสียสละ ชวยกันทําบานเมืองท่ีเขารัก เขาผูกพันเปนท่ีเกิด เปนทองถ่ินของบรรพบุรุษ และเปนท้ังความหวังของลูกหลานที่จะสืบตอ Spirit เหลานี้เปนส่ิงท่ีสังคมไทยมีปรากฏอยูอยางชัดเจน ท้ังท่ีเปนเร่ืองคุณคา พิธีกรรม ความภาคภูมิใจท่ีอยูในจิตใจของผูคนในแตละเมือง ทุนรูปแบบท่ีสอง คือ ทุนทางภูมิปญญา กลาวคือ ในชวงวิกฤติเศรษฐกิจแมวาประเทศจะสูญเสียเงินทองและมีหนี้สินเพิ่มข้ึนประชาชนตกงาน แตเราก็จะพบวาส่ิงท่ีมีอยูในทองถ่ินตางๆที่สามารถนําเอากลับใชใหม และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวก็ทรงช้ีทิศทางท่ีจะกลับมาใชภูมิปญญาทองถ่ิน ซ่ึงไดปรับตัวเปนมรดกตกทอดมากับแผนดิน โดยหันกลับมาหา “ระบบเศรษฐกิจพอเพียง” ท้ังในดานการใชชีวิต การประกอบอาชีพ การจัดการทรัพยากร การจัดความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับธรรมชาติ ชุมชนกับชุมชนอ่ืนขางเคียง ทุนรูปแบบท่ีสาม คือ ทรัพยากรมนุษย/ทรัพยากรบุคคล เปนทุนท่ีมีอยูในตัวมนุษย ความรักเพื่อน ความรักศักดิ์ศรีของคนไทย เราพบวาผูนําทางความคิดท้ังในชนบท และเมืองท้ังท่ีเปนผูนําทางจิตวิญญาณ ผูนําอาวุโส ผูนําทางการเกษตร ผูนําสตรี เยาวชน เหลานี้เปนสินทรัพยท่ีไมมีวันหมดส้ิน ซ่ึงเปนบุคคลท่ีมีความสามารถระดับหนึ่ง และมีความพรอมท่ีจะปรับตัวเขาสูความรวมมือระหวางองคกร เครือขายกับเครือขาย เชน มีอาสาสมัครเขามาทํางานชวยเหลือ แบงปนขยายเครือขาย ขยายบทเรียน ทรัพยากรบุคคลเหลานี้มีอยูหลากหลายมากมาย และผูนําท้ัง 3 รุน ไดแก ผูนําอาวุโส ผูนํารุนกลางท่ีมีการศึกษา เคยผานการทํางานในภาคเมือง และกลับบาน และผูนํารุนใหม ท่ีผานระบบโรงงาน ผานความทันสมัยในภาคเมือง คน 3 รุน กําลังทํางานรวมกันอยูในสังคมฐานลาง ยิ่งกวานั้นเราก็มีทรัพยากรบุคคลที่อยูในภาคประชาสังคมซ่ึงหมายถึง ชนช้ันกลางท่ีไดรับการศึกษาสมัยใหม อยูในภาคราชการ ภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน ภาคส่ือมวลชน คนเหลานี้เปนรอยเช่ือมตอความสลับซับซอนของเมืองหลวง และของโลกกับทองถ่ิน คนเหลานี้เปนผูเช่ือมวัฒนธรรมท้ังสองเขาดวยกัน ทุนในรูปแบบท่ีส่ี ท่ีทองถ่ินไทย และภาคประชาสังคมนํากลับมาใชอยางเต็มท่ี และสามารถพยุงตัวอยูไดในสถานการณท่ีปนปวน ก็คือ “ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ” แมวาจะมีความเส่ือมโทรม และวิกฤติในตัวเองอยูไมนอย ดังจะพบวามีสภาพปา พื้นท่ีปาเส่ือมโทรม และลดนอยลง ภาวะแหงแลง และนํ้าทวมปรากฏอยูในทุกจังหวัด อยางไรก็ดีขณะนี้ทรัพยากรจํานวนหนึ่งไดถูกนํากลับมาเปนปจจัยสําคัญในการฟนฟู การอนุรักษ และยังใชประโยชนทุนทางทรัพยากรธรรมชาติใหเปนทุนทางสังคมในการสรางฐานอาชีพ ฐานเศรษฐกิจ ฐานการมีชีวิตอยูรอดของชุมชน โดยเฉพาะในชุมชนชนบทในชวงหลังวิกฤติเศรษฐกิจพอสมควร

Page 55: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

45

ทุนในรูปแบบสุดทาย ในทุกสังคมชนบทสาธารณะของชุมชนท่ีเรียกวามี Social Fund อยูตลอดมา ไมวาจะเปนกองทุนฌาปนกิจ ธนาคารขาว กลุมออมทรัพย ธนาคารควาย การจัดการทุนทางเศรษฐกิจท่ีเปนปจจัยการผลิต และปจจัยการดํารงชีวิตนี้มีอยูในทุกชุมชน ในทุกศาสนา กองทุนซะกาดของพี่นองชาวมุสลิมก็ช้ีใหเห็นถึงการระดมทุนเพื่อการดูแลผูยากลําบากท่ีคนมุสลิมไดมีการแบงปน โดยใชหลักคําสอนของศาสนาซ่ึงท้ังหมดนี้รวมกันเรียกวา “ทุนทางสังคม” ท่ีเปนมรดกตกทอดอยูในสังคมไทย สถาบันชุมชนทองถ่ินพัฒนา (2542) มองรูปแบบของทุนทางสังคมท่ีมีอยูหลากหลายในสังคมไทยดังนี้ 1) วัฒนธรรมชุมชน ซ่ึงถือไดวาเปนส่ิงท่ีผูกพันแนบแนนกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนนั้น เปนส่ิงท่ีสะทอนใหเห็นถึงวิธีคิด การมองโลก ความเช่ือและจิตสํานึกท่ีสัมพันธกับบุคคลในระดับปจเจกบุคคลชนเผาและเช้ือชาติ เชนการถือศีลอดของชาวมุสลิม หรือประเพณีกินเจของชาวจีน ท่ีชวยใหคนต้ังอยูในศีลธรรมและดําเนินชีวิตอยางสมถะ ในบางพื้นท่ีมีความเช่ือเร่ืองส่ิงศักดิ์สิทธ์ิมีสวนชวย รักษา ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม และแหลงน้ําไวไดอยางสมบูรณ 2) กฏ จารีต ประเพณี อันเปนลักษณะเฉพาะของทองถ่ิน ท่ีหลอมหลอมจากประสบการณของคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่ง เปนสํานึกรวมของคนในชุมชนท่ีมุงสรางระบบข้ึนมาเพื่อดูแลควบคุมชุมชนใหดําเนินไปตามระบบคุณคา และระบบคิดของคนในชุมชนนั้นๆ 3) ภูมิปญญาทองถ่ิน และกระบวนการเรียนรูท่ีส่ังสมมา เชนภูมิปญญาดานเกษตรกรรม การแพทยแผนพื้นบาน ศิลปหัตถกรรม และการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ องคความรูเหลานี้กล่ันกรองจากประสบการณท่ีละเอียดออนลึกซ้ึง และแนบแนนกับธรรมชาติอยางแยกไมออก 4) ระบบกรรมสิทธ์ิ และการจัดสรรทรัพยากรของชุมชนอันไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณวัตถุ ซ่ึงถือเปนมรดกตกทอดจากปู ยา ตา ทวด คนรุนหลังมีหนาท่ีตองปกปอง รักษาทะนุบํารุง ท้ังแหลงน้ํา ผืนดิน ผืนปา แรธาตุท่ีเกี่ยวพันกับวิถีแหงการดํารงชีพของชุมชนเกษตรกรรม สวนโบราณสถาน โบราณวัตถุนั้นมีความหมายในดานจิตใจท่ีสํานึกผูกพันในเชิงประวัติศาสตรของชนชาติมากกวาความหมายในเชิงธุรกิจ 5) ระบบความสัมพันธของคนในชุมชนท่ีมีลักษณะของระบบครอบครัว เครือญาติ มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ ชวยเหลือเกื้อกูลกันในยามตกทุกขไดยาก เชน ระบบเอาม้ือเอาแรงกัน การลงแขกเก่ียวขาว การผูกเส่ียวในภาคอีสานและใต ความสัมพันธอันอบอุนนี้จะเปนโครงสรางอันสําคัญท่ีจะยึดโยงชุมชนไวใหเขมแข็งไมแตกสลายโดยงาย

Page 56: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

46

6) ทรัพยากรบุคคล ซ่ึงเปนกําลังสําคัญในการสรางเสริมชุมชนใหเขมแข็ง แบงออกไดเปน 2 กลุมคือ กลุมท่ีหนึ่ง ผูนําชาวบาน พระ ผูอาวุโส ผูนําเกษตรกรรม ปราชญชาวบาน เหลานี้มีความสําคัญในกระบวนการเรียนรูของชาวบาน การเสริมสรางภูมิปญญาทองถ่ินและการพึ่งตนเอง อันเปนเง่ือนไขของความเขมแข็งของชุมชน สวนกลุมท่ีสอง กลุมองคกรชุมชนท่ีดําเนินกิจกรรมสาธารณะ เปนกลุมท่ีรวมตัวกันเปน กลุมความคิด กลุมอาชีพ กลุมศาสนา เพื่อทํากิจกรรมอันเกิดประโยชนแกชุมชน เชน กลุมแมบานทอผา กลุมเยาวชนตานยาเสพติด และคณะกรรมการรักษาปาตนน้ํา องคกรพัฒนาเอกชนเหลานี้ ถือเปนกลุมในภาคประชาคมท่ีสามารถขยายเครือขายใหกวางขวาง และเขมแข็งตอไป สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2548) ไดกําหนดองคประกอบของทุนทางสังคมออกเปน 3 ดาน ไดแก 1) ทุนมนุษย ท่ีมีคุณภาพ มีความรู สติปญญา และทักษะ มีคุณธรรม วินัย ความรับผิดชอบ มีทัศนคติท่ีดีในการทํางานโดยเฉพาะอยางยิ่งมีการรวมกลุมและสรางเครือขายเพื่อทําประโยชนตอสวนรวม 2) ทุนท่ีเปนสถาบัน ไดแก สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา ศาสนา การเมือง รวมท้ังองคกรท่ีต้ังข้ึนมา เชน องคกรพัฒนาภาคเอกชน องคกรชุมชน สมาคมวิชาชีพ และ ส่ือมวลชน ฯลฯ 3) ทุนทางภูมิปญญาและวัฒนธรรม ครอบคลุมถึงระบบคุณคา เชน คุณธรรม วินัย จิตสํานึกสาธารณะ วัฒนธรรมไทย และภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงประวัติศาสตร และ โบราณคดี ฯลฯ แนวคิดในเร่ืองของทุนทางสังคมเปนประเด็นใหมในสังคมไทย และเปนประเด็นท่ีนาสนใจเปนอยางมาก จากท่ีไดกลาวไปแลวขางตนทุนทางสังคมถือไดวาทุนทางสังคมเปนมรดกตกทอดท่ีสืบตอมาจากรุนสูรุน เปนการรวมพลังของคนในสังคมท่ีมีจุดประสงครวมกันในการท่ีจะนําพลังนั้นมาสรางสรรค สรางคุณคา และประโยชนตอสังคมนั้นๆ โดยเปนพลังในการสรางความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกัน และระหวางมนุษยกับส่ิงแวดลอม โดยมีการใหคุณคา ใหความเช่ือถือ ใหความไววางใจ ความเอื้ออาทร ความสามัคคี ซ่ึงมีจารีต ประเพณี ภูมิปญญา ศีลธรรม และบรรทัดฐานของสังคมน้ันเปนเง่ือนไขท่ีจะนําไปสูการรวมพลังกัน จึงอาจกลาวไดวาทุนทางสังคมเปนทรัพยากรท่ีมีลักษณะพิเศษท่ียิ่งใชยิ่งเพิ่ม ไมลดลงอยางทรัพยากรอื่น เปนทรัพยากรที่ใชอยางไมมีวันหมด

Page 57: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

47

2.4.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของเรื่องทุนทางสังคม กนกรัตน กิตติวัฒน (2543) ศึกษาเร่ืองการจัดการทุนทางสังคมในชุมชนเมือง ศึกษากรณีเครือขายกลุมออมทรัพยบางซ่ือพัฒนา พบวา การมีเครือขายความสัมพันธทางสังคมท่ีสมาชิกมีความสัมพันธเชิงซอนตอกันนั้น นับเปนตนทุนทางสังคมท่ีสําคัญของชาวชุมชนเมือง โดยผานการตอบแทน และการแลกเปล่ียนผลประโยชนตลอดท้ังกระบวนการเกื้อกูลกันและกัน ดวยความสัมพันธเชนนี้ทําใหพวกเขามีชีวิตรอดอยูไดในสภาวะท่ีฝดเคือง นอกจากนี้การมีคานิยมรวมกันในเร่ืองเครดิตท่ีดีหรือการเปนผูนาเช่ือถือนั้น มีสวนสําคัญอยางยิ่งในการเก้ือหนุนกองทุนสวัสดิการในชุมชน สําหรับการศึกษากระบวนการทํางานระดับองคกรเครือขาย พบวาวิธีการดังกลาวไมไดทําใหเกิดเฉพาะผลดานบวกในความหมายของการเพ่ิมทุนทางสังคมหรือทําใหชาวบานมีความสัมพันธท่ีแนบแนนข้ึนเทานั้น หากแตเกิดกระบวนการเรียนรูจากการทํางานรวมกัน ซ่ึงอาจเกิดผลดานลบตอองคกรหรือตอความสัมพันธของสมาชิกไดเชนเดียวกัน ไมวาจะเปนการแบงกลุม พวกพอง หรือความหวาดระแวงระหวางสมาชิก ซ่ึงลักษณะดังกลาวถือเปนขอจํากัดในการพัฒนากลุมท่ีจะตองใหความสําคัญอยางมาก เนื่องจากมีผลอยางสําคัญในการพัฒนาองคกรชาวบานใหเติบโตและเขมแข็งตอไป จุติเทพ ยาสมุทร (2543) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมในชุมชนภาคเหนือ พบวาทุนทางสังคมในชุมชนแมทามีหลายประเภท ท้ังท่ีเปนรูปธรรม และนามธรรม ทุนท่ีเปนรูปธรรมไดแก 1) ทุนท่ีเปนธรรมชาติ คือ ดิน น้ําและปาไม 2) ทุนท่ีเปนทรัพยากรมนุษย ไดแก ผูนําของชุมชนท้ังท่ีเปนทางการและผูนําตามธรรมชาติ หรือท่ีเรียกวาปราชญของชาวบาน และชาวบานผูเปนสมาชิกของกิจกรรมตางๆ 3) ทุนดานการเงิน ไดแก การระดมทุนในชุมชนเพื่อรวมกันจัดต้ังกิจกรรมตางๆเชน กลุมออมทรัพย ทําใหเกิดการหมุนเวียนของกระแสเงิน ชวยสรางเศรษฐกิจของชุมชนใหดีข้ึน สวนของทุนท่ีเปนนามธรรมไดแก 1) วัฒนธรรมประเพณี ความเช่ือ ระบบคุณคา ภูมิปญญาทองถ่ิน การมีความสัมพันธทางสังคมในแนวราบ เชน ครอบครัว เครือญาติ สถาบันผูอาวุโส รวมถึงการชวยเหลือดานแรงงาน 2) ทุนท่ีเปนองคกรภายนอก ไดแก การมีเครือขายความสัมพันธกับองคกรภายนอกชุมชน ท้ังภาครัฐบาลและเอกชน รวมถึงกลุมและองคกรเครือขายท่ีดําเนินกิจกรรมสาธารณะตางๆในชุมชน ปจจัยสําคัญท่ีทําใหทุนทางสังคมดํารงอยูและนําไปใชพัฒนาทองถ่ิน ไดแก 1) ปจจัยการสืบทอด ไดแก การสืบทอดเจตนารมณท่ีบรรพบุรุษต้ังเปาหมายไวท่ีจะรักษาทุนทางสังคมทุกประเภทดํารงอยูในชุมชน และการดําเนินการสืบทอดความรูถายเทจากผูอาวุโสท่ีมากดวยความรู และประสบการณใหกับคนรุนใหม ชวยสืบสานทุนใหคงอยูตอไป 2) ปจจัยกระบวนการจัดการท่ีดี มีคุณภาพ อาศัยกรรมการท่ีมีความซ่ือสัตยในการดําเนินกิจกรรมกลุมตางๆท้ังตัวผูนําและสมาชิกทุกคน 3) ปจจัยผูนํา กลาวคือ การมีผูนําท่ีดีมีวิสัยทัศน มีความรับผิดชอบ

Page 58: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

48

และเปนผูนําตลอดจนการมีสมาชิกของกลุมท่ีดี และ 4) ปจจัยเครือขาย สนับสนุนใหเกิดมีองคกรเครือขายท้ังภายในชุมชนกันเอง และประสานงานกับองคกรเครือขายภายนอก เพื่อจะชวยใหองคกรภายในเขมแข็งอาศัยการพึ่งพาตนเองไดมากท่ีสุด อําภา จันทรากาศ (2543) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งของชุมชนพบวา ทุนทางสังคมท้ังทางวัฒนธรรม ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุนบุคคล ทุนกลุม/องคกร ทุนเครือญาติและเครือขาย ท่ีมีอยูในชุมชนสงผลใหเกิดความเขมแข็ง เพราะชุมชนไดใชทุนทางสังคมมาเปนพื้นฐานในการเสริมสรางความม่ันคง และยั่งยืนใหกับชุมชน ปจจัยท่ีสําคัญคือการมีสวนรวมของผูคนในชุมชน และการมีจิตสํานึกสาธารณะท่ีทําใหชุมชนสามารถสรางความเขมแข็งของชุมชน การที่ผูคนมารวมกลุมกันไดมีความรูสึก และตระหนักวาตนเองเปนสวนหนึ่งของชุมชนท่ีตองดูแลรับผิดชอบรวมกัน ทําใหชุมชนเกิดการเรียนรูในการดําเนินกิจกรรมใดๆในชุมชน จึงทําใหการนําทุนทางสังคมท่ีมีอยูในชุมชนมาใชไดเกิดประโยชนตอชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ สามารถสรางอํานาจตอรองกับภายนอก และชุมชนสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณท่ีเปล่ียนแปลงไปของธรรมชาติ และสังคมภายนอกไดอยางมีศักดิ์ศรี และยังคงรักษาความเปนชุมชนไดอยางม่ันคง อุไรวรรณ พวงสายใจ (2545) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งขององคกรชุมชน พบวา ทุนทางสังคมท้ังท่ีเปนทุนมาจากภายในชุมชนเอง และทุนท่ีมาจากภายนอกชุมชน ประกอบดวย วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ บุคคล เครือญาติ การศึกษาเรียนรู องคกรหรือกลุม สงผลใหเกิดความเขมแข็งอันเนื่องจากทุนทางสังคมตางๆเหลานี้เปนแหลงการศึกษาเรียนรู และมีการเรียนรูซ่ึงกันและกันภายในกลุม ระหวางกลุมองคกรท่ีเขมแข็งไดใชกระบวนการเ รียนรู มีความสามารถนํา ทุนทางสังคมโดยเฉพาะทุนท่ีมีอยู ในชุมชน มีทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ํา ปาไม บุคคล วัฒนธรรม มีศาสนสถานในหมูบานเปนศูนยกลางทําพิธีศาสนา ความเช่ือ เปนท่ีพึ่งพิงทางใจ ทุนเหลานี้ลวนแตเปนทุนทางสังคมท่ีมีคายิ่งตอการดํารงชีวิตประจําวัน และเปนปจจัยสําคัญในการทํางานกลุมหรือองคกร เปนการสรางเสริมความม่ันคงและยั่งยืนใหกับองคกร สงเสริมใหกลุมหรือองคกรเขมแข็งข้ึน ณัฐกานต จิตรวัฒนา (2546) ศึกษาเร่ืองพัฒนาการทุนทางสังคมของกลุมทอผายอมสีธรรมชาติบานโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวัดนาน พบวาสภาพแวดลอม ท้ังในและนอกชุมชนเปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลกระทบตอกระบวนการทุนทางสังคม อันไดแก ระบบคิด วิธีปฏิบัติและผลลัพธ รวมท้ังผลกระทบที่มีตอคนในชุมชน ซ่ึงการศึกษาพบวาปจจัยท่ีชวยใหกระบวนการทุนทางสังคมขับเคล่ือนไปไดนั้น มาจากปจจัยทางดานผูนํา หรือทุนมนุษย ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ความเปนเครือญาติ ความเช่ือ คานิยมในเร่ืองเดียวกัน ความเอ้ืออาทรตอกัน

Page 59: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

49

การชวยเหลือกัน ความไววางใจกัน และกระบวนการเรียนรูรวมกัน ซ่ึงส่ิงเหลานี้มีสวนชวยลดตนทุนในการดําเนินกิจกรรมอีกดวย สวนปจจัยในเชิงลบท่ีมีผลตอกระบวนการทุนทางสังคม ไดแก เร่ืองของตลาด เร่ืองของผลิตภัณฑท่ีคนบางกลุมยังตองการแสวงหากําไรจากการทอผา โดยเนนท่ีปริมาณมากกวาคุณภาพ ซ่ึงจะเนนเร่ืองมูลคา ในขณะเดียวกันทางกลุมทอผาก็ตองการที่จะอนุรักษวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ินและทรัพยากรธรรมชาติ ผลจากการดําเนินกิจกรรมของกลุมทอผา ทําใหทุนของชุมชนเพิ่มข้ึน และกอใหเกิดพลังในการขับเคล่ือนกิจกรรมของกลุม เชน การที่ชุมชนมีเงินออมมากข้ึน มีรายไดจากการทอผาเพิ่มข้ึน ลดตนทุนจากการใชวัสดุธรรมชาติ และยังพบวา การทอผาสามารถเปนส่ือกลางในการเรียนรูรวมกันของคนในชุมชนและนอกชุมชน ชวยใหเกิดการเรียนรูท่ีจะพัฒนาตนเอง กลุมและชุมชนใหมีความเขมแข็งและยั่งยืน ชยุต อินพรหม (2547) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: กรณีศึกษา สภาลานวัดตะโหมด ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง พบวาพัฒนาการของสภาลานวัดตะโหมดเกิดข้ึนจากจิตสํานึกรักบานเกิด ซ่ึงเปนทุนทางสังคมที่หลอเล้ียงความสัมพันธของสมาชิกในชุมชนใหเกิดการรวมพลัง เกิดการระดมทรัพยากรตางๆทั้งความรู เงินทุน แรงงานเขาดวยกัน เพื่อนํามาพัฒนาชุมชนใหมีความเจริญและดํารงอยูอยางรมเย็นเปนสุข โดยมีวัดตะโหมดเปนศูนยรวมความศรัทธาของชุมชน การนําทุนทางสังคมมาสูการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของสภาลานวัดตะโหมดไดกระทําอยางเปนองครวม มีการบูรณาการเช่ือมโยงปา น้ํา และดินเขาดวยกัน โดยผานกระบวนการทุนทางสังคมซ่ึงประกอบดวยระบบคิด วิธีปฏิบัติและผลลัพธมาแปรเปล่ียนทรัพยากรธรรมชาติใหเปนทุนของชุมชน ผลจากการมีสภาลานวัดตะโหมด ทําใหเกิดพลังชุมชนเพิ่มข้ึน ซ่ึงพลังดังกลาวมาจากทุนมนุษย ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ทุนความรูและภูมิปญญา และผลของการขับเคล่ือนองคกรดวยพลังชุมชน ทําใหเปนท่ียอมรับและไววางใจจากภายนอกชุมชน และสามารถกระจายทรัพยากรไดอยางกวางขวาง โดยจะเห็นไดจากการเกิดแหลงศึกษาเรียนรูทางธรรมชาติ เกิดการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เกิดการสรางหลักประกันและความม่ันคงของระบบเกษตรกรรม เกิดการกระจายรายไดใหแกชุมชน และเกิดการสรางพลังอํานาจในการตอรอง และสรางความเปนธรรมใหกับชุมชน ซ่ึงจะเห็นไดจากกรณีท่ีชุมชนไดใชพลังดังกลาวในการตอรอง เม่ือไดรับผลกระทบจากโครงการของภาครัฐ นอกจากนี้ยังพบวา ความสัมพันธของสภาลานวัด ตะโหมดกับหนวยงานในชุมชน และภายนอกชุมชนในลักษณะของภาคีคือบาน วัด และราชการ ไดสรางความเกาะเกี่ยว และยึดโยงเปนเครือขายทางสังคมใหความชวยเหลือ สนับสนุน ไววางใจ และการตางตอบแทนตอกัน ซ่ึงไดกอใหเกิดความสัมพันธใหกระชับแนนระหวางกันมากยิ่งข้ึน ปจจัยสําคัญในกระบวนการทุนทางสังคมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของสภาลานวัดตะโหมด ประกอบดวยปจจัยภายในอันไดแก ความสัมพันธทางเครือญาติ ประเพณี และ

Page 60: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

50

วัฒนธรรมของชุมชน วัดและผูนําชุมชน สวนปจจัยภายนอก ไดแก การเขามาศึกษาดูงานขององคกรตางๆ และการเขาศึกษาวิจัยของหนวยงานตางๆซ่ึงทําใหเกิดองคความรูใหมข้ึนอยางตอเนื่อง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (2548) ไดศึกษาถึงมิติทุนทางสังคมของไทย ไดจัดทําตัวช้ีวัดทุนทางสังคมไทย โดยไดแบงกลุมเปนมิติทุนทางสังคมออกเปน 5 มิติ ดังตอไปนี้ 1) มิติกลุมและเครือขาย ไดแก 1.1)องคประกอบดานกลุม เชน จํานวนกลุมของกลุมภายในชุมชน จํานวนครัวเรือนท่ีเปนสมาชิกของกลุม จํานวนกลุมท่ีทํางานรวมกันท่ีอยูภายในและภายนอกชุมชน เปนตน 1.2) องคประกอบดานเครือขาย เชน จํานวนเพื่อนหรือคนรูจักท่ีสามารถขอความชวยเหลือไดยามมีปญหา จํานวนกลุมคนท่ีสามารถใหความชวยเหลือดานการเงินยามฉุกเฉิน ระดับการไดรับความชวยเหลือจากกลุมท่ีเปนสมาชิก เปนตน 2) มิติความไววางใจ และความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดแก 2.1) องคประกอบดานความไววางใจ เชน ระดับความไววางใจตอบุคคลในชุมชน ระดบัความไววางใจตอกลุมอาชีพสําคัญในสังคม เปนตน 2.2) องคประกอบดานความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เชน ระดับความชวยเหลือซ่ึงกันและกันภายในชุมชน ระดับการใหความชวยเหลือโครงการท่ีมีประโยชนตอคนสวนใหญแมนตนเองจะไมไดรับผลประโยชนจากโครงการดังกลาว เปนตน 3) มิติดานกิจกรรมและความรวมมือ ไดแก 3.1) องคประกอบดานกิจกรรม เชน จํานวนกิจกรรมท่ีเปนประโยชนโดยรวมตอชุมชนท่ีจัดข้ึนในชุมชน จํานวนกิจกรรมท่ีเขารวม เปนตน 3.2) องคประกอบดานความรวมมือ เชน ระดับความรวมมือในการพัฒนาและการแกไขปญหาในชุมชน 4) มิติดานความสมานฉันท การอยูรวมกันในสังคม ความขัดแยง และความรุนแรง ไดแก 4.1) องคประกอบดานความสมานฉันท ไดแก ระดับความหลากหลายของชนชาติและชนช้ันในชุมชน ระดับความสมานฉันทภายในชุมชน เปนตน 4.2) องคประกอบดานการอยูรวมกันในสังคม ไดแก จํานวนครั้งในการเขารวมงานที่เกี่ยวกับสังคมและประเพณีในรอบ 1 ป จํานวนคร้ังการเยี่ยมเยียนระหวางกันภายในชุมชน

Page 61: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

51

4.3) องคประกอบดานความขัดแยงและรุนแรง ไดแก ระดับความรุนแรงภายในชุมชน ระดับการเปล่ียนแปลงของความรุนแรงภายในชุมชนภายในเวลา 3 ป เปนตน 5) มิติดานอํานาจหนาท่ีและกิจกรรมทางการเมือง ไดแก องคประกอบดานอํานาจหนาท่ีและกิจกรรมทางการเมือง เชน ระดับความสําคัญของตนเองตอการพัฒนาชุมชน จํานวนการรองเรียนเพื่อประโยชนของชุมชนในรอบ 1 ป เปนตน จากผลการศึกษา พบวา คาดัชนีทุนทางสังคมอยูในระดับปานกลาง เนื่องจากเปนการเก็บขอมูลทุนทางสังคมเปนปแรก ดังนั้นจึงยังไมสามารถบงบอกไดอยางชัดเจน จนกวาจะมีการเก็บขอมูลอยางตอเนื่อง และทําการเปรียบเทียบสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางสมํ่าเสมอ และสภาพสังคมท่ีมีคาดัชนีทุนทางสังคมสูงกวาจะมีสภาพสังคมท่ีเหมาะกับการอยูอาศัยอยางสงบสุข และมีปญหาทางสังคมนอยกวา เนื่องมาจากบุคคลในชุมชนมีสามัญสํานึกในการพัฒนาชุมชน โครงการธรรมาภิบาลในการจัดการส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (2548) เสนอแนวคิดการประเมินทุนทางสังคมของแตละองคการปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก 1) ความเปนภราดรภาพ เชนจํานวนคดีความในเร่ืองของการทะเลาะวิวาทในชุมชน เชน ดูจากสถานีตํารวจ มีกิจกรรมท่ีเปนสวนรวมของชุมชนอยางสม่ําเสมอ เชน เกี่ยวขาว งานวัด การทําสะพาน (ดูจํานวนกิจกรรมและคนท่ีรวมในกิจกรรม) 2) ความเช่ือ และความรวมมือ เชน มีการจัดต้ังเครือขาย ผนึกกําลังกัน ทําโครงการรวมกัน เชน เครือขายส่ิงแวดลอม มีการประชุมทองถ่ิน ประชุมหมูบาน ประชุมสภา และจํานวนคนเขารวม 3) การแกไขความขัดแยง เชน มีกลไกในการจัดการปญหาของชุมชนเร่ืองความขัดแยง สามารถไกลเกล่ียขอพิพาทในพ้ืนท่ีได โดยไมตองไปลงบันทึกประจําวัน และ 4) ภูมิปญญาทองถ่ิน เชน ความเช่ือท่ีทําใหมีนวัตกรรมทองถ่ิน เทคโนโลยีทองถ่ิน องคความรูความเช่ือ ปาไม เร่ืองผี การใชองคความรู ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมเดิม และการประดิษฐคิดคนเคร่ืองใชแบบพื้นบาน ไตรรัตน โภคพลากรณ (2549) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมกับการบริหารการคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน: ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลหวยกะป อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และองคการบริหารสวนตําบลเขาสามยอด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พบวาการนําทุนทางสังคมมาใชนั้นจะชวยเปนพลังในการสรางอํานาจชุมชน การใหอํานาจ และการเปดโอกาสในการมีสวนรวมจะทําใหประชาชนเกิดการเรียนรู มีวัฒนธรรมการพึ่งพาอาศัยกัน ความไวเนื้อเช่ือใจ ความเปนเอกภาพ เหลานี้เปนตนเปนพลังผลักดัน สรางสรรคองคการบริหารสวนตําบลใหมีความเขมแข็ง องคการบริหารสวนตําบลแตละแหงมีพัฒนาการ และบริบทท่ีแตกตางกัน การจัดการภายในของตนเองจึงตองรูจักการประยุกตใชทุนทางสังคมใหเปนประโยชน ดังนั้นคณะผูบริหาร และสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลจะตองสนใจและเอาใจใสอยางจริงจัง เพื่อรวมกัน

Page 62: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

52

ยกระดับศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลใหสามารถประสานพลังใหเกิดการจัดการอยางตอเนื่องยั่งยืน สุชาดา วิลาพันธ (2549) ศึกษาเรื่อง กระบวนการทุนทางสังคมในโครงการหมูบานนาอยู กรณีศึกษา บานเกาะกลาง อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา กระบวนการทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึน จะเปล่ียนไปตามสภาพความเปนอยูในแตละชวง ต้ังแตเร่ิมต้ังชุมชนบานเกาะกลางเปนหมูบานท่ีนาอยู เพราะทุนทางสังคมท่ีมีนั้นมีความชัดเจน แตในชวงท่ีชุมชนไดรับผลกระทบจากกระแสนิยม บทบาทของทุนทางสังคมลดนอยลง แตทุนทางสังคมไมไดหายไปจากชุมชนเสียทีเดียว หากแตไมไดนํามาใชใหเกิดประโยชน ปจจุบันเปนชวงท่ีคนในชุมชนพยายามร้ือฟน และสรางทุนทางสังคมใหเกิดข้ึนอีกคร้ังในชุมชน กระบวนการทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนนั้น รูปแบบของกระบวนการประกอบไปดวย 1) องคประกอบภายใน เชน ส่ิงแวดลอมท่ีดี ความสัมพันธของระบบเครือญาติ ชุมชนมีประเพณี วัฒนธรรมท่ีถือปฏิบัติกันมาอยางตอเนื่อง คนมีความเช่ือ และความศรัทธาในส่ิงศักดิ์สิทธ์ิเดียวกัน และชุมชนมีผูนําท่ีเขมแข็ง 2) องคประกอบภายนอก เชนการเรียนรูท่ีไดจากในและนอกชุมชน มีการนําความรูท่ีไดมาใชใหเกิดประโยชนกับชุมชน ซ่ึงทําใหเกิดองคความรูใหมข้ึนอยางตอเนื่อง รวมท้ังมีหนวยงานตางๆเขามาเกี่ยวของมาสนับสนุนในการดําเนินงาน เขามาเปนภาคีรวมในการทําโครงการหมูบานนาอยู โดยผานกระบวนการทุนทางสังคม ซ่ึงประกอบดวย ระบบคิด วิธีการปฏิบัติ และเกิดผลลัพธคือ ความนาอยูในดานตางๆของชุมชน นอกจากนี้ ผลการศึกษายังพบวา การพัฒนาหมูบานนาอยูท่ีประสบผลสําเร็จนั้นเกิดข้ึนมาจากสภาพ และการดํารงอยูของทุนทางสังคม ชุมชนมีการเรียนรูและปรับตัวใหเทาทันสถานการณ ชุมชนมีผูนําท่ีเขมแข็ง ผูคนในหมูบานรวมใจสามัคคีตอกัน และมีการเขามาสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก ชวยใหการทํางานประสบความสําเร็จและยั่งยืน กลาวโดยสรุป การวิจัยเร่ืองทุนทางสังคมในงานดานส่ิงแวดลอมมีผูท่ีสนใจและศึกษาในประเด็นจํานวนนอย ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาทุนทางสังคมท่ีมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เพราะการใหประชาชนเขามามีสวนรวมในงานการจัดการขยะไดนั้นตองอาศัยพลังทุนทางสังคมของชุมชนเปนตัวขับเคล่ือน ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาทุนทางสังคมในประเด็นดังนี้ 1) ความเช่ือใจ ความไววางใจ เปนผลที่เกิดจากความสัมพันธกันของคน มีความเช่ือ มีการยอมรับ การไววางใจ ความเสียสละ และการตางตอบแทน เปนเพียงความสัมพันธเร่ิมตนของการกอใหเกิดทุนทางสังคม และความสัมพันธนี้กอใหเกิดประโยชนแกสังคม เชนการเขามารวมทํากิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสังคม

Page 63: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

53

2) เครือขาย/ความสัมพันธชุมชน เม่ือความสัมพันธระหวางคน เกิดความไววางใจ ความเอื้ออาทร การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เปนความสัมพันธท่ีเช่ือมตอกันระหวางสมาชิกภายในกลุม องคกร และชุมชนดวยกันเอง และความสัมพันธสูภายนอกกลุม องคกร และชุมชน เพื่อประสานความรวมมือและสนับสนุนเปนการแลกเปล่ียน เรียนรูระหวางกัน 3) กิจกรรมการมีสวนรวม เปนผลสืบเนื่องจากการมีปฏิสัมพันธภายในองคกร ชุมชน จนเกิดสามารถเกิดเปนกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอองคกร หรือชุมชน ท่ีเปนไปตามความตองการ เห็นชอบ และไดรับความรวมมือในการทํากิจกรรมจากทั้งบุคลลภายใน และภายนอกองคกร หรือชุมชนเปนอยางดี 4)ทัศนคติ และบทบาทของผูนํา ผูนําในท่ีนี้หมายความถึงผูนําท่ีเปนทางการ ไดแก นายกเทศมนตรี ประธานชุมชน แกนนํากลุม องคกรตางๆที่มีความสัมพันธกับชุมชน และผูนําท่ีไมเปนทางการ ไดแก บุคคลท่ีอาศัยอยูในชุมชนมาเปนเวลานาน หรือบุคคลท่ีไดรับการยอมรับจากประชาชนในชุมชน รวมถึงทัศนคติท่ีประชาชนมีตอผูนํา และบทบาทของผูนําในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสังคม 2.5 ขอมูลพื้นท่ี 2.5.1 เทศบาลเมืองทาขาม (1) ท่ีตั้งและอาณาเขต เทศบาลเมืองทาขามต้ังอยูท่ี อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี หางจากตัวจังหวัดสุราษฎรธานีไปทางทิศตะวันตกประมาณ 12 กิโลเมตร มีพื้นท่ี 14.10 ตารางกิโลเมตร ลักษณะพ้ืนท่ีตอนใตเปนท่ีสูง ตอนเหนือเปนท่ีราบต้ังอยูริมแมน้ําตาป มีอาณาเขตทิศเหนือ ติดตอตําบลวัดประดู อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ทิศตะวันตก ติดตอตําบลพุนพิน และตําบลทาขาม ดังแสดง (ภาพประกอบ 3)

Page 64: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

54

ภาพประกอบ3 : แผนที่เทศบาลเมืองทาขาม ที่มา : สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร คณะการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2552

Page 65: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

55

(2) ประวัติความเปนมาของเทศบาลเมืองทาขาม เมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ในอดีตทาขามเปนทาเรือริม แมน้ําตาป สําหรับขามแมน้ําเปนท่ีต้ังของดานชายแดนสําหรับตรวจผูคน และเก็บภาษีอากรระหวางเมืองไชยากับทองท่ีลําพูน ซ่ึงเปนแขวงข้ึนกับเมืองนครศรีธรรมราช เปนท่ีสรางสะพานขามแมน้ําตาป ปจจุบันคือ สะพานจุลจอมเกลา ช่ือ “ทาขาม” เปนช่ือเรียกอําเภอพุนพิน เปนเวลา 31 ป ต้ังแต พ.ศ. 2473-2504 ลําดับการเปนเทศบาลเมืองทาขามมีรายละเอียดดังนี้ พ.ศ. 2439 มีการปฏิรูปการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลในรัชกาลท่ี 5 ไดมีการจัดต้ังอําเภอพุนพิน ต้ังอยูท่ีหมูท่ี 1 ตําบลทาขาม แลวเปล่ียนช่ือเปน “อําเภอทาขาม” พ.ศ.2523 ไดยายท่ีวาการอําเภอมาสรางใหม และเปล่ียนช่ือเปน “อําเภอพุนพิน” พ.ศ.2529 ยกฐานะจากสุขาภิบาลทาขาม อําเภอพุนพิน เปนเทศบาลตําบล เม่ือวันท่ี 15 เมษายน พ.ศ.2529 ปรากฏตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังเทศบาลตําบลทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 103 ตอนท่ี 59 ลงวันท่ี 14 เมษายน พ.ศ.2529 พ.ศ.2543 มีพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนแปลงจากเทศบาลตําบลทาขาม เปนเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 117 ตอนท่ี 119 ก ลงวันท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ.2543 เมืองทาขามเปนเมืองท่ีเกาแกของจังหวัดสุราษฎรธานีท่ีมีอดีตความเปนมายาวนานถึง 112 ป และเทศบาลเมืองทาขามมีชุมชนพุนพินเปนจุดศูนยกลาง ซ่ึงเปนชุมชนขนาดใหญท่ีสองของจังหวัดสุราษฎรธานี รองมาจากชุมชนเมืองสุราษฎรธานี โดยเปนแหลงซ้ือขายสินคาเกษตร สินคาอุปโภคบริโภค สินคาอุตสาหกรรม สําหรับประชาชนซ่ึงอาศัยอยูตามอําเภอตางๆ ในอดีตเสนทางคมนาคมทางนํ้ามีความสําคัญมาก ปจจุบันไดลดความสําคัญลง แตพื้นท่ีของเทศบาลเมืองทาขามยังมีทางรถไฟ รถยนต และเสนทางคมนาคมขนสงระหวางสนามบินกับตัวจังหวัดสุราษฎรธานีผานในเขตเทศบาล เทศบาลเมืองทาขามมีลําดับพัฒนาการการเร่ิมตนจากสุขาภิบาล ยกฐานะข้ึนมาเปนเทศบาลตําบลทาขาม และเทศบาลเมืองทาขาม ตามลําดับ การเมืองทองถ่ินของเทศบาลเมือง ทาขามจึงเร่ิมตนข้ึนในป พ.ศ. 2529 ต้ังแตการยกฐานะเปนเทศบาลตําบลทาขาม (3) การเมืองทองถ่ิน การเมืองทองถ่ินของเทศบาลเมืองทาขาม ต้ังแตการยกฐานะจากสุขาภิบาลในป พ.ศ. 2539 จนถึงปจจุบัน มีคณะผูบริหารเทศบาลเมืองทาขามท้ังส้ิน 8 ชุด (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) ดังนี้

Page 66: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

56

ชุดท่ี 1: 15 เมษายน 2529 1) รอยตรีลมุล เมฆานุวงศ (นายอําเภอพุนพิน) นายกเทศมนตรี 2) นายนิกร ทิพยสุวรรณ (ปลัดอําเภอพุนพิน) เทศมนตรี 3) นายพงษสันต บุญชูชวย (กรรมการสุขาภิบาล) เทศมนตรี ชุดท่ี 2: 17 สิงหาคม 2529 1) นายพงษสันต บุญชูชวย นายกเทศมนตรี 2) นายจุมพล ชลีกรชูวงศ เทศมนตรี 3) นางพาณี รจิตานนท เทศมนตรี ชุดท่ี 3: 20 ตลุาคม 2534 1) นายอรุณ มะลิสุวรรณ นายกเทศมนตรี 2) นายสุวิญ วิสาละ เทศมนตรี 3) นางประทีป วงศสุบรรณ เทศมนตรี ชุดท่ี 4: 24 พฤษภาคม 2536 1) เรือตรีกิตติ ทองนาคพันธ (รองผูวาราชการจังหวัดสุราษฎรธานี) นายกเทศมนตรี 2) นายพนัส เพิ่มพงศพันธ (นายอําเภอพุนพิน) เทศมนตรี ชุดท่ี 5: 20 ตุลาคม 2536 1) นายสุวิญ วิสาละ นายกเทศมนตรี 2) นางประทีป วงศสุบรรณ เทศมนตรี 3) นายธีรพงศ นรังศิยา เทศมนตรี ชุดท่ี 6: 22 ธันวาคม 2539 1) นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี 2) นายจุมพล ชลีกรชูวงศ เทศมนตรี 3) นายสุเมธ กฤติยารัตน เทศมนตรี ชุดท่ี 7: 3 กุมภาพันธ 2544 1) นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี 2) นายจุมพล ชลีกรชูวงศ รองนายกเทศมนตรี 3) นายบริพันธ พูนมาศ รองนายกเทศมนตรี 4) นายทศพล งานไพโรจน รองนายกเทศมนตรี

Page 67: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

57

ชุดปจจุบัน 8: 14 มีนาคม 2548 1) นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี 2) นายจุมพล ชลีกรชูวงศ รองนายกเทศมนตรี 3) นายทศพล งานไพโรจน รองนายกเทศมนตรี 4) นายเกษียร ประเสริฐสุข รองนายกเทศมนตรี ในการวิจัยค ร้ังนี้ ผูวิจัยสนใจศึกษาตั้ งแตการเข ามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ซ่ึงเขามารับตําแหนงต้ังแตวันท่ี 22 ธันวาคม พ.ศ.2539 (ผูบริหารชุดท่ี 6 ของเทศบาลเมืองทาขาม) จนถึงปจจุบัน การเมืองทองถ่ินในระดับเทศบาลของเมืองทาขามนั้นเปนการแขงขันแบบผูกขาดของ 2 กลุมการเมืองขนาดใหญของเมืองทาขาม ไดแก “กลุมประชาภิบาล” และ “กลุมพัฒนาทาขาม” ซ่ึงกลุมพัฒนาทาขามเปนกลุมการเมืองทองถ่ินท่ีสังกัดพรรคประชาธิปตย ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทองเปนสมาชิกของกลุมพัฒนาทาขามมาโดยตลอด คําขวัญในการลงสมัครทุกคร้ังคือ “ซ่ือสัตย พัฒนา แกปญหาสังคม” คณะผูบริหารเทศบาลเมืองทาขามต้ังแตชุดท่ี 6 (22 ธันวาคม พ.ศ.2539) ถึงชุดท่ี 8 (14 มีนาคม พ.ศ.2548) ชุดปจจุบัน เปนคณะผูบริหารเทศบาลท่ีมีนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เปนนายกเทศมนตรีมาโดยตลอด โครงสรางและทิศทางการทํางานเทศบาลเมืองทาขามจึงมีความตอเนื่อง คณะผูบริหารเทศบาลไดมีการกําหนดวัตถุประสงคในการทํางานอยางชัดเจน และเปนท่ียอมรับของทุกฝาย (4) โครงสรางการบริหารงานเทศบาลเมืองทาขาม เทศบาลเมืองทาขามเปนหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ซ่ึงเปล่ียนแปลงฐานะจากเทศบาลตําบลทาข ามเปนเทศบาลเมืองทาขาม นําโดยนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี มาต้ังแตป พ.ศ. 2539 และเม่ือวันท่ี 4 เมษายน พ.ศ.2548 ไดแถลงนโยบายตอ สภาเทศบาลเมืองทาขาม โดยกําหนดทิศทางในการพัฒนาการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชน นําหลักการบริหารมาประยุกตใชอยางเหมาะสม บริหารงานดวยความโปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตามหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงมีการวางแผนการพัฒนาท่ีดีภายใตกระบวนการทํางานรวมกันในการกําหนดทิศทางการบริหาร ท้ังนี้เพื่อสนองตอบและแกไขปญหาความตองการของประชาชนไดอยางถูกตองและยั่งยืน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) เทศบาลมีโครงสรางในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามแบงเปน 2 สวนดังนี้ การบริหารงานหลักโดย 1) ขาราชการการเมือง ท่ีไดมาจากการเลือกต้ังของประชาชนในพ้ืนที่ และ 2) ขาราชการประจําและพนักงานราชการ ท่ีไดมาจากการแตงต้ัง (การสอบแขงขันเพื่อบรรจุ

Page 68: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

58

แตงต้ังหรือการรับโอนมาจากสวนราชการอ่ืน) โดยมีปลัดเทศบาลเปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของขาราชการประจําและลูกจางในสํานักงานเทศบาล ปจจุบันการดําเนินงานของเทศบาลเมืองทาขามแบงออกเปน 7 กองคือ 1) สํานักปลัดเทศบาล 2) กองคลัง 3) กองชาง 4) กองวิชาการและแผนงาน 5) กองการศึกษา 6) กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม และ 7) กองสวัสดิการสังคม ดังแสดง(ภาพประกอบ 4)

\ ภาพประกอบ 4:โครงสรางการทํางานของเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีมา : กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550

นายกเทศมนตรี

รองนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี

สภาเทศบาล ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

เลขานุการนายกเทศมนตรี

เลขานุการนายกเทศมนตรี

รองปลัดเทศบาล

หนวยงานตรวจสอบภายใน

รองปลัดเทศบาล

สํานักปลัดเทศบาล

กองคลัง กองการศึกษา กองชาง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม

กองวิชาการและแผนงาน

กองสวัสดิการสังคม

ปลัดเทศบาล

Page 69: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

59

การบริหารงานเทศบาลในแตละกองมีหนาท่ีรับผิดชอบ ดังนี้ 1) สํานักปลัดเทศบาล มีหนาท่ีปฏิบัติเกี่ยวกับราชการท่ัวไปของเทศบาล เชน งานธุรการ งานการเจาหนาท่ี งานดานการปกครอง งานทะเบียนราษฎรและบัตรประจําตัวประชาชน จัดทําบัญชีรายช่ือผูท่ีมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเทศบาล งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย งานรักษาความสงบเรียบรอยและความม่ันคง ตลอดจนการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เหรียญจักรพรรดิมาลา และงานรับรองคณะศึกษาดูงานตาง ๆ 2) กองคลัง มีหนาท่ีปฏิบัติเกี่ยวกับการเงิน และบัญชี การตรวจสอบแผนท่ีภาษี และทะเบียนทรัพยสิน การประชาสัมพันธขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับการชําระภาษี เรงรัด และแจงเตือนผูมีหนาท่ีเสียภาษีอากรใหปฏิบัติตามกฎหมายกําหนด การควบคุมการตรวจสอบการใชจายของเทศบาลใหเกิดประโยชนสูงสุดตอทางราชการ การจัดทําสถิติรายรับ-รายจายของเทศบาล ตลอดจนการจัดซ้ือจัดจางในงานตาง ๆ การจัดทําทะเบียนพัสดุและทรัพยสิน รวมท้ังการบํารุงรักษาและการจําหนายพัสดุ และทรัพยสินของเทศบาล 3) กองชาง มีหนาท่ีปฏิบัติงานดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการดานตางๆ การควบคุมอาคารและผังเมือง การกําจัดขยะและส่ิงปฏิกูล การเขียนแบบรายละเอียดการกอสรางดานวิศวกรรม และสถาปตยกรรม ตลอดจนการจัดใหมีสวนสาธารณะ สถานท่ีพักผอนหยอนใจ 4) กองวิชาการและแผนงาน มีหนาท่ีปฏิบัติงานดานวิชาการของเทศบาลเก่ียวกับการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล การจัดทําเทศบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําป การติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล การศึกษาวิจัยการปฏิบัติงานของเทศบาลในดานตางๆ การดําเนินการพิจารณาวินิจฉัยปญหาทางกฎหมาย การประชาสัมพันธขาวสาร เผยแพร ผลงานของเทศบาลใหประชาชนไดรับทราบรวมท้ังถึงงานกิจการสภาเทศบาล 5) กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม มีหนาท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด การจัดเก็บขยะและส่ิงปฏิกูลจากอาคาร บานเรือน และท่ีสาธารณะตางๆ การสงเสริมสุขภาพอนามัย การปองกันและควบคุมโรคติดตอ การควบคุมสุขาภิบาลและส่ิงแวดลอม การปองกันการติดยาและสารเสพติดประเภทตางๆ แกประชาชน 6) กองสวัสดิการสังคม มีหนาท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนาชุมชน การสังคมสงเคราะหผูดอยโอกาสในสังคม สงเคราะหผูประสบภัยตางๆ การจัดสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน การสํารวจสภาพปญหาสังคมตางๆ สงเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา และอนามัยของชุมชน อัตรากําลังบุคลากรของเทศบาลเมืองทาขาม มีพนักงานสามัญ ลูกจางประจําและลูกจางช่ัวคราวโดยแบงไดดังนี้ (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551)

Page 70: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

60

- พนักงานเทศบาล จํานวน 74 คน - ลูกจางประจาํ จํานวน 25 คน - พนักงานจางตามภารกิจ จํานวน 46 คน - พนักงานจางท่ัวไป จํานวน 99 คน โครงสรางการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม มีการกําหนดภาระหนาท่ีรับผิดชอบในแตละกองอยางชัดเจน แตนั้นก็หมายไมไดความหมายวาทุกกองจะตองรับผิดชอบเฉพาะงานในหนาท่ีของตนเองเทานั้น การทํางานของทุกกองสามารถยืดหยุน เปล่ียนแปลงตามสถานการณ เพราะเม่ือดูอัตรากําลังของบุคลากรของเทศบาลเมืองทาขาม มีจํานวนนอยเม่ือเทียบกับภาระงานท่ีตองรับผิดชอบ ดังนั้นนโยบายการทํางานของเทศบาลเมืองทาขาม คือบุคลากรของเทศบาลทุกคนสามารถรวมกันทํางานกันไดกับทุกกอง การศึกษาคร้ังนี้กองท่ีเกี่ยวของกับงานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนคือ กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม โดยเปนแมงานหลักในการดําเนินการจัดการขยะ และกองสวัสดิการสังคมเปนกองท่ีมีความใกลชิดกับชุมชนจึงเปนสวนสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะท่ีจัดใหกับชุมชน (5) อํานาจหนาท่ีของเทศบาลเมืองทาขาม อํานาจหนา ท่ีและความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองทาขาม เปนไปตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2543 ซ่ึงกําหนดหนาท่ีของเทศบาลไวดังนี้ มาตรา 50 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลท้ัง 3 ระดับ มีหนาท่ีตองทําในเขตเทศบาลดังตอไปนี้ 1) รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน 2) ใหมีและบํารุงทางบกและทางน้ํา 3) รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดิน และท่ีสาธารณะรวมท้ังการกําจัดขยะมูลฝอยส่ิงปฏิกูล 4) ปองกันและระงับโรคติดตอ 5) ใหมีเคร่ืองใชในการดับเพลิง 6) ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม 7) สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและพิการ 8) บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ินและวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ิน

Page 71: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

61

9) หนาท่ีอ่ืนๆซ่ึงมีคําส่ังกระทรวงมหาดไทย หรือกฎหมายบัญญัติใหเปนหนาท่ีของเทศบาล 10) ใหมีน้ําสะอาดหรือการประปา 11) ใหมีโรงฆาสัตว 12) ใหมีและบํารุงสถานท่ีทําการพิทักษและรักษาคนเจ็บไข 13) ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า 14) ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ 15) ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน 16) ใหมีการดําเนินการกิจการโรงรับจํานําหรือสถานสินเช่ือทองถ่ิน มาตรา 53 ภายใตบังคับแหงกฏหมาย เทศบาลเมืองมีหนาท่ีตองทําในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้ 1) กิจกรรมตามท่ีระบุไวในมาตรา 50 2) ใหมีน้ําสะอาดหรือการประปา 3) ใหมีโรงฆาสัตว 4) ใหมีและบํารุงสถานท่ีทําการพิทักษและรักษาคนเจ็บไข 5) ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า 6) ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ 7) ใหมีและบํารุงการไฟฟา หรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน 8) ใหมีการดําเนินกิจการโรงรับจํานําหรือสถานสินเช่ือทองถ่ิน มาตรา 54 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลเมือง อาจจัดทํากิจการใดๆ ในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้ 1) ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม 2) ใหมีสุสานและฌาปนสถาน 3) บํารุงและสงเสริมการทํามาหากินของราษฎร 4) ใหมีและบํารุงการสงเคราะหมารดาและเด็ก 5) ใหมีและบํารุงโรงพยาบาล 6) ใหมีการสาธารณูปการ 7) จัดทํากิจการซ่ึงจําเปนเพื่อการสาธารณสุข 8) จัดต้ังและบํารุงโรงเรียนอาชีวศึกษา 9) ใหมีและบํารุงสถานท่ีสําหรับการกีฬาและพลศึกษา

Page 72: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

62

10) ใหมีและบํารุงสวนสาธารณะ สวนสัตว และสถานท่ีพักผอนหยอนใจ 11) ปรับปรุงแหลงเส่ือมโทรมและรักษาความสะอาดเรียบรอยของทองถ่ิน 12) เทศพาณิชย จากอํานาจหนาท่ีของเทศบาล งานรักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดิน และท่ีสาธารณะรวมท้ังการกําจัดขยะมูลฝอยส่ิงปฏิกูล เปนงานในหนาท่ีหลักท่ีเทศบาลตองรับผิดชอบโดยตรง ซ่ึงขยะเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา การจัดการขยะจึงเปนงานท่ีตองมีการดําเนินการทุกวัน ไมสามารถละการปฏิบัติหนาท่ีได ดังนั้นงานการจัดการขยะจึงเปนงานในหนาท่ีท่ีมีความสําคัญของเทศบาล และเปนงานท่ีตองมีโครงการและกิจกรรมมารองรับเพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงไดมีการกําหนดใหงานส่ิงแวดลอมเปนนโยบายหนึ่งในนโยบายหลักในการพัฒนาเทศบาล (6) นโยบายและแผนพัฒนาเทศบาล นโยบายและการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลเมืองทาขามไดพิจารณาจากปญหาหลักการพัฒนา โดยมีการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลจากความตองการของประชาชนผานการทําประชาคมใหประชาชนเขารวมทําแผนพัฒนาเทศบาล เพื่อใหทราบถึงปญหาตางๆท่ีสงผลกระทบตอประชาชนนํามาจัดลําดับความสําคัญของปญหา และพิจารณาถึงนโยบายในระดับตางๆ โดยพิจารณาจากนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของกรมการปกครอง นโยบายของกระทรวงมหาดไทย นโยบายจังหวัดสุราษฎรธานี และนโยบายของคณะผูบริหารเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงมุงเนนใหมีการดําเนินงานปรับปรุงใหบานเมืองมีความสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย รวมท้ังการปรับปรุงระบบการจัดการขยะใหเปนไปตามหลักสุขาภิบาล ข้ันตอนในการทําแผนพัฒนามี 7 ข้ันตอน (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) ดังนี้ 1) การเตรียมการจัดทําแผน 2) การเก็บรวบรวมขอมูล 3) การวิเคราะหขอมูล 4) การกําหนดวัตถุประสงคของสาขาการพัฒนา 5) การจัดทํารายละเอียดแผนงาน/โครงการประจําป 6) การจัดทํารางแผนพัฒนาประจําป 7) การอนุมัติและการประกาศใช ในแตละข้ันตอนประกอบดวยกิจกรรมหลักหรือกิจกรรมท่ีสําคัญ ประกอบกันซ่ึงแตละกจิกรรมมีความสัมพันธท่ีสอดคลองตอเนื่องและทุกกิจกรรมเปดโอกาสใหตัวแทนประชาชน

Page 73: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

63

และหนวยงานตางๆในเมืองทาขามเขารวมดําเนินการทุกข้ันตอน เพื่อใหไดแนวทางการพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม นําประชาชนเมืองทาขามไปสูสังคมท่ีดีและมีคุณภาพ จากการเปล่ียนแปลงการของสภาพเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการเมืองในปจจุบัน นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี จึงมีแนวคิดปรับเปล่ียนแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม เพื่อใหกาวทันการเปล่ียนแปลง และใหเปนไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตลอดจนแนวนโยบายของรัฐบาล จึงไดปรับเปล่ียนวิสัยทัศนจากเดิม คือ “ทาขามเมืองนาอยู คนมีคุณภาพและคุณธรรม เปนผูนําองคกรการเรียนรูและกีฬา เมืองแหงภูมิปญญาทองถ่ิน” (แผนพัฒนาเทศบาล 5 ป พ.ศ 2545-2549) เปน “เทศบาลเมืองทาขามเปนเทศบาลมีความโปรงใส และประชาชนมีสวนรวมในการบริหาร” (แผนพัฒนาเทศบาล 5 ป พ.ศ 2550-2554) ผูบริหารเทศบาลเมืองทาขาม ไดกําหนดนโยบายการพัฒนา เพื่อเปนจุดมุงหมายในการกําหนดทิศทางในการพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมือง ทาขาม, 2550) ดังนี้ 1) นโยบายดานการเมืองการบริหาร 2) นโยบายดานการพัฒนาสังคม 3) นโยบายดานการพัฒนาเศรษฐกิจ 4) นโยบายดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 5) นโยบายดานโครงสรางพื้นฐาน นอกจากนี้ผูบริหารยังไดเพิ่มเติมยุทธศาสตร และแนวทางในประเด็นของเร่ือง “เศรษฐกิจพอเพียง และสังคมอยูดี มีสุข” เปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาลเมือง ทาขาม ดังมีรายละเอียด (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) ดังนี้ 1) ยุทธศาสตรดานการบริหารจัดการ 2) ยุทธศาสตรดานสังคม การศึกษา และกีฬา 3) ยุทธศาสตรดานการทองเท่ียวและศิลปวัฒนธรรม 4) ยุทธศาสตรดานเศรษฐกิจ 5) ยุทธศาสตรดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 6) ยุทธศาสตรดานโครงสรางพื้นฐาน วิสัยทัศน นโยบาย และยุทธศาสตรการพัฒนาเทศบาล มีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเทศบาล เพราะเปนการกําหนดทิศทางใหเปนไปในทางเดียวกันทุกฝาย ไมวาจะเปนผูบริหาร

Page 74: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

64

เทศบาล เจาหนาผูรับนโยบายไปปฏิบัติ และประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีตองเขามาเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาเทศบาลตามวิสัยทัศนท่ีเทศบาลไดกําหนดไว 2.5.2 ขอมูลชุมชน เทศบาลเมืองทาขามไดกําหนดพ้ืนท่ีในเขตเทศบาลทั้งหมด 22 ชุมชน โดยมีลําดับการเกิดชุมชน (กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) ดังนี้ พ.ศ.2531 เกิดชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม 10 ชุมชน ไดแก เปนการแบงชุมชนตามพ้ืนท่ีการอยูอาศัยไมมีความชัดเจนในรูปแบบของชุมชน เปนเพียงการรับรูกันวาอยูในชุมชนใด พ.ศ.2544 ไดมีการแบงชุมชนเพิ่มข้ึน โดยการแบงชุมชนออกจากชุมชนเดิม จาก 10 ชุมชนเปน 20 ชุมชน โดยแบงชุมชนเพิ่มดังนี้ - ชุมชนบนควน แบงออกเปน ชุมชนทายควนและชุมชนธีราศรม - ชุมชนฝายทา แบงออกเปน ชุมชนพุมดวง - ชุมชนศรีสุราษฎร แบงออกเปน ชุมชนศรีพุนพิน - ชุมชนราษฎรบํารุง ซ. 1-7 และชุมชนราษฎรบํารุง ซ. 8-13 แบงออกเปน ชุมชนบานบน ชุมชนบานกลาง และชุมชนบานลาง พ.ศ.2547 ไดมีการแบงชุมชนเพิ่มอีก 1 ชุมชน คือชุมชนมุงพัฒนา แบงออกเปน ชุมชนตํารวจภูธร วัตถุประสงคของการแบงชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม ก็เพื่อตองการขยายการพัฒนาใหท่ัวถึง ครอบคลุมประชาชนใหมากข้ึน ประชาชนจะไดมีโอกาสเขามามีสวนรวมในการทํางานกับเทศบาลเพิ่มข้ึน ท้ังนี้จะไดมีแกนนําชุมชนมาเปนผูประสานงานระหวางเทศบาลกับชุมชนเพิ่มข้ึน ท้ังนี้การแบงชุมชนยังคงใหรักษา และคงชุมชนเดิมไว ปจจุบันเทศบาลเมืองทาขามไดประกาศกําหนดพื้นท่ีในเขตเทศบาลมีชุมชนท้ังหมด 22 ชุมชน ประชาชนสวนใหญมีลักษณะการกระจายตัวอยูในเขตเทศบาล โดยสามารถแบงชุมชนตามลักษณะของชุมชนได 3 ลักษณะไดแก 1) ชุมชนเกษตร ไดแก ชุมชนวัดใน ชุมชนวัดดอนกระถิน ชุมชนพุมดวง ชุมชนฝายทา ชุมชนใตโคง ชุมชนพุนพินพิทยาคม ชุมชนดรุโณทัย และชุมชนทาลอน 2) ชุมชนแออัด ไดแก ชุมชนมุงพัฒนา ชุมชนทายควน ชุมชนบนควน และชุมชนธีราศรม 3) ชุมชนเมือง ไดแก ชุมชนศรีพุนพิน ชุมชนศรีสุราษฎร ชุมชนบานลาง ชุมชนบานกลาง ชุมชนบานบน ชุมชนสราญรมย ชุมชนชางกล ชุมชนเจริญลาภ ชุมชนหมูบานธารทิพยและชุมชนตํารวจภูธร

Page 75: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

65

การศึกษาคร้ังนี้ไดคัดเลือกชุมชนท่ีศึกษา เพื่อใชในการศึกษาท้ังส้ิน 3 ชุมชนโดยคัดเลือกจากชุมชนท่ีเขามามีสวนรวมในการทํากิจกรรมการจัดการขยะของชุมชน และมีลักษณะชุมชนท่ีแตกตางกัน ซ่ึงชุมชนท่ีศึกษาท่ีคัดเลือกไดแก 1) ชุมชนฝายทา (ชุมชนเกษตร) 2) ชุมชน ทายควน (ชุมชนแออัด) และ3) ชุมชนเจริญลาภ (ชุมชนเมือง) ดังมีรายละเอียดดังนี้ (1) ชุมชนฝายทา ชุมชนฝายทา เปนชุมชนเกาแกของเมืองทาขาม มีลักษณะเปนชุมชนเกษตร จัดต้ังเปนชุมชนในป พ.ศ. 2531 ต้ังอยูริมแมน้ําตาปพื้นท่ีจึงเหมาะแกการเพาะปลูก พื้นท่ีสวนใหญเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม ในอดีตประชาชนในชุมชนฝายทาทําการเกษตร และนําไปขายยังตลาดสดเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงอยูริมฝงแมน้ําตาปตรงขามกับชุมชน ซ่ึงคนรุนเกาของชุมชนยึดอาชีพเกษตรเปนอาชีพหลัก คนรุนตอมาในชุมชนไดเปล่ียนจากการทําการเกษตรเปนคาขาย โดยรับสินคาเกษตร และสินคาอ่ืนๆจากท้ังในพื้นท่ีจังหวัดสุราษฏรธานี และพื้นท่ีอ่ืนนํามาจําหนายท่ี ตลาดสดเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีต้ังและอาณาเขตของชุมชนฝายทา ชุมชนฝายทามีจํานวนบานเรือน 285 หลังคาเรือน ประชากรท้ังหมด 881 คน เปนชาย 419 คน และหญิง 462 คน (สํานักปลัดเทศบาลเทศบาลเมืองทาขาม, 2551) การเดินทางสูชุมชนเดินทางทําไดโดยงายดาย และสะดวก โดยไดท้ังทางบก และทางน้ํา ซ่ึงเปนเสนทางท่ีประชาชนในชุมชนนิยมเดินทาง เพราะสะดวก และระยะทางใกลกวาทางบก เนื่องจากริมฝงแมน้ําที่อยูตรงขามกับชุมชนเปนตลาดสดเทศบาลเมืองทาขาม และ สถานีรถไฟส ุราษฏรธานี สะดวกในการเดินทางไปคาขาย และเดินทางสูจุดหมายตางๆตอไป

Page 76: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

66

ท่ีทําการ ชุมชน

ธนาคาร ชุมชน

ลานเอนกประสงค

เพิงขายอาหาร

ชุมชนพุมดวง

แมน้ําตาป

N

ภาพประกอบ 5 : แผนท่ีชุมชนฝายทา

Page 77: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

67

(2) ชุมชนทายควน ชุมชนทายควนเปนชุมชนแออัดขนาดใหญ เม่ือป พ.ศ. 2544 แยกออกจากชุมชนบนควน พรอมกับชุมชนธีราศรม ลักษณะเปนพื้นท่ีราบติดกับคลองท่ีแยกออกมาจากแมน้ําตาปเขาไปในเขตบางทาขาม และบางพ้ืนท่ีของชุมชนมีลักษณะเปนควนสูง ในชุมชนทายควนมีบานเรือน 243 หลังคาเรือน จํานวนประชากร 1,072 คน เปนชาย 543 คน และหญิง 529 คน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) ท่ี ต้ังของชุมชนเปนท่ีดินของการทางรถไฟ ท่ีราชพัสดุ และกรมเจาทา ซ่ึงประชาชนไดเขามาบุกรุกปลูกสรางบานเรือนกันอยางหนาแนน ประชาชนสวนใหญของชุมชนเปนคนจากภาคกลางท่ีอพยพเขามาทํางานในเมืองทาขาม ประกอบพื้นท่ีดังกลาวเปนพื้นท่ีวาง ประชาชนจ ึงเขามาจับจองสรางท่ีพักอาศัย ประชาชนท่ีอพยพเขามาทํางานในเมืองทาขามมาปกหลักอาศัยยาวนานมาประมาณ 2 ช่ัวอายุคน โดยปจจุบันเปนคนรุนท่ี 3 ไดมีการชักชวนกันภายในเครือญาติ และเพื่อนบานในบริเวณใกล เ คียงให เข ามาอาศัยอยู ในเ มืองทาข าม (รัชนี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) ในอดีตมีประชาชนอาศัยอยูในชุมชนประกอบอาชีพโรงงานทําแปงมันสําปะหลัง ซ่ึงปลูกเปนจํานวนมากท่ีบริเวณชุมชนบนควน ตอมาโรงงานทําแปงมันสําปะหลังไดหยุดไป และประชาชนท่ีอพยพมาอยูในชุมชนมาจากทางภาคกลางซ่ึงมีการสานเขง กระดง กระจาด และชะลอมไมไผไวใชงานเองภายในครัวเรือนทุกครัวเรือน สวนบานท่ีมีการสานเขง และชะลอมไวจําหนายจะเรียกกันวา “โรงเขง” ซ่ึงเปนท่ีรูจักของคนในเมืองทาขาม และขางเคียง ในอดีตการขนสงสินคาเกษตรจากจังหวัดสุราษฏรธานีเขาสูกรุงเทพ หรือจังหวัดอ่ืนๆตองใชเขงเปนภาชนะหลักในการบรรจุสินคา ตอมาเขงพลาสาติกเขามาแทนจึงทําใหโรงเขงหายไปจากชุมชนทายควนมาเปนเวลาประมาณกวา 30 ป แตการสานชะลอมไมไผในชุมชนยังคงมีการสานในงานประเพณีเดือนสิบ เพื่อใสอาหาร และขนมไปวัด ความสามารถในการสานชะลอมของประชาชนในชุมชนทายควนเปนท่ีรูจักกันดีในเมืองทาขาม จนเปนท่ีรูกันดีวาคนทายควนทุกคนสานชะลอมเปน (พัชรี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552)

Page 78: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

68

ภาพประกอบ 6 : แผนท่ีชุมชนทายควน

แมน้ําตาป

ถนนเลียบทางรถไฟ

ศาลาเอนกประสงค

บานประธาน

ชุมชน

ชุมชนธีราศรม

N

Page 79: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

69

(3) ชุมชนเจริญลาภ

ชุมชนเจริญลาภมีลักษณะเปนชุมชนเมือง เกิดข้ึนต้ังแตป พ.ศ. 2531 เปน การกําหนดเขตชุมชนโดยเทศบาล ซ่ึงเปนการแบงตามพื้นท่ีอยูอาศัย ไมมีความชัดเจนในรูปแบบของชุมชน แตประชาชนท่ีอาศัยอยูในบริเวณนั้นรับรูวาอยูในเขตชุมชนนั้นๆ ตอมาในป พ.ศ. 2540 ไดมีการจัดรูปแบบชุมชนข้ึนใหม มีการกําหนดเขตชุมชนชัดเจน ในชุมชนเจริญลาภมีบานเรือน 520 หลังคาเรือน จํานวนประชากร 997 คน เปนชาย 488 คน และหญิง 509 คน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2550)

ศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชมุชน

บานแกนนํา

ถนนเจริญเวช

โรงงาน 1

โรงงาน 2

ถนนธราธิบดี

ภาพประกอบ 7 : แผนท่ีชุมชนเจริญลาภ

แมน้ําตาป

N

Page 80: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

70

2.5.3 การจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขาม การจัดการขยะประจําวันของเทศบาลเมืองทาขามมีกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเปนหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหมีอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบในการจัดการขยะโดยตรง เทศบาลเมืองทาขามไดจัดโครงสรางองคกรและกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) มีดังนี้ (1) ฝายบริหารงานสาธารณสุข มีหนาท่ีควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติงานในหนาท่ีของงานแผนงานสาธารณสุข งานสุขาภิบาลและอนามัยส่ิงแวดลอม งานรักษาความสะอาด และงานเผยแพรและฝกอบรม รายละเอียดหนาท่ีความรับผิดชอบดังนี้ 1.1) แผนงานสาธารณสุข มีหนาท่ีเกี่ยวกับ 1) งานวางแผนดานสาธารณสุข 2) งานจัดทําแผนตามโครงการบริหารสาธารณสุขใหสอดคลองกับปญหาสาธารณสุขของทองถ่ินโดยประสาน แผนกับสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ จังหวัด 3)งานประสานแผนการปฏิบัติงานหนวยงานตางๆจากผลการปฏิบัติงานหรือรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ประจําเดือนของเทศบาล 4) งานรวบรวมแผนการปฏิบัติงานสาธารณสุขประจําเดือนของเทศบาล 5) งานขอมูล ขาวสาร จัดทําและสนับสนุนระเบียบและรายงานใหหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของ 6) งานประเมินผลทางดานการสาธารณสุข 7) งานนิเทศและติดตามผลงานทางดานสาธารณสุข 8) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย 1.2) งานสุขาภิบาลและอนามัยส่ิงแวดลอม มีหนาท่ีเกี่ยวกับ 1) งานควบคุมดานสุขาภิบาลและอนามัยส่ิงแวดลอม 2) งานสุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ 3)งานควบคุมการประกอบการคาท่ีนารังเกียจหรืออาจเปนอันตรายตอสุขภาพ 4) งานปองกันควบคุมแกไขเหตุรําคาญและมลภาวะ 5) งานสุขาภิบาลโรงงาน 6) งานชีวอนามัย 7) งานฌาปนกิจ 8) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย

Page 81: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

71

1.3) งานรักษาความสะอาด มีหนาท่ีเกี่ยวกับ 1) งานกวาดลางทําความสะอาด 2) งานเก็บรวบรวมขยะขยะ 3) งานขนถายขยะขยะ 4) งานขนถายส่ิงปฏิกูล 5) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย 1.4) งานเผยแพรและฝกอบรม 1) งานเผยแพรกิจกรรมทางวิชาการดานสาธารณสุข 2) งานฝกอบรมและศึกษาดูงาน 3) งานพัฒนาบุคลากรดานสาธารณสุข 4) งานประเมินผล 5) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย (2) ฝายบริหารและสงเสริมการอนามัย มีหนาท่ีควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติงานในหนาท่ีของงานสงเสริมสุขภาพ งานปองกันและควบคุมโรคติดตอ และงานสัตวแพทย 2.1) งานสงเสริมสุขภาพ มีหนาท่ีเกี่ยวกับ 1) งานดานสุขศึกษา 2) งานอนามัยโรงเรียน 3) งานอนามัยแมและเด็ก 4) งานวางแผนครอบครัว 5) งานสาธารณสุขมูลฐาน 6) งานโภชนาการ 7) งานสุขภาพจิต 8) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย 2.2) งานปองกัน และควบคุมโรคติดตอ มีหนาท่ีเกี่ยวกับ 1) ปองกันและสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 2) งานควบคุมแมลงและพาหนะนําโรค 3) งานควบคุมปองกันโรคติดตอ 4) งานปองกันการติดยาและสารเสพติด 5) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย

Page 82: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

72

(3) งานธุรการ มีหนาท่ีเกี่ยวกับงานธุรการของกองหรือฝาย และงานดังตอไปนี้ 1) งานสารบรรณ 2) งานดูแลรักษา จัดเตรียม และใหบริการเร่ืองสถานท่ี วัสดุอุปกรณ ติดตอและอํานวยความสะดวกในดานตางๆ 3)งานประสานงานเกี่ยวกับการประชุมสภาเทศบาล คณะเทศมนตรี และพนักงานเทศบาล 4) งานตรวจสอบ และแสดงรายการเกี่ยวกับเอกสารสําคัญของทางราชการ 5) งานสาธารณกุศลของเทศบาล และของหนวยงานตางๆท่ีขอความรวมมือ 6) งานรักษาความสะอาด ความปลอดภัยของสถานท่ีราชการ 7) งานขอพระราชทางเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เหรียญจักรพรรดิมาลา หรือผูทําคุณประโยชน 8) งานจัดทําคําส่ังและประกาศ 9) งานรับเร่ืองราวรองทุกขและรองเรียน 10) งานพิจารณาเล่ือนข้ันเงินเดือนพนักงาน ลูกจาง และการใหบําเหน็จความชอบกรณีพิเศษ 11) งานการลาพักผอนประจําปและการลาอ่ืนๆ 12) งานสวัสดิการตางๆ 13) งานดานประชาสัมพันธและอํานวยความสะดวกแกประชาชน 14) งานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมาย จากภาระหนาท่ีงานของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเทศบาลเมืองทาขามท่ีกลาวไปแลวขางตน จะเห็นไดวางานรักษาความสะอาด ฝายบริหารงานสาธารณสุขในกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเปนหนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบการจัดการขยะในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของเทศบาล ซ่ึงหนาท่ีรับผิดชอบของงานรักษาความสะอาด ฝายบริหารงานสาธารณสุขมีดังนี้ 1) งานกวาดลางทําความสะอาด 2) งานเก็บรวบรวมขยะ 3) งานขนถายขยะ 4) งานขนถายส่ิงปฏิกูล และ5) งานอ่ืนๆท่ีเกี่ยวของหรืองานท่ีไดรับมอบหมาย อัตรากําลังบุคลากรงานการจัดการขยะในการปฏิบัติหนาท่ีในการเก็บกวาดขยะ เก็บขนขยะ และกําจัดขยะ เปนพนักงานประจํา 4 คน พนักงานจางท่ัวไป 73 คน แบงพื้นท่ีรับผิดชอบในการกวาด และเก็บขนขยะออกเปน 3 เขตมีหัวหนาเขตรับผิดชอบและมีพนักงานกวาด

Page 83: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

73

และเก็บขนขยะ เขตละ 10 คน ดําเนินการกวาด 2 รอบ ในชวงเวลา 05.00-07.00 น. และ 14.00-17.00 น. และดําเนินการเก็บขนขยะในเขตเทศบาล 2 รอบ ในเวลา 05.00 น. และ 14.00 น. โดยมีรถบรรทุกขยะ จํานวน 5 คัน รถบรรทุกชนิดอัดทาย จํานวน 3 คัน รถตักหนาขุดหลังจํานวน 1 คน รถขุดไฮดรอลิกจํานวน 1 คันและรถแทรกเตอรจํานวน 1 คน กําจัดขยะดวยวิธีการฝงกลบมูลฝอยแบบกลบขุดรอง โดยนําขยะมาเทกองลงในพ้ืนท่ีท่ีไดจัดเตรียมไว แลวใชเคร่ืองจักรกลเกล่ียและบดอัดใหยุบตัวลง จากน้ันใชดินกลบทับและบดอัดใหแนน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) การจัดการขยะประจําวันเปนหนาท่ีหลักของเทศบาล ดังนั้นเทศบาลจึงมีความจําเปนท่ีตองมีการหาอุปกรณมาชวยเสริม และสนับสนุนการจัดเก็บขยะท่ีเพิ่มมากข้ึน เดิมทีต้ังแต ป พ.ศ. 2539 เทศบาลเมืองทาขามมีเพียงรถบรรทุกขยะจํานวน 2 คัน และรถขุดตักขนาดเล็ก 1 คัน ตอมาในป พ.ศ. 2457 เทศบาลเมืองทาขามไดของบประมาณในการจัดซ้ือรถเก็บบรรทุกขยะชนิดอัดทาย และรถขุดตักขนาดใหญจากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในขณะนั้น (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) เห็นไดวางานจัดการขยะประจําวันท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการอยูนั้นเปนการจัดการปญหาท่ีปลายเหตุ เปนเพียงการเก็บ และกําจัดขยะท่ีประชาชนนํามาทิ้งไวในภาชนะท่ีเทศบาลเตรียมไวให ซ่ึงพื้นท่ีกําจัดขยะของเทศบาลเมืองทาขามมีพื้นท่ีอยางจํากัด ดังนั้นเทศบาลเมืองทาขามจึงหาแนวทางการลดปริมาณขยะกอนเขาสูพื้นท่ีฝงกลบเพ่ือยืดอายุการใชงานพื้นท่ีฝงกลบ โดยสรุป การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนั้น มีหลากหลายรูปแบบและมีปจจัยตางๆเขามาชวยสนับสนุน ปจจัยที่ศึกษาในคร้ังนี้ คือ ปจจัยธรรมาภิบาล และปจจัยทุนทางสังคม จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของจะเห็นไดวา รูปแบบและวิธีการในการจัดการท่ีมีลักษณะความคลายคลึงกัน แตเปาหมายของธรรมาภิบาล และทุนทางสังคม ตางก็ตองการใหชุมชนสามารถดําเนินการจัดการองคความรู เกิดกิจกรรมตางๆภายในชุมชนท่ีสามารถดําเนินการไดเอง และสามารถพ่ึงพากันเองไดในท่ีสุด เพื่อตองการใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ซ่ึงจะไดนําเสนอวิธีการศึกษาในบทตอไป

Page 84: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 74

บทท่ี 3

วิธีการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพควบคูกับการวิจัยเชิงปริมาณใชวิธีการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ (Quanlitative research) โดยใชการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-structured interviews) กับกลุมขาราชการการเมือง ขาราชการประจําของเทศบาลเมืองทาขาม และประชาชนในชุมชนจํานวน 3 ชุมชน และใชการเก็บขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยการใชแบบสอบถาม สัมภาษณครัวเรือนของประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนศึกษา จํานวน 3 ชุมชน มีวิธีการดําเนินการวิจัยเปนดังตอไปนี้ 3.1. พื้นท่ีศึกษา ในการศึกษาคร้ังนี้ มุงศึกษาธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยใชกรณีศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี เนื่องจากเปนเทศบาลขนาดกลางท่ีไดรับรางวัลดานธรรมาภิบาลมาต้ังแตป พ.ศ. 2546 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) นอกจากนั้นยังไดรับรางวัลดานการจัดการขยะชุมชนผูวิจัยจึงสนใจ และเลือกเทศบาลเมืองทาขามเปนท่ีศึกษา และผูวิจัยไดคัดเลือกชุมชนเพื่อศึกษารวม 3 ชุมชนไดแก 1) ชุมชนฝายทา 2) ชุมชนทายควน และ 3) ชุมชนเจริญลาภ การเลือกชุมชนดังกลาวไดมาจากการศึกษาเอกสารการเขามามีสวนรวมของชุมชนในการจัดการขยะท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการในชวงเวลาต้ังแตป พ.ศ. 2539-2549 โดยทําการแบงกลุมชุมชนตามระดับการเขามามีสวนรวมในกิจกรรม และลักษณะของชุมชน ไดแก ชุมชนเกษตร ชุมชนแออัด และชุมชนเมือง รวมทั้งผูวิจัยไดปรึกษากับ เจาหนาท่ีรักษาการนักสังคมสงเคราะห กองสวัสดิการและสังคม เทศบาลเมืองทาขาม เนื่องจากเปนผูท่ีรับผิดชอบโดยตรงในงานการจัดการขยะของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมือง ทาขาม และงานในกองสวัสดิการสังคมเปนงานท่ีทํารวมกับแกนนําชุมชนไมวาคณะกรรมการชุมชน หรือ กลุม อสม. และเปนผูท่ีรวมทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมาโดยตลอด จึงสรุปขอมูลชุมชนท่ีใชเปนกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ ดังแสดง (ตาราง 1)

Page 85: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

75

ตาราง 1 ชุมชนกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา

ชุมชนท่ีศึกษา ลักษณะชุมชน กิจกรรมการจัดการขยะ

ฝายทา เกษตร (1) ขยะแลกไข

ทายควน แออัด (1) ขยะแลกไข (2) ปุยหมักชีวภาพ

เจริญลาภ เมือง (1) ถนนปลอดถังขยะ (2) ขยะแลกไข (3) ปุยหมักชีวภาพ (4) ธนาคารขยะ

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพเปนหลัก และมีการเก็บขอมูลเชิงปริมาณเพื่อมาสนับสนุนขอมูล ประชากรเปาหมายในการศึกษาเชิงคุณภาพแบงเปน 2 กลุม ไดแก 1) ขาราชการเทศบาลเมืองทาขาม ไดคัดเลือกขาราชการของเทศบาลเมืองทาขามเปนกลุมตัวอยาง จํานวน 15 คน ประกอบดวย 1) ขาราชการการเมือง ไดแก นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาเทศบาล 2) ขาราชการประจํา ไดแก ปลัดเทศบาล ผูอํานวยการกองท่ีเกี่ยวของตองานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ไดแก สํานักปลัดเทศบาล กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม กองสวัสดิการสังคม กองคลังและกองวิชาการและแผนงาน รวมท้ังเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของในแตละกอง 2) ผูนําชุมชน คัดเลือกตัวแทนชุมชนในเทศบาลเมืองทาขามจาก 3 ชุมชน ไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ คัดเลือกตัวแทนชุมชนละ 7-8 คน รวมท้ังส้ินจํานวน 20 คน ประกอบดวย 1) ผูนําท่ีเปนทางการ ไดแก ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) และ 2) ผูนําท่ีไมเปนทางการ ไดแก บุคคลท่ีคนในชุมชนเคารพนับถือ ตัวแทนกลุมหรือชมรมท่ีจัดต้ังข้ึนในชุมชน และบุคคลท่ีเขารวมทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางสมํ่าเสมอ ในการเก็บขอมูลเชิงปริมาณดวยแบบสอบถาม ประชากรเปาหมาย คือ ครัวเรือนท่ีอาศัยอยูในชุมชนท้ัง 3 ชุมชน คือ ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ซ่ึงมีจํานวนรวมทั้งส้ิน 1,048 ครัวเรือน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมือง ทาขาม, 2550) ผูวิจัยไดคํานวณหาขนาดกลุมตัวอยางท่ีเหมาะสมโดยพิจารณาจากขนาดของประชากรเปาหมาย ตามเกณฑท่ีกําหนดดังนี้ (นิภา ศรีไพโรจน, 2527)

Page 86: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

76

ถา 100 ≤ N < 1,000 กําหนดให n = 15 – 30 % ของ N ถา 1,000   ≤ N < 10,000 กําหนดให n = 10– 15 % ของ N ถา 10,000  ≤ N < 100,000 กําหนดให n = 5 – 10 % ของ N ถา 100,000 ≤ N < 1,000,000 กําหนดให n = 1 – 5 % ของ N

ดังนั้นสัดสวนกลุมตัวอยางท่ีเหมาะสมคือ รอยละ 10 คิดเปนจํานวน 105 ครัวเรือน ผูวิจัยแบงขนาดตัวอยางตามพื้นท่ีของชุมชนท่ีศึกษา โดยการเปรียบเทียบ

อัตราสวนรอยละ ซ่ึงไดขนาดกลุมตัวอยางในแตละชุมชนดังแสดง (ตาราง 2) ซ่ึงการสุมตัวอยางประชากรในการเก็บขอมูลเชิงปริมาณโดยหาชวงความถ่ีตําแหนงท่ีต้ังของครัวเรือนในแผนท่ีชุมชนพื้นท่ีศึกษาโดยกําหนดสัมภาษณ 1 บานเวน 3 บาน ตาราง 2 จํานวนประชากรตัวอยางท่ีใชในการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม

พ้ืนท่ีศึกษา จํานวนครัวเรือน ขนาดของกลุมตัวอยาง

(รอยละ 10) ขนาดกลุมตัวอยางท่ี

เหมาะสม

1.ชุมชนฝายทา 285 28.5 29 2.ชุมชนทายควน 243 67.13 24

3.ชุมชนเจริญลาภ 520 143.65 52

รวม 1,048 289.50 105

หมายเหตุ จํานวนครัวเรือนตามขอมูลสํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551

3.3 วิธีการศึกษา ในการลงพื้นท่ีเพื่อเก็บขอมูล ผูวิจัยไดลงพื้นท่ีเทศบาลเมืองทาขามในคร้ังแรก โดยมีอาจารยท่ีปรึกษาหลัก และอาจารยท่ีปรึกษารวมลงพื้นท่ี เพื่อแนะนําตัวผูวิจัยใหผูบริหารเทศบาล และเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามรูจัก จากนั้นจึงไดลงพื้นท่ีชุมชนเพื่อแนะนําตัวกับประธานชุมชนท้ัง 3 ชุมชนท่ีไดคัดเลือกเปนกลุมตัวอยางในการศึกษา และมีการวางแผนในการเก็บขอมูล ในสวนของสมาชิกสภาเทศบาลเมืองทาขามไดรับการแนะนําจากนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงในการลงพื้นท่ีชุมชนทุกคร้ังไดรับความอนุเคราะหจากเทศบาลเมืองทาขาม ไดจัดเจาหนาท่ีท่ีมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน รวมลงพื้นท่ีดวย การเก็บรวบรวมขอมูลมีลําดับข้ันตอน ดังนี้

Page 87: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

77

3.3.1 การรวบรวมขอมูลเอกสาร การเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารท่ีเกี่ยวของ ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และปจจัยท่ีเกี่ยวของกับธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมท่ีมีผูไดเคยทําการศึกษามาแลวและของเทศบาลเมืองทาขาม รวมทั้งศึกษาเอกสารบันทึกขอความท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และงานกิจกรรมอื่นๆท่ีมีสวนเกี่ยวของของเทศบาลเมืองทาขามจากสํานักปลัดเทศบาล กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม กองสวัสดิการสังคม และกองวิชาการและแผนงาน 3.3.2 การรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ เปนการเก็บขอมูลพื้นฐานของเทศบาลเมืองทาขาม ขอมูลการจัดการขยะของเทศบาล ขอมูลโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน รวมท้ังขอมูลชุมชน ไดแก ประวัติชุมชน สภาพแวดลอมของชุมชน วิถีชีวิต และกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยมีเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ ดังนี้ 1) การสัมภาษณ (Interview) โดยมีเคร่ืองมือสําหรับการวิจัย ไดแก แบบสัมภาษณกึ่งโครงสราง (Semi-structured interviews) พรอมการบันทึกเทปรวมในการสัมภาษณผูใหขอมูลหลักท่ีมีสวนเกี่ยวของ และมีบทบาทตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จากเทศบาลเมืองทาขาม จํานวน 15 คน และแกนนําชุมชน และประชาชนในชุมชน จํานวน 20 คน 2) การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง สัมภาษณบุคคลผูใหขอมูลขาวสารสําคัญของชุมชน ไดแก ประธานชุมชน และผูสูงอายุซ่ึงเปนคนดั้งเดิมในพ้ืนท่ี หรือผูท่ีอยูในพื้นมาเปนเวลานาน เพื่อสอบถามขอมูลตางๆ เชน ลักษณะความสัมพันธของประชาชนในชุมชน และการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะ ตลอดจนปญหาและอุปสรรคตอการมีสวนรวมของประชาชน 3) การสังเกตแบบมีสวนรวม การสังเกตแบบมีสวนรวม เปนการสังเกตพรอมกับมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะ และกิจกรรมทั่วไปของชุมชน กับผูเขารวมกิจกรรม รวมถึงการสํารวจสภาพท่ัวไปของชุมชนดานกายภาพ และการดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชนในชุมชน 3.3.3 การรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณ การรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณเปนวิธีการท่ีใชในข้ันตอจากการรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ โดยการใชแบบสอบถามศึกษาธรรมาภิบาล ทุนทางสังคมในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีศึกษา มีเนื้อหาแบบสอบถามแบงเปน 5 สวน ดังนี้

Page 88: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

78

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดของครัวเรือนตอเดือน สถานภาพในครัวเรือน จํานวนสมาชิกในครัวเรือน ประเภทท่ีอยูอาศัย ระยะเวลาการอาศัยในชุมชน และสถานภาพในชุมชนของผูตอบแบบสอบถาม สวนท่ี 2 ทุนทางสังคมของชุมชนตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ไดแก 1) กลุม เครือขายและการเปนสมาชิกของกลุม 2) ความไวเนื้อเช่ือใจ และ 3) ผูนําชุมชน สวนท่ี 3 ธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม ไดแก 1) ความคิดเห็นของประชาชนตอธรรมาภิบาลของเทศบาล และ 2) ชองทางการติดตอส่ือสาร สวนท่ี 4 การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ไดแก กิจกรรมและการเขารวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน สวนท่ี 5 ปญหาและขอเสนอแนะ ไดแก ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

3.4 คุณภาพของเคร่ืองมือ

แบบสอบถามซ่ึงกําหนดตามวัตถุประสงคของการศึกษาท่ีสรางข้ึนไดรับการตรวจสอบความเท่ียงตรง (Validity) ความสอดคลอง (Consistency) ความครอบคลุมของเน้ือหาจากอาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยท่ีปรึกษารวม ซ่ึงหลังจากนั้นนําเคร่ืองมือไปหาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) โดยนําไปทดสอบใชกับประชาชนกลุมตัวอยางจํานวน 30 ชุด ในชุมชนคอหงส เทศบาลเมืองคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เนื่องจากชุมชนคอหงสมีลักษณะของประชาชนท่ีมีความหลากหลาย และเคยมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ซ่ึงมีความใกลเคียงชุมชนท่ีศึกษาของเทศบาลเมืองทาขาม แลวนํามาทดสอบหาคาสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบัค (Cronbach’s alpha coefficient) กับสวนท่ี 2 ทุนทางสังคมของชุมชนตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และสวนท่ี 3 ธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม เพื่อหาคาความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยคาความเท่ียงตรงท่ียอมรับกันจะตองมีคาไมตํ่ากวา 0.70 โดยมีสูตรการคํานวณ ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2549)

Page 89: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

79

α= n 1 -∑Vi

n-1 Vt

เม่ือ α = คาสัมประสิทธ์ิของความเช่ือถือได n = จํานวนขอคําถาม Vi = ความแปรปรวนของคะแนนในแตละขอ Vt = ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังหมดในสวนนั้น ผลการคํานวณความเช่ือม่ันของแบบสอบถามในแตละสวนไดดังนี้ สวนท่ี 2 ทุนทางสังคมของชุมชนตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน - การชวยเหลือกันภายในชุมชน ไดคาความเช่ือม่ัน 0.91 - ความเช่ือใจ และไววางใจตอบุคคลท้ังภายในและภายนอกชุมชน ไดคาความเช่ือม่ัน 0.92 สวนท่ี 3 ธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม - การนําหลักการธรรมาภิบาลมาปฏิบัติงาน ไดคาความเช่ือม่ัน 0.84 - ส่ือและชองทางการรับรูขาวสารเทศบาล ไดคาความเช่ือม่ัน 0.71 หากคาความเช่ือถือไดของแบบสอบถามมีคามากกวา 0.70 (rtt < 0.70) แสดงวาเปนชุดคําถามท่ีไมตองปรับปรุง (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2549: 442) (ภาคผนวก ก) 3.5 การวิเคราะหขอมูล

3.5.1 ขอมูลเชิงคุณภาพ ใชหลักการวิเคราะหขอมูลของสุภางค จันทวานิช (2543) โดยใชวิธีการ คือ 1) การจําแนกประเภทขอมูล (Typological analysis) โดยการจัดขอมูลเปนหมวดหมูหรือประเภทตามคุณลักษณะของขอมูล เชน ขอมูลท่ัวไปของชุมชน ลักษณะของชุมชน และการจัดการขยะ เปนตน 2) การวิเคราะหแบบอุปนัย (Analytic induction) เปนการวิเคราะหลักษณะของปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนในชุมชน เชน การทํากิจกรรมในชุมชน ไมวาจะเปนกิจกรรมท่ัวไป หรือกิจกรรมการจัดการขยะ เปนตน

Page 90: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

80

3.5.2 ขอมูลเชิงปริมาณ ผูวิจัยนําแบบสอบถามมาตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามท่ีไดกลับคืนมา แลวนํามาตรวจใหคะแนน และลงรหัสในคูมือรหัส แปลงขอมูลท่ีไดเพื่อการคํานวณ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร (Statistical Package for the Social Science: SPSS for Window Version 11) ในการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ กลาวโดยสรุป การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ใชวิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพรวมกับการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเร่ิมตนจากการศึกษาเชิงคุณภาพ หลังจากนั้นจึงไดเก็บขอมูลเชิงปริมาณเพื่อสนับสนุนขอมูลท่ีไดจากการเก็บเชิงคุณภาพ เพื่อใหมีความสมบูรณรอบดานมากย่ิงข้ึน ซ่ึงผลการศึกษาจะไดนําเสนอในบทตอไป

Page 91: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

  81

บทท่ี 4

ผลการศึกษา

การนําเสนอผลการศึกษาวิจัยการศึกษาธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษา เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎรธานี นําเสนอ ดังนี้

4.1 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตั้งแตป พ.ศ.2539-2549 4.1.1 สถานการณ และปญหาขยะของเทศบาลเมืองทาขาม 4.1.2 โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ต้ังแตปพ.ศ. 2539-2549 4.1.3 กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน 4.2 ปจจัยธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมท่ีมีความเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

Page 92: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

82 

 

4.1 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตั้งแตป พ.ศ.2539-2549 4.1.1 สถานการณ และปญหาขยะของเทศบาลเมืองทาขาม เทศบาลเมืองทาขามเปนศูนยกลาง การคาขาย การคมนาคมขนสงของจังหวัด สุราษฎรธานี ในแตละวันมีประชาชนที่เดินทาง และเขามาคาขายในเมืองทาขามเปนจํานวนมาก สงผลใหมีปริมาณขยะเปนจํานวน จากการสํารวจปริมาณขยะในปพ.ศ. 2546 เทศบาลเมืองทาขามพบวามีปริมาณถึง 22.5 ตันตอวัน และเม่ือคัดแยกองคประกอบขยะในพื้นท่ี ซ่ึงผลจากการคัดแยกองคประกอบขยะในพ้ืนท่ี ดังแสดง (ภาพ 8)

ภาพ 8: องคประกอบขยะของเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีมา : กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547 จากภาพ 8 จะเห็นไดวาปริมาณขยะอินทรียมีจํานวนมากที่สุด ซ่ึงเปนขยะท่ีเกิดจากครัวเรือนของประชาชน ปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในเขตเทศบาลทาขามมีปริมาณมาก เม่ือเทียบกับพื้นท่ีกําจัดขยะท่ีมีเพียง 5 ไร ซ่ึงเปดใชงานมาต้ังแต ป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน (พ.ศ.2552) ในแตละวันเทศบาลตองรับภาระในการเก็บขนขยะและกําจัดขยะท้ังท่ีเกิดจากครัวเรือนของประชาชนในพื้นท่ี ประชาชนท่ีเดินทาง และเขามาคาขายในเมืองทาขาม การจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขามประสบกับปญหาจํานวนขยะตกคางในพื้นที่ และการไมมีพื้นท่ีฝงกลบขยะ ปญหาไมมีพื้นท่ีฝงกลบเปนปญหาท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินพบเกือบทุกหนวยงาน ดวยขอจํากัดท่ีทําใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินไมสามารถจัดหาพ้ืนท่ีฝงกลบได เชน ท่ีดินมีราคาสูง ประชาชนในบริเวณใกลเคียงพื้นท่ีฝงกลบคัดคาน เปนตน (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) ปญหาการไมมีพื้นท่ีฝงกลบขยะของเทศบาลเมืองทาขามเปนปญหาท่ีเกิดข้ึนมาต้ังแตเร่ิมต้ังเปนเทศบาลตําบลทาขาม เนื่องจากพ้ืนท่ีในเขตรับผิดชอบของเทศบาลมีอยูอยางจํากัด และสวนใหญเปนพื้นท่ีท่ีติดริมแมน้ําพุมดวง

Page 93: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

83 

 

และแมน้ําตาป และดวยปญหาปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีเทศบาลเมืองทาขามมีปริมาณมาก จึงทําใหปญหาพื้น ท่ี เทศบาลเมืองทาข ามฝงกลบเปนเ ร่ืองท่ีตองการการแกไขอยาง เรงดวน (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) การแกปญหาของปญหาพื้นท่ีกําจัดขยะของเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีผานมา ผูบริหารของเทศบาลเมืองทาขามใชความสัมพันธสวนตัวท่ีมีตอภาคเอกชนท่ีใหการสนับสนุนการขอความอนุเคราะหพื้นท่ีจากภาคเอกชนในการทําเปนพื้นท่ีในการกําจัดขยะของเทศบาลมาโดยตลอด ปญหาพื้นท่ีกําจัดขยะของเทศบาลเมืองทาขามเร่ิมเดนชัดข้ึนในป พ.ศ. 2539 ซ่ึงเปนชวงสมัยของการเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาล ผลการเลือกตั้งสงผลใหทีมของนายทนงศักดิ์ ทวีทองไดรับเลือกต้ังยกทีม ภาคเอกชนท่ีเคยใหการสนับสนุนในชวงสมัยของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีต้ังแตป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน (พ.ศ.2552) ไดใชความสัมพันธสวนตัว และไดรับการอนุเคราะหพื้นท่ีสวนตัวจากนายธานี เทือกสุบรรณ นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 5 ไร ต้ังอยูในพื้นท่ีองคการบริหารสวนตําบลทาสะทอน เพื่อใชเปนพื้นท่ีฝงกลบขยะยังคงใชงานมาจนถึงปจจุบัน (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) พื้นท่ีฝงกลบขยะของเทศบาลเมืองทาขามตองพึ่งพาภาคเอกชนท่ีใหการสนับสนุนกลุมการเมืองทองถ่ินมาโดยตลอด และพ้ืนท่ีฝงกลบขยะท่ีใชอยูก็ไมไดอยูในเขตเทศบาลเมืองทาขาม แตเปนการไปใชพื้นท่ีนอกเขตซ่ึงก็มีเสียงคัดคาน และขอรองเรียนจากประชาชนท่ีอาศัยอยูใกลบริเวณพ้ืนท่ีฝงกลบขยะอยูเสมอ ซ่ึงในขณะน้ีเทศบาลเมืองทาขามไดจัดซ้ือท่ีดินในพ้ืนท่ีองคการบริหารสวนตําบลพุนพิน จํานวน 30 ไร เพื่อใชเปนพื้นท่ีฝงกลบขยะแตก็ไมสามารถเขาไปใชงานไดโดนตอตานจากประชาชนในพื้นท่ีบริเวณใกลเคียงพื้นท่ีฝงกลบขยะน้ี ประชาชนไมตองการใหนําขยะจากนอกพ้ืนท่ีเขามาท้ิงในพื้นท่ีของตน (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) จากท่ีไดกลาวไปแลว ปริมาณขยะชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามในแตละวันมีจํานวนมาก ทําใหการเก็บขน และกําจัดขยะในแตละวันไมครอบคลุมและท่ัวถึงทุกพื้นท่ี ประกอบกับบางชุมชนเปนชุมชนแออัด เขตเทศบาลเมืองทาขาม บานเรือนปลูกติดกันอยางหนาแนน ขาดการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณ ประชาชนเคล่ือนยายถังขยะทําใหยากตอการเขาไปเก็บขนขยะ ก็เปนอีกสาเหตุหนึ่งท่ีทําใหเกิดขยะตกคาง จากการสํารวจโรคของจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ในเขตเทศบาลเมืองทาขามพบผูปวยโรคไขเลือดออก ซ่ึงเปนประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนแออัด (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2548) โรคระบาดดังกลาวเปนโรคท่ีมีความอันตราย และการแพรระบาดของโรคก็เปนไปไดงาย สาเหตุหลักของการเกิดโรคคือขยะท่ีตกคางในชุมชน จากขอมูลท่ีไดรับเทศบาลเมืองทาขามจึงไดมีการสํารวจลงพื้นท่ีทุกชุมชนหาแหลงท่ีมา

Page 94: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

84 

 

ของโรค พบวาชุมชนท่ีเปนแหลงการเกิดโรคระบาดคือ ชุมชนธีราศรม ชุมชนบนควน และชุมชนทายควน ซ่ึงท้ัง 3 ชุมชนเปนชุมชนแออัดขนาดใหญ มีลักษณะพ้ืนท่ีชุมชนเปนเนินสูง และติดตอกัน โดยชุมชนธีราศรม และชุมชนบนควนจะอยูบริเวณบนสุด สวนชุมชนทายควนจะอยูบริเวณเนินดานลาง (พ.จ.ต. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) และพบวาปริมาณขยะเปนจํานวนมากรอบบริเวณบาน ถนน คูระบายนํ้า และพื้นท่ีวางภายในชุมชนมีปริมาณมาก และเม่ือฝนตกขยะเหลานั้นก็จะไหลลงมาพรอมกับน้ําฝนมายังบริเวณชุมชนทายควน ติดคางในคูระบายน้ําภายในชุมชน บริเวณถนนริมทางรถไฟ และหนาสถานีรถไฟ ทําใหเกิดทัศนียภาพท่ีไมสวยงาม สรางความเดือดรอนใหแกประชาชน และผูใชรถใชถนนเสนทางผานชุมชนเปนอยางมาก ปญหาขยะตกคางในชุมชนแออัดนั้น เทศบาลเมืองทาขามไดมีการแกไขปญหาดวยการรณรงคใหประชาชนนําขยะออกจากบาน และรอบบริเวณบานออก โดยเนนการใหความรูเร่ืองการคัดแยกขยะ และการทํากิจกรรมขยะแลกไข ซ่ึงทางเทศบาลไดจัดกิจกรรมขยะแลกไขในพื้นท่ีชุมชนแออัดท่ีเปนแหลงการเกิดโรคไขเลือดออกตลอดท้ังป พรอมท้ังการลงพื้นท่ีชุมชนเพื่อประชาสัมพันธใหประชาชนในชุมชนเขาใจถึงการคัดแยกขยะ และการขอความรวมมือของประชาชนในการหามเคล่ือนยายถังขยะของเทศบาลออกจากท่ีเดิม รวมท้ังการหาขอตกลงรวมกันในการหาจุดวางที่เหมาะสม สะดวกท้ังประชาชนในชุมชนและการเขาไปเก็บขนขยะของเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขาม (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) จากปญหาขยะท่ีเกิดข้ึนรวมถึงการขาดพ้ืนท่ีฝงกลบขยะ และปริมาณขยะมีปริมาณมากน้ัน สงผลใหผูบริหารเทศบาลเรงหาแนวทางและวิธีการกําจัดขยะท่ีเกิดข้ึน โดยท่ัวไปงานกําจัดขยะเปนงานประจําท่ีตองทําทุกวันอยูแลว แตนั้นก็ไมเพียงพอตอปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในแตละวัน ดังนั้นเทศบาลเมืองทาขามจึงตองหาวิธีการในการจัดการขยะที่ เกิดข้ึนในรูปแบบอ่ืนๆ เพื่อแกปญหาขยะท้ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีตอไป 4.1.2 โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ตั้งแตปพ.ศ. 2539-2549 ปญหาขยะท่ีเกิดข้ึนในเทศบาลเมืองทาขามต้ังแตอดีตดังท่ีไดกลาวไปแลว ทําใหเทศบาลเมืองทาขามใหความสําคัญตอการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนเปนอยางมาก จึงไดมีการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนา เพื่อเขามาชวยสนับสนุนและแกไขปญหาขยะ ซ่ึงสามารถดูไดจากการกําหนดโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะท่ีไดระบุในแผนพัฒนาเทศบาล ท่ีผานมาต้ังแต ป พ.ศ. 2539 – 2549 พบวาในแตละปเทศบาลเมืองทาขามมีการระบุโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะไวในแผนพัฒนาเทศบาล เพื่อท่ีจะไดมีการจัดสรรงบประมาณ และเตรียมการ

Page 95: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

85 

 

ดําเนินการโครงการ/กิจกรรมเหลานั้นซ่ึงรูปแบบการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่เกิดข้ึนในแตละปนั้นแตกตางกับไปตามความเหมาะสม ดังแสดง (ตาราง 3) ตาราง 3 โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ต้ังแตป พ.ศ. 2539-2549

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ พ.ศ. 2539

โครงการอบรมเยาวชนเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บมัธยมศึกษาตอนปลายของโรง เ รี ยนพุนพินพิทยาคมจํานวน 60 คน

-ฝกอบรมเยาวชน ปลูกจิตสํานึกใหแกเยาวชนในพื้นที่

พ.ศ. 2540

1.โครงการอบรมเยาวชนเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

นักเรียนโรงเรียนพุนพินพิ ท ย า ค ม ร ะ ดั บมั ธ ยม ศึ กษ าตอนต น และตอนปลาย จํานวน 100 คน

-ฝกอบรมเยาวชน ปลูกจิตสํานึกใหแกเยาวชนในพื้นที่

2.กิจกรรมถนนปลอดถั งขยะ บนถนนเจ ริญเวช ชุมชนเจริญลาภ

ประชาชนที่พักอาศัยบนถนนเจริญเวช ชุมชนเจริญลาภ

เอาถังขยะเทศบาลออกจากถนนเสนหลักในชุมชน และเทศบาลจัดรถใหเขามาเก็บขนขยะในเวลา 15.00 น.

สามารถลดปญหาขยะตกคาง กลิ่นเหม็นจากขยะ และสร า ง ทั ศ นี ยภ าพที่สวยงามใหแกชุมชน

กิจกรรมน้ีเกิดจากปญหาขยะในชุมชน แ ล ะ เ ป น ค ว า มต อ ง ก า ร ข อ งป ร ะ ช า ช น เ อ ง ดําเนินการท่ีชุมชนเจริญลาภ

พ.ศ. 2541

โครงการอบรมเยาวชนเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

นักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคมจํานวน 100 คน

-ฝกอบรมเยาวชน ปลูกจิตสํานึกใหแกเยาวชนในพื้นที่

พ.ศ. 2542

โครงการอบรมเยาวชนเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

นักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคมจํานวน 100 คน

-ฝกอบรมเยาวชน ปลูกจิตสํานึกใหแกเยาวชนในพื้นที่

พ.ศ. 2543

กิ จ ก ร รมข ย ะแลกไข

ชุมชนบนควน ชุมชน ธีราศรม และชุมชนทายควน

-จัดกิจกรรมขยะรีไซเคิลแลกไข

กิจกรรมขยะแลกไข ไดรับความรวมมือจากแกนนําชุมชน กรรมการชุมชน และอสม .ในชุมชนเปนแกนนําในการทํากิจกรรม สวนประชาชนในชุมชนใหความรวมมือนอยมาก

เปน กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กิจกรรมแรกของชุมชนทายควน

Page 96: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

86 

 

ตาราง 3 (ตอ)

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ พ.ศ. 2543

กิจกรรมขยะแลกไข (ตอ)

แตกิจกรรมขยะแลกไขนี้กลับไดรับการตอบรับที่ดีในการทํากิจกรรมจ า ก เ ด็ ก ๆ ใ น ชุ ม ช นเพราะตองการไขไก

พ.ศ. 2544

โครงการสรางจิตสํานึกในการพัฒนาส่ิงแวดลอมชุมชนและโรงเรียน

นักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคม จํานวน 100 คน

-ฝกอบรมเยาวชน ทัศนศึกษาดูงาน โรงเ ต า เ ผ า ข ย ะ มู ล ฝ อ ย เทศบาลเมืองภูเก็ต

-เยาวชนไดรับความรูเก่ียวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และปลูกจิตสํานึกในดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

เทศบาลเมืองทาขามไดขยายชุมชนเพิ่มจากเดิม 10 ชุมชน เปน 20 ชุมชน

พ.ศ. 2545

1.โครงการสรางรายไดเสริมแกประชาชนผูมีรายไดนอยในชุมชนเทศบาลเมืองทาขาม

ตัวแทนคณะกรรมการชุมชน อสม. ในแตละชุมชน และประชาชนทั่วไป

-ฝกอบรมเร่ืองการจัดต้ังธนาคารขยะและการจัดทําปุยหมักชีวภาพ -จัด กิจกรรมแยกขยะ แ ล ะ ก า ร ทํ า ปุ ย ห มั กชีวภาพในชุมชน -จั ด ทั ศน ศึกษา ดู ง านวิธีการจัด ต้ังธนาคารขยะ และการจัดทําปุยหมักชีวภาพ ณ เทศบาลน ค ร พิ ษ ณุ โ ล ก จ .พิษณุโลก

กรรมการชุมชน และอสม.มีความต่ืนตัว และสนใจในกิจกรรมการทําปุยหมักชีวภาพไดมีการขออุปกรณตางๆจากทางเทศบาลและไดมีการทดลองทํากิจกรรมภายในชุมชน กรรมการชุมชนมีความพรอมและสนใจในการทํากิจกรรม แตประชาชนในชุมชนสวนใหญไมใหการตอบรับ และไมใหความรวมมือในการทํากิจกรรม ทําใหกิจกรรมการทําปุยหมักชีวภาพไมสามารถดาํเนินการตอไปได

ในที่นี้กิจกรรมการทําปุยหมักชีวภาพ และนํ้าหมักชีวภาพ คือกิจกรรมเดียวกัน

 

 

 

 

Page 97: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

87 

 

ตาราง 3 (ตอ)

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ พ.ศ. 2545

2.โครงการประชาชนอาสาพิทักษสิ่งแวดลอม

ตัวแทนอสม.ทุกชุมชนในเขตเทศบาล

-จัดอบรมใหความรูดานสิ่งแวดลอม -จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเ ร่ื อ ง ก า ร จั ด ทํ า แ ผนสิ่งแวดลอมชุมชน -ดํ า เ นิน กิ จกรรมการพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชนรวมกับประชาชนในชุมชนบนควน และชุมชนธีราศรม -จัดศึกษาดูงานการจดัการมูลฝอย ณ เทศบาลตําบลปากแพรก อ.ทุงสง จ.นครศรีธรรมราช

ชุมชนมีความสะอาดนาอยู สวยงาม และมีความเปนระเบียบเรียบรอย ลดสาเหตุการเกิดโรคไขเลือดออก

พ.ศ. 2546

โครงการรณรงคดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และรักษาความสะอาดความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

แกนนําชุมชน กลุ มอสม.ในแตละชุมชน และประชาชนทั่วไป

-จัดอบรมใหความรูเร่ืองขยะ และการคัดแยกขยะ -จัดกิจกรรมขยะรีไซเคิลแลกไข ใน ชุมชนเขตเทศบาล เ มืองท าข ามจํานวน 4 ชุมชน -จัดสัปดาหรณรงครักษาค ว ามสะอ าดอ า ค า รบานเ รือนเ น่ืองในวันสาธารณสุข และ วันสําคัญตางๆ

ประชาชนในชุมชนที่เขารวมกิจกรรมนอย ปริมาณขยะท่ีไดก็มีจํานวนนอย เนื่องจากประชาชนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพรับจางท่ัวไป ไมมีเวลาในการเขารวมกิจกรรม และประชาชนนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกไป จําหนายใหกับซาเลง และรานรับซ้ือแทน เนื่องจากตองการเปนตัวเงินมากกวาไข

-จากท่ีไดระบุไวในแผนพัฒนาเทศบาลวาจะดําเนินการจัดกิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนจํานวน 4 ชุ มชน จํ านวน 4 ค ร้ั ง แต มี ก า ร ทํ ากิจกรรมขยะแลกไขเพียงชุมชนเดียวท่ีเขาไปดําเนินการคือที่ ชุ มชนท า ยควน เ นื่ อ งมาจ ากกลุ ม อสม.

 

Page 98: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

88 

 

ตาราง 3 (ตอ)

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ พ.ศ. 2546

โครงการรณรงคดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และรักษาความสะอาดความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง (ตอ)

ประชาชนในชุมชนท า ย ค วนมี ค ว า มพรอมและตองการท่ีจะทํากิจกรรมขยะแ ล ก ไ ข เ พื่ อแ ก ป ญ ห า ข ย ะ ท่ียังคงตกคางภายในชุ ม ช น ท า ง ก อ งส า ธ า รณ สุข แล ะสิ่งแวดลอมจึงไดลดจํานวนชุมชนจากท่ีไดระบุในโครงการจาก 4 ชุมชนมีกิจกรรมชุมชนละ 1 คร้ังมาเปนการทํากิจกรรม 4 คร้ังในชุมชนเดียวที่ชุมชนทายควน

พ.ศ. 2547

1. โครงการรณรงคดูแลรักษาสิ่งแวดลอม รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

แกนนําชุมชนในแตละชุมชนจํานวน 100 คน

-จัดอบรมใหความรูเร่ือง ขยะ -การดําเนินงานกิจกรรมขยะแลกไข โดยวิทยากรจากบริษัท วงษพาณิชยกรุป

-สรางรายไดใหแกประชาชน ในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะในเขตเทศบาลเมืองทาขาม และประชาชนสามารถคัดแยกขยะได

เทศบาลเมืองทาขามไดขยายชุมชนเพิ่มจากเดิมในป พ .ศ .2544 จํานวน 20 ชุ ม ช น เ ป น 22 ชุมชน

2. กิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิล

ประชาชนทุกคน นําขยะรีไซเคิลมาเขาร วม กิ จกรรม นิมนตพระสงฆมาทําพิธี จากกิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิล

-กิจกรรมนี้ไดรับความรวมมือจากประชาชน เทศบาลเมืองทาขามนิมนตพระสงฆมาทําพิธี จากกิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิลสามารถขายขยะไดเปนจํานวนเงิน 30,000 บาท

Page 99: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

89 

 

ตาราง 3 (ตอ)

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ

พ.ศ. 2548

1. โครงการรณรงคดูแลรักษาสิ่งแวดลอม รักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

แกนนําชุมชนในแตละชุมชน จํานวน 100 คน

-จัดอบรมใหความรูเร่ืองขยะ -จัดกิจกรรมขยะแลกไข ในชุมชนนํารอง ไดแก ชุมชนบนควน ชุมชนใตโ ค ง แ ล ะ ชุ ม ช น มุ งพัฒนา

-ประชาชนมีความรู เห็นคุณคาของขยะ จึงทําใหมีประชาชนท่ีสนใจเขารวมในการทํากิจกรรมเพิ่มมากขึ้นในแตละคร้ัง

2. โครงการการกําจัดขยะแบบครบวงจร

ผูนําชุมชน และกลุม อสม. จํานวน 120 คน

-จัดอบรมเร่ืองวิธีการคัดแยกเศษอาหารประเภทตางๆในครัวเรือน -คัดแยกขยะเพื่อนํามาใชใหม (น้ําหมักชีวภาพ) และจัดสาธิตการทําปุยโบกาฉิ ครัวเรือนใหครอบครัว -จัดซ้ือถังแยกเศษอาหาร (ถังพิทักษโลก) ในการทําปุยชีวภาพแจกใหกับในแกนนําชุมชนที่เขารวมโครงการ จํานวน165 ใบ

-ผลการประเมินพบวา ไมประสบผลสําเร็จ เพราะประชาชนท่ีเขารวมโครงการนั้น คิดวาการทํานํ้าหมักชีวภาพนั้นเปนภาระ และมีปญหาการขาดแรงงานในการทําโบกาฉิ จึงไมสามารถขยายผลตอไปได

-ชุ ม ช น ท า ย ค ว น และชุมชนเจริญลาภ รวมทํากิจกรรมนํ้าห มั ก ชี ว ภ า พ ใ นชุมชน

พ.ศ. 2549

1. โครงการรณรงคดูแลรักษาสิ่งแวดลอม รักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเ รี ย บ ร อ ย ข อ งบานเมือง

แกนนํา ชุมชน และกลุม อสม . ในแตละชุมชน จํานวน 100 คน

-จัดอบรมใหความรูเร่ืองการจัดการขยะในชุมชน -จัดกิจกรรมขยะแลกไข ในชุมชนนํ าร องของเทศบาลเมืองทาขาม

ป ร ะ ช า ช น ใ ห ค ว า มสนใจ และเขารวมในการทํากิจกรรมมากขึ้น เห็นไดชัดวาประชาชนมีความเขาใจในการคัดแยกขยะ เพราะขยะสวนใหญที่นํามาแลกไขนั้นไมสามารถขายใหกับซาเลงได จึงนํามาแลกไขของเทศบาล

 

 

 

Page 100: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

90 

 

ตาราง 3 (ตอ)

พ.ศ. กิจกรรม กลุมเปาหมาย รูปแบบกิจกรรม ผลของการทํากิจกรรม หมายเหตุ พ.ศ. 2549

2. โครงการการกํา จัดขยะแบบครบวงจร

ก ลุ ม เ ค รื อ ข า ย ผู นํ าท อ ง ถ่ิ น ผู นํ า ชุ ม ช น ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า องคกรพัฒนา เอกชน และประชาชนที่สนใจ จํานวน 150 คนและครอบครัวแกนนํ าในชุ ม ช น นํ า ร อ ง เ ข ตเทศบาล เ มืองท าข าม จํานวน 100 คน

-จั ด ทํ า ป า ย ใ น ก า รรณรงคสรางจิตสํานึก เร่ืองการจัดการขยะแบบครบวงจร -จัดอบรมเร่ืองวิธีการคัดแยกเศษอาหารประเภทตางๆในครัวเรือน การคัดแยกขยะเพื่อนํามาใชใหม -จัดสาธิตการทําปุยโบกาฉิ และเทศบาลจัดซ้ือถังแยกเศษอาหาร

มีการเปล่ียนรูปแบบการทํานํ้าหมักชีวภาพแบบบานตอบาน มาเปนการห มั ก ร ว ม ที่ เ ดี ย ว ใ นชุมชน ทําให กิจกรรมส า ม า ร ถ ดํ า เ นิ น ก า รตอไปไดอยางตอเนื่อง

ชุ ม ชน เ จ ริญ ล า ภเพียงชุมชนเดียวท่ีทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ

หมายเหตุ สามารถดูรายละเอียดแตละกิจกรรมไดในภาคผนวก ข

จากการศึกษาเอกสาร การลงพื้นท่ี และการสัมภาษณ พบวาต้ังแตป พ.ศ. 2539-2549 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการทําโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมาโดยตลอด มีรูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกันไปตามความเหมาะสมของสถานการณ สภาพปญหา และความตองการของประชาชน สามารถสรุปรูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการมาแลว 5 รูปแบบ ไดแก 1) การรณรงค ประชาสัมพันธ 2) การอบรม 3) การสาธิต 4) ทัศนศึกษา และ 5) อ่ืนๆ ไดแก กิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน ดังแสดง (ตาราง 4)   

 

 

 

 

 

 

Page 101: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

91 

 

ตาราง 4 รูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแตป พ.ศ. 2539-2549

รูปแบบกิจกรรม

กิจกรรมที่ดําเนินการโดยเทศบาล กิจกรรมที่ดําเนินการโดย

ชุมชน รณรงค/

ประชาสัมพันธ อบรม สาธิต ทัศนศึกษา

2539

2540 -ถนนปลอดถังขยะ*

2541 -ถนนปลอดถังขยะ*

2542 -ถนนปลอดถังขยะ*

2543 -ถนนปลอดถังขยะ*

2544 -ถนนปลอดถังขยะ*

2545 -ถนนปลอดถังขยะ*

2546 -ถนนปลอดถังขยะ*

2547 -ถนนปลอดถังขยะ*

2548 -ถนนปลอดถังขยะ* -นํ้าหมักชีวภาพ*,**

2549 -ถนนปลอดถังขยะ* -นํ้าหมักชีวภาพ* -ธนาคารขยะชุมชน*

หมายเหตุ * หมายถึง ชุมชนเจริญลาภ และ **หมายถึงชุมชนทายควน

จากตาราง 4 พบวาการจัดอบรมเร่ืองการจัดการขยะ เปนรูปแบบท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการมาตลอด สวนการรณรงค/ประชาสัมพันธ การสาธิต และทัศนศึกษาเปนรูปแบบท่ีเสริมเขามาตามสถานการณ และความเหมาะสม โดยเนนใหกลุมแกนนําของชุมชน ไดแก คณะกรรมการชุมชน และ อสม. เขามารวมกิจกรรม เพื่อใหนําขอมูลไปขยายตอใหกับประชาชนในชุมชน สวนกิจกรรมการจัดการขยะท่ีดําเนินการโดยชุมชน ในชุมชนที่ศึกษา 3 ชุมชน พบวา ในป พ.ศ. 2540 กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ เปนกิจกรรมที่เกิดจากความตองการของประชาชน ประชาชนตองการนําถังขยะเทศบาลออกจากถนนเสนหลักในชุมชน ยังคงดําเนินกิจกรรมตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) ตอมาในป พ.ศ. 2548 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการอบรมใหรูเร่ืองการทําน้ําหมักชีวภาพ แกนนําชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ ไดทํากิจกรรม

Page 102: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

92 

 

น้ําหมักชีวภาพในชุมชน ผลการทํากิจกรรม พบวาชุมชนทายควน ประสบกับปญหาขาดแคลนถังหมัก และกากน้ําตาล จึงไดหยุดการทํากิจกรรม ในสวนชุมชนเจริญลาภมีการทํากิจกรรมอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) เนื่องจากมีแกนนําในการทํากิจกรรมที่มีความรูเร่ืองการทําน้ําหมักชีวภาพ และสามารถจัดหาอุปกรณในการทํากิจกรรมเองได และในป พ.ศ. 2549 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการอบรมใหความรูเร่ืองการจัดต้ังธนาคารขยะชุมชนใหแกแกนนําชุมชน พบวา ชุมชนเจริญลาภไดทํากิจกรรมธนาคารขยะชุมชน เนื่องจากมีความพรอมแกนนําชุมชน และสถานท่ีในการทํากิจกรรม ซ่ึงรายละเอียดของกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในชุมชนท่ีศึกษา ขอนําเสนอในหัวขอตอไป 4.1.3 กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน การศึกษาการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เทศบาลเมืองทาขามไดคัดเลือกชุมชนกลุมตัวอยาง 3 ชุมชน ไดแก 1) ชุมชนฝายทา 2) ชุมชนทายควน และ 3) ชุมชนเจริญลาภ โดยผูวิจัยไดนําเสนอในสวนตอไป นอกจากนี้ผูวิจัยไดเพิ่มประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนซ่ึงเปนการศึกษาขอมูลเชิงปริมาณ จากการศึกษาท้ัง 3 ชุมชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (1) ชุมชนฝายทา ชุมชนฝายทามีลักษณะเปนชุมชนเกษตร มีจํานวนครัวเรือน 285 หลังคาเรือน ประชาชนท้ังหมด 881 คน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) บานเรือนประชาชนปลูกติดกันหนาแนนบริเวณริมแมน้ําตาป ประชาชนในชุมชนเปนคนดั้งเดิมของเมืองทาขาม ประชาชนในชุมชนเปนเครือญาติกัน อยูกันเปนลักษณะครอบครัวใหญ ประชาชนในชุมชนสามารถพึ่งพาอาศัยกันได ภายในชุมชนฝายทามีการทํากิจกรรมตางๆท้ังกิจกรรมงานประเพณี ในสวนงานกิจกรรมการจัดการขยะ ชุมชนฝายทามีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเพียงกิจกรรมเดียว ไดแก กิจกรรมขยะแลกไข ซ่ึงมีรายละเอียดของการทํากิจกรรมดังนี้ 1) กิจกรรมขยะแลกไข กิจกรรมขยะแลกไขชุมชนฝายทาเปนกิจกรรมท่ีดําเนินการในป พ.ศ. 2547 ทํารวมกับชุมชนพุมดวงซ่ึงอยูติดกัน กิจกรรมขยะแลกไขเกิดข้ึนจากเทศบาลเมืองทาขามเปดโอกาสให อสม.ทุกชุมชนไดเขารวมอบรมใหความรูเร่ืองการคัดแยกขยะ และกิจกรรมสรางมูลคาขยะ อสม. ชุมชนฝายทา และชุมชนพุมดวงไดรวมกันขอทํากิจกรรมจากเทศบาลเมืองทาขาม เพื่อตองการนําความรูท่ีไดจากการอบรมมาถายทอดใหกับประชาชนในชุมชน จึงไดรวมกันจัดกิจกรรม

Page 103: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

93 

 

ขยะแลกไขข้ึนมา มีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหประชาชนรวมกันคัดแยกขยะ (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) การทํากิจกรรมขยะแลกไขไดจัดข้ึนท่ีชุมชนฝายทา โดยใชอาคารสํานักงานชุมชนฝายทาเปนสถานท่ีในการทํากิจกรรม วิธีการในการทํากิจกรรมใหประชาชนทั้ง 2 ชุมชนนําขยะรีไซเคิลท่ีอยูในบริเวณบาน และรอบบานนํามาแลกไขในอัตราการแลกขยะ 1 กิโลกรัมตอไข 1 ฟอง โดยรับขยะทุกช้ินท่ีประชาชนนํามารวมแลกไข ในการทํากิจกรรมคร้ังนี้เทศบาลเมืองทาขามไดใหการสนับสนุนไขไก และเจาหนาท่ีมารวมในการทํากิจกรรม เนื่องจากทางเทศบาลซ่ึงเปนผูจัดไมไดระบุประเภทของขยะรีไซเคิลท่ีนํามารวมจึงมีขยะหลายประเภทท้ังท่ีสามารถขายตอได และไมสามารถขายตอได ซ่ึงขยะท่ีประชาชนนํามารวมทํากิจกรรมน้ันไดใหเทศบาลเมืองทาขามเปนผูจัดการตอ (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550) ผลของการทํากิจกรรมขยะแลกไขของชุมชนฝายทา พบวา ประชาชนในชุมชนมีความรูเร่ืองการคัดแยกขยะมากข้ึน ซ่ึงเห็นไดจากประชาชนในชุมชนต่ืนตัวและใหความสนใจในการคัดแยกขยะเพ่ือจําหนายใหกับซาเลงเพิ่มข้ึน (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550) แตกิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนฝายทาสามารถดําเนินการไดเพียงคร้ังเดียว และไมสามารถดําเนินการตอ เนื่องจากไมมีสถานท่ีในการเก็บขยะท่ีประชาชนนํามารวมทํากิจกรรม และดังท่ีไดกลาวไปแลว ประชาชนในชุมชนเลือกท่ีจะนําขยะรีไซเคิลท่ีคัดแยกไดไปจําหนายเพื่อตองการแลกเปล่ียนเปนเงิน จึงทําใหไมสามารถดําเนินกิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนฝายทาตอไปได (วรรณ แสงศร (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550) อยางไรก็ดี เนื่องจากขยะไมไดเปนปญหาหลักของประชาชนในชุมชนฝายทา ดวยเหตุผลท่ีวาปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในชุมชนมีปริมาณไมมาก ประชาชนสามารถจัดการกับขยะท่ีเกิดข้ึนในครัวเรือนของตนเองไดดวยการคัดแยกเพ่ือจําหนาย และท้ิงในถังขยะของเทศบาล (วีนัช นิตรสิทธ์ิใหม (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) กิจกรรมการจัดการขยะของชุมชนฝายทาจึงไมไดรับความรวมมือจากประชาชน ประกอบกับประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพคาขายไมมีเวลาในการเขารวมทํากิจกรรม ถึงอยางไรก็ดี กลุม อสม. ในชุมชนฝายทา ซ่ึงเปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรมการจัดการขยะก็ยังคงพยายามรณรงคใหความรูแกประชาชนในชุมชนเร่ืองการคัดแยกขยะ การจัดการขยะท่ีถูกวิธี และเชิญชวนใหประชาชนในชุมชนฝายทารวมทํากิจกรรมการจัดการขยะกับประชาชนในชุมชนอ่ืนๆบริเวณใกลเคียงอยางสมํ่าเสมอ (วรรณ แสงศร (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550)

Page 104: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

94 

 

(2) ชุมชนทายควน ชุมชนทายควนมีลักษณะเปนชุมชนแออัดขนาดใหญ มีจํานวนครัวเรือน 243หลังคาเรือน ประชาชนท้ังหมด 1,072 คน ขนาดพ้ืนท่ีประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) พื้นท่ีชุมชนเปนทางลาดชัน ทําใหยากตอการปลูกสรางบานเรือน จึงทําใหประชาชนปลูกบานเรือนติดกันหนาแนนในพื้นท่ีราบ ภายในชุมชนปกครองดวยระบบผูอาวุโส ใหความเคารพนับถือบุคคลท่ีอาศัยในชุมชนมานาน จึงทําใหการขอความรวมมือในการทํากิจกรรมตางๆสามารถดําเนินการไปไดดวยดี ชุมชนทายควนมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 2 กิจกรรม ไดแก 1) กิจกรรมขยะแลกไข และ 2) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ ซ่ึงมีรายละเอียดของการทํากิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมขยะแลกไข ชุมชนทายควนมีการทํากิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนในป พ.ศ. 2543 และ ป พ.ศ. 2547 ซ่ึงมีรายละเอียดในการทํากิจกรรม ดังนี้ ป พ.ศ. 2543 กิจกรรมขยะแลกไขของชุมชนทายควนเร่ิมดําเนินการข้ึน เนื่องจากการโรคระบาดของอหิวาตกโรค และโรคไขเลือดออกข้ึนในชุมชนทายควน และชุมชนขางเคียง จากการสํารวจของเทศบาลเมืองทาขาม พบวาสาเหตุของการเกิดโรคมาจากขยะตกคางในชุมชน เนื่องจากประชาชนท่ีเขามาอาศัยอยูในชุมชนเปนคนตางพื้นท่ีท่ีเขามาทํางานในพ้ืนท่ีทาขาม ไดมีการสรางบานเรือนกันอยางหนาแนน ขาดการดูแลรักษาความสะอาดภายในชุมชน ท้ิงขยะไมลงถังท่ีเทศบาลจัดไวให ทําใหมีขยะตกคางท่ีบริเวณบาน คูระบายน้ํา ริมถนน และพ้ืนท่ีวางภายในชุมชน ซ่ึงขยะตกคางนํามาซ่ึงการเกิดโรคระบาดดังกลาว เม่ือฝนตกขยะท่ีตกคางก็จะไหลลงมายังบริเวณพื้นท่ีและริมถนนดานลาง ทําใหชุมชนท่ีอยูบริเวณดานลาง ผูใชรถ ใชถนนไดรับความเดือนรอน (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) เพื่อเปนการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน เทศบาลเมืองทาขามโดยกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมรวมกับกองสวัสดิการสังคม จึงไดดําเนินการทํากิจกรรมขยะแลกไขข้ึนในชุมชนทายควน และชุมชนขางเคียง แนวความคิดในการทํากิจกรรมขยะแลกไขเกิดข้ึนมาจากการไปดูงานของ เจ าหน า ท่ี เทศบาล เ มืองท าข าม เ ร่ื องการจั ดการขยะ ชุมชน ท่ี เทศบาลปากพนั ง จ.นครศรีธรรมราช พบวากิจกรรมขยะแลกไข เปนกิจกรรมหนึ่งท่ีไดดําเนินการในชุมชนของเทศบาลปากพนังแลวประสบความสําเร็จจึงไดมีการนํามาปรับใชในชุมชนในเทศบาลเมืองทาขาม โดยการนําเสนอกิจกรรมขยะแลกไขตอผูบริหารเทศบาล และไดรับการสนับสนุนในการทํากิจกรรมจากผูบริหารเทศบาลเปนอยางดี (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550)

Page 105: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

95 

 

และในขณะน้ันผูอํานวยการกองสวัสดิการสังคมกําลังศึกษาตอปริญญาโทมีความสนใจในกิจกรรมขยะแลกไข เพื่อนํามาใชเปนสวนหนึ่งของการวิจัย จึงไดทํากิจกรรมขยะแลกไขรวมกับกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม ดวยหนาท่ีของกองสวัสดิการสังคมท่ีมีความใกลชิดกับประชาชน โดยกองสวัสดิการสังคมทําหนาท่ีประชาสัมพันธกิจกรรม พรอมท้ังทําความเขาใจกับประชาชนในชุมชนท่ีทํากิจกรรมและชุมชนขางเคียง นอกจากน้ันยังใหความรวมมือในการทําการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมในทุกๆ กิจกรรม โดยมีกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเปนกองหลัก และกองสวัสดิการสังคมเปนกองสนับสนุน (ธงชัย วิชัยดิษฐ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2551) การทํากิจกรรมขยะแลกไขใชท่ีอานหนังสือประจําชุมชนบนควนเปนสถานท่ีในการทํากิจกรรม โดยทํากิจกรรมทุกๆ 3 เดือนตลอดท้ังป พ.ศ. 2543 มีอัตราการแลกขยะ 1 กิโลกรัมตอไข 1 ฟอง ขยะท่ีใหประชาชนนํามารวมในการทํากิจกรรมนั้นเปนขยะท่ัวไป ไมไดมีการเฉพาะเจาะจงชนิดของขยะ ไมวาจะเปนซากกระถางตนไม ยางรถยนต หรือเศษพลาสติก เปนตน เจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบกิจกรรมนี้กลาววา การทํากิจกรรมขยะแลกไขเพียงเพื่อตองการใหประชาชนในชุมชนนําขยะท่ีอยูในบาน และรอบบานซ่ึงเปนสาเหตุของการเกิดโรคระบาดออกจากชุมชนใหไดมากท่ีสุด การทํากิจกรรมพบวาประชาชนในชุมชนใหความสนใจเขารวมทํากิจกรรมเปนจํานวนมาก ซ่ึงในแตละคร้ังใชไขไกในการทํากิจกรรมประมาณ 4,000-5,000 ฟองโดยเทศบาลเมืองทาขามใหการสนับสนุนไขไกท่ีใชในการทํากิจกรรมทุกคร้ังท่ีทํากิจกรรมขยะแลกไขตลอดท้ังป พ.ศ. 2543 (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) เพราะการดําเนินการจัดการขยะชุ ม ชน โด ย เ ท ศบ า ลฝ า ย เ ดี ย ว ไ ม ส า ม า ร ถที่ จ ะ แ ก ป ญห า ข ย ะ ตกค า ง ใ น ชุ ม ชน ได (พ.จ.ต.อรรนพ พฤกษวาณิช (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552) กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2543 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการประชาสัมพันธตลอดท้ังป เพื่อกระตุนใหประชาชนตระหนักและเห็นความสําคัญของการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะตกคางในชุมชน และเขารวมในกิจกรรมขยะแลกไขท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามไดเขาไปจัดในชุมชน ซํ้าก็พบวาการทํากิจกรรมขยะแลกไขชุมชนทายควนและชุมชนแออัดขางเคียงเปนไปตามเปาหมายท่ีวางไวในป พ.ศ. 2544 ทําใหจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกลดลง ในท่ีสุด(พ.จ.ต.อรรนพ พฤกษวาณิช (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552) นอกจากนั้นผลพลอยไดท่ีเกิดจากการทํากิจกรรมขยะแลกไขคือ ประชาชนในชุมชนเห็นถึงความสําคัญในการคัดแยกขยะ และเพิ่มมูลคาขยะ สอดคลองกับความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนทายควนท่ีเขารวมกิจกรรมขยะแลกไขวา ประชาชนในชุมชนไดมีการคัดแยกขยะ และไดนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกในสวนท่ีสามารถ

Page 106: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

96 

 

ขายไดก็จะขายตอใหกับรานรับซ้ือของเกา สวนขยะท่ีไมสามารถขายไดประชาชนจะนํามารวมในกิจกรรมขยะแลกไข (รัชนี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) ป พ.ศ. 2547 อสม. ชุมชนทายควนเขารวมการอบรมเร่ืองการคัดแยกขยะ และการทํากิจกรรมขยะแลกไข ในโครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอมและรักษาความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมืองประจําป พ.ศ. 2546 จึงไดขอความชวยเหลือจากเทศบาลเมืองทาขามในการทํากิจกรรมขยะแลกไข ประกอบกับชุมชนทายควนเปนชุมชนที่มีพื้นท่ีติดกับชุมชนบนควนและชุมชนธีราศรม เม่ือฝนตกขยะท่ีตกคางจากชุมชนบนควนและชุมชนธีราศรมจะไหลลงมายังบริเวณชุมชนทายควนเปนจํานวนมาก (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) วัตถุประสงคในการกิจกรรมคร้ังนี้คือ เพื่อตองการหาวิธีการกําจัดขยะท่ีอยูในชุมชนทายควนกอน เม่ือขยะจากชุมชนบนควนและชุมชนธีราศรมลงมาก็จะทําใหการดูแล และการกําจัดขยะมีความงาย สะดวกมากข้ึน และตองการใหคนในชุมชนรักษาความสะอาดบริเวณบานของตนเอง จึงไดมีการทํากิจกรรมขยะแลกไขข้ึนในชุมชนทายควน โดย อสม. และคณะกรรมการชุมชนทายควนเปนแกนนําในการทํากิจกรรม โดยทํากิจกรรมทุกๆ 3 เดือน เปนจํานวน 4 คร้ัง ผลการดําเนินกิจกรรม พบวาประชาชนในชุมชนเขารวมกิจกรรมนอย ปริมาณขยะท่ีไดก็มีจํานวนนอย เนื่องจากประชาชนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพรับจางท่ัวไป ไมมีเวลาในการเขารวมกิจกรรม และประชาชนนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกไปจําหนายใหกับซาเลง และรานรับซ้ือของเกาแทน เนื่องจากตองการเงินมากกวาไข และในการแลกนั้นตองใชขยะ 1 กิโลกรัมตอไข 1 ฟอง จึงทําใหกิจกรรมดําเนินการไดเพียง 4 คร้ังและไมมีสามารถดําเนินกิจกรรมตอได (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) 2) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ กิจกรรมน้ํ าหมักชีวภาพของชุมชนทายควนเปนกิจกรรมท่ีมีการดําเนินการ 2 ชวง ในป พ.ศ. 2548 และในป พ.ศ.2550 ซ่ึงมีรายละเอียดของการทํากิจกรรมท่ีแตกตางกัน ดังนี้ ป พ.ศ. 2548 กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพชุมชนทายควน เร่ิมจากท่ีกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขามไดจัดอบรมใหความรูเร่ืองการคัดแยกขยะ และสาธิตการทําน้ําหมักชีวภาพใหแก อสม.ทุกชุมชน และประชาชนท่ัวไปที่สนใจ มีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหประชาชนคัดแยก และนําขยะอินทรียในครัวเรือนมากอใหเกิดประโยชนมากที่สุด ซ่ึงแกนนําชุมชนทายควนมีความสนใจท่ีจะทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ เทศบาลเมืองทาขามจึงไดลงไปชวยดําเนินการและสนับสนุนอุปกรณในการทํากิจกรรม

Page 107: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

97 

 

ผลของการทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพของชุมชนทายควนดําเนินการไดเพียงคร้ังเดียว เพราะในชวงท่ีทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพประสบกับปญหาขาดแคลนอุปกรณ ไดแก ถังหมัก และกากน้ําตาล เทศบาลแกไขปญหาโดยการจัดหาอุปกรณตามที่ประชาชนตองการ หลังจากที่ไดน้ําหมักชีวภาพมาแลวประชาชนในชุมชนไมสามารถจัดการกับน้ําหมักชีวภาพท่ีสามารถใชงานได จึงทําใหมีน้ําหมักชีวภาพเหลือเปนจํานวนมากทําใหประชาชนไมมีแรงจูงใจในการทํากิจกรรมตอ (ศิริพันธ คามมะวัลย (สัมภาษณ), 10 มีนาคม 2550) ในป พ.ศ. 2550 จากการท่ีเทศบาลเมืองทาขามใหความรูเร่ืองการทําน้ําหมักชีวภาพแกประชาชนมาโดยตลอดต้ังแตป พ.ศ. 2548 ในป พ.ศ. 2550 แกนนําชุมชนทายควนนําโดย อสม. ตองการท่ีจะทํากิจกรรมอีกคร้ัง เนื่องจากยังคงมีอุปกรณท่ีเหลือจากป พ.ศ. 2548 ประกอบกับปริมาณขยะอินทรียในชุมชนมีปริมาณมาก และเปนการปองกันการกลับมาของโรคระบาด แกนนําชุมชนจึงไดรองขอการทํากิจกรรมตอเทศบาลเมืองทาขาม (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) ในการทํากิจกรรมคร้ังนี้ประชาชนในชุมชนทายควนมีโอกาสเขามามีสวนรวมต้ังแตเร่ิมทํากิจกรรม เพราะกิจกรรมน้ําหมักชีวภาพชุมชนทายควนเปนกิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชนในชุมชน และไดผานการลงมติจากท่ีประชุมของชุมชนวาตองการท่ีจะทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ (พัชรี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) ผลของการทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพในครั้งนี้ พบวาจากปญหาท่ีพบในป พ.ศ. 2548 ท่ีชุมชนไมสามารถจัดการกับน้ําหมักชีวภาพได การดําเนินการคร้ังนี้เทศบาลเมืองทาขามจึงไดเขาไปชวยเหลือ และจัดการกับน้ําหมักชีวภาพท่ีสามารถใชงานไดแลว นําไปลางตลาดสด และรดนํ้าตนไมของเทศบาลเมืองทาขาม แมวาเทศบาลเมืองทาขามจะเขาชวยจัดการกับน้ําหมักชีวภาพท่ีพรอมใชงานแลว แตประชาชนในชุมชนก็ไมสามารถดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่องได เนื่องจากประชาชนไมมีเวลาในการหมัก และไมสามารถซ้ือกากน้ําตาลซ่ึงเปนวัตถุดิบในการหมักไดเอง ทําใหมีเพียงแกนนําชุมชนเทานั้นท่ียังคงทํากิจกรรมนี้ (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทายควน เร่ิมดําเนินการจากปญหาโรคระบาดในชุมชน เม่ือเร่ิมทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางสมํ่าเสมอทําใหประชาชนในชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยกขยะมากข้ึน และเห็นความสําคัญถึงคุณคาของขยะ เม่ือมีการทํากิจกรรมรูปแบบใหมๆเกิดข้ึน ประชาชนในชุมชนจึงสนใจ และอยากเขารวมกิจกรรม แตการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทายควนไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง เนื่องจากประชาชนในชุมชนไดคัดแยกขยะและนําไปขายท่ีรับซ้ือของเกาเอง ในสวนขยะ

Page 108: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

98 

 

อินทรียท่ีสามารถนํามาทําน้ําหมักชีวภาพไดนั้นก็ประสบกับปญหาน้ําหมักชีวภาพมีปริมาณเกินความตองการ และประชาชนไมพรอมท่ีจะซ้ือกากน้ําตาลเอง (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) อยางไรก็ตามจากการสัมภาษณ อสม. ชุมชนทายควน ไดแสดงความคิดเห็นตอการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทายควนวา แกนนําในการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทายควนไดแก ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน และ กลุม อสม. มีความตองการ และพยายามใหประชาชนในชุมชนทายควนทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนอยางตอเนื่อง เพื่อรักษาความสะอาดของชุมชน และปองกันการกลับมาของโรคระบาดในชุมชน (ศิริพันธ คามมะวัลย (สัมภาษณ), 10 มีนาคม 2550) (3) ชุมชนเจริญลาภ ชุมชนเจริญลาภมีลักษณะเปนชุมชนเมืองมีจํานวนครัวเรือน 520 หลังคาเรือน ประชาชนท้ังหมด 997 คน ขนาดพ้ืนท่ีประมาณ 1.8 ตารางกิโลเมตร (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) มีโรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเลแชแข็ง 2 โรงต้ังอยูในชุมชน รานคา และท่ีพักอาศัยของประชาชนหนาแนนบริเวณหนาโรงงาน ประชาชนในชุมชนมีท้ังประชาชนดั้งเดิม และประชาชนแฝงท่ีเขามาทํางานในชุมชน ภายในชุมชนเจริญลาภมีการรวมตัวกันทํากิจกรรมกลุมครอบครัวเขมแข็ง และไดนํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมครอบครัวเขมแข็ง เพื่อเสริมสรางความผูกพันภายในครอบครัวของสมาชิกท่ีเขารวมกลุมครอบครัวเขมแข็ง แกนนํากิจกรรมการจัดการขยะชุมชนเจริญลาภทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จนสามารถจัดต้ังเปน “ศูนยการเรียนส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ” กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภ มีการทํากิจกรรมทั้งส้ิน 4 กิจกรรม ไดแก 1) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ 2) กิจกรรมขยะแลกไข 3) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ และ 4) กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน ซ่ึงมีรายละเอียดของการทํากิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ เกิดข้ึนมาจากความตองการของประชาชนในชุมชนเจริญลาภเอง ภายในชุมชนมีถนนเสนหลักของชุมชน 1 สาย คือ ถนนเจริญเวช เปนท่ีต้ังของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเลแชแข็ง 2 โรง รานคา รานขายอาหาร และรานขายอาหารสดเปนจํานวนมาก มีลักษณะคลายตลาดสดขนาดเล็กต้ังอยูบริเวณสองขางทางของถนนเจริญเวช เทศบาลเมืองทาขามไดนําถังขยะเทศบาล มาวางใหบริการแกประชาชนท่ีอาศัยอยูในบริเวณนั้นและผูท่ีสัญจรไปมา จากการที่มีผูคนเขาออกภายในชุมชนเปนจํานวนมาก สงผลตอปริมาณขยะที่เกิดข้ึนมีมากตามไปดวย จึงทําใหมีขยะลนออกมาจากถังขยะ และมีขยะบางสวนวางไวอยูบริเวณขางถัง ซ่ึง

Page 109: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

99 

 

ในขณะน้ันเทศบาลเมืองทาขามยังไมไดมีการรณรงคใหประชาชนคัดแยกขยะ ภายในถังขยะจึงพบขยะทุกประเภท และเม่ือเกิดการเนาเสียของขยะอินทรีย ไดสงกล่ินเหม็น และมีสัตวมาคุยเข่ียเพื่อหาอาหาร จึงทําใหเจาของบานและรานคาบริเวณนั้นเคล่ือนยายถังขยะออกไปใหพนบริเวณหนาบาน หรือหนารานคาของตนเอง ทําใหเกิดความไมสะดวกในการเก็บขนขยะของเจาหนาท่ีเทศบาล ยิ่งทําใหมีปริมาณขยะตกคางในชุมชนเพิ่มมากข้ึน (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) จากปญหาท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชนเจริญลาภ เปนเร่ืองท่ีมีการพูดคุยกันทุกคร้ังเม่ือมีการประชุมชุมชน จึงไดมีการหาทางออกเพื่อแกไขปญหานี้ข้ึน นําโดยนายวิมล ศรีเช้ือ รองประธานชุมชนเจริญลาภในขณะน้ัน นําเสนอปญหานี้ตอเทศบาลในการประชุมคณะกรรมการชุมชนรวมกับเทศบาล ไดรับความเห็นชอบในการทํากิจกรรม จึงเกิดเปน “กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ” บนถนนเจริญเวช ในชุมชนเจริญลาภ (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) วิธีการในการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะ คือ เทศบาลเมืองทาขาม จัดเก็บถังขยะของเทศบาลออกจากถนนเจริญเวช และใหเจาหนาท่ีเทศบาลเขามาเก็บขนขยะในเวลา 15.00 น.ของทุกวัน โดยใหประชาชนนําขยะมาวางรอไวตามเวลาท่ีกําหนด กิจกรรมนี้เร่ิมดําเนินการต้ังแตวันท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) ผลจากการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะ พบวาในชวงแรกของการดําเนินกิจกรรม ประชาชนในชุมชนสวนใหญยังไมเห็นดวยตอการทํากิจกรรม เนื่องจากเปนการเพิ่มภาระในการกําจัดขยะ ตองรอใหรถเขามาเก็บขนขยะ ในบางบานไมสะดวกในการท้ิงขยะในชวงเวลาท่ีกําหนด ไดมีการนําถุงขยะมากองไวตามเสาไฟฟา หรือแขวนไวตามตนไมในชุมชน ทําใหสัตวมาคุยเข่ียถุงขยะเหลานั้น ยิ่งเปนการเพ่ิมภาระการทํางานใหกับเจาหนาท่ีเก็บขนขยะ ท้ังนี้มีประชาชนในชุมชนบางสวนรองขอถังขยะจากเทศบาลเพราะไมอยากเปนภาระในการกําจัดขยะ แตทางกรรมการชุมชนยังคงยืนยันท่ีจะดําเนินกิจกรรมถนนปลอดถังขยะตอไป การแกไขปญหาในการทํากิจกรรมกับประชาชนในชุมชนนั้น ทางกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมรวมกับคณะกรรมการชุมชนจึงไดเรงการประชาสัมพันธ และทําความเขาใจกับประชาชนในชุมชนเห็นถึงความสําคัญของการดําทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะ (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะใชเวลาในการดําเนินกิจกรรมต้ังแตป พ.ศ. 2540-2543 ถึงไดรับความรวมมือจากประชาชนในชุมชน ปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมนี้ยังคงดําเนินการอยู และพบวาประชาชนมีความเขาใจ และใหการยอมรับ ซ่ึงใหความรวมมือในการทํากิจกรรมเปนอยางดี ในป พ.ศ.2549 ไดขยายการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะบนถนนทุกสายโดยรอบชุมชน

Page 110: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

100 

 

2) กิจกรรมขยะแลกไข กิจกรรมขยะแลกไขชุมชนเจริญลาภ ดําเนินการในป พ.ศ. 2547 เปนกิจกรรมท่ีระบุในโครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอม รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมืองประจําป พ.ศ. 2547 เปนกิจกรรมเทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการในชุมชนเจริญลาภ พรอมกับชุมชนอ่ืนๆในพื้นท่ีเทศบาลเมืองทาขาม รูปแบบของการทํากิจกรรมขยะแลกไขท่ีดําเนินการในชุมชนเจริญลาภ ใหประชาชนนําขยะรีไซเคิลมารวมกิจกรรม มีอัตราการแลกขยะ 1 กิโลกรัมตอไขไก 1 ฟอง ขยะท่ีไดจากประชาชนนํามารวมกิจกรรมทางชุมชนใหเทศบาลเมืองทาขามนําไปจัดการตอ ผลท่ีไดจากการทํากิจกรรมพบวา กิจกรรมขยะแลกไขชุมชนเจริญลาภดําเนินการเพียงคร้ังเดียว เนื่องจากแกนนํากิจกรรมการจัดการขยะของชุมชน เห็นวากิจกรรมนี้เปนการจัดการกับขยะท่ีเกิดข้ึน ณ เวลานั้น เห็นไดจากวันตอมาหลังจาการทํากิจกรรมขยะแลกไขก็ยังคงพบขยะรีไซเคิลตามถังขยะ ท่ัวไปในชุมชน กิจกรรมขยะแลกไขจึงไมสามารถจัดการกับขยะท่ีตกคางในครัวเรือน จึงไมมีการดําเนินการกิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนเจริญลาภอีกตอไป (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 มกราคม 2551) 3) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพในชุมชนเจริญลาภดําเนินการต้ังแตป พ.ศ. 2548 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมนี้เร่ิมจากกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมใหความรูแกแกนนําชุมชน อสม. ทุกชุมชน ผานทางการอบรม และทัศนศึกษาการทําน้ําหมักชีวภาพ แกนนําการจัดการขยะของชุมชนเจริญลาภมีความสนใจและตองการที่จะทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ จึงไดขอทํากิจกรรมจากเทศบาลเมืองทาขาม กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพดําเนินการโดยมีแกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็งเปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรม เร่ิมดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2548 โดยใหประชาชนในแตละครัวเรือนคัดแยก และทําการหมักเอง พบวาเกิดความไมตอเนื่องในการทําน้ําหมักชีวภาพ เนื่องจากบางครัวเรือนไมมีเวลาในการหมัก ตอมาในป พ.ศ. 2549 ไดปรับเปลี่ยนวิธีการทําน้ําหมักชีวภาพชุมชนเจริญลาภของแตละครัวเรือนเปนการหมักแบบรวมกันท่ี แลวคอยแจกจายใหกับประชาชนในชุมชน โดยมีกลุมครอบครัวเขมแข็งเปนผูดําเนินการ แกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็งไดรองขอความรวมมือจากเทศบาลเมืองทาขามใหจัดเจาหนาท่ีเขามาเก็บขนขยะอินทรียจากครัวเรือนในชุมชนมาใหทางกลุมครอบครัวเขมแข็ง ซ่ึงจัดเก็บทุกวันในเวลา 17.00 น. ภายใตช่ือกิจกรรมถังขาวหมู ใชศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภเปนสถานท่ีในการทํากิจกรรม (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550)

Page 111: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

101 

 

ผลของการทํากิจกรรมพบวา ประชาชนใหความสนใจในการรวมมือทํากิจกรรมถังขาวหมูเพียงรอยละ 30 จากประชาชนท้ังหมดในชุมชนเจริญลาภ เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังคงคิดวาการดําเนินการจัดการขยะเปนหนาท่ีของเทศบาลเทานั้น (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ท้ังนี้ น้ําหมักชีวภาพท่ีไดจากการทํากิจกรรมถังขาวหมู เทศบาลเมืองทาขามไดนําไปใชในการลางทําความสะอาดตลาดสด เทลงในคูระบายนํ้าเพื่อลดกล่ิน และเปนปุยสําหรับตนไมของเทศบาลเมืองทาขาม นอกจากนี้ ประชาชนและผูสนใจท่ีประกอบอาชีพรานรับซ้ืออาหารทะเลสด และรานทํากะปท่ีอยูนอกเขตเทศบาลเมืองทาขามไดขอซ้ือน้ําหมักชีวภาพจากกิจกรรมถังขาวหมู เพื่อนําไปใชในการทําความสะอาด (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) 4) กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน กอต้ังข้ึนในวันท่ี 12 มิถุนายน พ.ศ. 2548 เร่ิมจากการท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดอบรมใหความรูเร่ืองการจัดการธนาคารขยะ พรอมทั้งการดูงานการจัดกิจกรรมใหแกแกนนําชุมชน อสม. และประชาชนท่ัวไปท่ีสนใจ นางประดับ ศรีเช้ือ อสม.ชุมชนเจริญลาภ และเปนแกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็งชุมชนเจริญลาภ เห็นวาภายในชุมชนมีขยะรีไซเคิลท่ีสามารถจําหนายไดอยูเกล่ียนกลาดไปท่ัวท้ังชุมชน เม่ือไดรับความรูและรวมกิจกรรมท่ีทางกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมจัดข้ึน จึงไดนํากิจกรรมธนาคารขยะมาดําเนินการในชุมชน โดยใหเยาวชนในกลุมครอบครัวเขมแข็งเปนกลุมนํารองในการทํากิจกรรมธนาคารขยะ (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2551) กิจกรรมธนาคารขยะชุมชนเจริญลาภ มีวัตถุประสงคเพื่อจัดการขยะ รีไซเคิลท่ีเกิดข้ึนในชุมชน และเปนการสงเสริมใหประชาชนในชุมชนเห็นคุณคาของขยะ โดยเปดรับฝากขยะทุกวันอาทิตย เวลา 08.00-10.00 น. จากนั้นแกนนําธนาคารขยะชุมชนรวบรวม และแยกประเภทของขยะ และติดตอใหรานรับซ้ือของเกามารับซ้ือ เงินสดท่ีไดจากการขายขยะจะนําไปฝากไวกับกลุมออมทรัพยในชุมชน โดยจะแยกเปนสองบัญชี คือบัญชีลูกคาธนาคารขยะชุมชน และบัญชีธนาคารขยะชุมชน ซ่ึงเปนบัญชีท่ีเกิดจากประชาชนในชุมชนท่ีไมไดเปนสมาชิกของธนาคารขยะชุมชน แตตองการนําขยะเขามารวมกิจกรรม ซ่ึงทางธนาคารขยะชุมชนก็จะไดนําเงินสวนนี้มาบริหารจัดการธนาคารขยะชุมชนตอไป (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) กิจกรรมธนาคารขยะชุมชนเจริญลาภดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2548 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) เปนอีกหนึ่งกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน และประชาชนเปนผูเร่ิมดําเนินการเอง ประชาชนจึงมีโอกาส

Page 112: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

102 

 

ไดเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอนของการทํากิจกรรม ถึงแมจะเปนกิจกรรมท่ีชุมชนดําเนินการเองแตก็ไดรับการชวยเหลือ และสนับสนุนอุปกรณ สถานท่ีในการทํากิจกรรมจากเทศบาลเมืองทาขาม โดยเทศบาลเมืองทาขามอนุญาตใหชุมชนเจริญลาภใชอาคารเรียนหลังเกาของโรงเรียนดรุโณทัยท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดซ้ือมา เพื่อใชเปนศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ ผลของการทํากิจกรรมธนาคารขยะชุมชนเจริญลาภสามารถดําเนินการไดนั้น เปนผลจากการเทศบาลเมืองทาขามใหความรวมมือในการทํากิจกรรม ถึงแมวาเทศบาลไมไดเขามาดําเนินกิจกรรมเองก็ตาม แตไดใหความชวยเหลือแและสนับสนุนเปนอยางดี ประชาชนไมไดเปนฝายทํากิจกรรมเพียงลําพัง จึงเปนผลทําใหประชาชนสามารถทํากิจกรรมไดอยางตอเนื่องจนมาถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) ชุมชนเจริญลาภเปนชุมชนเมืองท่ีมีความพรอมในการบริหารจัดการภายในชุมชนไดเปนอยางดี แมวาลักษณะของประชาชนในชุมชนประกอบดวย 2 ลักษณะดวยกันไดแก คนดั้งเดิม และคนตางถ่ินท่ีเขามาทํางานภายในชุมชน สวนกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนน้ัน ชุมชนเจริญลาภเปนตนแบบของเทศบาลเมืองทาขามในการจัด “กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ” เปนกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเปนกิจกรรมแรกของเทศบาลเมือง ทาขาม ดังท่ีไดกลาวไปแลว กิจกรรมถนนปลอดถังขยะทําใหเทศบาลเมืองทาขามและประชาชนในชุมชนอ่ืนๆเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือในการจัดการขยะ และตอมาชุมชนเจริญาภไดรับการคัดเลือกในการดําเนินกิจกรรมกลุมครอบครัวเขมแข็งภายในชุมชน โดยมีนายวิมล และนางประดับ ศรีเช้ือ เปนแกนนําในการทํากิจกรรม ซ่ึงทางกลุมเนนการทํากิจกรรมท่ีสงเสริมการมีสวนรวมของครอบครัวเปนหลัก กิจกรรมท่ีแกนนําเลือกนํามาใชนั้นสวนใหญเปนกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะ เชน การทําน้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ กิจกรรมธนาคารขยะ เปนตน ท่ีผานมาชุมชน เจริญลาภประสบความสําเร็จเปนอยางมากในการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนจนกลายเปนตนแบบในการจัดการขยะของชุมชน มีหนวยงาน และองคกรตางๆเขามาดูงานเปนจํานวนมาก การทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภ ถือไดวาประสบความสําเร็จ สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องจนสามารถจัดต้ังเปนศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ กอต้ังข้ึนในวันท่ี 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ภายในศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ ประกอบดวยธนาคารขยะชุมชน โรงหมักปุยชีวภาพ และแปลงสาธิตการทําเกษตรเมืองพรอมท้ังจําหนายน้ําหมักชีวภาพ ปุยหมักชีวภาพ และผลผลิตจากแปลงสาธิต นอกจากนี้ยังเปนสถานท่ีศึกษาดูงานใหความรูเร่ืองการจัดการขยะ มีท้ังเยาวชน ผูนําชุมชน และ

Page 113: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

103 

 

คณะกรรมการศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภรวมเปนวิทยากร ใหคําแนะนําเร่ืองการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ใหบริการทั้งในและนอกชุมชน การทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภนั้นไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆที่เขามาสนับสนุนดานตางๆ ไดแก เทศบาลเมืองทาขามใหการสนับสนุนงบประมาณ ในป พ.ศ. 2549 เปนเงิน 30,000 บาท ในป พ.ศ. 2550 เปนเงิน 60,000 บาท และในป พ.ศ. 2551 เปนเงิน 50,000 บาท นอกจากนี้ ยังไดรับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานีใหการสนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย (EM.) ซ่ึงเปนวัตถุดิบในการทําหมักชีวภาพ โดยมีศูนยบริหารศัตรูพืชจังหวัดสุราษฎรธานี เขามาใหความรู ใหคําปรึกษาดูแลโรคพืช และศัตรูพืชในแปลงสาธิตเกษตรเมืองและส่ิงแวดลอมภาค 14 จังหวัดสุราษฎรธานี ใหความรู เปนท่ีปรึกษาเร่ืองส่ิงแวดลอม และสนับสนุนน้ําหมักชีวภาพ เม่ือตองการน้ําหมักชีวภาพไปแสดงนิทรรศการ หรือแจกใหกับประชาชนท่ัวไปก็จะมาส่ังซ้ือท่ีศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภในราคาขวดละ 10 บาท (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) จะเห็นไดวากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภท่ีไดดําเนินการมานั้น เปนการทํากิจกรรมเพียงกลุมคนสวนนอยท่ีอยูในชุมชน โดยมีนายวิมล ศรีเช้ือเปนแกนนําในการทํากิจกรรมซ่ึงนายวิมล เปนบุคคลท่ีไดรับการยอมรับของประชาชนในชุมชน ประชาชนท่ีเขารวมทํากิจกรรมการจัดการขยะเปนผูท่ีอยูในบริเวณใกลเคียงกับบานของนายวิมล จึงสามารถรวมตัวกันทํากิจกรรมจนสามารถทําไดอยางตอเนื่อง และมีความเขมแข็งของกิจกรรม แตก็ยังไมครอบคลุมท้ังพื้นท่ีชุมชน จากการศึกษากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน พบวาสามารถสรุปประเด็นท่ีมีสวนเก่ียวของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตอชุมชนท่ีศึกษาไดดังนี้ (ตาราง 5)

Page 114: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

104 

 

ตาราง 5 ประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน

ประเด็นท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

ลักษณะชุมชน เกษตร แออัด เมือง

ปญหาขยะ ไมมีปญหาขยะ

-ขยะตกคางในบริเวณบานเรือน ถนน และคูระบายนํ้าในชุมชน -เปนแหลงการเกิดโรคไขเลือดออกและอหิวาตกโรคในชุมชน

-ขยะลนถัง -สัตวมาคุยเขี่ยอาหารในถังขยะ ทําใหขยะเกลี่ยกลาดรอบบริเวณถัง และขางเคียง -ปญหาเกิดขึ้นบนถนนเสนหลักของชุมชน มีรานคาเปนจํานวนมาก

วิ ธี ก า ร กํ า จั ด ข ย ะ ใ นครัวเรือน

-ประชาชนกําจัดขยะเองดวยการฝง หรือ เผาในบริเวณบานของตนเอง -ทิ้งในถังขยะของเทศบาล

-ประชาชนทิ้งในถังขยะของเทศบาล

-ประชาชนทิ้งในถังขยะของเทศบาล

ความตองการกิจกรรมก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ ข อ งประชาชนในชุมชน

-ประชาชนไมตองการกิจกรรมการจัดการขยะ -ประชาชนในชุมชนสามารถกําจัดที่เกิดขึ้นในครัวเรือนไดเอง

-ประชาชนตองการกิจกรรมการจัดการขยะ -ประชาชนในชุมชนตองการท่ีจะลดปริมาณขยะที่ตกคางในชุมชน -ประชาชนอยากใหชุมชนมีความสะอาด และไมมีโรคระบาดในชุมชน

-ประชาชนตองการกิจกรรมการจัดการขยะ -ประชาชนตองการแกปญหาขยะลนถัง และขยะที่อยูบริเวณขางๆถัง -ประชาชนตองการใหชุมชนสะอาด นามอง ไมมีสัตวมาคุยเขี่ยถังขยะ

กิจกรรมการจัดการขยะ

พ.ศ. 2547 กิจกรรมขยะแลกไข

พ.ศ. 2543 และ2547 กิจกรรมขยะแลกไข พ.ศ. 2548 และ 2550 กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ

พ.ศ. 2540 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ

  

Page 115: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

105 

 

ตาราง 5 (ตอ) 

ประเด็นท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

กิจกรรมการจัดการขยะ (ตอ)

พ.ศ. 2547 กิจกรรมขยะแลกไข พ.ศ. 2548 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ พ.ศ. 2549 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมธนาคารขยะ

ที่มาของกิจกรรม

-พ.ศ. 2547 เทศบาลเขาไปดําเนินการกิจกรรมขยะแลกไข

-พ.ศ. 2543 เทศบาลเขาไปดําเนินการกิจกรรมขยะแลกไข -เทศบาลอบรมใหความรูแกแกนนําชุมชน และไดมีการทํากิจกรรมในชุมชน ไดแก พ.ศ. 2547 กิจกรรมขยะแลกไข และพ.ศ. 2548 และพ.ศ. 2550 กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ

- กิจกรรมที่เกิดจากความตองการของประชาชน ไดแก พ.ศ. 2540 ถึงปจจุบัน กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ -เทศบาลอบรมใหความรูแกแกนนําชุมชน และไดมีการทํากิจกรรมในชุมชน ไดแก พ.ศ. 2547 กิจกรรมขยะแลกไข พ.ศ. 2548 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ และพ.ศ. 2549 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมธนาคารขยะ

        

Page 116: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

106 

 

ตาราง 5 (ตอ) 

ประเด็นท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

แกนนํากิจกรรมการจัดการขยะ

-อสม. และคณะกรรมการชุมชน -อสม.ในชุมชนมีความตองการ และพยายามท่ีจะทํากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน แตก็ไมไดรับการตอบรับที่ดีจากประชาชนในชุมชน

-ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน และ อสม. -แกนนําพยายามทํากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน โดยเริ่มที่บานของแกนนํากอน (แตเปนการทํากิจกรรมแบบตางคนตางทํา)

-แกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็ง เปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรมการจัดการขยะ -อสม. และคณะกรรมการชุมชนใหการสนับสนุน ชวยเหลือในการติดตอประสานงานกับเทศบาล และรวมทํากิจกรรม

การไดรับการสนับสนุนจากเทศบาล

-การอบรมใหความรู -การจัดทัศนศึกษาดูงานการทํากิจกรรมการจัดการขยะ

-การอบรมใหความรู -การจัดทัศนศึกษาดูงานการทํากิจกรรมการจัดการขยะ -การสาธิตการทํากิจกรรมการจัดการขยะ -การรวมทํากิจกรรมการจัดการขยะของเจาหนาที่เทศบาล และการติดตามการดําเนินการอยางตอเน่ือง -การสนับสนุนอุปกรณในการทํากิจกรรม -การแกปญหาที่เกิดจากการดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะ

-การอบรมใหความรู -การจัดทัศนศึกษาดูงานการทํากิจกรรมการจัดการขยะ -การสาธิตการทํากิจกรรมการจัดการขยะ -การรวมทํากิจกรรมการจัดการขยะของเจาหนาที่เทศบาล และการติดตามการดําเนินการอยางตอเน่ือง -การสนับสนุนอุปกรณในการทํากิจกรรม -การแกปญหาที่เกิดจากการดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะ

    

  

Page 117: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

107 

 

ตาราง 5 (ตอ) 

ประเด็นท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกตอกิจกรรมการจัดการ

ขยะ

-ไมไดรับการสนับสนุน -ไมไดรับการสนับสนุน

-กลุมครอบครัวเขมแข็ง ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) -กรมพัฒนาที่ดิน จังหวัดสุราษฎรธานี สนับสนุนหัวเช้ือจุลินทรีย -ศูนยบริหารศัตรูพืช จังหวัดสุราษฎรธานี ใหคําปรึกษาโรคพืช และศัตรูพืช -สํานักงานสิ่งแวดลอม ภาค 14 จังหวัดสุราษฎรธานี ใหความรู และคําปรึกษาเรื่องสิ่งแวดลอม และรับซื้อนํ้าหมักชีวภาพของชุมชน

ที่มา : ผูวิจัย

ประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน พบวาในแตละชุมชนมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกัน ซ่ึงมีเง่ือนไขท่ีทําใหเกิดการทํากิจกรรมไดแก ปญหาขยะในชุมชน ความตองการของประชาชน แกนนําในการทํากิจกรรม และการไดรับการสนับสนุนจากเทศบาลเมืองทาขาม และหนวยงานภายนอก

Page 118: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

108 

 

(4) ขอมูลเชิงปริมาณประเด็นท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ในการศึกษาคร้ังนี้ไดศึกษาขอมูลเชิงปริมาณถึงประเด็นท่ีเกี่ยวของกับกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม จากการเก็บตัวอยางในชุมชน 3 ชุมชนไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ มีรายละเอียดดังนี้ 1) การรับรูของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับแกนนํากิจกรรมขยะชุมชนในแตละชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชนดังแสดง (ตาราง 6) ตาราง 6 การรับทราบแกนนํากิจกรรมขยะในชุมชน

การรับทราบเก่ียวกับแกนนํากิจกรรมขยะในชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

มีแกนนําในการทํากิจกรรมขยะชุมชน ทราบ 10

(34.5) 9

(37.5) 33

(63.5) 52

(49.5)

จากตาราง 6 พบวาท้ัง 3 ชุมชนทราบวาในชุมชนมีแกนนําการทํากิจกรรมขยะในชุมชน 2) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน ดังแสดง (ตาราง 7)

Page 119: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

109 

 

ตาราง 7 กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน

กิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

การดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน ทราบ 17

(57.6) 23

(95.8) 49

(94.2) 89

(84.8) ไมทราบ 12

(44.4) 1

(4.2) 3

(5.8) 16

(15.2) กิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ 0

(0) 0

(0) 21

(40.4) 23

(21.9) กิจกรรมขยะแลกไข 17

(58.6) 20

(83.3) 19

(36.5) 56

(58.3) กิจกรรมนํ้าหมัก/ปุยหมักชีวภาพ 0

(0) 20

(83.3) 42

(30.8) 62

(54.1) กิจกรรมธนาคารขยะ 0

(0) 3

(12.5) 36

(69.2) 39

(37.1) เขารวมกิจกรรมกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน เคยเขารวม 9

(31.0) 18

(75.0) 31

(59.6) 58

(55.2) ไมเคยเขารวม 20

(69.0) 6

(25.0) 21

(40.4) 47

(44.8)

จากตาราง 7 พบวา กลุมตัวอยางท้ัง 3 ชุมชน ประมาณสองในสามของจํานวนกลุมตัวอยางทราบวามีการดําเนินการจัดการขยะในชุมชน และเคยเขารวมกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน โดยในแตละชุมชนมีการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกันดังนี้ ชุมชนฝายทา มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะไดแก กิจกรรมขยะแลกไข เปนกิจกรรมท่ีทํารวมกันกับชุมชนพุมดวง โดยใชลานหนาอาคารสํานักงานชุมชนฝายทาเปนสถานท่ีในการทํากิจรรม ชุมชนทายควน มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะ ไดแก กิจกรรมขยะแลกไข

Page 120: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

110 

 

กิจกรรมน้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ และกิจกรรมธนาคารขยะ ซ่ึงกิจกรรมธนาคารขยะน้ีเปนการทํากิจกรรมตอเนื่องจากการทํากิจกรรมขยะแลกไข โดยรับฝากขยะท่ีประชาชนยังไมตองการแลกไขไวท่ีทําการชุมชน จึงทําใหประชาชนบางสวนเขาใจวาเปนการทํากิจกรรมธนาคารขยะ และชุมชนเจริญลาภ มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะไดแก กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ กิจกรรมขยะแลกไข กิจกรรมน้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ และกิจกรรมธนาคารขยะ ซ่ึงจะเห็นไดวาในกิจกรรมขยะแลกไข มีประชาชนทราบวามีการทํากิจกรรมนี้ในชุมชนเปนจํานวนนอยกวากิจกรรมอ่ืนๆ เนื่องจากการทํากิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนเจริญลาภนั้นมีการทําเพียงคร้ังเดียว จึงทําใหประชาชนสวนใหญไมทราบวามีกิจกรรมดังกลาว ขอมูลท่ีไดจากการศึกษาเชิงปริมาณ พบวา ขอมูลมีความเช่ือมโยงกับขอมูลเชิงคุณภาพ ประชาชนบางสวนในแตละชุมชนมีความเขาใจท่ีตรงกันตอกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดเกิดข้ึนในแตละชุมชน และไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน  

4.2 ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน การศึกษาการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในคร้ังนี้ไดศึกษาปจจัย ธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เพื่อตองการชี้ใหเห็นวาการนําธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมเขามาใชในงานการบริหารเทศบาล และการจัดการขยะนําไปสูความสําเร็จในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.2.1 ปจจัยธรรมาภิบาล (1) ปจจัยธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม เทศบาลเมืองทาขามมีการนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงานของเทศบาล ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามใหความสําคัญตอเร่ืองการทํางานท่ีทุกภาคสวนไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนท่ีอยูในเขตเทศบาลเมือง ทาขามไดเขามามีสวนรวมในการบริหารเทศบาล จากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณผูบริหาร และเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขาม พบวาเทศบาลเมืองทาขามไดนําเอาหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารจัดการงานของเทศบาล ทําใหเทศบาลเมืองไดรับรางวัลตางๆเก่ียวกับธรรมาภิบาลมาต้ังแตป พ.ศ. 2546 เปนตนมา หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของเทศบาลที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ไดแก

Page 121: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

111 

 

1) การมีสวนรวม 2) ความรับผิดชอบ 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน และ 4) ความโปรงใส มีรายละเอียดดังนี้ 1) การมีสวนรวม การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ถือไดวาเปนจุดเดนของเทศบาลเมืองทาขาม เปนนโยบายสําคัญท่ีนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ไดใหแกเจาหนาท่ีเทศบาลเมือง ทาขามต้ังแตเขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขามต้ังแตเดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 นอกจากนั้น ทีมผูบริหารที่เขามารวมทีมกับนายทนงศักดิ์ ทวีทองตางก็มีแนวความคิดในการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน ผูบริหารเทศบาลเมืองทาขามใหแนวคิดในการทํางานแกฝายบริหารวาฝายบริหารเปนเพียงมือปนรับจางท่ีเขามาทํางานใหแกประชาชนเทานั้น (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) โดยในการดําเนินงานตางๆนั้น ฝายบริหารของเทศบาลเมืองทาขามเนนการเปดใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการทํางานรวมกัน การกําหนดทิศทางการทํางานของฝายบริหารเทศบาลเมืองทาขามท่ีตองการใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมกับเทศบาลนั้น ในป พ.ศ. 2540 เทศบาลเมืองทาขามไดเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการทําแผนพัฒนาเทศบาล กอนท่ีจะมีการบังคับใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินตองใหประชาชนเขารวมทําแผนพัฒนาเทศบาลตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) โดยการเริ่มตนจากการใหประชาชนไดรวมกันทําแผนชุมชนข้ึนมากอน เพราะแผนชุมชนเปนแผนปฏิบัติการระดับชุมชน ท่ีเกิดข้ึนจากการจัดการและกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชน เทศบาลเมืองทาขามดําเนินการรวมกับคณะกรรมการชุมชนท้ัง 22 ชุมชนในเขตเทศบาล แตงต้ังกลุมรับผิดชอบโดยบุคลากรของเทศบาลเมืองทาขามเปนคณะทํางาน 5 กลุม แตละกลุมประกอบดวย นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล เจาหนาท่ีเทศบาล และประธานและรองประธานชุมชน เปนแกนนําในการทําแผนพัฒนาเทศบาล รวมกันลงพื้นท่ีชุมชน จัดประชุมรวมกันเพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการเสนอขอมูล ปญหา ความตองการ และขอเสนอตางๆในการพัฒนาชุมชน โดยเนนกิจกรรมท่ีตอบสนองความตองการของชุมชน และเนนการใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถ่ินเปนหลัก แผนชุมชนมีองคประกอบครอบคลุมกิจกรรมท่ีเนนการใชฐานของทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน การจัดทําแผนชุมชนเปนเคร่ืองมือท่ีจะชวยใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดนํามาเปนแนวทางในการบริหารงาน เทศบาลเมืองทาขามไดนําแผนของชุมชนมาใชเปนแนวทางในการกําหนดแผนพัฒนาเทศบาล (อรุณศักดิ์ สธนเสถียร (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550)

Page 122: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

112 

 

แผนพัฒนาชุมชนมีวิธีการดําเนินการ ดังนี้ 1) รวบรวมและจัดทําบันทึกสรุปขอเสนอของแผนชุมชน 2) บรรจุโครงการ/กิจกรรม เขาแผนพัฒนาเทศบาลสามป 3) สงใหสวนราชการแตละกอง/ฝายของเทศบาลจัดทําโครงการรองรับ และ 4) คัดเลือกโครงการเขา เทศบัญญัติงบประมาณประจําป เม่ือเทศบาลประกาศใชแผนพัฒนาแลวไดจัดสงแผนพัฒนาใหแก สมาชิกสภาเทศบาล ชุมชน กลุมสงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวัด และองคการบริหารสวนจังหวัด (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน ไดแสดงความคิดเห็นตอการเขารวมการทําแผนพัฒนาชุมชนวา ในชวงแรกของการดําเนินงานรวมกันระหวางประชาชนและเทศบาลน้ันเปนเร่ืองท่ีคอนขางยาก เนื่องจากลักษณะของชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามเปนสังคมเมือง จึงไมใหความรวมมือกับเทศบาลเทาท่ีควร จึงตองมีการรณรงคผ านทาง ส่ือ และชองทางต างๆเพื่ อใหประชาชนเข ามารวมใหมากท่ีสุด (สัมพันธ สิทธิสงคราม (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) การเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการทําแผนพัฒนาเทศบาลนั้นนับวาเปนจุดเร่ิมตนท่ีทําใหประชาชนไดมีโอกาสเขามารวมทํางานกับเทศบาล แผนพัฒนาเทศบาลของเมืองทาขามนั้นไมเปนเพียงแตการใหตัวแทนประชาชนจากแตละชุมชนเขารวมเทานั้น ยังไดมีการเชิญท้ังตัวแทนของภาครัฐ และภาคเอกชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามเขารวมดวย เพื่อใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการทํางานของเทศบาล ท้ังนี้ยังเปนอีกชองทางหนึ่งในการตรวจสอบการทํางานของเทศบาล จากเอกสารข้ันตอนการทําแผนพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม ไดระบุข้ันตอนการมีสวนรวมของประชาชนในการทําแผนพัฒนาเทศบาล จึงมีการดําเนินการ 4 ข้ันตอนคือ1) การกําหนดปญหา 2) การรวมวางแผน 3) การรวมปฏิบัติตามแผน และ 4) การติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน มีดังนี้ (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) (1) การกําหนดปญหา ประชาชนในชุมชนรวมคนหาปญหาและความตองการของชุมชน เพื่อจัดทําแผนพัฒนาชุมชน โดยการประชุมพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันในชุมชน ผานคณะกรรมการของเทศบาล ภายในชุมชนมีการประชุมรวมกันประจําทุกเดือน และเทศบาลเมือง ทาขามไดมีการแจงประมาณการงบประมาณท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามนาจะจัดสรรหรือประสานงานกับหนวยงานอ่ืนๆ เพื่อจัดหามาใหประชาชนไดรับทราบและตัดสินใจเลือกโครงการ และจัดลําดับความสําคัญของโครงการหรือกิจกรรมท่ีตองการการสนับสนุนจากทางเทศบาลเมืองทาขาม

Page 123: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

113 

 

(2) การรวมวางแผน จากข้ันตอนการกําหนดปญหา เขาสูข้ันตอนการนําเสนอขอมูลปญหาและความตองการของชุมชน โดยคณะกรรมการชุมชนมีบทบาทสําคัญในการทําหนาท่ีเปนตัวกลางนําขอมูลของประชาชนท่ีไดจากข้ันตอนการกําหนดปญหาเขาสูกระบวนการตัดสินใจของฝายบริหารของเทศบาลเมืองทาขาม โดยมีชองทางท่ีสามารถนําเสนอไดหลายชองทาง ดังนี้ 1) คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล ซ่ึงมีประชาคมเทศบาลเขารวมเปนคณะกรรมการ 2) สมาชิกสภาเทศบาล 3) คณะกรรมการชุมชน ซ่ึงในการประชุมคณะกรรมการพัฒนาและประชาคมเทศบาล เทศบาลจะเชิญประธานและรองประธานคณะกรรมการชุมชนเขารวมดวย 4) ผานทางเว็บไซตของเทศบาล 5) เสนอโครงการมายังเทศบาล (ผานนายกเทศมนตรี) ในข้ันตอนการคัดเลือกโครงการนั้น ท้ังฝายบริหาร ฝายสมาชิกสภาเทศบาล ( ซ่ึงถือไดวาเปนตัวแทนของประชาชนในแตละชุมชน) ฝายขาราชการ (นําโดย นางจารุพรรณ สิรยาภรณ, ปลัดเทศบาลเมืองทาขาม) และเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของทุกกองจะรวมประชุมหารือเพื่อคัดเลือกโครงการ โดยคัดเลือกตามความจําเปนเรงดวน และความตองการของประชาชนในแตละชุมชนเปนสําคัญ จากนั้นก็จะเขาสูกระบวนการวางแผนพัฒนาเทศบาล และเม่ือเทศบาลจัดทํารางแผนพัฒนาเทศบาลเสร็จแลว จะเชิญคณะกรรมการชุมชน (ประธานและรองประธาน) เขารวมประชุมพิจารณารางแผนรวมกับคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลอีกคร้ัง กอนท่ีจะนําเสนอนายกเทศมนตรี เพื่อประกาศใชตอไป (3) การรวมปฏิบัติตามแผน ในข้ันตอนการรวมปฏิบัติตามแผนเปนการเขารวมในข้ันตอนการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ คือ เขารวมในกิจกรรมตางๆท่ีเทศบาลดําเนินการตามแผน รวมท้ังการเขารวมเปนกรรมการจัดซ้ือจัดจาง นอกจากการเปดโอกาสใหประชาชนเขามาตรวจสอบการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามแลว ผูรับเหมาเอกชนท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดวาจางมาปฏิบัติงานนั้น ประชาชนก็สามารถรวมตรวจสอบไดเชนกัน โดยเร่ิมต้ังแตข้ันตอนการดําเนินราคากลาง ข้ันตอนการเปดซองประกวดราคา และข้ันตอนการตรวจรับงาน โดยในแตละข้ันตอนจะมีตัวแทนซ่ึงเปนคณะกรรมการชุมชน ท่ีไดรับการคัดเลือกจากชุมชน เขารวมเปนคณะกรรมการตรวจสอบการดําเนินงาน นอกจากวิธีการสงหนังสือเชิญเขารวมเปนคณะกรรมการแลว ทางเทศบาลเมืองทาขาม

Page 124: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

114 

 

ยังใชวิธีการพบปะพูดคุยเพื่อทําความเขาใจในลักษณะท่ีไมเปนทางการกอนเสมอ เพราะเปนวิธีการท่ีเขาถึงประชาชนไดงาย ประชาชนสามารถซักถามปญหาตางๆได นอกจากตัวแทนจากชุมชนแลว กลุมตางๆที่จัดต้ังข้ึนมาก็ไดสงตัวแทนเขารวมเปนคณะกรรมการตรวจสอบดวย เชน อสม. กลุมกองทุน/กลุมออมทรัพย ชมรมพอคา/แมคา ชมรมอปพร. กลุมมอเตอรไซครับจาง กลุมพลังแผนดิน เปนตน โครงการหรือกิจกรรมท่ีประชาชนเขารวมเชน โครงการจัดงานประเพณีตางๆ โครงการจัดการขยะแบบครบวงจร และโครงการปองกันฝายพลเรือน เปนตน (4) การรวมติดตามประเมินผล ข้ันตอนการรวมติดตามประเมินผล สามารถเห็นไดชัดเจนไดจากในการจัดซ้ือจัดจางท่ีเทศบาลเมืองทาขามเปดใหประชาชนเขามามีสวนรวมกับเทศบาลอยางชัดเจน กลาวคือ นอกจากประชาชนเขารวมเปนกรรมการแลว เทศบาลยังไดสงแบบแปลนของโครงการที่จะดําเนินการไปยังชุมชน เพื่อใหชุมชนชวยกันติดตามผล กํากับดูแลวาผูวาจางดําเนินการตามแบบแปลนและเปนไปตามแผนท่ีวางไวหรือไม สวนโครงการท่ีไมไดมีการดําเนินการในข้ันตอนของการกอสรางหรือการจัดซ้ือจัดจาง เชน กิจกรรมอบรมอาสาสมัครตางๆ (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) การเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามีสวนรวมกับเทศบาล นั้นไมใชมีเพียงการเปดใหประชาชนไดรวมทําแผนพัฒนาเทศบาลเทานั้น กิจกรรมตางๆท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการ เทศบาลเมืองทาขามไดเชิญชวนประชาชนใหเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางๆดวยเชนกัน ซ่ึงจากการที่ไดมีโอกาสเขารวมในกิจกรรมตางๆที่ทางเทศบาลเมืองทาขามจัดข้ึนนั้น ผูวิจัยพบวาประชาชนใหความสนใจเขารวมกิจกรรมตางๆเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปนกิจกรรมออกหนวยสาธารณสุข กิจกรรมรณรงคการกําจัดลูกน้ํายุงลาย กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน กิจกรรมงานวันเด็ก กิจกรรมเทศบาลพบประชาชนในชุมชนตางๆ ฯลฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับงานประเพณี งานร่ืนเริงตางๆ พบวาประชาชนใหความสนใจเขารวมเปนจํานวนมาก โดยในการเชิญชวนประชาชนใหเขารวมกิจกรรมตางๆนั้น ทางเทศบาลเมืองทาขามจะใชชองทางตางๆ ซ่ึงชองทางที่สําคัญท่ีสุดในการรับรูขาวสารของเทศบาลคือ คณะกรรมการชุมชน ซ่ึงทําหนาท่ีเปนตัวกลางเช่ือมโยงท่ีสําคัญ ในการประชาสัมพันธขอความรวมมือจากประชาชนในชุมชนใหเขามามีสวนรวมในโครงการหรือกิจกรรมที่จัดข้ึน (ธงชัย วิชัยดิษฐ (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) ขาราชการระดับบริหารไดใหความคิดเห็นตอเร่ืองนี้วา การใหประชาชนไดมีโอกาสเขารวมทําแผนพัฒนาเทศบาลเมืองทาขามเปนจุดเร่ิมตนของการสรางความสัมพันธท่ีดี

Page 125: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

115 

 

และความใกลชิดระหวางเทศบาลเมืองทาขามกับประชาชนในพ้ืนท่ี เพราะการไดมาซ่ึงแผนพัฒนาเทศบาลนั้นตองใชเวลาในการดําเนินการจัดทํา เจาหนาท่ีของเทศบาลตองลงพื้นท่ีอยางสม่ําเสมอเพื่อทําความเขาใจกับประชาชน และส่ิงท่ีสําคัญของแผนพัฒนาเทศบาลนั้นคือ กรอบและแนวทางในการพัฒนาและบริหารงานเทศบาลตองตอบสนองความตองการของประชาชนใหมีความเปนอยูท่ีดี มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ทําใหการพัฒนาและบริหารเทศบาลเปนไดอยางงายและสะดวกมากข้ึน (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) นอกจากนี้ผูอํานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมไดแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมวา การที่ผูบริหารเทศบาลเมืองทาขามไดลงพื้นท่ี เชิญชวน และ กระตุนใหประชาชนเขารวมโครงการหรือกิจกรรมตางๆจะยิ่งสงผลใหประชาชนเขารวมโครงการหรือกิจกรรมเพ่ิมมากข้ึน นอกเหนือจากการลงพื้นท่ีพบปะกับประชาชนของผูบริหารเทศบาลเปนประจํา พรอมกับการออกหนวยบริการสาธารณสุขใหแกประชาชนของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมท่ีดําเนินการทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี (ตามความเหมาะสม) (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) 2) ความรับผิดชอบ ในดานความรับผิดชอบนั้น ในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามนั้น นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามกลาววา การทํางานของเทศบาลเมืองทาขามนั้นเปนการทํางานท่ีอยูในกรอบภาระอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบของเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงเปนไปตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2542 (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) นอกจากนี้ ในการดําเนินงานโครงการตางๆทางเทศบาลเมืองทาขามไดมีการทําแผนปฏิบัติการจัดซ้ือจัดจาง และประกาศใหประชาชนรับทราบผานทางชองทางตางๆ โดยมีการระบุรายละเอียดในการดําเนินโครงการไวในแผน เชน ลักษณะการดําเนินงาน พื้นท่ี ขอบขายของการดําเนินงาน วงเงินงบประมาณท่ีใชในการดําเนินการ ลําดับโครงการตามแผนการจัดการ กําหนดการสงประกาศ กําหนดวันยื่นซองประกวดราคา กําหนดวันทําสัญญา กําหนดวันสงมอบงาน และกําหนดการเบิกจายงบประมาณ เปนตน นอกจากนั้น ในพื้นท่ีดําเนินโครงการจะมีการติดปายประกาศของเทศบาล แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทของส่ิงกอสราง ปริมาณงาน ผูรับจาง ระยะเวลาเร่ิมตนและส้ินสุดโครงการ วงเงินงบประมาณท่ีใชในการดําเนินการ วงเงินนามท่ีรับสัญญา รายช่ือนายชางผูควบคุมงาน และรายช่ือคณะกรรมการการตรวจการจางงาน เพื่อเปนการประกาศใหประชาชนในพ้ืนท่ีโครงการไดรับทราบ ท้ังยังมีการติดตามประกาศงบแสดงฐานะการเงินเม่ือส้ินสุดปงบประมาณไวท่ีบอรดหนาท่ีทําการเทศบาล และในเว็บไซตของเทศบาลอีก

Page 126: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

116 

 

ดวย เพื่อใหประชาชนสามารถตรวจสอบหลักฐานการเบิกจายเงินตามงบประมาณรายจายประจําปไวอีกดวย ในรูปแบบที่เปนทางการน้ัน ทางเทศบาลเมืองทาขามจัดวางกลไกหรือเคร่ืองมือในการติดตามประเมินผล โดยแตงต้ังผูแทนจากองคกรอ่ืนๆเขามามีสวนรวมในการติดตามประเมินผลความสําเร็จของกิจกรรมโครงการ ดังนี้ 1) แตงต้ังคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม ตามคําส่ังเทศบาลที่ 768/3649 ลงวันท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ประกอบดวย นักวิชาการจากสถาบันการศึกษา ผูแทนประชาคม สมาชิกสภาเทศบาล หัวหนาสวนราชการจากหนวยงานอ่ืน และพนักงานเทศบาล ทําหนาท่ีกําหนดแนวทาง วิธีการดําเนินงาน รายงานผลการติดตามและประเมินผล โดยทําการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของเทศบาลอยางนอยปละ 1 คร้ัง 2) แตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ตามคําส่ังของเทศบาลท่ี 403/2550 ลงวันท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ประกอบดวย ผูอํานวยการกอง ผูแทนชุมชน และพนักงานเทศบาล ทําหนาท่ีจัดทําแบบสอบถาม จัดสง เก็บรวบรวม รายงานผลการประเมินพรอมขอเสนอแนะ และประกาศใหประชาชนทราบ ดวยส่ือของเทศบาล เชนปายประกาศชุมชน วารสารเทศบาล และเว็บไซตของเทศบาล เปนตน (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) เทศบาลเมืองทาขามใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือสอบถามความเห็น ความพึงพอใจของประชาชน เกี่ยวกับโครงการท่ีเทศบาลไดดําเนินการเชน โครงการกอสราง ซ่ึงจะมีขอมูล ช่ือโครงการ พื้นท่ีชุมชน วัน เวลา สถานท่ี ขอมูลของผูตอบคําถามเกี่ยวกับโครงการ เชน เห็นดวยหรือไม ระดับความพึงพอใจ ปญหาท่ีไดรับจากการจัดทําโครงการ การมีสวนรวม การรับรูขอมูล และขอเสนอแนะอ่ืนๆ โดยทําการสํารวจในชวงระหวางดําเนินโครงการและหลังเสร็จส้ินโครงการ ท้ังนี้ไดมีการพัฒนากลไกในการดําเนินการแกปญหาตามท่ีรองเรียนไดอยางรวดเร็ว และเปนระบบที่ชัดเจน โดยเทศบาลมีชองทางการรับขอรองเรียน ดังนี้ 1) ทางจดหมายถึงเทศบาลเมืองทาขามโดยตรง ในการดําเนินการขอรองเรียนนี้เทศบาลจะแตงต้ังเจาหนาท่ีสําหรับเร่ืองรองเรียน โดยมีการควบคุมการรับหนังสือรองเรียน มีการติดตามและรายงานผลการดําเนินการใหทราบ 2) ทางเว็บไซตเทศบาลเมืองทาขาม www.thakamcity.go.th โดยเทศบาลไดเปดชองทางใหประชาชนไดมีการรองเรียนทางเว็บไซตของเทศบาลเมืองทาขาม และเม่ือไดขอ

Page 127: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

117 

 

รองเรียนแลว ผูบริหาร ผูอํานวยการกอง/เจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของจะรีบดําเนินการและตอบขอรองเรียนใหประชาชนไดรับทราบทันที 3) ทางสมาชิกสภาเทศบาล ในการประชุมสภาเทศบาล ซ่ึงผูบริหาร/ผูอํานวยการกองท่ีเกี่ยวของ จะตองนําขอรองเรียนแจงใหสมาชิกสภาเทศบาลทราบในการประชุมสภา และหากขอรองเรียนหรือรองขอใหแกปญหาใดท่ียังไมไดดําเนินการในการรองเรียนคร้ังนั้น ก็จะรับขอรองเรียนไปรีบดําเนินการ และตอบในท่ีประชุมสภาเทศบาลในคร้ังตอไป 4) ทางแบบสอบถามท่ีกองคลังแจก และใหสงกลับในซองบริการธุรกิจตอบรับ หากประชาชนดําเนินการแลวสามารถสงกลับมาใหเทศบาลโดยไมตองติดอากรแสตมป เพื่อบันทึกเปนขอมูลตอไป ความรับผิดชอบตองานในหนาท่ีของเทศบาลนั้น ไมเพียงแตการดําเนินงานตามหนาท่ีของเทศบาล แตตองเปนการทํางาน และอํานวยความสะดวกใหแกประชาชนอีกดวย (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) เทศบาลเมืองทาขามไดเปดใหบริการเสริมใหแกประชาชน เชน งานทะเบียนราษฎร การจัดเก็บภาษี การปลูกสรางอาคาร ตามประกาศฉบับลงวันท่ี 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 เร่ืองแนวทางปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน และไดมีการแตงต้ังคณะทํางานปรับปรุงข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ท้ังนี้เพื่อใหการบริการรวดเร็วยิ่งข้ึน ตามประกาศ เร่ืองการลดข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อใหบริการประชาชนตามประกาศฉบับลงวันท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2546 เชน การยายท่ีอยูเดิมใชเวลา 20 นาที ไดปรับลดลงเหลือ 15 นาที การใหบริการประชาชนนอกเวลาราชการ โดยเทศบาลไดจัดใหมีการบริการนอกเวลาราชการ เชนงานทะเบียนราษฎรและ กองคลัง ไดบริการประชาชนในชวงพักกลางวัน และวันเสาร และกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมใหบริการดานการจัดเก็บคาธรรมเนียมตางๆในวันเสาร  และการจัดต้ังศูนยบริการรวมแบบเบ็ดเสร็จ ตามคําส่ังท่ี 350/2547 ลงวันท่ี 28 กันยายน พ.ศ.2547 ไดจัดต้ังศูนยฯ เพื่อบริการประชาชนในดานการขออนุญาตสรางบาน การขอเลขท่ีบาน การอนุญาตขอใชไฟฟา การขออนุญาตใชประปา และการขอเลขหมายโทรศัพท เปนการบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ สํานักงานเทศบาลเมืองทาขาม ต้ังแตวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547  เปนตนมา (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) การทํางานในหนาท่ีรับผิดชอบโดยไมมีขอรองเรียนจากประชาชนนั้น ไมไดหมายความวาเทศบาลไดทําหนาท่ีรับผิดชอบเรียบรอยแลว แตหมายถึงรูปแบบการทํางานของเทศบาลที่เขาถึงประชาชน มีความเปนกันเอง เอ้ือประโยชนตอประชาชน ประชาชนสามารถเดินเขามาติดตองานกับเทศบาลไดอยางเปดเผย ไมมีขอกังวลใดๆ และพรอมท่ีจะใหขอมูลขาวสาร

Page 128: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

118 

 

การแสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนในการพัฒนาท้ังของประชาชนเอง และสวนร วมให เทศบาลได รับ รู รับทราบนํ าไปสู การพัฒนา เทศบาล เ มืองท าข ามตอไป (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน ดานการสนองตอบตอความตองการของประชาชนนั้น กลาวไดวาการดําเนินงานของเทศบาลเมืองทาขาม สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนในพ้ืนท่ีภายใตการบริหารจัดการงบประมาณท่ีมีอยูอยางจํากัด กลาวคือ เทศบาลเมืองทาขามมีงบประมาณคอนขางจํากัด ทําใหไมสามารถดําเนินการตางๆเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนในพื้นท่ีไดอยางครบถวน แตก็ไดพยายามใหครอบคลุมประชาชนทุกระดับภายในเขตเทศบาลเมือง ทาขาม (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552)  ท้ังนี้เทศบาลไดมีการประเมินความพึงพอใจในของประชาชนในการใหบริการของทองถ่ิน เชน งานดานการทะเบียนราษฎร งานดานการคลัง ดานการสาธารณสุข เปนตน การสรางความพึงพอใจใหกับผูรับบริการ/ประชาชนเปนส่ิงสําคัญยิ่งท่ีเทศบาลตระหนักและเห็นความสําคัญ วิธีท่ีจะรับทราบความพึงพอใจของผูรับบริการไดนั้น การประเมินผลงานในระบบเปดเปนส่ิงสําคัญยิ่งท่ีจะทําใหสามารถรับทราบขอมูลท่ีแทจริงได ซ่ึงเปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2548 ท่ีกําหนดใหผูบริหารรายงานผลการประเมินการดําเนินงานตามแผนพัฒนา ตลอดจนความพึงพอใจของประชาชนใหสภาเทศบาลทราบ ซ่ึงในป พ.ศ. 2550 เทศบาลเมืองทาขามไดมอบหมายใหงานวิเคราะหนโยบายและแผน กองวิชาการและแผนงาน สํารวจความคิดเห็นของประชาชน จํานวน 22 ชุมชน ปรากฏผลดังนี้ (1) ภาพรวมความพึงพอใจของประชาชนตอการพัฒนาตามนโยบายผูบริหารในระดับ -มากท่ีสุด 17.10% -มาก 39.90% -ปานกลาง 37.82% -นอย 5.18% -นอยท่ีสุด 0%

Page 129: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

119 

 

(2) ภาพรวมความพึงพอใจตอผลการดําเนินงาน 9 ตัวช้ีวัด ท่ีกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ินกําหนดอยูในระดับ -พอใจมาก 16.46% -พอใจ 78.53% -ไมพอใจ 5.01% (3) ภาพรวมความพึงพอใจตอผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร 6 ดาน ไดแก 1) ดานโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคม มีความพึงพอใจ 7 คะแนน 2) ดานการทองเท่ียวและศิลปวัฒนธรรม มีความพึงพอใจ 8 คะแนน 3) ดานสังคม การศึกษาและกีฬา มีความพึงพอใจ 8 คะแนน 4) ดานทรัพยากรและส่ิงแวดลอม มีความพึงพอใจ 7 คะแนน 5) ดานเศรษฐกิจ มีความพึงพอใจ 7 คะแนน 6) ดานการบริหาร มีความพึงพอใจ 8 คะแนน สรุปความพึงพอใจการดําเนินนโยบาย 6 ดานอยูในระดับ 7-8 คะแนน (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) เทศบาลไดมีการประเมินความพึงพอใจของประชาชนในการใหบริการของทองถ่ิน เชน งานดานการทะเบียนราษฎร งานดานการคลัง และงานดานการสาธารณสุข เปนตน นอกจากนี้ เทศบาลเมืองทาขามไดมีการจัดบริการสาธารณะ และสวัสดิการสังคมแกผูดอยโอกาส โดยการสนับสนุนและสงเสริมกิจกรรมเกี่ยวกับคนพิการ คนกลุมนอย ผูสูงอายุ เด็ก เยาวชน และอ่ืนๆ (ธงชัย วิชัยดิษฐ (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552) ผานการทําโครงการ/กิจกรรมตางๆ เชน โครงการนันทนาการและสงเคราะหผูสูงอายุ ไดจัดกิจกรรมนันทนาการและสงเคราะหผู สูงอายุเพื่อใหผูสูงอายุไดรวมกิจกรรมทางศาสนา การตรวจสุขภาพ กิจกรรมนันทนาการ การจัดเล้ียงอาหาร มอบส่ิงของท่ีจําเปนในการดํารงชีวิต มีกลุมองคกร และประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรม โครงการเบี้ยยังชีพคนพิการ โดยใหชุมชนสํารวจผูพิการที่มีฐานะยากจน เทศบาลไดเขาไปบริการการตรวจสุขภาพ การข้ึนทะเบียนเปนผูพิการ และจัดเบ้ียยังชีพสงเคราะหใหแกผูพิการใหสามารถดํารงชีวิต และโครงการสงเคราะหและชวยเหลือผูดอยโอกาสทางสังคม เทศบาลไดดําเนินการใหการสงเคราะหและชวยเหลือประชาชนครอบครัวท่ีมีฐานะยากจน โดยใหการชวยเหลือดานการศึกษา การประกอบอาชีพ และท่ีอยูอาศัย เปนตน (กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองทาขาม, 2551)

Page 130: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

120 

 

4) ความโปรงใส เทศบาลเมืองทาขามมีความตองการที่จะทําใหเทศบาลเมืองทาขามเปนเมืองแหงความโปรงใสแหงการรวมแรงรวมใจ ดังคําขวัญท่ีวา “รวมแรง รวมใจ สรางความโปรงใสใหชาวทาขาม” (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) ความโปรงใสในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามนั้น กลาวไดวา เทศบาลเมืองทาขามมีความโปรงใสในการบริหารจัดการคอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งในการบริหารงานของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี ซ่ึงมีนโยบายท่ีเนนการมีสวนรวมของประชาชนในพ้ืนท่ีเปนอยางมาก (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) จากขอมูลเกี่ยวกับข้ันตอนกระบวนการบริหารจัดการของเทศบาลเมืองทาขาม ทําใหเห็นวาการดําเนินงานในโครงการหรือกิจกรรมตางๆของเทศบาลเมืองทาขาม สวนใหญนั้นก็มาจากแผนชุมชน หรืออยางนอยก็ไดผานการรับรูของประชาชนในทุกข้ันตอนของการดําเนินงาน (สัมพันธ สิทธิสงคราม (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) รวมท้ังการเปดเผย เผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนโยบาย ผลการดําเนินงานการจัดซ้ือ การจัดจางของเทศบาลเมืองทาขามใหประชาชน และผูสนใจทั่วไปไดรับทราบ เทศบาลเมืองทาขามไดเปดชองทางการรับทราบขอมูลท่ีหลากหลาย ส่ือและชองทางการรับรูขาวสารของเทศบาลท่ีเปดใหประชาชนไดรับทราบ และเขาถึงขอมูล มีดังนี้ (1) วารสาร จดหมายขาว เทศบาลเมืองทาขามมีการประชาสัมพันธขอมูลการจัดซ้ือจัดจาง และขาวสารประชาสัมพันธกิจกรรมของเทศบาล ผานชองทางดังกลาวในรูปแบบการจัดทําเอกสารโฆษณาเพ่ือเผยแพรขาวสารการดําเนินงานของเทศบาล การจัดทําวารสารเทศบาลเมืองทาขาม เผยแพรแจกจายใหกับประชาชนในแตละชุมชนผานคณะกรรมการชุมชน เพื่อรายงานความเคล่ือนไหวของเทศบาลใหประชาชนไดรับทราบทุกๆเดือน (2) ระบบการกระจายเสียงชุมชน วัตถุประสงคของระบบการกระจายเสียงชุมชนเพื่อเปดชองทางการรับรูขาวสารตางๆของเทศบาล และขาวสารอื่นๆท่ีเปนประโยชนตอประชาชนในชุมชน เผยแพรขอมูลขาวสารผานระบบกระจายเสียงชุมชน (เสียงตามสาย) ทุกวันจันทร–ศุกร ต้ังแตเวลา 06.00–08.00 น.โดยการถายทอดสัญญาณเสียงทางสถานีวิทยุชุมชนคนดันเอง 90.5 Mhz.ไปยังสถานีแมของระบบการกระจายเสียงชุมชน ณ สํานักงานเทศบาลเมืองทาขาม ไปยังลูกขายกระจายเสียง 30 จุดใน 22 ชุมชน ซ่ึงเปนการแจงขาวสารประจําวัน อาทิ ขาวสารการจัดกิจกรรมตางๆของเทศบาล การเชิญชวนรวมรับฟงการประชุมสภาเทศบาล การแจงขาวสาร การสงงานจางของผูรับจาง และการตรวจ

Page 131: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

121 

 

รับงานจางทางวิทยุชุมชน มีวัตถุประสงคเพื่อประชาชนไดทราบความกาวหนาของโครงการ/งานกอสราง ปองกันการทุจริต คอรรัปช่ัน สรางวัฒนธรรมการมีสวนรวมของประชาชน เทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการระบบกระจายเสียงชุมชนข้ึนคร้ังแรกในป พ.ศ.2544 โดยแนวความคิดเกิดจากนายทศพล งามโรจน รองนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) (3) ปายประชาสัมพันธ เทศบาลเมืองทาขามใหความสําคัญกับการรับรูขาวสารของชุมชน จึงมีการติดต้ังปายประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของเทศบาลไวตามจุดตางๆ ในชุมชน และขยายจนท่ัวท้ังพื้นท่ีของเทศบาลเมืองทาขาม สามารถแบงออกเปน 3 ประเภทไดแก 1) ปายขนาดใหญ ติดต้ังบริเวณสามแยกพุนพิน และริมทางรถไฟเพื่อประชาสัมพันธงานสําคัญๆของเทศบาล 2) ปายประจําสํานักงาน ปดประกาศของทางราชการ อาทิคําส่ังประกาศท้ังของเทศบาลและของหนวยราชการอ่ืนๆ รวมถึงขาวสารเกี่ยวกับการสอบประกวดราคา 3) ปายประชาสัมพันธ ซ่ึงติดต้ังตามศูนยกลางของชุมชนในเขตเทศบาล 20 แหง เพื่อใหประชาชนไดเขาถึงขอมูลขาวสารเทศบาลไดท่ัวถึง ไมวาจะเปนประกาศของเทศบาล ขาวสารการสอบราคา ประกวดราคา เปนตน เพื่อเปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการรับรู และเขารวมในโครงการหรือกิจกรรมท่ีทางเทศบาลไดจัดข้ึน รวมถึงเปนการประชาสัมพันธเทศบาลเมืองทาขามใหบุคคลท่ัวไปท่ีเดินทางเขามาในเมืองทาขามไดรับทราบ เชน ปายรณรงคลดการท้ิงขยะ ปายประกาศการจัดซ้ือจัดจาง ปายแจงขอมูลขาวสารการบริการของเทศบาล และปายประชาสัมพันธผลงานของเทศบาล เปนตน (4) หนังสือรายงานกิจการ เทศบาลไดจัดทําหนังสือรายงานกิจกรรมของเทศบาล ปละ 1 คร้ัง เพื่อแสดงขอมูลพื้นฐาน จํานวนประชากร ผูบริหาร สมาชิกสภาเทศบาล เจาหนาท่ี เทศบาล คณะกรรมการชุมชนในแตละชุมชน รวมท้ังการรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการหรือกิจกรรมตางๆ การใชจายงบประมาณ การจัดซ้ือจัดจาง ความเคล่ือนไหวตางๆของเทศบาลเมือง ทาขามใหประชาชนรับทราบ และไดมีการแจกจายใหแกชุมชนทุกชุมชน และหนวยงานตางๆ

Page 132: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

122 

 

(5) อินเทอรเน็ท เทศบาลเมืองทาขามไดเปดเว็บไซตช่ือ www.thakamcity.go.th ต้ังแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545  เปนตนมา เผยแพรขอมูลขาวสารสําคัญๆของเทศบาลใหประชาชนไดเขามาสืบคน เชน แผนงาน/โครงการ ขอมูลชุมชน รายรับ/รายจาย ขาวสารการประกวดราคา/สอบราคา โดยมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันตลอดเวลารวมท้ังเปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานทางกระดานเสวนา รวมท้ังเปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนทางกระดานเสวนา และท่ีอีเมล [email protected] ท้ังนี้นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีจะเปนผูเปดดูกระทูท่ีประชาชนเขียนดวยตนเอง เพื่อตอบกระทูพรอมท้ังดําเนินการแจงไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพ่ือไดดําเนินการใหแกประชาชนตอไป (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) (6) หองขอมูลขาวสาร-ความโปรงใส ตรวจสอบได ศูนยขอมูลขาวสารของเทศบาลเกิดข้ึนจากเจตนารมณของรัฐธรรมนูญในเร่ืองสิทธิรับรูขอมูลขาวสารของประชาชน พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และระเบียบท่ีเกี่ยวของเพ่ือใหประชาชนสามารถคนหา ศึกษา โดยต้ังอยูท่ีช้ัน 2 ของอาคารสํานักงานเทศบาล และไดออกระเบียบวาดวยการจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการ ไวใหประชาชนเขาตรวจดู พ.ศ. 2546ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม 120 ตอนท่ี 319 ลงวันท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2546 ทําใหเกิดประโยชนตอประชาชน พอสรุปไดดังนี้ 1) ประชาชนใชสิทธิในการเขาตรวจดูขอมูลขาวสารตาง ๆ ของเทศบาลไดอยางกวางขวาง สามารถนําขอมูลขาวสารมาใชในกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ท่ีจะใหคําแนะนําตาง ๆ แกเทศบาลท้ังในเร่ืองการกําหนดนโยบายและการตรวจสอบการใชจายงบประมาณ และการใชอํานาจรัฐในดานตางๆ 2) ประชาชนสามารถใช สิทธิในการขอขอมูลขาวสาร ท่ีนอกเหนือจากสิทธิตรวจดูขอมูลในหองขอมูลขาวสารที่จัดไวไดอีก 3) ประชาชนสามารถใชสิทธิรองเรียนตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการไดในกรณีท่ีพบวา เทศบาลไมจัดเตรียมขอมูลขาวสารไวใหตรวจดู หรือจัดไวไมครบ หรือกรณีใชสิทธิยื่นคําขอ แลวไมไดรับความสะดวก ลาชา หรือเทศบาลปฏิเสธไมใหขอมูลตามขอ (7) โทรศัพทสายดวน เทศบาลเมืองทาขามมีการติดต้ังโทรศัพทสายดวน เบอร 1559 เพื่อใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแจงเร่ืองรองเรียนรองทุกข และปญหาเรงดวนท่ีเกิดข้ึนภายใน

Page 133: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

123 

 

ชุมชนใหเทศบาลไดรับทราบและเขาไปแกไขไดทันทวงที โดยโทรศัพทสายดวน 1559 ของเทศบาล ประชาชนสามารถโทรแจงไดตลอด 24 ช่ัวโมง นอกจากนี้ประชาชนยังสามารถรองเรียนมายังสายตรงของงานประชาสัมพันธกองวิชาการและแผนงานไดท่ีเบอร 0-7731-1074 หรือโทรเขาสายตรงเบอรของหนวยงานที่รับผิดชอบไดทุกหนวยงาน ซ่ึงกองวิชาการและแผนงานไดแจกจายเบอรโทรศัพทของเทศบาล และทุกๆกอง ใหกับทุกชุมชน เพื่อใหประชาชนสามารถติดตอไดอยางสะดวก (8) หนวยรับเร่ืองรองเรียนทุจริต ภายในเทศบาลเมืองทาขามมีการจัดต้ังหนวยรับรองเรียนเร่ืองทุจริตในการทํางานของเทศบาล หรือ ศูนยดํารงธรรม โดยเทศบาลไดติดปายประกาศใหประชาชนสามารถเขามารองเรียนเร่ืองทุจริตไดท่ีหนาหองกองคลัง หรือโทรแจงเบอร 1567 ไดทุกวันต้ังแตเวลา 09.00-17.00น. และหากประชาชนไมสะดวกในการเขามาแจงเร่ืองรองเรียนดวยตัวเองประชาชนสามารถรองเรียนผานประธานชุมชนในชุมชนท่ีเปนจุดต้ังโครงการรวมตรวจสอบการทุจริตในการทํางานของเทศบาล ท้ังนี้เนื่องจากเทศบาลไดมีการจัดต้ังใหสมาชิกในชุมชนเขามาทําหนาท่ีในการตรวจสอบการทํางานของเทศบาลในทุกข้ันตอน โดยสมาชิกในชุมชนท่ีเขามาทําหนาท่ีตรวจสอบการทํางานของเทศบาล นั้นมาจากการคัดเลือกของชุมชนท้ังหมด (9) ผูบริหารเทศบาล ผูบริหารเทศบาลเมืองทาขาม เปนชองทางหนึ่งของการส่ือสารของประชาชนในพื้นท่ี ต้ังแตนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง ทาขาม มีความสม่ําเสมอในการพบปะประชาชน ใหความเปนกันเองและใกลชิดกับประชาชนมาโดยตลอดโดยการจัดใหหองทํางานผูบริหารเทศบาลเปนหองแรกของอาคารสํานักงานเทศบาลเมืองทาขามท่ีประชาชนสามารถเห็นไดอยางชัดเจน และท้ังนี้ผูบริหารเทศบาลไดสรางความเปนกันเองตอประชาชนในทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนการเปดรับประชาชนท่ีเขามาพบ และการลงพ้ืนท่ีชุมชนอยางสมํ่าเสมอ เพื่อตองการใกลชิดกับประชาชนใหมากท่ีสุด จากการใหความเปนกันเองกับประชาชนสงผลใหประชาชนมีความเช่ือใจ ความเคารพ นับถือในตัวนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เม่ือมีเร่ืองท่ีตองการแสดงความคิดเห็น หรือปญหาที่ตองการใหเทศบาลหรือหนวยงานอ่ืนชวยเหลือก็จะแจงใหนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี ทราบดวยตนเอง นอกจากนี้รองนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขามก็เปนกลุมบุคคลท่ีประชาชนใหความเคารพ นับถือเชนเดียวกัน เม่ือไมสามารถแจงกับนายกเทศมนตรีไดโดยตรง ก็แจงไวกับรองนายกเทศมนตรี

Page 134: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

124 

 

(10) เจาหนาท่ีเทศบาล เทศบาลเมืองทาขามใหความสําคัญตอทุกความคิดเห็น ความตองการ และขอรองเรียนของประชาชน ประชาชนสามารถรองขอ หรือบอกความตองการไดตลอดเวลา ดวยเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามสวนใหญเปนคนเมืองทาขามและเปนผูท่ีใหบริการประชาชนโดยตรงจึงมีความใกลชิดกับประชาชน และประชาชนสามารถมาติดตอไดสะดวก เนื่องจากในแตละกองเจาหนาท่ีทุกคนสามารถรับเร่ืองตางๆที่ประชาชนเขามาติดตอ ชวยประสานงาน อํานวยความสะดวก และบริการประชาชน การที่เจาหนาท่ีของเทศบาลเมืองทาขามเปนคนในทองถ่ินและอาศัยอยูในเมืองทาขาม บางคร้ังประชาชนไปแจงความตองการที่บานเนื่องจากมีความสะดวก ไมตองเดินทางมาท่ีสํานักงานเทศบาล และการแกไขปญหาก็ดําเนินการเหมือนกัน การแสดงความโปรงใสไมเพียงแตการมีส่ือ และชองทางท่ีหลากหลายใหประชาชนไดเขามาดูขอมูล ขาวสารตางๆของเทศบาลเทานั้น การแสดงความโปรงใสตองหมายความถึงการมีการปองกันและการแกไขปญหาการทุจริตคอรัปช่ันดวย ถือวาเปนส่ิงสําคัญ และจําเปนมากในสวนราชการ โดยเฉพาะอยางยิ่งหนวยงานคลังเปนหนวยงานท่ีเส่ียงตอการกระทําดังกลาวมาก ซ่ึงเร่ืองดังกลาวสอดคลองกับแนวคิดของนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขามไดหามาตรการในการปองกันและแกไขปญหาการทุจริตคอรัปช่ัน เชนการใหประชาชนมีสวนรวมในข้ันตอนตางๆของการจัดซ้ือ จัดจาง ต้ังแตป พ.ศ.2544 เปนตนมา (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) ท้ังนี้เทศบาลเมืองทาขามไดมีการแตงต้ังประชาชนเขามารวมเปนคณะกรรมการเปดซองสอบราคา และประกวดราคาผานทางประชาคม โดยมีหนังสือประสานไปยังคณะกรรมการชุมชนตางๆ เพื่อคัดเลือกและเสนอชื่อผูแทนชุมชนท่ีมีความรูความสามารถในงานจางของโครงการตางๆ เ ม่ือคณะกรรมการชุมชนแจงให เทศบาลทราบ เทศบาลก็จะออกคําส่ังแตงต้ังเปนคณะกรรมการจัดซ้ือจัดจาง โดยมีผูแทนชุมชนรวมเปนคณะกรรมการ จํานวน 2 คน (กองคลัง เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) การแสดงความโปรงใสในการทํางานของเทศบาลใหประชาชนไดรับทราบและยอมรับนั้น ตองใชระยะเวลาในการแสดงความจริงใจ และความโปรงใสที่เทศบาลมีตอประชาชน ท้ังนี้หัวหนาสํานักปลัดเทศบาล ไดใหความเห็นวาผูบริหารเทศบาลเมืองทาขามใหความสําคัญในเร่ืองของความโปรงใสในการทํางานของเทศบาลมาโดยตลอด โดยจะเห็นไดจากการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของเทศบาลทุกข้ันตอน เพื่อใหประชาชนไดมีโอกาสเห็นและรวมทํางาน พรอมท้ังยังสามารถแสดงความเปนเจาของเทศบาลไดอยางเต็มท่ี การแสดงความโปรงใสผานการเปดชองทาง และส่ือท่ีมีความหลากหลายเปนอีก

Page 135: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

125 

 

รูปแบบหนึ่งท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการ เพื่อใหประชาชนไดมีโอกาสศึกษา และรับรูขอมูลตางๆของเทศบาลไดอยางงายและสะดวก ตรงกับความตองการของประชาชน และอยากท่ีจะเขามามามีสวนรวมกับเทศบาล (จันทรพร สกุลพันธ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) จากการศึกษา ผูวิจัยพบวาประชาชนสวนใหญมีความสัมพันธใกลชิดกับผูบริหารเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล และเจาหนาท่ีเทศบาล มีท้ังรูปแบบในลักษณะเครือญาติ พรรคพวก หรือพี่นอง และมักจะชอบใชรูปแบบความสัมพันธท่ีไมเปนทางการ เชนการพูดคุย พบปะ พูดคุย สอบถามขอมูลกันอยางตรงไปตรงมา มากกวาการใชรูปแบบท่ีเปนทางการ เชน การทําหนังสือหรือเอกสารตางๆ ดวยเหตุนี้ทําใหชองทางท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดในการใหขอมูลแกประชาชนในพ้ืนท่ีผานทางการประชุม หรือการบอกกลาวผานทางสมาชิกสภาเทศบาล เจาหนาท่ีเทศบาล หรือผูนําชุมชนในแตละชุมชน ซ่ึงสอดคลองกับความคิดเห็นของปลัดเทศบาลที่วา เทศบาลเปดชองทางใหประชาชนรับทราบขอมูลขาวสารหลากหลายชองทาง และพบวาชองทางท่ีดีท่ีสุดคือ “การประชุม” เพราะเปนชองทางท่ีสามารถโตตอบ แสดงความคิดเห็น และสามารถตอบขอซักถามไดทันที และในท่ีประชุมประชาชนท่ีเขารวมประชุมกลาท่ีจะแสดงความคิดเห็น ความตองการ และปญหาตางๆท่ีตองการใหเทศบาลชวยเหลือ (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) และรองนายกเทศมนตรีของเทศบาลเมืองทาขามไดใหความเห็นตอเร่ืองนี้เพิ่มเติมวา เทศบาลพรอมท่ีจะเปดเผยทุกเร่ืองในการทํางานของเทศบาล ไมมีการปดบังประชาชน เปดโอกาสใหประชาชนไดรับรู รับทราบ มีการเปดใหตัวแทนประชาชนเขารวมเปนกรรมการเปดซองประมูลงานเทศบาล เปนกรรมการตรวจรับงานในโครงการตางๆของเทศบาล ท้ังนี้งบประมาณในการดําเนินงานของเทศบาลมีการชี้แจงใหประชาชนไดรับทราบเสมอโดยผานทางส่ือตางๆของเทศบาล (เกษียร ประเสริฐสุข (สัมภาษณ), 20 มกราคม 2550) นอกจากนี้ ในประเด็นความโปรงใสในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามนั้น พบวาเทศบาลมีความโปรงใสในการบริหารจัดการคอนขางสูง จากนโยบายของนายกเทศมนตรีท่ีเนนการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นท่ี จะเห็นไดวาโครงการหรือกิจกรรมตางๆของเทศบาลสวนใหญมาจากความคิดเห็น และความตองการของประชาชน การแสดงความโปรงใสที่เทศบาลเมืองทาขามดําเนินการนั้นสงผลใหเทศบาลเมืองทาขามไมเคยถูกรองเรียนในเร่ืองเกี่ยวกับการทุจริตคอรัปช่ัน (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับการแสดงความคิดเห็นของนายกเทศมนตรีท่ีวาความโปรงใสในการบริหารจัดการของเทศบาลเมืองทาขาม เกิดจากการปฏิบัติตามกฏระเบียบท่ีเครงครัดของผูบริหาร และเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขาม สงผลใหประชาชนมีความเช่ือใจ และไววางใจเขามามีสวนรวมกับเทศบาลเมืองทาขาม

Page 136: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

126 

 

และเลือกผูบริหารชุดเดิมตอเนื่องมาโดยตลอดมาเปนเวลา 10 ป (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาณ), 9 มกราคม 2552) การนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงานเทศบาลเมืองทาขาม ต้ังแตการเขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ต้ังแตป พ.ศ. 2539 เปนตนมานั้น พบวา ส่ิงที่ไดเห็นอยางชัดเจนคือ เทศบาลเมืองทาขามไดรับการยอมรับจากหนวยงานและองคกรตางๆ ผานทางการไดรับรางวัลในการบริหารจัดการเทศบาล และการไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานและองคกรตางๆเปนอยางดี รางวัลในการบริหารจัดการเทศบาลท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดรับมีดังนี้ (1) รางวัลชมเชย การบริหารจัดการแบบธรรมาภิบาล ประจําป พ.ศ. 2546 การประกวดคร้ังแรกของสํานักงานคณะกรรมการกระจายอํานาจสูทองถ่ิน สํานักนายกรัฐมนตรี รวมกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินกระทรวงมหาดไทย เทศบาลเมืองทาขาม ไดรับรางวัลชมเชย ในระดับภาคใต ซ่ึงเปนเทศบาล 1 ใน 6 แหงท่ีไดรับรางวัล เงินรางวัลเปนเงินอุดหนุน 2 ลานบาท นําไปปรับปรุงลานกีฬาเอนกประสงคของชุมชนธีราศรม (2) รางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีความดีเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ป พ.ศ.2547 สถาบันพระปกเกลา ซ่ึงเปนองคกรอิสระ สังกัดรัฐสภา โครงการรางวัลพระปกเกลาสําหรับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ท่ีมีความเปนเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ประจําปพ.ศ. 2547 เทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัลรางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีความดีเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ป พ.ศ. 2547 (3) รางวัลการบริหารจัดการดีเดนประจําป พ.ศ.2548 เทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีการบริหารจัดการดีเดน ประจําป พ.ศ. 2548 ซ่ึงจัดการประกวดโดย กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย ในประเภทเทศบาลขนาดกลาง ไดรับเงินรางวัลเปนเงินอุดหนุน 6 ลานบาท ซ่ึงไดนําไปจัดทําอัฒจรรยสนามกีฬาอําเภอพุนพิน เปนเทศบาลขนาดกลางแหงเดียวในประเทศไทยท่ีไดรับรางวัลดังกลาว โดยมีรางวัลรองลงมาซ่ึงเรียกวารางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีการบริหารจัดการท่ีดี มีเทศบาลขนาดกลางไดรับรางวัล 15 แหง กิจกรรมเดนท่ีดําเนินการจากเงินรางวัลไดแก

Page 137: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

127 

 

1) การสงเสริมการศึกษาของเยาวชนและการเรียนรูของประชาชนในเมืองทุกวัย เชน โครงการรักการอาน และหองสมุดนิทานเด็ก 2) การสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เชนการจัดต้ังกลุมออมทรัพย และสงเสริมใหประชาชนมีเงินลงทุนในการประกอบอาชีพ 3) สงเสริมใหประชาชนมีเงินลงทุนในการประกอบอาชีพ เชนการผลิตน้ําดื่มเพื่อชุมชน และการแพทยแผนไทยและสมุนไพรไทย (4) รางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีความดีเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ป พ.ศ.2548 เทศบาลเมืองทาขามเขารวมในโครงการรางวัลพระปกเกลา สําหรับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ท่ีมีความเปนเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ประจําป พ.ศ. 2548 และไดรับการตัดสินใหไดรับรางวัลเปนเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ผลงานเดนท่ีทําใหไดรับรางวัล ไดแก 1) ดานความโปรงใส เทศบาลเมืองทาขามไดสงเสริมใหประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสาร ท้ังเชิงรุกและเชิงรับดานตางๆ โดยเทศบาลไดจัดใหมีหองขอมูลขาวสาร มีระบบกระจายเสียงชุมชน มีสารเทศบาล มีอินเทอรเน็ท มีปายประชาสัมพันธ ท่ีประชาชนสามารถเขาไปใชบริการ ไดรับทราบถึงแผนการปฏิบัติงานและขอมูลขาวสารของเทศบาล ซ่ึงจะทําใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน พรอมท้ังสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานของเทศบาล 2) การจัดซ้ือจัดจางและการเผยแพรขอมูลดานการเงินการคลัง เทศบาลเมืองทาขามคํานึงถึงความซ่ือสัตย สุจริตในการปฏิบัติงาน จึงมีการแตงต้ังชุมชนเปนคณะกรรมการในการจัดซ้ือจัดจาง โดยใหชุมชนเปนผูคัดเลือก และเสนอตัวแทนเขารวม มีการแจงประธานชุมชนซ่ึงเปนเจาของโครงการพรอมสงสําเนาสัญญาและแบบแปลน เพื่อใชประกอบในการตรวจสอบ มีการสงประกาศสอบราคา ประกวดราคาและขอมูลดานการเงินการคลังเพื่อประชาสัมพันธใหชุมชนทราบทุกรูปแบบ คือ มีการเผยแพรในหองขอมูลขาวสาร ในระบบกระจายเสียงชุมชน สารเทศบาล อินเทอรเน็ท ปายประชาสัมพันธ สงใหสมาชิกสภาเทศบาล และสงสวนราชการ 3) การมีสวนรวม เทศบาลเมืองทาขามเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา รวมตรวจสอบและรวมประเมิน ในการจัดทําแผนชุมชนสามป แผน

Page 138: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

128 

 

ยุทธศาสตรการพัฒนา และแผนพัฒนาสามป โดยจัดเวทีประชาคมใหประชาชนในทองถ่ิน ไดเขามามีสวนรวมในการเสนอปญหาและความตองการในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล 4) การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในเขตเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม ไดมีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการขุดลอกคูคลองท่ีต้ืนเขิน และเก็บผักตบชวาในแมน้ําตาป รวมถึงไดสงเสริมชุมชนท่ีมีกิจกรรมในการจัดการขยะใหมีการดําเนินการอยางจริงจัง (5) รางวัลเปนเทศบาลเมืองนาอยูอยางยั่งยืนดีเดนระดับประเทศ ประจําป พ.ศ. 2548 รางวัลนี้จัดโดย สถาบันส่ิงแวดลอมไทย รวมกับ กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และสมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย โดยแบงประเภทเทศบาลท่ัวประเทศออกเปน กลุมเทศบาลนคร กลุมเทศบาลเมือง และกลุมเทศบาลตําบล ปรากฏวา เทศบาลเมืองทาขาม ไดรับการประเมินใหเปนเทศบาลเมืองนาอยูอยางยั่งยืนดีเดนระดับประเทศ (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) (6) รางวัลพระปกเกลาทองคํา ประจําป พ.ศ. 2549 รางวัลนี้จัดโดยสถาบันพระปกเกลา เปนรางวัลสําหรับองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีความเปนเลิศดานความโปรงใส และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และตองเปนองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีเคยไดรับรางวัลพระปกเกลา 2 คร้ังในระยะเวลา 5 ป ระหวางป พ.ศ. 2544-2548 (กองวิชาการและแผนงานเทศบาลเมืองทาขาม, 2551) (7) รางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมท่ีดี ประจําป พ.ศ. 2550 รางวัลนี้ได รับจากโครงการธรรมาภิบาลดานการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน วัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนความคิดริเร่ิมของทองถ่ิน และเอ้ือตอความสําเร็จในการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ินดานส่ิงแวดลอม (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) การบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามโดยใชหลักการธรรมภิบาลนั้น เปนไปตามวิสัยทัศนของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีตามแผนพัฒนาเทศบาล 5 ป (พ.ศ. 2550-2554)ในการพัฒนาเทศบาลที่วา “เทศบาลเมืองทาขาม เปนเทศบาลที่มีความโปรงใส และประชาชนมีสวนรวมในการบริหาร” (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2551)

Page 139: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

129 

 

การบริหารงานตามหลักการธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม ตามหลักการธรรรมาภิบาล 4 ประเด็นท่ีผูวิจัยไดศึกษาสามารถสรุปไดดังนี้ (ตาราง 8) ตาราง 8 หลักการธรรมาภิบาลในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม

ประเด็น เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชน 1. การมีสวนรวม 1. การทําแผนพัฒนาเทศบาล

2.โครงการ /กิจกรรมตางๆ ไดแก โครงการ /กิจกรรมทั่วไป และสิ่งแวดลอม โดยเปดใหประชาชนมีสวนรวม 4 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การกําหนดปญหา 2) การรวมวางแผน 3) การรวมปฏิบัติตามแผน 4) การรวมติดตามประเมินผล

2. ความรับผิดชอบ 1. เทศบาลเมืองทาขามปฏิบัติตามหนาที่รับผิดชอบ เปนไปตามกฎ ระเบียบของเทศบาล 2. เปดชองทางใหประชาชนไดรองเรียน และติดตามการทํางานของเทศบาลผานชองทาง ดังน้ี 1) แตงต้ังคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลเมืองทาขาม 2) แตงต้ังคณะกรรมการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน 3) จดหมายถึงเทศบาลเมืองทาขามโดยตรง 4) เว็บไซตเทศบาลเมืองทาขาม www.thakamcity.go.th 5) ผานทางสมาชิกสภาเทศบาล 6) แบบสอบถามที่กองคลังแจกและใหสงกลับในซองบริการธุรกิจตอบรับ 3. เทศบาลเมืองทาขามไดอํานวยความสะดวกใหแกประชาชน เปดใหบริการนอกเวลาราชการ เชนงานทะเบียนราษฎรและ กองคลัง ใหบริการประชาชนในชวงพักกลางวัน และวันเสาร กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอมใหบริการดานการจัดเก็บคาธรรมเนียมตางๆในวันเสาร และการจัดต้ังศูนยบริการรวมแบบเบ็ดเสร็จ เพ่ือบริการประชาชนในดานการขออนุญาตสรางบาน การขอเลขที่บาน การอนุญาตขอใชไฟฟา การขออนุญาตใชประปา และการขอเลขหมายโทรศัพท

Page 140: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

130 

 

ตาราง 8 (ตอ)

ประเด็น เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชน 2. ความรับผิดชอบ (ตอ) 4. การลงพื้นที่ชุมชนเปนประจําของผูบริหาร และเจาหนาที่เทศบาลเมือง

ทาขาม 3. การสนองตอบตอความตองการของประชาชน

1. เทศบาลเมืองทาขามไดมีการประเมินความพึงพอใจในของประชาชนในการใหบริการของเทศบาล เชน งานดานการทะเบียนราษฎร งานดานการคลัง และงานดานการสาธารณสุข เปนตน 2. การจัดบริการสาธารณะ และสวัสดิการสังคมแกผูดอยโอกาส โดยการสนับสนุนและสงเสริมกิจกรรมเก่ียวกับคนพิการ คนกลุมนอย ผูสูงอายุ เด็ก เยาวชน และอื่นๆ ผานการทําโครงการ/กิจกรรมตางๆ เชน 1) โครงการนันทนาการและสงเคราะหผูสูงอายุ 2) โครงการเบี้ยยังชีพคนพิการ 3) โครงการสงเคราะห และชวยเหลือผูดอยโอกาสทางสังคม

4. ความโปรงใส 1. เทศบาลเมืองทาขามเปดชองทางการรับทราบขอมูลที่หลากหลาย สื่อและชองทางการรับรูขาวสารของเทศบาล มีดังน้ี 1) วารสาร จดหมายขาว 2) ระบบการกระจายเสียงชุมชน 3) ปายประชาสัมพันธ 4) หนังสือรายงานกิจการ 5) อินเทอรเน็ท 6) หองขอมูลขาวสาร-ความโปรงใส ตรวจสอบได 7) โทรศัพทสายดวน 8) หนวยรับเรื่องรองเรียนทุจริต 9) ผูบริหารเทศบาล 10) เจาหนาที่เทศบาล 2. แตงต้ังประชาชนเขามารวมเปนคณะกรรมการเปดซองสอบราคา และประกวดราคา

ที่มา : ผูวิจัย

(2) ขอมูลเชิงปริมาณ ความคิดเห็นของประชาชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม ผลการวิจัยเชิงปริมาณก่ียวกับความคิดเห็นของกลุมตัวอยางในชุมชน 3 ชุมชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม มีดังนี้

Page 141: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

131 

 

1) ความคิดเห็นของประชาชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม ดังแสดง (ตาราง 9) ตาราง 9 ความคิดเห็นของประชาชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวนในการดําเนินโครงการ/กิจกรรม

(1) ประชาชนมีสวนรวมในการระบุปญหา มี 21

(72.4) 19

(79.2) 32

(61.5) 72

(68.6) ไมมี 2

(6.9) 1

(4.2) 5

(9.6) 8

(7.6) ไมทราบ 1

(3.4) 1

(4.2) 7

(13.5) 9

(8.6)

(2) ประชาชนมีสวนรวมในการปฏิบัติ

มี 20

(69.0) 12

(50.0) 25

(48.1) 57

(54.3)

ไมมี 2

(6.9) 2

(8.3) 6

(11.5) 10

(9.5)

ไมทราบ 4

(13.8) 1

(4.2) 8

(15.4) 13

(12.4)

(3) ประชาชนมีสวนรวมในการรับผลประโยชน มี 12

(41.4) 11

(45.8) 23

(44.2) 46

(43.8) ไมมี 2

(6.9) 4

(16.7) 7

(13.5) 13

(12.4) ไมทราบ 3

(10.3) 2

(8.3) 7

(13.5) 12

(11.4)

Page 142: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

132 

 

ตาราง 9 (ตอ)

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

(4) ประชาชนมีสวนรวมในการประเมินผล มี 20

(69.0) 13

(54.2) 24

(46.2) 57

(54.3) ไมมี 4

(13.8) 3

(12.5) 5

(9.6) 12

(11.4) เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวนในการทําแผนพัฒนาเทศบาล

มี 14 (48.3)

9 (37.5)

21 (40.4)

44 (41.9)

ไมมี 2 (6.9)

4 (16.7)

9 (17.3)

15 (14.3)

ไมทราบ 3 (10.3)

5 (20.8)

9 (17.3)

17 (16.2)

เทศบาลแจงผลการตัดสินใจการดําเนินโครงการ/กิจกรรมใหประชาชนรับทราบ

(1) โครงการ/กิจกรรมทั่วไป มี 24

(82.8) 17

(70.8) 30

(57.7) 71

(67.6) ไมมี 0

(0) 1

(4.2) 1

(1.9) 2

(1.9) ไมทราบ 3

(10.3) 2

(8.3) 9

(17.3) 14

(13.3) เทศบาลแจงผลการตัดสินใจการดําเนินโครงการ/กิจกรรมใหประชาชนรับทราบ

(1) โครงการ/กิจกรรมทั่วไป มี 24

(82.8) 17

(70.8) 30

(57.7) 71

(67.6) ไมมี 0

(0) 1

(4.2) 1

(1.9) 2

(1.9) ไมทราบ 3

(10.3) 2

(8.3) 9

(17.3) 14

(13.3)

Page 143: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

133 

 

ตาราง 9 (ตอ)

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

(2) โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม มี 25

(86.2) 15

(62.5) 28

(53.8) 68

(64.8) ไมมี 0

(0) 1

(4.2) 2

(3.8) 3

(2.9) ไมทราบ 3

(10.3) 2

(8.3) 9

(17.3) 14

(13.3) เทศบาลเปดเผยขอมูลขาวสารใหประชาชนรับทราบผานทางชองทางตางๆ

(1) โครงการ/กิจกรรมทั่วไป มี 25

(86.2) 15

(62.5) 30

(57.7) 71

(67.6) ไมมี 0

(0) 1

(4.2) 2

(2.8) 3

(2.9) ไมทราบ 3

(10.3) 3

(12.5) 9

(17.3) 15

(14.3) (2) โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม มี 25

(86.2) 15

(62.5) 30

(57.7) 70

(66.7) ไมมี 0

(0) 1

(4.2) 3

(5.8) 4

(3.8) ไมทราบ 3

(10.3) 3

(12.5) 9

(17.3) 15

(14.3) เทศบาลไมมีเรื่องรองเรียนการทุจริต ประพฤติมิชอบของผูบริหาร/เจาหนาท่ีเทศบาล มี 3

(10.3) 8

(33.3) 14

(26.9) 25

(23.8) ไมมี 4

(13.8) 3

(12.5) 6

(11.5) 13

(12.4) ไมทราบ 8

(27.6) 7

(29.2) 15

(28.8) 30

(28.6)

Page 144: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

134 

 

ตาราง 9 (ตอ)

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

เทศบาลไมมีเรื่องรองเรียนการทุจริต ประพฤติมิชอบของผูบริหาร/เจาหนาท่ีเทศบาล

มี 3 (10.3)

8 (33.3)

14 (26.9)

25 (23.8)

ไมมี 4 (13.8)

3 (12.5)

6 (11.5)

13 (12.4)

ไมทราบ 8 (27.6)

7 (29.2)

15 (28.8)

30 (28.6)

เทศบาลมีการจัดระบบรองเรียน/รองทุกขใหประชาชนเขามาใชบริการโดยงาย

มี 12 (41.4)

13 (54.2)

24 (46.2)

49 (46.7)

ไมมี 5 (17.2)

0 (0)

3 (5.8)

8 (7.6)

ไมทราบ 2 (6.9)

4 (16.7)

13 (25.0)

19 (18.1)

เทศบาลมีการจัดกิจกรรมเทศบาลพบประชาชน มี 24

(82.8) 17

(70.8) 31

(46.2) 72

(68.6) ไมมี 1

(3.4) 3

(12.5) 1

(1.9) 5

(4.8) ไมทราบ 2

(6.9) 0

(0) 9

(17.3) 11

(10.5) เทศบาลมีการลงพื้นท่ีพบประชาชนเปนประจํา มี 24

(82.8) 15

(62.5) 29

(55.8) 68

(64.8) ไมมี 0

(0) 3

(12.5) 6

(11.5) 9

(8.6) ไมทราบ 2

(6.9) 0

(0) 9

(17.3) 11

(10.5)

Page 145: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

135 

 

ตาราง 9 (ตอ)

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

เทศบาลมีการดําเนินงานรับผิดชอบตอหนาท่ี มี 24

(82.8) 15

(62.5) 27

(51.9) 66

(62.9) ไมมี 0

(0) 3

(12.5) 6

(11.5) 9

(8.6) ไมทราบ 3

(10.3) 3

(25.0) 10

(19.2) 16

(15.2) เทศบาลมีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีสามารถแกปญหาและสนองความตองการของประชาชน (1) โครงการ/กิจกรรมทั่วไป มี 20

(69.0) 16

(66.7) 23

(44.2) 59

(56.2) ไมมี 1

(3.4) 2

(8.3) 5

(9.6) 8

(7.6) ไมทราบ 3

(10.3) 3

(12.5) 9

(17.3) 15

(14.3) (2) โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม มี 21

(72.4) 14

(58.3) 23

(44.2) 58

(55.2) ไมมี 1

(3.4) 2

(8.3) 5

(9.6) 8

(7.6) ไมทราบ 3

(10.3) 3

(12.5) 9

(17.3) 15

(14.3) เทศบาลมีการประเมินความพึงพอใจของประชาชนและนํามาปรับแก

(1) โครงการ/กิจกรรมทั่วไป มี 18

(62.1) 15

(62.5) 24

(46.2) 57

(54.3) ไมมี 0

(0) 2

(8.3) 6

(11.5) 8

(7.6) ไมทราบ 4

(13.8) 2

(8.3) 10

(19.2) 16

(15.2)

Page 146: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

136 

 

ตาราง 9 (ตอ)

ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล

จํานวนกลุมตัวอยางพื้นท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

(2) โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม มี 18

(62.1) 15

(62.5) 24

(46.2) 57

(54.3) ไมมี 0

(0) 2

(8.3) 6

(11.5) 8

(7.6) ไมทราบ 4

(13.8) 2

(8.3) 10

(19.2) 16

(15.2)

จากตาราง 9 พบวาความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาลเมือง ทาขาม พบวา ปจจัยธรรมาภิบาลท้ัง 4 ประเด็น ไดแก 1) การมีสวนรวม 2) ความโปรงใส 3) ความรับผิดชอบ และ 4) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน จากการศึกษาเชิงปริมาณโดยการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในชุมชนท้ัง 3 ชุมชน พบวา ผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นตอการบริหารงานท่ีเทศบาลเมืองทาขามดําเนินการ เปนการบริหารงานท่ีเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหาร และการกําหนดทิศทาง รวมถึงประชาชนสามารถตรวจสอบ และเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆของเทศบาลไดอยางเต็มท่ี ประชาชนในกลุมตัวอยางไมทราบวาหลักในการบริหารเทศบาลเมืองทาขามท่ีปฏิบัติอยูนั้น เปนการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลซ่ึงมีความเช่ือมโยงกับขอมูลเชิงคุณภาพ ประชาชนในกลุมตัวอยางไมทราบวาเทศบาลใชหลักการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล จนกระท่ังเทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัลธรรมาภิบาล จึงทราบวาเทศบาลเมืองทาขามบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 2) ส่ือ/ชองทางการติดตามรับรูขาวสารของเทศบาลเมืองทาขามท่ีเปดใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมรับรูขาวสาร และอํานวยความสะดวกใหกับประชาชนในพื้นท่ี ดังแสดง (ตาราง 10)

Page 147: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

137 

 

ตาราง 10 ส่ือ/ชองทางการรับรูขาวสารของเทศบาลเมืองทาขาม

สื่อ/ชองทางการรับรูขาวสารของ เทศบาลเมืองทาขาม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

วารสาร จดหมายขาว 25 (86.2)

21 (87.5)

33 (63.5)

79 (75.2)

จุลสารอิเล็กทรอนิกส 2 (6.9)

5 (20.8)

4 (7.7)

11 (10.5)

วิทยุชุมชน 26 (89.7)

20 (83.3)

39 (75.0)

85 (81.0)

ตูรองเรียน 3 (10.3)

11 (45.8)

11 (21.2)

25 (23.8)

รถขาวกระจายเสียง 28 (96.6)

21 (87.5)

41 (78.8)

90 (85.7)

ปายประชาสัมพันธ 27 (93.1)

18 (75.0)

37 (71.2)

82 (78.1)

อินเทอรเน็ท 1 (3.4)

5 (20.8)

1 (1.9)

7 (6.7)

โทรศัพทสายดวน 1 (3.4)

7 (29.2)

1 (1.9)

9 (8.6)

หนวยรับเรื่องรองเรียน 2 (6.9)

8 (33.3)

4 (7.7)

14 (13.3)

หองขอมูลขาวสาร 4 (13.8)

7 (29.2)

2 (3.8)

13 (12.4)

Page 148: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

138 

 

ตาราง 10 (ตอ)

สื่อ/ชองทางการรับรูขาวสารของ เทศบาลเมืองทาขาม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

นายกเทศมนตรี 4 (20.7)

13 (54.2)

5 (9.6)

24 (22.9)

รองนายกเทศมนตรี 6 (20.7)

15 (62.5)

9 (17.3)

30 (28.6)

สมาชิกสภาเทศบาล 15 (51.7)

18 (75.0)

13 (25.0)

46 (43.8)

เจาหนาที่เทศบาล 23 (79.3)

17 (70.8)

18 (34.6)

58 (55.2)

จากตาราง 10 ชองทางการรับรูขาวสารของเทศบาลเมืองทาขาม พบวากลุมตัวอยางรับทราบขาวสารของเทศบาลเมืองทาขาม จากรถขาวกระจายเสียงถึงรอยละ 85.7 เนื่องจากรถขาวกระจายเสียงสามารถเขาถึงประชาชนในชุมชนไดอยางท่ัวถึง และอีกชองทางหนึ่งท่ีประชาชนเห็นวาสามารถรับทราบขาวสารขอมูลของเทศบาลได คือ ปายประชาสัมพันธ เนื่องจากเทศบาลเมืองทาขามไดจัดทําปายประชาสัมพันธขนาดใหญต้ังอยูบริเวณสามแยกพุนพิน และริมทางรถไฟ ซ่ึงเปนตําแหนงท่ีเห็นไดชัดเจน นอกจากนั้นยังติดต้ังปายประจําสํานักงานเทศบาล และปายประชาสัมพันธขนาดเล็กในทุกชุมชน โดยเทศบาลนํามาใชเปนเคร่ืองมือในการประชาสัมพันธ แจงขาวการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางๆในพ้ืนท่ีท้ังกอน และหลังทํากิจกรรมใหประชาชนรับทราบ การไดรับขาวสารจากวิทยุชุมชนนั้นยังไมครอบคลุมทุกชุมชน และในบางคร้ังการกระจายเสียงเกิดเหตุขัดของบอยคร้ัง จึงทําใหขาดความตอเนื่องในการรับรูขาวสาร สวนการไดรับขาวสารจากวารสารเทศบาลเมืองทาขาม จากผูบริหารเทศบาล เจาหนาท่ีเทศบาล หองขอมูลขาวสาร ประชาชนไดมีโอกาสเขาถึงขอมูลขาวสารบาง และการไดรับขาวสารจากจุลสารอิเล็กทรอกนิกส และอินเทอรเน็ทนอยมาก เนื่องจากประชาชนสวนใหญไมสามารถเขาถึงการใช

Page 149: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

139 

 

อินเทอรเน็ท และเม่ือพิจารณาโดยรวมทุกขอพบวาทุกชองทางการติดตอส่ือสารท่ีเทศบาลเมือง ทาขามไดจัดข้ึนมานั้น ประชาชนสามารถเขาถึงไดทุกชองทาง หลักการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามนั้นเกิดจากการทํางานตามภาระหนาท่ีรับผิดชอบหลักท่ีเทศบาลตองทําใหครบถวน ตรงไปตรงมา มีความจริงใจ ใหบริการแกประชาชนดวยความเทาเทียม และเสมอภาคกันทุกคน นอกจากน้ีจากประสบการณการทํางานของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ซ่ึงกอนเขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม ไดเคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาจังหวัดสุราษฎรธานีมากอน และไดยึดหลักการทํางานตามกฎระเบียบ โดยใชความจริงใจ จึงสงผลใหการบริหารงานเปนท่ียอมรับ และไดรับการไววางใจจากประชาชน ตอมาเม่ือไดมีโอกาสเขามาบริหารงานเทศบาลเมืองทาขาม จึงไดนําหลักการเดียวกันนี้มาใช จนไดรับการยอมรับจากประชาชนในพ้ืนท่ี องคกร หนวยงานท้ังในและนอกพ้ืนท่ี จนไดรับรางวัลตางๆมาโดยตลอด (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) เทศบาลเมืองทาขามไดใหความสําคัญในหลักธรรมาภิบาล และไดนํามาใชในการบริหารงานของเทศบาล เนื่องจากหลักธรรมาภิบาลตองอาศัยความรวมมือจากทุกสวน ไมใชเพียงการรับนโยบายจากผูบริหารเทศบาล แลวสามารถจะนํามาปฏิบัติไดในทันที ตองอาศัยระยะเวลาในการเปล่ียนแปลงจากการบริหารงานในแบบเดิมมาเปนการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล ผูบริหารเทศบาลตองเปนตนแบบในการทํางานใหแกเจาหนาท่ีผูรับนโยบายไปปฏิบัติ และประชาชนในพ้ืนท่ี ดังนั้น ผูบริหารเทศบาลจึงเปนกลไกสําคัญท่ีจะทําใหการบริหารงานของเทศบาลสามารถเดินไปตามแนวทางตามหลักธรรมาภิบาล จากนั้นเจาหนาท่ีผูรับนโยบายจะตองไปปฏิบัติ โดยแปลงใหการทํางานมีความชัดเจนรูปธรรมมากยิ่งข้ึน การบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามจึงประสบความสําเร็จในการบริหาร และการพัฒนา จนเทศบาลเมืองทาขามเปนท่ียอมรับจากหนวยงาน และองคกรตางๆภายนอก มีการเขามาศึกษาดูงาน รูปแบบการทํางานภายในเทศบาล และการทํางานระหวางเทศบาลกับชุมชน ท้ังนี้รวมถึงชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามท่ีไดนําหลักธรรมาภิบาลไปปรับใชในการพัฒนาชุมชน จนประสบความสําเร็จมีผูคนเขามาดูงานในชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามดวยเชนกัน  

  

  

Page 150: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

140 

 

(3) ปจจัยธรรมาภิบาลในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน การศึกษาคร้ังนี้ไดศึกษาถึงปจจัยธรรมาภิบาลท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยศึกษา 3 ชุมชน ซ่ึงจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณผูบริหาร เจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามท่ีเกี่ยวของกับกิจกรรมการจัดการขยะ และประชาชนในชุมชนท่ีศึกษา รวมท้ังการลงสํารวจ พื้นท่ี และรวมกิจกรรมการจัดการขยะของชุมชนท่ีศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ 1) การมีสวนรวม การจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขาม นอกจากงานการจัดเก็บขยะประจําวันแลว เทศบาลเมืองทาขามมีวิธีการจัดการขยะอีกรูปแบบหนึ่งคือการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะ วิธีการจัดการขยะโดยการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขามนั้น เร่ิมจากการสํารวจปริมาณขยะในปพ.ศ. 2546 เทศบาลเมืองทาขามจึงไดมีการสํารวจ เก็บรวบรวมขอมูลปริมาณขยะ และคัดแยกองคประกอบขยะในพื้นท่ี ดังท่ีไดกลาวไปแลวในหัวขอ 4.1.1 สถานการณ และปญหาขยะของเทศบาลเมือง ทาขาม พบวาปริมาณขยะท่ีพบมากท่ีสุดคือขยะอินทรียซ่ึงมีปริมาณรอยละ 50 ของขยะท้ังหมด เปนขยะท่ีเกิดจากครัวเรือนของประชาชน และพบขยะรีไซเคิลรอยละ 37 ท่ียังไมไดผานการคัดแยก แสดงใหเห็นวาประชาชนยังขาดความรู ความเขาใจในเร่ืองการคัดแยกขยะท่ีถูกวิธี และขาดความตระหนักในเร่ืองของปญหาขยะท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) เม่ือทราบถึงองคประกอบของขยะท่ีเกิดข้ึน เทศบาลเมืองทาขามจึงไดทํากิจกรรมการจัดการขยะโดยเชิญชวนประชาชนใหเขามามีสวนรวม เนื่องจากขยะท่ีเกิดข้ึนนั้นมาจากครัวเรือนของประชาชน การคัดแยกขยะจึงตองเร่ิมจากครัวเรือนของประชาชนกอน วิธีการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเปนการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะรวมกับเทศบาลเมืองทาขาม การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามเริ่มมีการดําเนินการต้ังแตป พ.ศ.2539 ซ่ึงเปนปแรกท่ี นายทนงศักดิ์ ทวีทอง เขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขาม ไดใหการสนับสนุนผานทางการทําโครงการ และกิจกรรมตางๆ และไดมีการกําหนดลงในแผนพัฒนาเทศบาลตั้งแตป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน และตองการใหลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจากครัวเรือน ในป พ.ศ. 2547 นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีจึงไดใหนโยบายการลดปริมาณขยะวา“ขยะเกิดท่ีไหน ลดท่ีนั้น” (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) เร่ิมตนจากการคัดแยกขยะในครัวเรือน เพื่อลดปริมาณขยะท่ีจะนํามาทิ้งใหเทศบาลนําไปกําจัด ซ่ึงงานการจัดการขยะเปนหนึ่งในยุทธศาสตรการ

Page 151: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

141 

 

พัฒนาสาขาส่ิงแวดลอมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เม่ือเปดโอกาสใหภาคประชาชนใหเขามามีสวนรวม เทศบาลเมืองทาขามไดมีการหาแนวทางในการชักจูงประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการลดปริมาณขยะรวมกัน ไดมีการหารือถึงแนวทางในการดําเนินการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนผานทางการประชุมหัวหนากองทุกกอง เพื่อรับทราบแนวทางในการดําเนินการ พรอมท้ังตองการทราบความคิดเห็นและกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับสภาพชุมชน (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) งานการจัดการขยะเปนหนาท่ีหลักของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม และไดขอความรวมมือจากกองสวัสดิการสังคมใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยหนาท่ีความรับผิดชอบของกองสวัสดิการสังคมนั้น ดังท่ีผูวิจัยไดกลาวไปแลว กลาวคือเปนกองท่ีทํางานเกี่ยวของและใกลชิดกับชุมชนโดยตรง ดังนั้นงานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จึงมีกองสาธาณสุขและส่ิงแวดลอมเปนกองหลัก หรือแมงานในการดําเนินกิจกรรม และกองสวัสดิการสังคมเปนกองสนับสนุนชวยเหลือในการทํากิจกรรมรวมกับชุมชน ซ่ึงการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีเทศบาลเมืองทาขามดําเนินการอยูสอดคลองกับหลักคิดของกรมควบคุมมลพิษท่ีเห็นวาปญหาขยะชุมชนท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยนั้น ควรมีการกําหนดรูปแบบการกําจัดขยะ โดยใหชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดการ สนับสนุนใหในแตละองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมีการจัดการขยะชุมชนแบบครบวงจร (กรมควบคุมมลพิษ, 2547) เม่ือไดรับแนวนโยบายการจัดการขยะแบบครบวงจรประกอบกับเทศบาลเมืองทาขามมีความตองการที่จะใหภาคประชาชนเขามารวมในการจัดการขยะ จึงไดนํานโยบายการจัดการขยะแบบครบวงจรมาปรับใชกับชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม โดยรูปแบบในการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบครบวงจรของเทศบาลเมืองทาขามคือ การสรางจิตสํานึกใหประชาชนเกิดความตระหนักตอปญหาขยะ และการนําขยะกลับมาใชประโยชนใหม ประชาชนในชุมชนเกิดการคัดแยกขยะกอนการนํามาท้ิงลงสูถังขยะเทศบาล (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) จากแนวคิดท่ีเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะ สงผลใหในป พ.ศ. 2547 เทศบาลเมืองทาขามไดรับการคัดเลือกจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหเปนเทศบาลนํารองในการจัดการขยะแบบครบวงจร (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) วิธีการจัดการขยะท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการท้ังงานจัดการขยะประจําวัน และการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมีความเชื่อมโยงและสัมพันธกัน กลาวคือเม่ือปริมาณขยะท่ีเขาสูพื้นท่ีฝงกลบลดลงดวยวิธีการจัดการขยะรวมกับชุมชน ยอมสงผลตอประสิทธิภาพในการเก็บขน และกําจัดขยะซ่ึงเปนงานประจําท่ีตองดําเนินการทุกวัน เทศบาลสามารถลดตนทุนใน

Page 152: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

142 

 

การจัดหาอุปกรณและกําลังคน เพื่อนํามาใชในงานการจัดการขยะประจําวัน การจัดการขยะประจําวันและการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเปนการทํางานท่ีเอ้ือประโยชนกันท้ังสองฝาย การเขาถึงประชาชนและประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะกับเทศบาลมากข้ึนปริมาณขยะก็จะลดลงตามไปดวย 2) ความรับผิดชอบ งานการจัดการขยะเปนงานรับผิดชอบหลักขององคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีตองรับผิดชอบโดยตรง เทศบาลเมืองทาขามไดมอบหมายใหงานรักษาความสะอาด ฝายบริหารงานสาธารณสุขในกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม รับผิดชอบการจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขาม นอกจากภาระหนาท่ีท่ีตองจัดการกับขยะท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีประจําวันตามท่ีไดรับมอบหมายแลว กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมยังไดมีการหารูปแบบการจัดการขยะเพื่อท่ีจะสามารถจัดการขยะไดอยางท่ัวถึงท้ังพื้นท่ี (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) ซ่ึงนอกจากงานจัดเก็บขยะท่ีเปนงานประจําแลว ไดมีการเพิ่มรูปแบบการจัดการขยะ โดยการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามีสวนรวมในการจัดการขยะของเทศบาล เพื่อเปนใหการจัดการขยะเกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด ดังท่ีไดกลาวไวแลววาทุกๆ กิจกรรมท่ีมีการดําเนินการในชุมชน เทศบาลจะใหการสนับสนุนพรอมท้ังเปดโอกาสใหประชาชนเปนผูรับผิดชอบการทํางานท้ังหมด โดยเทศบาลจะทําหนาท่ีเปนพี่เล้ียง เพื่อดูแล ติดตามประเมินผลการทํางานของชุมชน และหากเทศบาลพบวาชุมชนมีปญหาเทศบาลก็จะเขาไปชวยเหลือโดยไมตองรอใหชุมชนเขามาขอความชวยเหลือ ท้ังนี้ก็เพื่อใหชุมชนเกิดความรูสึกความเปนเจาของโครงการ ดังนั้นโครงการตางๆที่เกิดข้ึนในชุมชน เทศบาลจะใหประชาชนในชุมชนน้ันๆ เปนผูรับผิดชอบ (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) เทศบาลเมืองทาขามไดเปดชองทางการรับขอรองเรียน และแจงความตองการของประชาชนในการจัดการขยะ โดยประชาชนสามารถใชชองทางตางๆท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดเปดใหบริการแกประชาชน ไมวาจะเปนรองเรียนผาน อินเทอรเน็ท โทรศัพทสายดวน 1559 หนวยรับรองเรียนเร่ืองทุจริต สมาชิกสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี หรือเขาพบหนวยงานที่รับผิดชอบไดโดยตรง (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) ท่ีผานมาขอรองเรียนเร่ืองขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามนั้น ประชาชนมักรองเรียนเร่ืองการเขาไปเก็บขนไมท่ัวถึง หรือเก็บลาชากวาเวลาปกติ ประชาชนท่ีไดรับความเดือนรอนก็จะโทรมาแจงยังกองสาธารณสุข

Page 153: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

143 

 

และส่ิงแวดลอม เทศบาลมืองทาขามโดยตรง ทางกองก็จะจัดสงเจาหนาท่ีไปตรวจสอบ และดําเนินการจัดการใหทันที (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552) นอกจากนี้จากการสัมภาษณ ความคิดเห็นของประชาชนในเร่ืองความพึงพอใจเร่ืองการจัดการขยะ พบวา ประชาชนสวนมากมีความพึงพอใจโดยใหเหตุผลวาภายในเขตเทศบาลไมมีปญหาเร่ืองปริมาณขยะตกคาง เทศบาลมีคนงานเยอะ ไมมีขยะตกคาง หากมีขยะตกคางรองเรียนไปก็จะมาจัดการใหทันที (วัฒนา สุขกําลัง (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน โครงการ/กิจกรรมตางๆของเทศบาลเมืองทาขาม มีท่ีมาจากการกําหนดโดยเทศบาลซ่ึงเปนตามภาระหนาท่ีรับผิดชอบของเทศบาล และเกิดจากความตองการของประชาชนในพื้นท่ี ในสวนโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนก็เชนเดียวกัน มีโครงการ/กิจกรรมท่ีเทศบาลเปนตนคิดในการทํากิจกรรม และกิจกรรมที่ประชาชนในชุมชนเห็นพองตองกันวาควรมีการทํากิจกรรมข้ึนในชุมชน รูปแบบของกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีเกิดจากความตองการของประชาชนน้ัน ไดรับการตอบรับ การชวยเหลือ และสนับสนุนเปนอยางดีจากเทศบาลเมืองทาขาม (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการในชุมชนน้ัน ผูวิจัยศึกษาชุมชนกลุมตัวอยาง 3 ชุมชน พบวาท้ัง 3 ชุมชนมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ท่ีมาของการทํากิจกรรมมีท้ังเทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการ เนื่องจากในชุมชนประสบกับปญหาขยะ และกิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของชุมชนท่ีตองการทํากิจกรรม เทศบาลเมืองทาขามใหการสนับสนุนกิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน เนื่องจากแนวทางในการบริหารงานของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขามนั้น ตองการใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการบริหารงานรวมกับเทศบาล เพราะทุกคนคือเจาของเมืองทาขาม (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 19มกราคม 2550) 4) ความโปรงใส เทศบาลเมืองทาขามมีการสงเสริมและเปดโอกาสใหประชาชน ไดเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานและนําเสนอขอรองเรียนตางๆ เพื่อใหเทศบาลปรับปรุงแกไขปญหาตางๆไดผานชองทางท่ีหลากหลายดังท่ีไดกลาวไปแลวนั้น การเปดชองทางในการแสดงขอมูล ขาวสารตางๆของเทศบาลเมืองทาขามนั้นเปนการเปดใหประชาชนไดเห็นวาการทํางานของ

Page 154: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

144 

 

ผูบริหาร และเจาหนาท่ีเทศบาลมีความโปรงใส ซ่ือสัตย สุจริต จริงใจและพรอมท่ีจะทํางานเพื่อประโยชนของประชาชนในพื้นท่ี (เกษียร ประเสริฐสุข (สัมภาษณ), 22 กุมภาพันธ 2550) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไมไดดําเนินการทุกชุมชน เม่ือมีการทํากิจกรรมข้ึนเทศบาลเมืองทาขามไดเปดเผยขอมูลการดําเนินกิจกรรม การใหการสนับสนุนอุปกรณ และงบประมาณผานทางบอรดประชาสัมพันธหนาอาคารสํานักงานเทศบาลเมืองทาขาม วารสารเทศบาลเมืองทาขาม วิทยุชุมชน และรถขาวกระจายเสียง (อรุณศักดิ์ สธนเสถียร (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) ซ่ึงการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีผานมานั้นไมเคยพบขอรองเรียนจากประชาชนท้ังในชุมชนท่ีทํากิจกรรม และชุมชนท่ีไมไดรวมกิจกรรม กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามท่ีผานมาต้ังแต ป พ.ศ. 2539-2549 จนเปนท่ียอมรับจากหนวยงานภายนอก ซ่ึงเขามาใหการสนับสนุน และเขามาดูงานเปนจํานวนมาก รวมท้ังได รับรางวัลตางๆ ไมวาจะเปนรางวัลชนะเลิศระดับประเทศประเภทเทศบาลขนาดกลาง รางวัลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีการบริหารการจัดการท่ีดีเดนประจําป 2548 หรือรางวัลเมืองนาอยูอยางยั่งยืนระดับประเทศ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามไดใหความคิดเห็นตอการไดรับรางวัลตางๆของเทศบาลเมืองทาขามวา รางวัลอาจเปรียบเทียบดัชนีช้ีวัดถึงการปฏิบัติภารกิจของเทศบาลได แตเหนือส่ิงอ่ืนใดแลว ภารกิจหนาท่ีท่ีปฏิบัติท้ังหมดจะไมมีทางถูกตองและสําเร็จเปนรูปธรรมชัดเจน ถาไมไดรับความรวมมือจากพี่นองชาวทาขามทุกคน นอกจากนี้ โดยสวนตัวแลวไมคิดวาเทศบาลเมืองทาขามประสบผลสําเร็จในเร่ืองการจัดการขยะ เพราะการท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดรางวัลนั้นอาจจะชนะองคกรปกครองสวนทองถ่ินอ่ืนดวยคะแนนที่มากกวาเพียง 3-5 คะแนนเทานั้น (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) จากการศึกษาผูวิจัยสามารถสรุปปจจัยธรรมาภิบาลในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน ดังแสดง (ตาราง 11)

Page 155: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

145 

 

ตาราง 11 ปจจัยธรรมาภิบาลในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน

ประเด็น ธรรมาภิบาล

ชุมชน

ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน ชุมชนเจริญลาภ 1. การมีสวนรวม

-กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2547 เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการให เพ่ือใหความรูเรื่องการคัดแยกขยะแกประชาชนในชุมชน -ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการปฏิบัติ และการรับผลประโยชน

-กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2543 เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการให เพ่ือแกปญหาขยะตกคางในชุมชน ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการปฏิบัติ และการรับผลประโยชน -กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2547 การทํากิจกรรมครั้งน้ีดําเนินการโดยแกนนําชุมชนทายควน จึงทําใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในทุกขั้นตอน

-กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ ในป พ.ศ. 2540 เปนกิจกรรมที่ประชาชนดําเนินการเอง ทําใหประชาชนมีสวนรวมในทุกขั้นตอน -กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2547 เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการให ประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการปฏิบัติ และการรับผลประโยชน -กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ ในป พ.ศ. 2548 และกิจกรรมธนาคารขยะชุมชนในป พ.ศ. 2549 เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขามอบรมใหความรูแกแกนนําชุมชน และแกนนําชุมชนเจริญลาภไดดําเนินการในชุมชน ประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการปฏิบัติ การับผลประโยชน และขั้นตอนการประเมินผล

Page 156: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

146 

 

ตาราง 11 (ตอ)

ประเด็น ธรรมาภิบาล

ชุมชน

ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน ชุมชนเจริญลาภ 2. ความรับผิดชอบ

- เทศบาลใหความชวยเหลือชุมชนในการทํากิจกรรม ทั้งอุปกรณ และงบประมาณในการทํากิจกรรม - เทศบาลเมืองทาขาม จัดใหเจาหนาที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม ลงพ้ืนที่ชุมชนเปนประจํา เพ่ือตองการทราบถึงปญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน และติดตามการทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางตอเน่ือง

- เทศบาลใหความชวยเหลือชุมชนในการทํากิจกรรม ทั้งอุปกรณ และงบประมาณในการทํากิจกรรม - เทศบาลเมืองทาขาม จัดใหเจาหนาที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม ลงพ้ืนที่ชุมชนเปนประจํา เพ่ือตองการทราบถึงปญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน และติดตามการทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางตอเน่ือง

- เทศบาลใหความชวยเหลือชุมชนในการทํากิจกรรม ทั้งอุปกรณ และงบประมาณในการทํากิจกรรม - เทศบาลเมืองทาขาม จัดใหเจาหนาที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม ลงพ้ืนที่ชุมชนเปนประจํา เพ่ือตองการทราบถึงปญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน และติดตามการทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางตอเน่ือง

3.การสนองตอบตอความตองการของประชาชน

-เทศบาลใหการสนับสนุนทุกกิจกรรมการจัดการขยะ ที่ประชาชนตองการ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่เกิดจากเทศบาลใหความรู หรือ เกิดจากความตองการของประชาชนเอง

-เทศบาลใหการสนับสนุนทุกกิจกรรมการจัดการขยะ ที่ประชาชนตองการ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่เกิดจากเทศบาลใหความรู หรือ เกิดจากความตองการของประชาชนเอง

-เทศบาลใหการสนับสนุนทุกกิจกรรมการจัดการขยะ ที่ประชาชนตองการ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่เกิดจากเทศบาลใหความรู หรือ เกิดจากความตองการของประชาชนเอง

4. ความโปรงใส

-เทศบาลแจงผลการตัดสินใจ และงบประมาณในการทํากิจกรรมการจัดการขยะผานทางแผนพัฒนาเทศบาล บอรดประชาสัมพันธหนาอาคารสํานักงานเทศบาล แจงในที่ประชุมสภาเทศบาล รายงานประจําปของกองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม

-เทศบาลแจงผลการตัดสินใจ และงบประมาณในการทํากิจกรรมการจัดการขยะผานทางแผนพัฒนาเทศบาล บอรดประชาสัมพันธหนาอาคารสํานักงานเทศบาล แจงในที่ประชุมสภาเทศบาล รายงานประจําปของกองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม

-เทศบาลแจงผลการตัดสินใจ และงบประมาณในการทํากิจกรรมการจัดการขยะผานทางแผนพัฒนาเทศบาล บอรดประชาสัมพันธหนาอาคารสํานักงานเทศบาล แจงในที่ประชุมสภาเทศบาล รายงานประจําปของกองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม

ที่มา : ผูวิจัย

Page 157: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

147 

 

ปจจัยธรรมาภิบาลในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน พบวาปจจัยธรรมาภิบาลในประเด็นความรับผิดชอบ การสนองตอบตอความตองการของประชาชน และความโปรงใส เปนประเด็นท่ีทุกชุมชนไดรับจากเทศบาลเมืองทาขามเหมือนกัน แตในประเด็นการมีสวนรวมมีความแตกตางกันไปในแตละชุมชน ข้ึนอยูกับความพรอมของแตละชุมชนในการทํากิจกรรมการจัดการขยะ ในการศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัยไดเนนประเด็นการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะ จึงขอนําเสนอข้ันตอนการเขามีสวนรวมของประชาชนในการทํากิจกรรมการจัดการขยะท้ัง 4 ข้ันตอนของการมีสวนรวมไดแก 1) การมีสวนรวมในการระบุปญหา 2) การมีสวนรวมในการตัดสินใจ 3) การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน และ 4) การมีสวนรวมในการประเมินผล จากการเก็บขอมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะท่ีไดดําเนินการในชุมชนท่ีศึกษา 3 ชุมชน ดังแสดง (ตาราง 12) ตาราง 12 การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะ

การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ

(1) ประชาชนมีสวนรวมในการระบุปญหา

มี 0 (0)

0 (0)

1 (1.9)

1 (1.0)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

48 (92.3)

100 (95.2)

(2) ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ

มี 0 (0)

0 (0)

1 (1.9)

1 (1.0)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

49 (94.2)

101 (96.2)

Page 158: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

148 

 

ตาราง 12 (ตอ)

การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

(3) ประชาชนมีสวนรวมในการรับผลประโยชน

มี 0 (0)

0 (0)

7 (13.5)

7 (6.7)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

43 (82.7)

95 (90.5)

(4) ประชาชนมีสวนรวมในการประเมินผล

มี 0 (0)

0 (0)

2 (3.8)

2 (1.9)

ไมมี 29 (100) 

24 (100)

47 (90.4)

99 (94.3)

กิจกรรมขยะแลกไข

(1) ประชาชนมีสวนรวมในการระบุปญหา

มี 4 (13.8)

4 (16.7)

3 (5.8)

11 (10.5)

ไมมี 20 (69.0)

20 (83.3)

46 (88.5)

86 (81.9)

(2) ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ

มี 4 (13.8)

4 (16.7)

3 (5.8)

11 (10.5)

ไมมี 20 (69.0)

20 (83.3)

46 (88.5)

86 (81.9)

(3) ประชาชนมีสวนรวมในการรับผลประโยชน

มี 8 (27.6)

6 (25.0)

7 (13.5)

21 (20.0)

ไมมี 18 (62.1)

18 (75.0)

42 (80.8)

78 (74.3)

Page 159: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

149 

 

ตาราง 12 (ตอ)

การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

(4) ประชาชนมีสวนรวมในการประเมินผล

มี 4 (13.8)

4 (16.7)

4 (7.7)

11 (10.5)

ไมมี 20 (69.0)

20 (83.3)

45 (86.5)

86 (81.9)

กิจกรรมน้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ

(1) ประชาชนมีสวนรวมในการระบุปญหา

มี 0 (0)

6 (25.0)

10 (19.2)

16 (15.2)

ไมมี 28 (96.6)

18 (75.0)

39 (75.0)

85 (81.0)

(2) ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ

มี 0 (0)

6 (25.0)

8 (15.4)

14 (13.3)

ไมมี 28 (96.6)

18 (75.0)

41 (78.8)

87 (82.9)

(3) ประชาชนมีสวนรวมในการรับผลประโยชน

มี 0 (0)

8 (33.3)

13 (25.0)

21 (20.0)

ไมมี 29 (100)

16 (66.7)

36 (69.2)

80 (76.2)

(4) ประชาชนมีสวนรวมในการประเมินผล

มี 0 (0)

6 (25.0)

7 (13.5)

13 (12.4)

ไมมี 29 (100)

18 (75.0)

45 (78.8)

88 (83.8)

Page 160: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

150 

 

ตาราง 12 (ตอ)

การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน)

(รอยละ)

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ รวม

(n = 29) (n = 24) (n = 52) (n = 105)

กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน

(1) ประชาชนมีสวนรวมในการระบุปญหา

มี 0 (0)

0 (0)

5 (9.6)

5 (4.8)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

43 (82.7)

96 (91.4)

(2) ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ

มี 0 (0)

0 (0)

7 (13.5)

7 (6.7)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

41 (78.8)

94 (89.5)

(3) ประชาชนมีสวนรวมในการรับผลประโยชน

มี 0 (0)

0 (0)

16 (30.8)

16 (15.2)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

32 (61.5)

85 (80.9)

(4) ประชาชนมีสวนรวมในการประเมินผล

มี 0 (0)

0 (0)

8 (15.4)

8 (7.6)

ไมมี 29 (100)

24 (100)

41 (78.8)

94 (89.5)

จากตาราง 12 ผูวิจัยขอนําเสนอการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะในแตละชุมชน เนื่องจากดังท่ีไดกลาวไปแลววาในแตละชุมชนมีการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกัน ซ่ึงการมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะน้ันมี 4 ข้ันตอน พบวาการเขามามีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชน ประชาชนสวน

Page 161: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

151 

 

ใหญเขามามีสวนรวมในข้ันตอนการรับผลประโยชน ซ่ึงเปนข้ันตอนการดําเนินกิจกรรมนั้นเอง สวนในข้ันตอนการระบุปญหา การตัดสินใจ และการประเมินผลแกนนํากิจกรรมการจัดการขยะเปนผูดําเนินการ ประชาชนในแตละชุมชนมีความเขาใจท่ีตรงกันตอกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดเกิดข้ึนในแตละชุมชน และไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดทําในชุมชน ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกับขอมูลเชิงคุณภาพ กิจกรรมการจัดการขยะท่ีไดดําเนินการในชุมชนมีแกนนําการจัดการขยะของแตละชุมชน เปนผูนําในการทํากิจกรรม โดยประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในข้ันตอนการรับผลประโยชน  4.2.2 ปจจัยทุนทางสังคม การศึกษาคร้ังนี้ใหความสําคัญในเร่ืองของทุนทางสังคม โดยศึกษาขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลท่ีเกี่ยวของตางๆ พบวา ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขามประกอบดวยทุนทางสังคมของเทศบาลตอชุมชน และทุนทางสังคมภายในชุมชนเอง ดังนั้นในการศึกษาจึงแยกอธิบายถึงทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงไดแก 1) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม และ 2) ทุนทางสังคมของชุมชน สามารถจําแนกรายละเอียดไดดังนี้ (1) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม การศึกษาประเด็นทุนทางสังคมของเทศบาล ศึกษา 2 ประเด็นไดแก 1) ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี และ 2) ทุนทางสังคมเทศบาลของเมืองทาขาม เพื่อตองการแสดงใหเห็นวาประเด็นทุนทางสังคมเปนปจจัยท่ีมีผลตอการทําโครงการ/กิจกรรมตางๆของเทศบาลท้ังในกิจกรรมท่ัวไป และกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ดังนี้ 1) ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรีเปนผูนํ าในการพัฒนาทองถ่ิน มิใช เพียงแตการบริหารงานในสํานักงานเทศบาลเทานั้น แตเปนผูกําหนดนโยบายท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิตของประชาชนในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบท่ีสามารถนําไปใชไดจริง ตองเปนไปตามปญหา และความตองการของประชาชน การปฏิสัมพันธระหวางนายกเทศมนตรีกับบุคคลอ่ืนๆไมวาจะเปนเจาหนาท่ีเทศบาล ผู ซ่ึงท่ีตองนํานโยบายลงไปสูการปฏิบัติ และประชาชนในชุมชน ผูปฏิบัติและรับผลประโยชนจากนโยบายท่ีกําหนดลงมาจากนายกเทศมนตรี ดังนั้นทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรีจึงเปนประเด็นท่ีมีความสําคัญ เพราะทุนทางสังคมเปนปจจัยท่ีทําใหการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางประสบความสําเร็จได ผูวิจัยจึงสนใจวิเคราะหประเด็นทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

Page 162: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

152 

 

นายทนงศักดิ์ ทวีทองเขาสูเสนทางการเมืองทองถ่ินเทศบาลมาต้ังแตป พ.ศ. 2536 ประวัติของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เปนชาวทาขามโดยกําเนิด บุตรของนายเช้ือ นางฉออน เกิดวันท่ี 26 มีนาคม 2494 ท่ีอยู 2/5 ซอยริมทางรถไฟ ถ.ธราธิบดี ต.ทาขาม อ.พุนพิน จ.สุราษฎรธานี การศึกษาจบปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) การเขาสูเสนทางการเมืองของนายทนงศักดิ์ ทวีทองเร่ิมตนจากการลาออกจากอาชีพครู โรงเรียนเทคนิคชางกลสุราษฎรธานี เขาสูการเมืองระดับจังหวัดไดรับความไววางใจจากประชาชนจนไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาจังหวัดสุราษฎรธานี (สจ.) ถึง 3 สมัยจากนั้นจึงไดผันตัวเองเขาสูการเมืองระดับเทศบาล โดยไดรับการสนับสนุนจากตระกูลเทือกสุบรรณและพรรคประชาธิปตยมาโดยตลอด ซ่ึงผูวิจัยจะไดกลาวในลําดับตอไป เสนทางการเมืองทองถ่ินของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง มีดังนี้ คร้ังท่ี 1: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ลงสมัครเปนสมาชิกสภาเทศบาล ในนามกลุมพัฒนาทาขาม ผลการเลือกต้ังสมาชิกกลุมพัฒนาทาขาม ไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาเทศบาลท้ังหมด เปนชวงท่ีเมืองทาขามมีการเปล่ียนแปลงจากสุขาภิบาลทาขามมาเปนเทศบาลตําบลทาขาม คร้ังท่ี 2: 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536 นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ลงสมัครเปนสมาชิกสภาเทศบาลในนามกลุมพัฒนาทาขาม อีกคร้ัง โดยผลการเลือกต้ังในคร้ังนี้กลุมพัฒนาทาขามไดรับเลือกเพียง 2 คน โดยนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ไมไดรับเลือกต้ัง เพราะแพกลุมประชาภิบาล คร้ังท่ี 3: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2539 นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ลงสมัครเปนนายกเทศบาลตําบลทาขาม และผลการเลือกต้ังกลุมพัฒนาทาขาม ไดรับเลือกท้ังหมด และ นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ไดรับเลือกเปนนายกเทศมนตรี เปนสมัยแรก คร้ังท่ี 4: 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2544 เทศบาลตําบลทาขามไดรับการยกระดับเปนเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ลงสมัครเปนนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามในนามกลุมพัฒนาทาขาม ผลการเลือกต้ังคร้ังนี้กลุมพัฒนาทาขามไดรับเลือกท้ังหมด คร้ังท่ี 5: 14 มีนาคม พ.ศ. 2548 (สมัยปจจุบัน) นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ลงสมัครเปนนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามในนามกลุมพัฒนาทาขาม ซ่ึงผลการเลือกต้ังคร้ังนี้กลุมพัฒนาทาขาม ไดรับเลือก 15 คน และผูสมัครอิสระไดรับเลือก 3 คน (สํานักปลัดเทศบาล เทศบาลเมืองทาขาม, 2550)

Page 163: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

153 

 

การทํางานท่ีผานมานายทนงศักดิ์ ทวีทองไดรับการยอมรับจากเจาหนาท่ีเทศบาล และประชาชนในเมืองทาขามเปนอยางมาก จะเห็นไดจากฐานเสียงของ นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ซ่ึงประกอบดวยคนทุกกลุม ไมวาจะเปนพอคา แมคา ประชาชนท่ัวไป และกลุมขาราชการในพื้นท่ี (อรุณศักดิ์ สธนเสถียร (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) สวนรูปแบบการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามท่ีผานมานั้น ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน กลาววาต้ังแตนายทนงศักดิ์ ทวีทองเขามาเปนนายกเทศมนตรี ไดใหความสําคัญตอการแสดงความคิดเห็นของเจาหนาท่ีเทศบาล และประชาชนเปนอยางมาก เนื่องดวยเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามมีจํานวนนอยเม่ือเทียบกับภาระงานของเทศบาล จึงทําใหรูปแบบการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามเปนแบบบูรณาการคือ นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล สํานักปลัดของเทศบาลและพนั ก ง านใน เทศบาล เมื อ งท า ข า ม ทุ กฝ า ย มีส วนช ว ย เห ลือกั น ทํ า ง าน (สัมพันธ สิทธิสงคราม (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) ฐานเสียงทางการเมืองท่ีสําคัญของนายทนงศักดิ์ ทวีทองนั้นไดรับการตอบรับ และสนับสนุนจากคนทุกกลุม ไมวาจะเปนกลุมพอคาแมคา กลุมและองคกรตางๆท่ีอยูในเมืองทาขาม มีรายละเอียดดังนี้ 1) เครือญาติของนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขาม ครอบครัวของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมือง ทาขาม เปนคนเมืองทาขามโดยกําเนิด ทําใหครอบครัวของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เปนท่ียอมรับและไดรับการไววางใจจากประชาชนในเมืองทาขาม และเปนสวนชวยสงเสริมฐานเสียงของนายกเทศมนตรีเปนอยางดี ซ่ึงในอดีตบิดาของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ทํางานเปน “ทาหนา” หรือ “กรรมกร” ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ไดเลาใหฟงวาสมัยกอนผูท่ีทํางานเปนทาหนาหรือกรรมกร ตองเปนผูท่ีไดการยอมรับนับถือจากคนในชุมชน และบิดาของนายทนงศักดิ์ ทวีทองประกอบเปนคนจีนแตจิ๋วนั้น ในอดีตเม่ือมีงานประเพณีหรือกิจกรรมตางๆ ในชุมชน เชน งานศพ งานประเพณี การแตงงาน งานบวช ฯลฯ ทานก็จะเขาไปชวยเหลือชุมชนทุกคร้ัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมคนจีนแตจิ๋ว เหตุดังกลาวทําใหประชาชนในเมืองทาขามเคารพนับถือบิดาของนายทนงศักดิ์ ทวีทองมาจนถึงปจจุบัน และเปนสาเหตุท่ีทําใหตนเองไดรับการยอมรับจากชุมชนมาจนถึงปจจุบันดวยเชนกัน ฐานเสียงสําคัญในการเลือกต้ังของของนายกเทศมนตรีทุกสมัย คือ คนจีนแตจิ๋วรวมท้ังประชาชนท่ัวไปในเขตเทศบาลเมืองทาขาม (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550)

Page 164: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

154 

 

2) ตระกูลเทือกสุบรรณ ตระกูลเทือกสุบรรณ เปนตระกูลเกาแกท่ีมีความผูกพันมายาวนานกับสังคมทองถ่ินในจังหวัดสุราษฎรธานี มีท้ังอิทธิพล และบารมี ตลอดจนมีบทบาทสําคัญทางการเมืองมายาวนานต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) โดยเร่ิมมาต้ังแตนายจรัส เทือกสุบรรณบิดาของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ในอดีตเคยเปนกํานันตําบลทาสะทอน อําเภอพุนพินเปนท่ีเคารพ นับถือของประชาชนในเมืองทาขาม ตอมาในป พ.ศ. 2518 นายสุเทพ เทือกสุบรรณไดลงสมัครรับเลือกต้ังเปน กํานันตําบลทาสะทอน ตอจากบิดา และชนะเลือกต้ังทําใหไดเปนกํานัน ยิ่งทําใหประชาชนในเมืองทาขามมีความรัก และเคารพนับถือมากยิ่งข้ึน (จริยา จายพัฒน (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) ตอมาในป พ.ศ. 2522 นายสุเทพ เทือกสุบรรณตัดสินใจลงเลนการเมืองระดับประดับเทศ ทําใหตําแหนงกํานันทาสะทอนวางลง นาชายของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ มาดํารงตําแหนงตอ และตามมาดวย นายธานี เทือกสุบรรณ ผูเปนนองชายของนายสุเทพ เทือกสุบรรณมาดํ า ร งตํ า แหน งต อ อีก 1 0 ป จนลาออก เพื่ อลง เล นก าร เ มื อ งระดับจั งหวั ด ใน ท่ี สุด นายจรัส เทือกสุบรรณ บิดาของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ไดกลับเขาดํารงตําแหนง กํานันตําบลทาสะทอน อีกคร้ังหนึ่ง กํานันหรือผูใหญบานท้ังหมดของเมืองทาขามก็เปนลูกหลานของตระกูลเทือกสุบรรณท้ังส้ิน (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2550) เม่ือนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เขามาเลนการเมือง และไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดสุราษฎรธานี ในนามพรรคประชาธิปตย ซ่ึงเปนพรรคการเมืองเกาแกของประเทศไทย การเมืองในจังหวัดสุราษฎรธานีทุกระดับจึงมีความเชื่อมโยงและผูกขาดอํานาจทางการเมืองกับพรรคประชาธิปตย นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง ทาขาม ไดรับการชักชวนจากนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ใหเขามาเลนการเมืองทองถ่ิน โดยเร่ิมจากการลงสมัครสมาชิกสภาจังหวัดสุราษฎรธานี และหลังจากนั้นไดสนับสนุนใหลงมาเลนการเมืองในระดับเทศบาลในนามกลุมพัฒนาทาขาม มาต้ังแตป พ.ศ. 2536 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) ซ่ึงกลุมพัฒนาทาขามเปนกลุมการเมืองทองถ่ินเกาแก ท่ีมีอิทธิพล และผูกขาดอํานาจทางการเมืองในทาขามมายาวนาน และเปนเครือขายทางการเมืองของพรรคประชาธิปตย (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) การไดมีโอกาสเขามาเลนการเมืองของนายทนงศักดิ์ ทวีทองนั้นไดรับการชักชวนจากนายสุเทพ เทือกสุบรรณนั้น สอดคลองกับความคิดเห็นของสมาชิกสภาเทศบาล เทศบาลเมืองทาขามท่ีไดกลาววา การท่ีจะมาเลนการเมืองทองถ่ินในทาขามในนามกลุมพัฒนาทาขาม ซ่ึงเปนกลุมการเมืองของพรรคประชาธิปตย ไมใชใครๆก็มาเปนได เพราะ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ จะเปนคนคัดเลือกคนท่ีจะมาลงสมัคร โดยพิจารณาคุณสมบัติต้ังแตประวัติ

Page 165: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

155 

 

การเรียน นิสัยใจคอ สภาพครอบครัว ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทองเองก็มาจากการกล่ันกรองของ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ซ่ึงนายสุเทพ เทือกสุบรรณนั้นไดติดตาม มองดูการทํางานของนายกมานานแลว ต้ังแตสมัยท่ีนายทนงศักดิ์ ทวีทองเปนครูสอนหนังสืออยูท่ีโรงเรียนเทคนิคชางกล สุราษฎรธานี (จริยา จายพัฒน (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) ความสัมพันธระหวางตระกูลเทือกสุบรรณ กับนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขามนั้นมีความสัมพันธกันอยางแนบแนน และสนับสนุน นายทนงศักดิ์ ทวีทอง และเทศบาลเมืองทาขามดวยดีมาโดยตลอด (อนุกูล เขมาภิวงศ (สัมภาษณ), 22 มกราคม 2550) โดยเฉพาะนายธานี เทือกสุบรรณ นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี มีความสนิทสนมเปนการสวนตัวกับนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงไดใหการสนับสนุน ชวยเหลืองานของเทศบาลเมืองทาขามมาโดยตลอดท้ังโดยหนาท่ี และเร่ืองสวนตัว (จริยา จายพัฒน (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) ซ่ึงพื้นท่ีฝงกลบขยะของเทศบาลเมืองทาขาม ต้ังอยูท่ีตําบลทาสะทอนท่ีใชมาต้ังแต ป พ.ศ. 2539 มาจนถึงปจจุบันไดรับความอนุเคราะหจากนายธานี เทือกสุบรรณ ใหใชพื้นท่ีสวนตัวของตน (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) สวนสมาชิกสภาเทศบาลเมืองทาขามทุกๆสมัย คือ ต้ังแตเมืองทาขามยังไมไดยกฐานะเปนเทศบาลเมืองทาขามนั้น สมาชิกสภาเทศบาลเกือบทุกคนลวนเปนคนของ พรรคประชาธิปตยท้ังส้ิน อนึ่ง การแขงขันทางการเมืองของเทศบาลเมืองทาขามมีลักษณะราบเรียบ ไมมีความรุนแรง เนื่องจากมีการแขงขันกันนอย และบางสมัยก็ไมมีคูแขง โดยพรรคการเมืองท่ีลงสมัครแขงขันกับกลุมพัฒนาทาขาม (พรรคของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี) สวนมากเปนกลุมการเมืองอิสระ ท่ีจัดต้ังข้ึนมาเฉพาะกิจ คือ จัดต้ังข้ึนเฉพาะในชวงท่ีมีการประกาศรับเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลในบางสมัยเทานั้น และภายหลังเสร็จส้ินการเลือกต้ังสมาชิกของกลุมอิสระท่ีลงเลือกต้ังแขงกับกลุมพัฒนาทาขามก็จะแยกยายไปทํางานของตน และจะกลับมารวมตัวกันอีกคร้ังหากมีการประกาศรับเลือกต้ังคร้ังใหม กลุมการเมืองอิสระท่ีลงแขงขันกับกลุมพัฒนาทาขาม สวนมากไมไดรับความไววางใจจากประชาชนเมืองทาขามเทากับกลุมพัฒนาทาขาม เพราะกลุมพัฒนาทาขามมีผลงานในการพัฒนาและผูกขาดอํานาจทางการเมืองในเมืองทาขามมายาวนานกวากลุมอิสระท่ีต้ังมาเฉพาะกิจ (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) 3) กลุม/ชมรมตางๆ ในเมืองทาขามมีการกอต้ังกลุม/ชมรมตางข้ึนมา เพื่อเปนการรวมตัวกันของกลุมคนท่ีมีแนวความคิดท่ีเหมือนกัน รวมตัวกันทําตามวัตถุประสงคของแตละกลุม ซ่ึงกลุม/ชมรมตางๆที่จัดต้ังข้ึนมานี้เปนกลุมท่ีเกิดจากการจัดต้ังของเทศบาลเมืองทาขาม เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกประชาชนในพื้นท่ี และกลุมท่ีไดมีการดําเนินการดวยตัวเอง ซ่ึงไมวา

Page 166: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

156 

 

จะเปนรูปแบบใดตางก็มีความสัมพันธท่ีดีตอเทศบาลเมืองทาขาม และเปนฐานเสียงหนึ่งของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง มีรายละเอียด ดังนี้ 3.1) กลุมชุมชน 22 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม เทศบาลเมืองทาขามกอนการยกระดับจากสุขาภิบาลมาเปนเทศบาลเมืองนั้น ทิศทางการบริหารงานเปนไปตามความตองการของนายกเทศมนตรีในสมัยนั้นๆ โดยนโยบายการทํางานของเทศบาลกําหนดจากความตองการของผูบริหารเปนหลัก เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมมีนอย ประธานชุมชนในอดีตไดมาจากการแตงต้ังของนายกเทศมนตรีท้ังหมด (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) ตอมาในสมัยของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ชวงท่ีเขามาดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีตั้งแตสมัยแรก ไดมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการคัดเลือกประธานชุมชนใหมโดยมีการเปดโอกาสใหประชาชนในชุมชนไดคัดเลือกเอง (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) ชวงท่ีเมืองทาขามยังเปนเทศบาลตําบล ชุมชนของเมืองทาขามมีเพียง 10 ชุมชน ซ่ึงทุกชุมชนลวนแตเปนชุมชนขนาดใหญ ทําใหการประสานงานระหวางเทศบาลกับชุมชน หรือการบริหารจัดการและสรางการมีสวนรวมในชุมชนทําไดนอย ตอมาไดขยายชุมชนเพิ่มเปน 22 ชุมชนใน ป พ.ศ. 2548 เพื่อใหงายตอการบริหารจัดการ พรอมท้ังกําหนดใหเปนพื้นท่ีในเขตเทศบาลทั้ง 22 ชุมชน โดยใหทุกชุมชนมีการเลือกประธานชุมชนในพื้นท่ีของตัวเองทุกชุมชน (ธงชัย วิชัยดิษฐ (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) นอกจากนี้ยังเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงานของเทศบาลรวมท้ังสงเสริมใหมีการจัดประชุมภายในชุมชนเดือนละคร้ัง และใหมีการจัดประชาคมในชุมชนข้ึนปละ 2 คร้ัง เพื่อใหแตละชุมชนรวมกันคิด และรวมกันจัดทําแผนชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชนของตนเองและนําไปสูการระบุในแผนพัฒนาเทศบาลตอไป (กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) 3.2) กลุมอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) เปนกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนโดยเทศบาล เพื่อดูแลเกี่ยวกับการบริการดานสุขภาพคน ปองกันระวังโรค การดูแลส่ิงแวดลอม ความสะอาด และการทํากิจกรรมตางๆของชุมชนของตน โดยเปดโอกาสใหประชาชนในแตละชุมชนท่ีสนใจเขารวมเปน อสม. สมัครเขามาเปนดวยความสมัครใจ จากการสัมภาษณผูอํานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม กลาววา การใหประชาชนเขามาดวยความสมัครใจ เนื่องจากการทํางานของ อสม.ตองมีความเสียสละ มีใจรักตองานบริการ และยังทําหนาท่ีเปนผูประสานงานระหวางเทศบาลกับประชาชนในชุมชน ไมวาจะเปนเร่ืองงานสาธารณสุข หรืองานกิจกรรมทั่วไป ซ่ึงเปนงานท่ีไมไดรับคาตอบแทนจากเทศบาล จึงทําใหผูเขามาเปนสมาชิกผูท่ีรับ

Page 167: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

157 

 

การยอมรับวาเปนผูท่ีเสียสละ และไดรับการยอมรับจากประชาชนในชุมชนไปโดยปริยาย สวนมากแลวเม่ือเขามาเปน อสม. แลวจะทํางานตอเนื่องหลายปจนกวาจะลาออกไปเอง (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ปจจุบันเทศบาลเมืองทาขามมี อสม. จํานวน 110 คน โดยในแตละป เทศบาลเมืองทาขามจะจัดงบประมาณไวสวนหน่ึงเพื่อใชในการจัดดูงานของกลุม อสม. ปละ 1 คร้ัง เพื่อเปนการสรางขวัญ และกําลังใจให อสม.ในการทํางานตอไป (พ.จ.ต. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) 3.3) กลุมแมคาพอคาตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ในเขตเทศบาลเมืองทาขามมีสถานท่ีท่ีเปนแหลงคาขาย ตลาด และสถานประกอบการจํานวนมาก ในปพ.ศ. 2549 นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีไดจัดต้ังชมรมพอคาแมคา ผูประกอบการ เพื่อจะไดเขามามีสวนรวมในการแกไข เสนอปญหา ความตองการ และแนวทางท่ีเปนประโยชนท้ังตอพอคา แมคา ผูประกอบการ ผูบริโภค และเทศบาล (ทนงศักดิ์ ทวีทอง (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) ซ่ึงกลุมแมคาพอคาตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ตองสงตัวแทนของกลุมมาเขารวมในการทําแผนพัฒนาเทศบาล และการประชุมชนอื่นๆรวมกับเทศบาลเมืองทาขาม (อรุณศักดิ์ สธนเสถียร (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) 3.4) สโมสรโรตาร่ีศรีตาป กิจกรรมหลักของสโมสร เนนเร่ืองสงเคราะหชวยเหลือผูยากไร หรือผูท่ีประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยสมาชิกของสโมสร โรตาร่ีตองเปนผูท่ีมีความพรอมทางฐานะ ไมจํากัดอาชีพของสมาชิก แตหากมีคนท่ีมีอาชีพเหมือนกันเขามาเปนสมาชิกตองขออนุญาตสมาชิกท่ีมีอาชีพเดียวกันกอน และหากสมาชิกเดิมไมยอมรับ ผูสมัครก็เขาเปนสมาชิกของสโมสรโรตาร่ีไมได สโมสรโรตาร่ีไมมีท่ีทําการสโมสรท่ีแนนอน แตเปนการกําหนดสถานท่ีนัดหมายของสมาชิกหมุนเวียนกันไป มีการสงหนังสือเวียนเพื่อนัดประชุมทุกอาทิตย ในการประชุมจะมีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และสรางปฏิสัมพันธรวมกันของสมาชิก ซ่ึงนายทศพล งานไพโรจน รองนายกเทศมนตรีฝายกองวิชาการและแผนงานและกองการ ศึกษา เ ทศบาล เ มื อ งท า ข า ม เป นสมา ชิกสโมสรโรตา รีศ รีต าป ชุ ดป จ จุ บันด ว ย (อรุณศักดิ์ สธนเสถียร (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) 3.5) สโมสรไลออนส อําเภอพุนพิน เปนองคกรการกุศลเพ่ือชวยเหลือเด็กพิการ คนชรา ผูประสบภัยธรรมชาติ และสงเคราะหผูดอยโอกาส งบประมาณของสโมสรไลออนส ไดมาจากการบริจาคของผูมีจิตศรัทธา การรวมตัวกันของสมาชิกสโมสรไลออนสเพื่อตองการทํากิจกรรมสาธารณะ ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขาม

Page 168: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

158 

 

และภรรยาก็เปนสมาชิกของสโมสรดวยสโมสรไลออนสของอําเภอพุนพินมีการแบงการทํางานออกเปน 2 สโมสร ไดแก 1) สโมสรไลออนสพุนพิน (ชาย) และ 2) สโมสรไลออนสศรีวิชัย (หญิง) (เดชะ จิตรักดี (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) 3.6) กลุมศาลเจา เปนการรวมกลุมของคนจีนและกลุมพอคาในพื้นท่ี ซ่ึงมีแกนนําประมาณ 10 คน เพื่อทํางานชวยเหลือสังคม สงเคราะหผูยากไร ผูประสบภัย และงานกูภัย โดยมีการจัดต้ังเปนมูลนิธิ ช่ือวา มูลนิธิเมตตา ภายใตการดูแลของกลุมศาลเจา กิจกรรมท่ีทางมูลนิธิเมตตาไดเขารวมกับเทศบาลคือ เขารวมในการทําแผนโครงการผังตลาดของเทศบาล ซ่ึงทางเทศบาลเชิญมูลนิธิเมตตาเขาไปรวมแสดงความคิดเห็นในเร่ืองการจัดการขยะในตลาด โดยมีนายเกษียร ประเสริฐสุข รองนายกเทศมนตรีฝายสาธารณสุข และพนักงานของเทศบาลเมืองทาขาม เปนสมาชิกของมูลนิธิดวย (เดชะ จิตรักดี (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) นอกจากนี้ เหตุผลสําคัญท่ีทําใหนายทนงศักดิ์ ทวีทองตัดสินใจออกจากการเปนสมาชิกสภาจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อมาเลนการเมืองทองถ่ินในเมืองทาขาม จนไดรับความไววางใจจากประชาชนในเมืองทาขามใหดํารงตําแหนงเปนสมาชิกสภาเทศบาล 2 สมัย และดํารงตําแหนงเปนนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามถึง 3 สมัยจนถึงปจจุบันนั้น เนื่องจากความรักพื้นท่ี ตองการพัฒนาเมืองทาขาม รวมท้ังไดรับการยอมรับ และความไววางใจจากประชาชนในพื้นท่ีนั้น เนื่องจากบารมีจากบิดา รวมทั้งตัวนายกเทศมนตรีและตระกูลของนายกเทศมนตรีก็เปนคนเมืองทาขามโดยกําเนิด ปจจัยท้ังหมดนี้มีสวนชวยสงเสริมใหนายกเทศมนตรีไดรับความไววางใจจากประชาชน (จริยา จายพัฒน (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) กลุมตางๆท่ีไดกลาวไปแลวขางตนเปนฐานเสียงท่ีสําคัญท่ีสนับสนุนนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง ทาขาม ยังเปนเครือขายสําคัญในการประสานงานขอความรวมมือ ชวยเหลือซ่ึงกันและกันจากเทศบาลเมืองทาขาม ในการทํากิจกรรมตางๆ และเปนการเพิ่มความนาเช่ือถือของนายทนงศักดิ์ ทวี-ทองใหประชาชนในชุมชนไดเห็นวานอกจากประชาชนในชุมชน นายทนงศักดิ์ ทวีทอง ยังไดรับการยอมรับจากบุคคล และหนวยงานภายนอกอีกดวย สวนการทํางานกับชุมชนน้ัน นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีมีความเปนกันเองกับชุมชนมาก คือ ใหความชวยเหลือชาวบานในทุกๆ ดานท่ีเขามารองเรียน ประชาชนสามารถเขาพบนายกเทศมนตรีไดตลอดเวลา ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามเม่ือมีปญหาหรือเร่ืองรองเรียนก็จะพบนายกเทศมนตรีเพียงคนเดียวเทานั้น เพราะคิดวานายกเทศมนตรีมีอํานาจสิทธิขาดในการตัดสินใจคนเดียว ท้ังท่ีนายกเทศมนตรีไดแบงงานใหรองนายกเทศมนตรีท้ัง 3 คนเปนผูรับผิดชอบในแตละกองโดยตรง และมีอํานาจสิทธิขาดในการทํางานของตนไดโดยไม

Page 169: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

159 

 

ตองผานนายกเทศมนตรีกอน ดังนั้นในปจจุบันเม่ือมีเร่ืองรองเรียนจากประชาชนท่ีตรงกับหนาท่ีรับผิดชอบของรองนายกเทศมนตรีคนใด นายกเทศมนตรีจะใหประชาชนเขาไปพบ ติดตอ และติดตามความคืบหนาจากรองนายกเทศมนตรีท่ีรับผิดชอบโดยตรง (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ท้ังนี้การจัดหองทํางานของเทศบาลเมืองทาขามนั้นหองของนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี และท่ีปรึกษานายกเทศมนตรีอยูบริเวณชั้นลาง และตรงทางเขาสํานักงานเทศบาลเมืองทาขาม จึงทําใหประชาชนและบุคคลท่ัวไปสามารถมาติดตอประสานงานกับผูบริหารของเทศบาลไดอยางสะดวก สวนงานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนั้น นายทนงศักดิ์ ทวี-ทอง ใหความสําคัญมาก เนื่องจากการไมมีพื้นท่ีฝงกลบขยะดังท่ีไดกลาวไปแลวในขางตน ทําใหตองกําหนดนโยบายท่ีมุงเนนการคัดแยก และการลดปริมาณขยะจากครัวเรือนของประชาชน (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) การเขามามีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะรวมกับเทศบาลเมืองทาขามนั้น สาเหตุหนึ่งเกิดจากทุนทางสังคมของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ท่ีไดสรางความไววางใจ เช่ือใจ และมีวิสัยทัศนท่ีชัดเจนใหกับประชาชน เม่ือนายทนงศักดิ์ ทวีทองมีแนวคิดท่ีสงเสริมใหทําการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จึงไดรับการตอบรับท่ีดีจากประชาชน (เกษียร ประเสริฐสุข (สัมภาษณ), 20 กุมภาพันธ 2550) การทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนอยางจริงจังของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ทําใหหนวยงานตางๆยินดี และพรอมท่ีจะใหความชวยเหลือ ไมวาจะเปนการสงเจาหนาท่ีมาใหความรู การสนับสนุนอุปกรณและงบประมาณ จึงยิ่งทําใหประชาชนใหการยอมรับ และรวมกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมากข้ึน แมวากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนยังไมครอบคลุมท่ัวท้ังพื้นท่ี แตประชาชนตางมีการแลกเปล่ียนขอมูล และรวมกันทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) 2) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม เทศบาลเปนหนวยงานปกครองสวนทองถ่ิน ท่ีมีภาระหนาท่ีใหบริการ และอํานวยความสะดวก ประสานงาน และปฏิสัมพันธรวมกับประชาชนในชุมชนโดยตรง เพื่อใหสามารถใหเขาถึง และตอบสนองความตองการของประชาชนใหไดมากท่ีสุด ดังนั้นความสัมพันธ และทัศนคติระหวางเจาหนาท่ีเทศบาลและประชาชนในชุมชนจึงเปนเร่ืองท่ีละเอียดออน และมีความสําคัญตอการปฏิบัติงานเปนอยางมาก เพราะเปนการไดรับประโยชนท้ังสองฝาย ดังนั้นทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขามจึงเปนเร่ืองท่ีสําคัญและนาสนใจเปนอยางมาก

Page 170: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

160 

 

ในกระบวนการทํางานของเทศบาลเมืองทาขาม ผูบริหารเทศบาลใหความสําคัญตอทุกความคิดเห็นจากเจาหนาท่ีเทศบาลทุกระดับท้ังฝายการเมือง และฝายบริหาร มีการทํางานในลักษณะพี่นอง สามารถพูดคุย เสนอหรือแลกเปล่ียนความคิดเห็น เนนรูปแบบการทํางานท่ีเปนทีม โดยใหความสําคัญตอเจาหนาท่ีทุกคน จึงสงผลใหเจาหนาท่ีทุกคนสามารถทํางานกันไดเปนอยางดี (จันทรพร สกุลพันธ (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550) การดําเนินโครงการ/กิจกรรมของเทศบาลเมืองทาขามนั้นจะดําเนินการใหกองที่จะเขามาเปนทีมหลัก โดยเรียกวา “เจาภาพหลัก” จากนั้นกองตางก็จะเขามาเปนกองสนับสนุน เชน โครงการอนุรักษแมน้ําตาป กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเปนเจาภาพหลัก สวนกองชางดูแลเร่ืองสถานท่ี (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ท่ีเปนเชนนี้ผูบริหารของเทศบาลไดใหเหตุผลวาเทศบาลเมือง ทาขามมีบุคลากรไมเพียงพอตอการทํางานในแตละกอง และนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีมอบหมายใหรองนายกเทศมนตรีท้ัง 3 คนมีอํานาจหนาท่ี และสิทธิขาดในการตัดสินใจภายในกองท่ีรับผิดชอบ และใหเจาหนาท่ีดําเนินงานของตนเองอยางอิสระ แมวาการดําเนินงานของเจาหนาท่ีอาจเกิดขอผิดพลาด รองนายกเทศมนตรีในแตละกองก็จะใหความชวยเหลือ เพราะคิดวาส่ิงท่ีผิดพลาดจะทําใหเกิดการเรียนรูใหมและพัฒนาไดดีข้ึน เม่ือไดรับการยอมรับจากนายกเทศมนตรีใหเจ าหนา ท่ีไดแสดงความคิดเห็นไดอยางเ ต็มท่ี และพรอมท่ีจะทํางานรวมกับประชาชน (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) จากการสัมภาษณผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน ถึงประเด็นรูปแบบการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามไดแสดงความคิดเห็นวา ต้ังแตการเขามาดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีสมัยแรกในป พ.ศ. 2539 ของนายทนงศักดิ์ ทวีทองนั้นเคารพการตัดสินใจ และการดําเนินงานของเจาหนาท่ีเทศบาล รวมท้ังเปดโอกาสใหเจาหนาท่ีเทศบาลแสดงความคิดเห็นถึงนายกเทศมนตรีโดยตรง มีการสรางวัฒนธรรมการทํางานภายในเทศบาลเมืองทาขาม โดยกําหนดใหมีการประชุมหัวหนาสวนทุกสัปดาห เพื่อใหทุกฝายรับทราบวาในขณะน้ีแตละกองกําลังดําเนินการโครงการอะไร และตองการความชวยเหลืออะไรบาง เพื่อใหทุกๆกองไดรวมกันชวยเหลือ และแกปญหา (สัมพันธ สิทธิสงคราม (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับขอมูลจากปลัดเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีอธิบายวาเทศบาลเมืองทาขามมีการประชุมคณะทํางานทุกฝายในทุกๆเชาวันจันทร โดยมีนายกเทศมนตรีทําหนาท่ีเปนประธานในการประชุม ประกอบดวย รองนายกเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล ปลัดเทศบาล และผูอํานวยการกองทุกกอง ซ่ึงบรรยากาศในการประชุมเปนแบบไมเปนทางการ เปนการพูดคุย แลกเปล่ียนความเห็น พรอมกับนําเสนอผลงาน รายงานความกาวหนาในการทํางานใหท่ีประชุมรับทราบ เพื่อท่ีจะไดชวยเหลือ แกไข และ

Page 171: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

161 

 

สนับสนุนการทํางาน พูดจากันดวยเหตุผล ยอมรับในขอเสนอแนะตางๆ ไมมีอคติตอกัน สงผลใหไมมีความขัดแยงในการทํางาน ทุกฝายจึงสามารถทํางานไดอยางมีความสุข และสนุกกับการทํางาน (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) การบริหารงานของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีตอเจาหนาที่เทศบาลเมืองทาข ามนั้นมีการสนับสนุนตอการพัฒนาศักยภาพของบุคคลกรทุกระดับ (สัมพันธ สิทธิสงคราม (สัมภาษณ), 23 มกราคม 2550) การทํางานของเจาหนาท่ีเทศบาลเมือง ทาขามมีความสามัคคีในการทํางาน มีความสําคัญตอการบริหารงานเทศบาลเมืองทาขามอยางยิ่ง โดยความสามัคคีท่ีเกิดข้ึนมีท้ังของผูบริหารเทศบาล สภาเทศบาลและเจาหนาท่ีของเทศบาล ความสามัคคีเปนสวนหนึ่งของทุนทางสังคมท่ีจะเปนประโยชนตอการการบริหารงานโดยรวมของเทศบาล ความสามัคคีเปนเร่ืองของความรูสึกใหความไววางใจกันและกัน ทีมงานท่ีมีความรัก ความสามัคคี มีความสัมพันธกัน ตองการเอ้ือประโยชนตอกัน สงผลใหการบริหารงานขององคกรมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน (จุมพล ชลีกรชูวงศ (สัมภาษณ), 24 มกราคม 2550) งานการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น จะเห็นไดวานอกจากวิสัยทัศนของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขามแลว บางกิจกรรมเกิดจากแนวความคิดของเจาหนาท่ีเทศบาลดวยเชนกัน เชน กิจกรรมขยะแลกไข (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการในชุมชนน้ัน พบวา เม่ือมีการทํากิจกรรม ผูบริหารจะลงพื้นท่ีชุมชนดวยตนเอง เพื่อเชิญชวน ประชาสัมพันธใหประชาชนในชุมชนเขารวมกิจกรรม และหลังจากน้ันจะเปนหนาท่ีของเจาหนาท่ีเทศบาลท่ีตองคอยดูแล ประสานงาน ติดตามผลการดําเนินกิจกรรม พรอมท้ังใหความชวยเหลือชุมชนตลอดการทํากิจกรรม (จารุพรรณ สิรยาภรณ (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) และเม่ือชุมชนท่ีทํากิจกรรมการจัดการขยะเกิดปญหาในการทํากิจกรรม เจาหนาท่ีท่ีเปนผูประสานงานจะเปนคนแรกท่ีชุมชนจะเขามาติดตอ และรองขอความชวยเหลือ (จันทรพร สกุลพันธ (สัมภาษณ), 25 มกราคม 2550) กิจกรรมตางๆท่ีไดดําเนินการรวมกันระหวางเทศบาลเมืองทาขาม และชุมชน ไมวาจะเปนงานประเพณี หรืองานการจัดการขยะ กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนจะมีความเขมแข็ง และความตอเนื่องข้ึนอยูกับความไววางใจ เช่ือใจ และยอมรับการทํางานของเจาหนาท่ีท่ีเปนผูประสานงาน และเจาหนาท่ีทุกคนของเทศบาล ดังนั้น ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขามเกิดจากภาวะผูนําของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี รูปแบบการทํางาน การทํางานท่ีเกื้อกูลกัน

Page 172: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

162 

 

การรับรูขาวสารรวมกัน นําไปสูการไววางใจ ความนาเช่ือถือ การประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของงาน และการเขามามีสวนรวมของประชาชน (2) ทุนทางสังคมของชุมชน การศึกษาประเด็นทุนทางสังคมของชุมชน ศึกษาทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนภายใน 3 ชุมชน ไดแก 1) ชุมชนฝายทา 2) ชุมชนทายควน และ 3) ชุมชนเจริญลาภ ในการศึกษาทุนทางสังคมของชุมชน ผูวิจัยศึกษาในประเด็น ดังนี้ 1) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน 2) กลุมภายในชุมชน และ 3) กิจกรรมภายในชุมชน เพื่อตองการแสดงใหเห็นวาทุนทางสังคมของชุมชนเปนปจจัยท่ีทําใหประชาชนเขารวมแสดงความคิดเห็น และรวมในการทํากิจกรรมตางๆของเทศบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ทุนทางสังคมของชุมชนฝายทา (1) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน ชุมชนฝายทา เปนชุมชนเกาแกของเมืองทาขาม เปนเมืองทาสําคัญของเมืองทาขาม ในอดีตบริเวณริมแมน้ําตาปชุมชนฝายทาเปนบานพัก สําหรับพักผอนของคหบดี และขาราชการช้ันสูงท่ีมีท่ีพักอาศัยประจําในตัวจังหวัดสุราษฎรธานี ซ่ึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) บานเรือนเหลานี้ยังคงอยูในสภาพเดิม (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) มีลักษณะเปนชุมชนเกษตร ต้ังอยูริมแมน้ําตาปพื้นท่ีจึงเหมาะแกการเพาะปลูก พื้นท่ีสวนใหญเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม จัดต้ังเปนชุมชนในป พ.ศ. 2531 ประชาชนในชุมชนฝายทาปลูกสรางบานเรือนบนท่ีดินของตนเอง อาศัยกันอยางถอยทีถอยอาศัยกัน เอื้อเฟอเกื้อกูล การอยูอาศัยเปนลักษณะครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธในเชิงเครือญาติ ประชาชนในชุมชนมีความรูจัก คุนเคยกันเปนอยางดี สามารถที่จะฝากฝงใหเพื่อนบานใกลเรือนเคียงชวยดูแลสมาชิกในครอบครัว หยิบยืมส่ิงของเคร่ืองใชตางๆกันได รวมท้ังการชวยเหลือทางดานการเงิน ประชาชนในชุมชนมีความปลอดภัยในการอยูอาศัยสูง ในชุมชนไมเคยมีปญหาเร่ืองการขโมย หรือส่ิงของสูญหาย เม่ือประชาชนในชุมชนมีเร่ืองการทะเลาะวิวาทก็สามารถไกลเกล่ียกันไดเองภายในชุมชนโดยมีประธานชุมชนเปนผูไกลเกล่ียปญหา ความไวเนื้อเช่ือใจของประชาชนในชุมชนอยูในระดับสูง จากการสังเกต และสัมภาษณพบวา ประชาชนสามารถท่ีจะเปดประตูท้ิงไวไดตลอดเวลา โดยม่ันใจวาส่ิงของภายในบานไมสูญหาย รวมท้ังมีความม่ันใจในความปลอดภัยของสมาชิกในครอบครัวอีกดวย (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) ภายในชุมชนมีบานเชาประมาณ 100 หลัง บุคคลท่ีเขาออกมาเชาบานภายในชุมชนเปนบุคคลที่ประชาชนในชุมชนรูจัก รวมท้ังรับรูท่ีมาท่ีไปของบุคคลที่เขาพักอาศัยในชุมชน และภายในชุมชนไมมีการกอสรางอาคารพาณิชย หรือบานจัดสรร เนื่องจากที่ดินภายในชุมชนมีราคา

Page 173: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

163 

 

สูง (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) ทําใหในชุมชนมีความปลอดภัยในการอยูอาศัยเปนอยางมาก ประชาชนในชุมชนใชรานคาท่ีต้ังอยูหนาอาคารท่ีทําการชุมชน ซ่ึงมีลักษณะเปนเพิงขายอาหาร มีรานคาขายอาหารประมาณ 5-6 ราน เปดขายตลอดท้ังวัน เปนสถานท่ีในการพบปะ พุดคุย แลกเปล่ียนขาวสารกันภายในชุมชน (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) สอดคลองกับการแสดงความคิดเห็นของกรรมการชุมชนกลาววา ในวันหยุดรานคาบริเวณดังกลาวมีประชาชนในชุมชนมานั่งพูดคุยกันตลอดท้ังวัน นอกจากจะเปนรานขายอาหารแลวยังเปนสถาน ท่ี ท่ีประชาชนในชุมชนใชฝากขอความ และ ส่ิงของโดย มีแมค า เปน ผู รับฝาก (สมจิตร ปนสมาน (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) (2) กลุมภายในชุมชน ภายในชุมชนฝายทามีกลุมตางๆท่ีเกิดข้ึน เปนกลุมท่ีมีความสัมพันธ และเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของประชาชน กลุมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนฝายทามีทั้งกลุมท่ีเกิดจากการจัดต้ังโดยเทศบาลเมืองทาขาม และกลุมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชนในชุมชน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 1) คณะกรรมการชุมชน ชุมชนฝายทามีคณะกรรมการชุมชนมีจํานวน 12 คน ซ่ึงตามกฏระเบียบการจัดต้ังคณะกรรมการชุมชนมีจํานวน 9-15 คน ดํารงตําแหนงคร้ังละ 2 ปโดยแบงการทํางานเปน 2 ชุด ชุดละ 6 คนตอปรวมประธานชุมชน คณะกรรมการชุดแรกของชุมชนในป พ.ศ. 2544-2546 มีนายอรุณ มะลิมาศ เปนประธานชุมชน และตอมาต้ังแตป พ.ศ. 2547 ถึงปจจุบัน (พ.ศ.2552) มี นายอุดม สุธีรพจน เปนประธานชุมชนมาจนถึงปจจุบัน ซ่ึงคณะกรรมการชุมชนของชุมชนฝายทามาจากการเลือกต้ังโดยประชาชนในชุมชนผานทางการประชุมชนสามัญประจําปของชุมชน โดยการเสนอช่ือจากท่ีประชุมชุมชน ยกมือรับรอง และสนับสนุน เปนบุคคลท่ีเขารวมการทํากิจกรรมตางๆรวมกับชุมชน และไดรับการยอมรับจากประชาชนในชุมชน (วีนัช นิตรสิทธ์ิใหม (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) ปลายป พ.ศ. 2543 ประชาชนในชุมชนฝายทารวมกันกอสรางอาคาร เพื่อเปนสถานพยาบาลชุมชน ประชาชนในชุมชนไดรวบรวมเงินทุน และรวมกันกอสรางอาคารขึ้น ตอมาในป พ.ศ. 2544 มีการเลือกต้ังคณะกรรมการชุมชน ประกอบกับชุมชนไดรับเงินกองทุนหมูบานละลาน และยังไมมีท่ีทําการชุมชน จึงไดเปล่ียนจากสถานพยาบาลเปนท่ีทําการกองทุนหมูบาน และไดยายสถานพยาบาลชุมชนไปท่ีศูนยจักรกลของเทศบาลเมืองทาขาม ซ่ึงต้ังอยูระหวาง

Page 174: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

164 

 

ชุมชนฝายทา และชุมชนพุมดวง ตอมาในปเดียวกัน เทศบาลเมืองทาขามไดขยายอาคารตอไปขางๆอีก 2 หองเพ่ือสรางเปนท่ีทําการชุมชนฝายทา (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) จากท่ีไดกลาวไปแลววา แมพื้นท่ีเมืองทาขามเปนฐานเสียงท่ีสําคัญของพรรคประชาธิปตย แตส่ิงท่ีเห็นไดอยางชัดเจน คือประชาชนในชุมชนมีการชื่นชอบ และสนับสนุนท้ังพรรคประชาธิปตย และพรรคไทยรักไทย (เดิม) โดยมีประธานชุมชนฝายทาคนปจจุบัน (พ.ศ. 2552) ใหการสนับสนุนพรรคไทยรักไทย (เดิม) แตปจจัยดังกลาวไมไดสงผลตอการทํางานของคณะกรรมการชุมชน หรือประชาชนในชุมชน เม่ือมีการแสดงความคิดเห็นท่ีแตกตางกันในทางการเมืองทองถ่ิน หรือระดับชาติ สมาชิกชุมชนไมไดมีการขุนของ หมองใจกันแตอยางใด ตางยอมรับในการทํางาน และผลงานของประธานชุมชน และคณะกรรมการชุมชน (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) 2) กลุมอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) กลุม อสม.ของชุมชนฝายทามีจํานวน 3 คน ซ่ึงเปนบุคคลที่มาจากการสมัครเขามาทํางานดวยตนเอง ซ่ึงท้ัง 3 คนเปนบุคคลท่ีไดรับความไววางใจจากประชาชน และเปนหนึ่งในกลุมแกนนําของชุมชนฝายทา ซ่ึงเปนลูกหลานของคนในชุมชน จึงเปนท่ียอมรับของประชาชนในชุมชน บทบาทของ อสม.นอกจากดูแลเร่ืองสาธารณสุขของประชาชนในชุมชนแลว กิจกรรมสวนใหญท่ีจัดข้ึนในชุมชนฝายทา ไมวาจะเปนงานประเพณีตางๆ หรือกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน อสม. ในชุมชนฝายทาก็เปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรมดวยเชนกัน (วรรณ แสงศร (สัมภาษณ), 15 มกราคม 2550) 3) ธนาคารชุมชนฝายทา ธนาคารชุมชนฝ ายท า เปนธนาคาร ชุมชนแห งแรกของจั งหวัด สุราษฎรธานี ต้ังข้ึนเม่ือป พ.ศ. 2544 โดยการริเร่ิมของนายอุดม สุธีรพจน ประธานชุมชนฝายทาและประธานธนาคารชุมชนฝายทา ในอดีตนายอุดม สุธีรพจน เปนผูจัดการธนาคารนครหลวงไทย จํากัด มีความรูประสบการณในงานการธนาคารเปนอยางดี จึงไดมีการริเร่ิมดําเนินการธนาคารชุมชนข้ึนมา เนื่องจากประชาชนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม และคาขาย ซ่ึงเปนสินคาเกษตรที่เพาะปลูกเอง และสวนหนึ่งเปนสินคาท่ีตองจัดซ้ือมาจากท่ีอ่ืนมีความจําเปนท่ีตองใชเงินลงทุนในการคาขาย ประชาชนในชุมชนท่ีทําการคาขายเม่ือไมมีเงินลงทุนในการประกอบอาชีพจึงไดมีการไปกูยืมเงินนอกระบบเพ่ือเขามาใชในการคาขาย ประกอบกับในชุมชนฝายทาไมมีกลุมออมทรัพย จึงเปนจุดเร่ิมตนในการกอต้ังธนาคารชุมชนฝายทาโดยไดรับความรวมมือจากธนาคาร

Page 175: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

165 

 

ออมสินในการสนับสนุนรูปแบบในการดําเนินการธนาคารชุมชน ซ่ึงมีรูปแบบของธนาคารพาณิชยเต็มรูปแบบ (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 12 มีนาคม 2550) เห็นไดวากลุมตางๆที่จัดต้ังข้ึนในชุมชนเปนกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนเพื่อชวยสนับสนุนการดํารงชีวิตของประชาชนในชุมชน การรวมตัวและการคงอยูของกลุมตองอาศัยความรวมมือจากประชาชนในชุมชน และตองมีแกนนําในการขับเคล่ือนใหกลุมตางๆสามารถดําเนินการไดตอเนื่องจนมาถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) จากการศึกษาขอมูลปริมาณ1ถึงประเด็นการจัดต้ังกลุมในชุมชนฝายทา พบวาประชาชนรอยละ 96.6 ทราบวามีการจัดต้ังกลุมในชุมชน โดยรอยละ 82.8 รูจักคณะกรรมการชุมชน รอยละ 75.8 รูจักธนาคารชุมชนฝายทา และรอยละ 69 รูจักกลุม อสม. ประชาชนในชุมชนถึงรอยละ 55.2 เขารวมเปนสมาชิกของกลุมที่จัดต้ังข้ึนในชุมชน โดยเปนสมาชิกกลุมธนาคารชุมชนถึงรอยละ 41.4 สาเหตุของการเขารวมเปนสมาชิกมาจากเพ่ือนบานถึงรอยละ 20.7 (3) กิจกรรมภายในชุมชน ภายในชุมชนฝายทามีการจัดกิจกรรมงานประเพณีท่ีไดดําเนินการตอเนื่องเปนประจําทุกป ดังนี้ 1) งานประเพณีวันสงกรานต ซ่ึงจะจัดข้ึนในวันท่ี 12 เมษายนของทุกป เร่ิมตนกิจกรรมดวยการทําบุญตักบาตร สรงน้ําพระ รดน้ําดําหัวผูใหญในชุมชน การละเลน และการแสดงตางๆ งานประเพณีวันสงกรานตของชุมชนฝายทามีคณะกรรมการชุมชน และ อสม.ของชุมชนเปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรม จากการสัมภาษณประชาชนในชุมชนฝายทาไดแสดงความคิดเห็นวา ประชาชนในชุมชนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมกันเปนอยางดี มีประชาชนในชุมชนเขารวมทํากิจกรรมกันเปนจํานวนมาก และท้ังนี้ไดรับการสนันสนุนการจัดเตรียมสถานท่ี เชน โตะ เกาอ้ี เต็นท และอุปกรณอ่ืนๆตามท่ีชุมชนตองการ และรองขอจากเทศบาลเมืองทาขาม รวมท้ังผูบริหาร และเจาหนาท่ีเทศบาลเขารวมทํากิจกรรมเปนประจําทุกๆป (วรรณ แสงศร (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) งานประเพณีสงกรานตของชุมชนฝายทานับไดวาเปนกิจกรรมท่ีสามารถรวบรวมความสามัคคีของประชาชนในชุมชนใหเขามารวม ซ่ึงทุกคนในชุมชนตางก็ใหความสําคัญตอการเขารวม และพยายามรักษาประเพณีนี้ไวใหคงอยูในชุมชนตลอดไป (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ) 8 มกราคม 2552)

                                                            1 ขอมูลเชิงปริมาณแสดงในภาคผนวก ค

Page 176: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

166 

 

ทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนฝายทา สงผลตอการดํารงชีวิตประจําวัน และความม่ันคงของชุมชน สวนกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนฝายทาไดมีการทํากิจกรรมขยะแลกไขเพียงคร้ังเดียว เพราะดังท่ีไดกลาวไปแลวขยะไมไดเปนปญหาของชุมชนฝายทา อีกท้ังประชาชนก็ไมมีเวลาในการเขารวมทํากิจกรรม แมวาชุมชนฝายทาจะไมไดเปนฐานเสียงหลักของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง แตก็ไดรับการสนับสนุน และพัฒนากิจกรรมตางๆที่เหมาะสมและเปนไปตามความตองการของประชาชน มีการสนับสนุนกิจกรรมการเรียน อุปกรณการเรียน และกีฬาแกเด็กๆในชุมชน และจากการที่ชุมชนไดจัดต้ังธนาคารชุมชนฝายทาข้ึน นายทนงศักดิ์ ทวีทองก็ใหการสนับสนุน และจัดใหมีคณะบุคคล หนวยงาน องคกรตางๆทั้งในพ้ืนท่ีและภายนอกเขามาศึกษาดูงานเร่ืองการจัดการเงินชุมชน จนทําใหชุมชนฝายทาเปนท่ีรูจักมากข้ึน สรางความภาคภูมิใจแกประชาชนในชุมชนฝายทาเปนอยางมาก และประชาชนในชุมชนเองตางก็ใหความเคารพรัก และนับถือตอนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเปนอยางมาก นายทนงศักดิ์ ทวีทองไดลงพื้นท่ีชุมชนฝายทาเปนประจําเพื่อใหบริการดานตางๆแกประชาชนในชุมชน เชน การออกหนวยสาธารณสุข และกิจกรรมเทศบาลพบประชาชนเปนตน และทุกคร้ังในการลงพื้นท่ีชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามไดเล้ียงขนม และอาหารใหกับประชาชนในชุมชนท่ีเขารวมกิจกรรมท่ีเทศบาลเมืองทาขามเขาไปดําเนินการในชุมชน โดยซ้ือเหมาจากรานคา และแมคาในชุมชน (อัจฉรา แจมกมล (สัมภาษณ), 26 มกราคม 2550) 2) ทุนทางสังคมของชุมชนทายควน (1) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน ชุมชนทายควนเปนชุมชนแออัดขนาดใหญ ท่ีต้ังของชุมชนเปนท่ีดินของการทางรถไฟ ท่ีราชพัสดุ และกรมเจาทา ซ่ึงประชาชนไดเขามาบุกรุกปลูกสรางบานเรือนกันอยางหนาแนน ประชาชนสวนใหญของชุมชนเปนคนจากภาคกลางท่ีอพยพเขามาทํางานในเมืองทาขาม ประกอบพื้นท่ีดังกลาวเปนพื้นท่ีวาง ประชาชนจ ึงเขามาจับจองสรางท่ีพักอาศัย ปกหลักอาศัยมาต้ังแตสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ยาวนานมาประมาณ 2 ช่ัวอายุคน โดยปจจุบันเปนคนรุนท่ี 3 ประชาชนในชุมชนมีความสัมพันธเชิงเครือญาติ มีความชวยเหลือ เอ้ืออาทรตอกัน สามารถฝากดูแลบาน สมาชิกในครอบครัว หยิบยืมส่ิงของ และชวยเหลือดานการเงินซ่ึงกันและกันได ประชาชนในชุมชนทายควนใชบานของนางรัชนี วิเชียรซอย (ประธานชุมชน ทายควน) ซ่ึงเปนรานคาขายของชําและอาหารในชวงกลางวัน เปนสถานท่ีในการแลกเปล่ียนพบปะพูดคุยขอมูลขาวสารกันภายในชุมชน ในแตละวันจึงประชาชนในชุมชนแวะเวียนเขามานั่ง พูดคุย พบปะกันเปนจํานวนมาก และเนื่องจากบานของประธานชุมชนต้ังอยูบริเวณปากทางเขาชุมชน

Page 177: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

167 

 

ประชาชนในชุมชนตองผานทางหนาบานประธานชุมชนกอนถึงบานพักของตน อีกท้ังเม่ือมีการลงพื้นท่ีของผูบริหารและเจาหนาท่ีเทศบาล ก็จะใชบานของประธานชุมชนเปนสถานท่ีนัดพบปะประชาชน และเปนท่ีรับประทานอาหารรวมกัน (พัชรี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) ประชาชนในชุมชนใหความเคารพตอครอบครัวของนางรัชนีย วิเชียรซอย (ประธานชุมชน) มาต้ังแตรุนคุณตา เม่ือประมาณ 60 ป หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 คุณตาของนางรัชนีย วิเชียรซอย เปนผูบุกเบิกการเขามาอยูอาศัยในพื้นท่ีชุมชนทายควน ซ่ึงในอดีตบริเวณชุมชนทายควนเปนท่ีพักของทหารญ่ีปุน บานของนางรัชนีย วิเชียรซอย เปนโรงลิเกของทหารญ่ีปุน โดยคุณตาของนางรัชนีย วิเชียรซอย ไดซ้ือตอจากเจาของเดิม และอยูอาศัยมาจนถึงปจจุบัน (พ.ศ.2552) การเขามาบุกเบิก และต้ังรกรากในพื้นท่ีจึงเปรียบเสมือนการสรางเมืองใหมข้ึนมา ซ่ึงครอบครัวของนางรัชนีย วิเชียรซอยจึงเปนเหมือนท่ีพึ่งหลักท่ีสําคัญของชุมชน รวมท้ังไดรับการยอมรับ และนับถือจากประชาชนในชุมชนเปนอยางมาก (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) การอยูอาศัยของประชาชนในชุมชนทายควน มีความปลอดภัยในการอยูอาศัย และทรัพยสินสูง ไมมีปญหาเร่ืองทรัพยสินสูญหาย หรือการทะเลาะวิวาท ดวยขอดีของการพื้นท่ีจํากัดในการปลูกสรางท่ีอยูอาศัยทําใหไมมีการปลูกสรางอาคารเพื่อทําเปนบานเชา ทําใหคนท่ีอาศัยในชุมชนทายควนเปนคนท่ีประชาชนในชุมชนรูจักกันหมด การดูแลกันภายในชุมชน และความปลอดภัยในการอยูอาศัยจึงมีสูง และยังสงผลถึงการทํากิจกรรมตางๆภายในชุมชนอีกดวย ถึงแมวาจะมีปญหาการระบาดของยาเสพติดในชุมชนอยูบาง แตก็ไมไดทําใหความปลอดภัยของประชาชนในชุมชนลดลง (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) (2) กลุมภายในชุมชน ภายในชุมชนทายควนมีกลุมตางๆ ท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ โดยกลุมท่ีกอต้ังข้ึนมาเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนในชุมชน จึงทําใหกลุมเหลานี้มีความสัมพันธท่ีดีกับประชาชนในชุมชน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 1) คณะกรรมการชุมชน ชุมชนทายควนมีคณะกรรมการชุมชนท้ังส้ิน จํานวน 9 คน ซ่ึงคณะกรรมการชุมชนไดมาจากการเสนอช่ือ และยกมือสนับสนุนผานทางการประชุมสามัญประจําปของชุมชน มีเจาหนาท่ีของเทศบาลเมืองทาขามรวมเปนพยานในการเลือกคณะกรรมการชุมชน ชุมชนทายควนมีคณะกรรมการชุมชนมาแลวท้ังส้ิน 2 ชุด ชุดท่ีหนึ่งปพ.ศ. 2544-2548 และชุดท่ีสอง ปพ.ศ. 2548 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) ซ่ึงยังคงเปนคณะกรรมการชุดเดียวกัน บุคคลท่ีไดรับ

Page 178: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

168 

 

เลือกมาเปนคณะกรรมการชุมชนไดรับการยอมรับจากประชาชนในชุมชนอยูกอนแลว จึงทําใหคณะกรรมการชุมชนเปนท่ียอมรับของประชาชนในชุมชนเปนอยางดี โดยใชบานของประธานชุมชนเปนท่ีทําการชุมชนทายควน เพราะเปนสถานท่ีนัดพบ ประชุมในชุมชนอยูแลว ประชาชนในชุมชนจึงสามารถฝากขอความ หรือมาขอความชวยเหลือจากคณะกรรมการชุมชนไดตลอดเวลา (รัชนีย วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 24 มิถุนายน 2550) 2) กลุมอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) กลุม อสม.ของชุมชนทายควนมีจํานวน 3 คน ซ่ึงเปนบุคคลท่ีมาจากการสมัครเขามาทํางานดวยตนเอง ซ่ึงท้ัง 3 คนเปนบุคคลท่ีไดรับความไววางใจจากประชาชน และเปนหนึ่งในกลุมแกนนําของชุมชนทายควน โดยเฉพาะอยางยิ่งนายลําจวน คุมหยวง ประธานกลุมอสม.ชุมชนทายควน เปนบุคคลท่ีไดเขามาอยูในเมืองทาขามมาเปนเวลานานถึง 45 ป เปนท่ีรูจัก และยอมรับนับถือของประชาชนในชุนเปนอยางมาก เม่ือทางกลุม อสม. รองขอความรวมมือจากประชาชนไดรับการตอบรับท่ีดีจากประชาชนในชุมชนเสมอมา (ศิริพันธ คามมะวัลย (สัมภาษณ), 10มีนาคม 2550) 3) กลุมออมทรัพยชุมชนทายควน กลุมออมทรัพยชุมชนทายควนจัดต้ังข้ึนเพื่อใหประชาชนในชุมชนท่ีตองการขอความชวยเหลือจากองคกรพัฒนาชุมชนในโครงการบานม่ันคง เพื่อกอสรางบานใหมีความแข็งแรง ประชาชนท่ีตองการเขารวมโครงการบานม่ันคงตองรวมเปนสมาชิกกลุมออมทรัพยชุมชนทายควนกอน โดยคณะกรรมการกลุมออมทรัพยชุมชนทายควน ประกอบดวย ประธานชุมชน ตัวแทนคณะกรรมการชุมชน และประชาชนในชุมชน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางโปรงใส และสามารถตรวจสอบจากประชาชนในชุมชนได (รัชนี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 25กุมภาพันธ 2550) 4) กรรมการโครงการบานม่ันคง ในป พ.ศ. 2546 องคกรพัฒนาชุมชนเขามาประสานกับคณะกรรมการชุมชนทายควน ในการทําโครงการบานม่ันคงภายในชุมชน มีการประชุมชุมชนเพื่อถามความคิดเห็น ประชาชนในชุมชนทายควนไดใหการตอบรับ และเขารวมโครงการ คณะกรรมการโครงการบานม่ันคงไดมาจากการคัดเลือกของประชาชนในชุมชนทายควน เปนบุคคลท่ีมีความสามารถทํางานรวมกับชุมชน มีความใกลชิดสนิทสนม และเปนท่ียอมรับของประชาชนในชุมชน ซ่ึงประกอบดวยตัวแทนจากกลุมตางๆในชุมชน ไดแก คณะกรรมการชุมชน กลุม อสม. และบุคคลท่ีประชาชนในชุมชนใหความเคารพ นับถือ การทํางานของกรรมการโครงการบานม่ังคง

Page 179: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

169 

 

เปนการทํางานประสานรวมกันระหวางประชาชนชุมชนทายควน กับองคกรพัฒนาชุมชน กลุมออมทรัพยชุมชนทายควน และเทศบาลเมืองทาขาม (ศิริพันธ คามมะวัลย (สัมภาษณ), 10 มีนาคม 2550) กลุมตางๆท่ีเกิดข้ึนในชุมชนทายควนสามารถแบงไดเปน 2 รูปแบบ ไดแก กลุมท่ีจัดต้ังข้ึนโดยเทศบาลเมืองทาขาม และกลุมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชนในชุมชน ซ่ึงท้ัง 2 รูปแบบตางก็มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของประชาชนในชุมชน จึงทําใหการดํารงอยูของกลุมนั้นดําเนินอยูไดอยางตอเนื่องจนมาถึงปจจุบัน นอกจากนี้ ประชาชนในชุมชนไดมีความพยายามในการรักษาความเหนียวแนน ความรัก และความสามัคคีของประชาชนในชุมชนผานการทํากิจกรรมตางๆของชุมชน ซ่ึงกิจกรรมตางๆที่ไดดําเนินการในชุมชนไดรับการตอบรับจากประชาชนในชุมชนดวยดีมาโดยตลอด จากการศึกษาเชิงปริมาณ2ถึงประเด็นการจัดต้ังกลุมในชุมชนทายควน พบวาประชาชนรอยละ 100 ทราบวามีการจัดต้ังกลุมในชุมชน โดยรอยละ 100 รูจักคณะกรรมการชุมชน และกลุม อสม. รอยละ 70.8 รูจักกลุมออมทรัพยของชุมชน ประชาชนในชุมชนรอยละ 37.5 เขารวมเปนสมาชิกของกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนในชุมชน สาเหตุของการเขารวมเปนสมาชิกมาจากผูนําชุมชนถึงรอยละ 33.3 (3) กิจกรรมภายในชุมชน ภายในชุมชนทายควนมีการจัดกิจกรรมตางๆท่ีดําเนินการตอเนื่องเปนประจําทุกป มีดังนี้ 1) งานประเพณีวันสงกรานต ซ่ึงจะจัดข้ึนในวันท่ี 14 เมษายนของทุกป มีการทําบุญตักบาตร รดน้ําดําหัวผูใหญในชุมชน การแสดงและการละเลนตางๆ โดยมีคณะกรรมการชุมชน อสม. เปนแกนนําหลักในการทํากิจกรรม ประชาชนในชุมชนใหความรวมมือในการจัดงาน และการเขารวมกิจกรรม 2) งานวันข้ึนปใหม เปนกิจกรรมท่ีไมไดดําเนินการตอเนื่องเปนประจําทุกป ในการจัดกิจกรรมนี้ในแตละปตองผานการลงความเห็นของประชาชนในชุมชนผานทางการประชุมชุมชน เนื่องจากกิจกรรมงานปใหมเปนกิจกรรมที่ทุกหนวยงานไมวาจะเปนโรงเรียน สถานท่ีราชการ และท่ีทํางานของแตละคนไดมีการจัดกิจกรรม และรูปแบบของกิจกรรมก็จะมีลักษณะคลายกันคือ การจัดงานเล้ียง และแลกของขวัญ ซ่ึงตองจายเงินคาจัดงานเล้ียง และคาของขวัญอยูแลว ทําใหกอนการจดักิจกรรมตองใหประชาชนในชุมชนไดแสดงความคิดเห็น ยินดีท่ีจะจัดกิจกรรม ซ่ึงทางชุมชนทายควนไมไดมีการจัดกิจกรรมวันข้ึนปใหมมา 2 ป (พ.ศ. 2551-2552)                                                             2 ขอมูลเชิงปริมาณแสดงในภาคผนวก ค

Page 180: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

170 

 

เนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจ ประชาชนในชุมชนมักนิยมจัดงานเล้ียงภายในครอบครัว และระหวางเพื่อนบานขางเคียงกันเอง (พัชรี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) การจัดกิจกรรมตางๆของชุมชนทายควน จัดท่ีบริเวณท่ีวางขางบานของนางรัชนีย วิเชียรซอย (ประธานชุมชนทายควน) ซ่ึงสถานท่ีมีความคับแคบ ไมสะดวกในการทํากิจกรรมของชุมชน การเขามาขององคกรพัฒนาชุมชนท่ีเขามาพัฒนาการปลูกบานถาวรใหแกชุมชนทายควนแลว จากการประสานงานของนางรัชนีย วิเชียรซอย (ประธานชุมชนทายควน) ซ่ึงไดของบประมาณเพ่ิมเติมจากองคกรพัฒนาชุมชนใหมีการกอสรางศาลาเอนกประสงค ซ่ึงต้ังอยูท่ีหนาชุมชน เพื่อใชในการทํากิจกรรมตางๆของชุมชน (ศิริพันธ คามมะวัลย (สัมภาษณ), 10 มีนาคม 2550) จากการท่ีผูคนอพยพเขามาอยูในบริเวณชุมชนทายควน และชุมชนขางเคียงเพิ่มมากข้ึนทําใหชุมชนมีความแออัด สาธารณูปโภคตางๆเร่ิมไมเพียงพอตอความตองการของประชาชน และมีปญหาการระบาดของยาเสพติดหนักข้ึนในชุมชน นายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายเทศมนตรี ไดพยายามท่ีจะเขามาใหความชวยเหลือ และแกปญหาการระบาดของยาเสพติด โดยการจัดหางานใหคนวางงานเขามาเปนลูกจางตามภารกิจของเทศบาล สวนเด็กและเยาวชนในชุมชนก็สนับสนุนใหไดโอกาสไดเรียนหนังสือ (รัชนี วิเชียรซอย (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2550) สงผลใหคุณภาพชีวิต ความเปนอยูของประชาชนในชุมชนทายควนดีข้ึน จากความเปนกันเองของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีท่ีมีตอประชาชน และความรัก และเคารพของประชาชนในชุมชนทายควนตอนายทนงศักดิ์ ทวีทอง สงผลใหกิจกรรมตางๆท่ีเทศบาลเมืองทาขามตองการความชวยเหลือ และความรวมมือจากประชาชนจะไดรับการตอบรับท่ีดีจากประชาชนในชุมชนทายควนเสมอมา แมวากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทายควนไมมีความตอเนื่อง แตแกนนําชุมชนตางก็พยายามท่ีจะทํากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน เพราะตางเห็นวาการทํากิจกรรมการจัดการขยะน้ันทําใหชุมชนมีความสะอาด และสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนก็ดีข้ึนดวย และการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามท่ีมีความสม่ําเสมอกับประชาชน การลงพื้นท่ีชุมชนเปนประจํา สรางความใกลชิดกับประชาชน ประกอบกับลูกหลานของประชาชนในชุมชนบางสวนไดทํางานในเทศบาลเมืองทาขาม สงผลใหประชาชนในชุมชนมีความใกลชิดตอเจาหนาท่ีเทศบาลมากข้ึน ประชาชนสามารถรองขอความชวยเหลือจากเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดทุกเร่ือง โดยไมตองรอใหถึงวันท่ีมีกิจกรรมเทศบาลพบประชาชนเทานั้น ประชาชนในชุมชนจึงตองการที่จะรวมทํากิจกรรมมากย่ิงข้ึน ในสวนของกิจกรรมการจัดการขยะที่ไดดําเนินการในชุมชนทายควนนั้นก็ไดรับการสนับสนุนจาก

Page 181: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

171 

 

เจาหนาท่ีเทศบาลเปนอยางดี เม่ือประสบปญหาในการทํากิจกรรมประชาชนสามารถแจงตอเจาหนาท่ี และไดรับการแกไขปญหาในทันที (ลําจวน คุมหยวง (สัมภาษณ), 24 มิถุนายน 2550) 3) ทุนทางสังคมของชุมชนเจริญลาภ (1) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน ชุมชนเจริญลาภมีลักษณะเปนชุมชนเมือง เดิมเปนสวนหน่ึงของชุมชน ทาลอน ตอมาในป พ.ศ. 2540 เทศบาลเมืองทาขามไดขยายชุมชน และไดแยกชุมชนเจริญลาภออกจากชุมชนทาลอน ประชาชนด้ังเดิมของชุมชนสวนใหญจึงอยูในชุมชนทาลอน วิถีชีวิตของประชาชนมีความหลากหลาย ประชาชนในชุมชนมีการประกอบอาชีพท่ีแตกตางกัน ไมวาจะเปนอาชีพรับราชการ พนักงานบริษัท คาขาย เจาของกิจการ และรับจางท่ัวไป สงผลใหมีกิจวัตรประจําวันแตกตางกันออกไป ภายในชุมชนมีโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลสงออก 2 โรง คือโรงงานแพนเอเซีย และโรงงานสุราษฎรซีฟูด ทําใหมีประชาชนจากตางถ่ินเขามาทํางาน และพักอาศัยอยูในชุมชนเพิ่มข้ึนเปนจํานวนมาก ถึงแมวาจะมีความหลากหลายของประชาชนท่ีเขามาอยูในชุมชนเจริญลาภ แตประชาชนในชุมชนมีความสามัคคีและรวมกิจกรรมสาธารณะเปนอยางดี ชุมชนเจริญลาภเปนชุมชนท่ีริเร่ิมในการแกปญหาขยะในชุมชนเอง และเปนชุมชนท่ีสรางกระบวนการพัฒนาใหเปนกลุมครอบครัวเขมแข็งซ่ึงเปนชุมชนนํารองชุมชนแรกของเทศบาลเมืองทาขาม โดยการประสานงานกับสถาบันครอบครัวเขมแข็ง (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) นอกจากนี้ ยังพบอีกวาการท่ีชุมชนเจริญลาภมีบ านเชา หองแถว และบานจัดสรรเปนจํานวนมาก ทําใหมีประชาชนจากตางถ่ินเขามาพักอาศัยพักแบบช่ัวคราว และถาวรเปนจํานวนมาก การเขาออก หมุนเวียนเขามาอยูอาศัยในชุมชน สงผลใหความเปนอยูของประชาชนในชุมชนเปล่ียนไปจากเดิม เปนการอยูอาศัยแบบตางคนตางอยู การประชุมชุมชนจะทําก็ตอเม่ือมีโครงการ/กิจกรรมท่ีตองการมติ และความคิดเห็นจากประชาชนในชุมชน โดยใชศูนยการเรียนส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ หรือบานของคุณทนง เจริญเวชเปนสถานท่ีในการจัดประชุม (ฉลวย พานแกว (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) และพบวาในชุมชนเจริญลาภไมมีสถานท่ีท่ีประชาชนในชุมชนใชเปนท่ีนัดพบ พูดคุย และแลกเปล่ียนขาวสารประจําวันกัน วิธีการส่ือสารขาวสารใหประชาชนในชุมชนรับทราบนั้น ประธานชุมชนจะข่ีรถจักรยานยนตรอบชุมชน และใชโทรโขงประกาศ แจงขาวสารตางๆใหประชาชนในชุมชนไดรับทราบ (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552)

Page 182: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

172 

 

(2) กลุมภายในชุมชน ชุมชนเจริญลาภมีกลุมตางๆ ท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ โดยกลุมท่ีกอต้ังข้ึนมาน้ี มุงตอบสนองความตองการของประชาชนในชุมชนเปนหลัก จึงทําใหกลุมเหลานี้มีความสัมพันธท่ีดีกับประชาชนในชุมชน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 1) คณะกรรมการชุมชน ชุมชนเจริญลาภมีคณะกรรมการชุมชนมาต้ังแต ป พ.ศ. 2540 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) จํานวน 3 ชุด ในแตละชุดมีคณะกรรมการชุมชน จํานวน 9 คน ซ่ึงผูท่ีตองการเปนคณะกรรมการชุมชนเจริญลาภตองผานการสมัครดวยการเขียนใบสมัคร จากน้ันก็จะเรียกประชุมชุมชนใหประชาชนในชุมชนเลือกคณะกรรมการชุมชนแบบการยกมือสนับสนุน คณะกรรมการชุมชนท่ีไดรับเลือกท้ัง 9 คนจะคัดเลือกผูท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมในการเปนประธานชุมชนกันเอง ซ่ึงวิธีการเลือกคณะกรรมการชุมชนของชุมชนเจริญลาภนี้ไดดําเนินการมาต้ังแตการเลือกคณะกรรมการชุมชนชุดแรกถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) (ฉลวย พานแกว (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) 2) กลุมอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเมือง (อสม.) กลุม อสม.ของชุมชนเจริญลาภมีจํานวน 3 คน เปนบุคคลท่ีมาจากการสมัครเขามาทํางานดวยตนเอง ซ่ึงท้ัง 3 คนทํางานประจําเปนพยาบาล โรงพยาบาลสราญรมย ความสัมพันธของกลุม อสม. ตอประชาชนในชุมชนมีความสัมพันธท่ีดีตอกัน ประชาชนในชุมชนใหการยอมรับเปนอยางดี เนื่องจากงานประจําและงานอสม.เปนงานท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพของประชาชน จึงไดรับความเช่ือถือจากประชาชน (พยอม คงทอง (สัมภาษณ), 27 กุมภาพันธ 2550) ประชาชนในชุมชนสามารถขอความชวยเหลือไดตลอดเวลา และทําใหประชาชนในชุมชนมีสุขภาพอนามัยท่ีดี เม่ือมีกิจกรรมตางๆท่ีตองการความรวมมือจากประชาชน โดยการรองขอจากกลุม อสม. หรือกลุมอ่ืนๆผานทาง อสม. ก็จะไดรับการตอบรับจากประชาชนเปนอยางดี (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 26 กุมภาพันธ 2550) 3) กลุมครอบครัวเขมแข็ง กลุมครอบครัวเขมแข็งในชุมชนเจริญลาภ จัดต้ัง ข้ึนโดยสถาบันครอบครัวเขมแข็ง มีนายวิมล และนางประดับ ศรีเช้ือ เปนแกนนํากลุม มีวัตถุประสงคเพื่อมุงพัฒนาเร่ืองความอบอุนในครอบครัว โดยมีการจัดกิจกรรมตางๆ ท่ีทําใหเยาวชนและครอบครัวไดปฏิสัมพันธกัน โดยใชบริเวณบานนายวิมล เปนสถานท่ีในการจัดกิจกรรม กิจกรรมภายในกลุมท่ี

Page 183: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

173 

 

สงเสริมใหมีการจัดการขยะ มี 2 กิจกรรมไดแก ปุยหมักชีวภาพจากเศษอาหาร และธนาคารขยะ (กลุมครอบครัวเขมแข็ง, 2550) จากการศึกษาขอมูลปริมาณ3ถึงประเด็นการจัดต้ังกลุมในชุมชนเจริญลาภ พบวาประชาชนรอยละ 92.3 ทราบวามีการจัดต้ังกลุมในชุมชน โดยรอยละ 69.2 รูจักกลุม อสม. รอยละ 67.3 รูจักคณะกรรมการชุมชน รอยละ 55.8 รูจักกลุมกองทุนของชุมชน และรอยละ 38.5 รูจักกลุมครอบครัวเขมแข็ง ประชาชนในชุมชนรอยละ 40.4 เขารวมเปนสมาชิกของกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนในชุมชน สาเหตุของการเขารวมเปนสมาชิกมาจากเพ่ือนบานถึงรอยละ 33.3 (3) กิจกรรมภายในชุมชน ภายในชุมชนเจริญลาภมีการจัดกิจกรรมตางๆที่ดําเนินการตอเนื่องเปนประจําทุกป ดังนี้ 1) วันข้ึนปใหม งานวันข้ึนปใหมของชุมชนเจริญลาภ กิจกรรมมีการตักบาตร ถวายอาหารเชาแกพระสงฆ มักจะจัดกอนวันท่ี 1 มกราคม กอน 1-2 วัน (ตามความเหมาะสม) เพื่อตองการใหประชาชนในชุมชนไดไปรวมทําบุญตักบาตรในวันข้ึนปใหมท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดจัดข้ึน ซ่ึงงานวันข้ึนปใหมของชุมชนเจริญลาภดําเนินการตอเนื่องทุกป (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) 2) วันสงกรานต งานวันสงกรานต กิจกรรมท่ีทางชุมชนเจริญลาภไดดําเนินการนั้นเนนไปท่ีการทํากิจกรรมตามประเพณีตามศาสนา มีการทําบุญตักบาตร สรงน้ําพระ และรดน้ําดําหัวผูใหญท่ีประชาชนในชุมชนใหความเคารพนับถือ ใชศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภเปนสถานท่ีในการจัดกิจกรรม กิจกรรมวันสงกรานตของชุมชนเจริญลาภจัดข้ึนในวันท่ี 12 เมษายน ของทุกป (ฉลวย พานแกว (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) 3) วันแม (12 สิงหาคม) งานวันแมเปนอีกหนึ่งวันสําคัญท่ีชุมชนเจริญลาภจัดกิจกรรมขึ้น โดยรูปแบบของกิจกรรมเนนไปท่ีการพัฒนา และทําความสะอาดชุมชน กิจกรรมวันแมดําเนินการในชุมชนคร้ังแรกในป พ.ศ. 2540 ไดมีการพัฒนาชุมชน ขุดลอกทอระบายน้ํา ตัดแตงกิ่งไมขางถนนรอบชุมชน และเปนวันเร่ิมตนของการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะ บนถนนเจริญเวชดวย จากนั้นเปนตนมารูปแบบของกิจกรรมวันแมจึงเปนการพัฒนาชุมชนโดยมีเทศบาลเมืองทาขามใหการ                                                            3 ขอมูลเชิงปริมาณแสดงในภาคผนวก ค

Page 184: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

174 

 

สนับสนุนอุปกรณ รวมท้ังจัดเจาหนาท่ีเทศบาลลงมารวมทํากิจกรรมกับประชาชนดวย ซ่ึงกิจกรรมวันแมนั้นไมไดดําเนินการทุกปแลวแตความเหมาะสม และความพรอมของประชาชนในชุมชน และเทศบาลเมืองทาขาม (วิมล ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) 4) วันลอยกระทง ชุมชนเจริญลาภมีพื้นท่ีชุมชนบางสวนติดแมน้ําตาป เหมาะสมในการจัดกิจกรรมวันลอยกระทง เปาหมายในการจัดกิจกรรมเนนไปที่กลุมเยาวชน เพื่อฝกใหเยาวชนในชุมชนรวมกันอนุรักษแมน้ํา ใชวัสดุธรรมชาติในการทํากระทง โดยกลุมครอบครัวเขมแข็งเปนแกนนําในการทํากิจกรรม เร่ิมต้ังแตการจัดเตรียมวัสดุในการทํากระทง และมีผูใหญในชุมชนท่ีมีความสามารถในการทํากระทงมาสอนวิธีการทํากระทงใหกับเยาวชน กิจกรรมน้ีไดรับการตอบรับเปนอยางดี ท้ังจากเยาวชน และประชาชนในชุมชน กิจกรรมวันลอยกระทงของชุมชนเจริญลาภดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2547 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) (ประดับ ศรีเช้ือ (สัมภาษณ), 9 มกราคม 2552) ถึงแมวาชุมชนเจริญลาภเปนชุมชนเมือง ประชาชนท่ีเปนคนด้ังเดิมมีจํานวนนอย ประชาชนสวนใหญเปนคนตางถ่ิน ขาดความรัก ความผูกพันตอชุมชน แตดวยแกนนําชุมชนท่ีเขมแข็ง มีความรู สามารถทํางานรวมกับคนในชุมชนได ทําใหชุมชนเจริญลาภมีกิจกรรมตางๆท่ีสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องข้ึนในชุมชน ไมเพียงแตกิจกรรมงานประเพณีเทานั้น แตชุมชนเจริญลาภสามารถทํากิจกรรมการจัดการขยะ จนเปนตนแบบการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ของเทศบาลเมืองทาขาม และมีรูปแบบกิจกรรมท่ีหลากหลาย สามารถจัดต้ังเปนศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ เม่ือกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เจริญลาภ ไดรับการยอมรับจากประชาชน หนวยงานตางๆ ยิ่งทําใหการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเจริญลาภมีความเขมแข็ง และประชาชนในชุมชนตางก็ตองการที่จะดํารง รักษากิจกรรมการจัดการขยะใหคงอยูตอไป เห็นไดวาในแตละชุมชนมีกระบวนการพัฒนาทุนทางสังคมท่ีแตกตาง อยางไรก็ตามความไววางใจ และความรวมมือของคนทําใหเกิดความสัมพันธระหวางคนหรือสถาบันข้ึน โดยความสัมพันธดังกลาวต้ังอยูบนพื้นฐานของความไววางใจ ความเอ้ืออาทรตอกัน ความชวยเหลือเกื้อกูลกัน ส่ิงเหลานี้เปนทุนทางสังคมท่ีเปรียบเสมือนสมบัติสาธารณะท่ีสมาชิกทุกคนในชุมชนสามารถเขาถึงและใชประโยชนไดตลอดเวลา ท่ีสําคัญทุนทางสังคมเปนส่ิงท่ียิ่งใชก็จะยิ่งเพิ่มมากข้ึน (วรวุฒิ โรมรัตนพันธ, 2548)

Page 185: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

175 

 

ทุนทางสังคมเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอทุกองคกรไมวาจะเปนเทศบาลเมือง ทาขาม หรือชุมชน เพราะทุนทางสังคมเปนฐานในการทํากิจกรรมตางๆของเทศบาล และชุมชน การเกิดทุนทางสังคมเร่ิมตนมาจากความไววางใจ การชวยเหลือเกื้อกูลกัน ซ่ึงตองใชระยะเวลาในการในการเกิดทุนทางสังคม และทุนทางสังคมก็จะนําเทศบาล และชุมชนไปสูความสําเร็จของการเขามามีสวนรวมของประชาชน จากการศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และปจจัย ธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน พบวาในแตละชุมชนมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีแตกตางกัน ตามเง่ือนไขและความพรอมของแตละชุมชน ซ่ึงท้ัง 3 ชุมชนมีทุนทางสังคมภายในชุมชนแตละชุมชนอยูในระดับสูง แตมีความแตกตางกันเร่ืองของการทํากิจกรรมการจัดการขยะ สามารถสรุปไดดังนี้ ชุมชนฝายทา การทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนการดําเนินการเพียงคร้ังเดียวในป พ.ศ. 2547 เปนการเขาไปทํากิจกรรมของเทศบาลเมืองทาขาม เนื่องจากขยะไมไดเปนปญหาของชุมชนฝายทาจึงไมมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน ชุมชนทายควน การทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมีการดําเนินการ 2 กิจกรรมไดแก 1) กิจกรรมขยะแลกไข ในป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2547 และ 2) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ ในป พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2550 เนื่องจากชุมชนท ายควน เคยมีการระบาดของโรคไขเลือดออก สาเหตุการเกิดจากขยะตกคางในชุมชน อสม. ชุมชน และคณะกรรมการชุมชนจึงมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะ เพื่อปองกันการกลับมาของโรค ชุมชนเจริญลาภ ถือวาเปนชุมชนตนแบบของการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ในชุมชนมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางเน่ืองไดแก 1) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ เร่ิมดําเนินการต้ังแตป พ.ศ. 2540 2) กิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ เร่ิมดําเนินการต้ังแตป พ.ศ. 2548 และ 3) กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน เร่ิมดําเนินการต้ังแตป พ.ศ. 2549 ซ่ึงท้ัง 3 กิจกรรมยังคงดําเนินการตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) และสามารถจัดต้ังเปน ศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ ชุมชนเจริญลาภมีความพรอมเร่ืองของแกนนําในการทํากิจกรรม และสถานท่ีในการทํากิจกรรม จึงเปนขอไดเปรียบกวาชุมชนอ่ืนๆ นอกจากนี้ปจจัยธรรมาภิบาลในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนั้น ทุกชุมชนไดรับจากเทศบาลเมืองทาขามเหมือนกัน แตแตกตางกันในประเด็นของการมีสวนรวม เนื่องจากการเขามามีสวนรวมของประชาชนในแตละชุมชนนั้นข้ึนอยูกับปจจัยทุนทางสังคมของแต

Page 186: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

176 

 

ละชุมชน ถึงแมวาท้ัง 3 ชุมชนจะมีทุนทางสังคมในระดับสูง แตก็ไมไดหมายถึงการมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะเพียงอยางเดียว เพราะขยะไมไดเปนปญหาของทุกชุมชน  

Page 187: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 177

บทท่ี 5

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ การศึกษาวิจัยเร่ืองธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยศึกษา 3 ชุมชน ไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแตป พ.ศ.2539-2549 ปจจัยธรร-มาภิบาล และทุนทางสังคมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และแนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน การศึกษาในคร้ังนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพรวมกับวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ผลการศึกษาท้ังหมดสามารถสรุปผล และอภิปรายผลการศึกษา รวมท้ังขอเสนอแนะไดดังนี้ 5.1 สรุป และอภิปรายผลการศึกษา 5.1.1 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามตั้งแต ป พ.ศ.2539-2549 ในการศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม ผูวิจัยไดทําการศึกษาปญหาขยะ วิธีการจัดการขยะ ตลอดจนถึงรูปแบบที่เหมาะสมตอการจัดการขยะของเทศบาลเมือง โดยมีประเด็นดังนี้ (1) สถานการณ และปญหาขยะของเทศบาลเมืองทาขาม จากการเก็บขอมูลปริมาณขยะในป พ.ศ. 2546 พบวาในแตละวันมีปริมาณขยะ 22.5 ตันตอวัน เปนขยะท่ีเกิดจากบานเรือนของประชาชน ไมไดรวมปริมาณขยะท่ีเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและโรงพยาบาลท่ีต้ังอยูในเขตเทศบาล สวนการจัดการขยะใชวิธีการฝงกลบ (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2547) และดวยสภาพพื้นท่ีของชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามมีพื้นท่ีท่ีติดกับแมน้ําตาป เปนท่ีทางลาดชัน พื้นท่ีมีอยูอยางจํากัดของเทศบาลเมืองทาขาม ทําใหเทศบาลเมืองทาขามไมมีพื้นท่ีฝงกลบขยะเปนของตัวเอง ตองไปใชพื้นท่ีในเขตองคการบริหารสวนตําบลทาสะทอน ไดรับการอนุเคราะหจากภาคเอกชน เพื่อใชเปนพื้นท่ีฝงกลบขยะ และดวยสภาพชุมชนท่ีมีท้ังชุมชนเกษตร ชุมชนเมือง และชุมชนแออัด ทําใหยากตอการเขาไป

Page 188: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

178

เก็บขนขยะออกจากพ้ืนท่ีมากําจัดไดหมด จึงทําใหในบางชุมชนมีขยะตกคาง และนําไปสูการเกิดโรคไขเลือดออกในชุมชนแออัด (2) โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตั้งแตป พ.ศ. 2539 - 2549 จากปญหาปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในแตละวันเปนจํานวนมากถึง 22.5 ตันตอวัน และการขาดแคลนพื้นท่ีฝงกลบขยะ ขีดความสามารถในการเก็บขนขยะมีจํากัด และการกําจัดยังคงใชวิธีการกองบนพื้นดินและไถกลบเปนคร้ังคราว จึงไดแนวความคิดในการริเร่ิมทําโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนต้ังแตป พ.ศ. 2539 เปนตนมา พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามต้ังแตป พ.ศ. 2539-2549 นั้นสามารถดําเนินการลดปริมาณขยะลงได โดยเทศบาลเมืองทาขามมีเปาหมายในการลดปริมาณขยะลง และควบคุมใหไดอยูท่ี 14 ตันตอวัน จากการชั่งปริมาณขยะคร้ังแรกในป พ.ศ. 2546 มีปริมาณขยะ 22.5 ตันตอวัน ช่ังคร้ังท่ีสองในป พ.ศ. 2547 ปริมาณขยะลดลงเหลือ 19 ตันตอวัน และช่ังคร้ังท่ีสามในป พ.ศ. 2550 ปริมาณขยะลดลงเหลือ 18.74 ตันตอวัน แมวายังไมสามารถลดปริมาณขยะลงไดตามเปาหมาย (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 25 กุมภาพันธ 2551) ตลอดระยะเวลา 10 ปท่ีผานมาเทศบาลเมืองทาขามพยายามหาแนวทาง และรูปแบบท่ีเหมาะสมในการจัดการขยะของเทศบาล แตวิธีการในการเขาถึงประชาชน และใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะยังไมครอบคลุมท้ังพื้นท่ี มีเพียงประชาชนในบางชุมชนเทานั้นท่ีไดเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน โดยเทศบาลเมืองทาขามไดคัดเลือกชุมชนท่ีเขารวมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตามความพรอมของผูนําชุมชน และตามปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชน เนื่องจากประชาชนสวนใหญตางเห็นวาการจัดการขยะเปนหนาท่ีของเทศบาลท่ีตองรับผิดชอบ และประชาชนเสียคาธรรมเนียมในการเก็บขนไปแลวดวย จึงทําใหประชาชนสนใจและเขารวมในกิจกรรมการจัดการขยะชุมชนเปนจํานวนนอย ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของกมลศักดิ์ ธรรมาวุธ (2540) ศึกษาเร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ จังหวัดสงขลา กลาวคือ ประชาชนสวนใหญยังไมเห็นความสําคัญของการคัดแยกมูลฝอย เพราะคิดวาปญหามูลฝอยเปนปญหาท่ีไกลตัว จากการศึกษาพัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน พบวารูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการมาแลวมี 5 รูปแบบ ไดแก 1) การรณรงค/ประชาสัมพันธ 2) การอบรม 3) การสาธิต 4) ทัศนศึกษา และ 5) อ่ืนๆ ไดแก กิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน รูปแบบการจัดอบรมแกนนําชุมชนไดมีการดําเนินการทุกปมาต้ังแตป พ.ศ. 2539 การจัดกิจกรรมในรูปแบบการจัดอบรม กิจกรรมเหลานี้ไมไดกอใหเกิดการนํา

Page 189: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

179

กิจกรรมการจัดการขยะมาสูชุมชน จะเห็นไดว าแกนนําบางชุมชนไมไดนํากิจกรรมการอบรมมาสานตอ และประชาสัมพันธใหประชาชนหรือขับเคล่ือนการปฏิบัติใดๆใหแกประชาชนในชุมชน กิจกรรมการจัดการขยะท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชนจึงไมเปนกิจกรรมท่ีเกิดจากความคิดริเร่ิมของประชาชนในชุมชนเอง แตเปนกิจกรรมท่ีเทศบาลคิดข้ึน แลวเชิญชวนใหประชาชนเขามารวมกิจกรรมดวย เชนการจัดกิจกรรมขยะแลกไขของชุมชนบนควน ประชาชนท่ีเปนแกนนําชุมชนเห็นดวยกับการทํากิจกรรม และเขารวมในการทํากิจกรรม แตประชาชนในชุมชนบางกลุมท่ีไมเห็นดวย และไมมีความพรอมจึงไมเขารวมกิจกรรม แสดงใหเห็นวากิจกรรมท่ีจัดข้ึนเปนเพียงแคการสรางการรับรู แตไมไดเสริมสรางการเรียนรูท่ีนําไปสูการเปล่ียนแปลงของคนหรือการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน จึงถือไดวากลุมประชาชนสวนใหญในชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามยังไมเกิดการเรียนรู ยกเวนบางชุมชนท่ีประสบผลสําเร็จในการดําเนินการดวยตนเอง เชนชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ ซ่ึงเปนชุมชนท่ีมีความพรอม เนื่องจากประชาชนในชุมชนไดมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะกอนการเขามาสงเสริมของเทศบาล รวมท้ังผูนํา คณะกรรมการชุมชน และกลุม อสม. มีคุณสมบัติของการเปนผูนํา มีการประชุมรวมกันอยางตอเนื่อง มีการบริหารจัดการ การแบงหนาท่ีความรับผิดชอบอยางชัดเจน ท้ังนี้ไดรับการสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณจากเทศบาลเมืองทาขาม และใชเวลาในการทําแตละกิจกรรมเปนเวลานาน จึงจะสามารถชักชวนใหประชาชนในชุมชนเขามามีสวนรวมในการทํากิจกรรมได จึงทําใหมีการขับเคล่ือนกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีส วนร วมของ ชุมชนได กระบวนการดั งกล า วสอดคล องกับผลงานวิ จั ยของ ธนาพร ประสิทธนราพันธุ (2544) ซ่ึงศึกษาเร่ืองการจัดการขยะชุมชน: กรณีบานดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง และพบวา ปจจัยดานการเรียนรูขาวสาร ผูนํา การมีสวนรวมของชุมชน การสนับสนุนของสํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ และเทศบาลนครลําปาง มีผลตอการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน และสวนปจจัยระบบเวลาท่ียาวนานในการทํากิจกรรมเพ่ือทําใหกิจกรรมสามารถขับเคล่ือนไปไดอยางตอเนื่อง ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของนฤดี บุญชุม (2547) ซ่ึงศึกษาเร่ืองแนวทางการปรับปรุงการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนปริกตก เทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา และพบวามีการดําเนินกิจกรรมดานการจัดการมูลฝอยในชุมชนมาเปนเวลา 2 ป ประชาชนจึงเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการจัดการมูลฝอยท่ีเหมาะสมสําหรับชุมชน จากการศึกษา ผูวิจัยยังพบวาการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น ชุมชนท่ีสามารถดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไดอยางตอเนื่อง และมีการระบุกิจกรรมลงในแผนชุมชนไดแก ชุมชนทายควนเนื่องจากมีลักษณะเปนชุมชนแออัด และชุมชนเจริญลาภมีลักษณะเปนชุมชนเมือง สอดคลองกับ

Page 190: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

180

งานวิจัยของ กมลศักดิ์ ธรรมาวุธ (2545) ศึกษาเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวา ลักษณะของชุมชนท่ีแตกตางกันมีผลทําใหประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยแตกตางกัน โดยประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนท่ีมีลักษณะความเปนเมืองจะมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยมากกวาประชาชนท่ีอาศัยอยูในชุมชนลักษณะอ่ืน แตจากการศึกษาคร้ังนี้พบวาชุมชนทายควน ซ่ึงเปนชุมชนแออัดนั้น เปนชุมชนท่ีมีผูนํา คณะกรรมการ และกลุมอสม.ท่ีมีความเขมแข็ง ไดพยายามทํากิจกรรมการจัดการขยะภายในชุมชน โดยใชกิจกรรมท่ีเทศบาลเคยเขามาดําเนินการใหภายในชุมชน ดําเนินการเขียนโครงการเพื่อขอความรวมมือจากเทศบาลใหเขามาสนับสนุนในการทํากิจกรรม เนื่องจากประชาชนท่ีอาศัยในชุมชนทายควนเปนคนตางถ่ินท่ีอพยพเขามาอยูในเมืองทาขาม จึงพยายามที่จะสรางความเขมแข็งของชุมชน โดยการใหความรวมมือในกิจกรรมตางๆกับเทศบาลเมืองทาขาม และมีความรักตอพื้นท่ีเมืองทาขามไมตางกับประชาชนดั้งเดิมของพื้นท่ี โดยสรุป เง่ือนไขท่ีเปนส่ิงจูงใจใหชุมชนเขามามีสวนรวมไดแก มีความตองการของชุมชนท่ีจะรับผลประโยชนท่ีจะเกิดข้ึนมา ไมวาจะเปนผลทางกายภาพท่ีเห็นไดอยางชัดเจน เชน ชุมชนมีการพัฒนา มีความสะอาดมากข้ึน และลดการเกิดโรคระบาดภายในชุมชน เปนตน และผลทางดานจิตใจ ตลอดจนทุนทางสังคมในชุมชน ท่ีทําใหประชาชนในชุมชนมีความรัก ความสามัคคี และมีความพรอมท่ีจะทํากิจกรรมอื่นๆท่ีเปนประโยชนตอชุมชน และตอเทศบาล รวมท้ังเปนการสรางความภาคภูมิใจใหแกประชาชนในชุมชนอีกดวย 5.1.2 ปจจัยธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน (1) ปจจัยธรรมาภิบาล เทศบาลเมืองทาขามไดนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงานเทศบาลมาต้ังแตนายทนงศักดิ์ ทวีทอง เขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีในป พ.ศ. 2539 แตยังไมไดมีการระบุชัดวาเปนการนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงาน ตอมาใน ป พ.ศ. 2546 เทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัลชมเชยในการบริหารจัดการธรรมาภิบาล สงผลใหเทศบาลมีการจัดระบบการทํางานตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใชในการบริหารงานเทศบาลเมืองทาขามอยางเปนรูปธรรมชัดเจนยิ่งข้ึน เปนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานของเทศบาล จากการศึกษาเอกสารของเทศบาลเมืองทาขาม พบวาหลักธรรมาภิบาลท่ีเทศบาลเมืองทาขามใชเปนแนวทางในการบริหารงานเทศบาล มี 6 หลัก ประกอบดวยดังนี้ 1) หลักนิติธรรม 2) หลักคุณธรรม 3) หลักความรับผิดชอบ 4) หลักความโปรงใส 5) หลักการมีสวนรวม และ 6) หลักความคุมคา (มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด) ซ่ึงเปนหลักการที่ผูบริหารเทศบาลใหเปนแนวทางแกเจาหนาท่ี

Page 191: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

181

ผูปฏิบัติงานทุกคนไดยึดเปนแนวทางเดียวกัน จนทําใหเทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัลการบริการงานตามหลักการธรรมาภิบาลเร่ือยมาต้ังแต ป พ.ศ. 2546 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) และในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาหลักการธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการของเทศบาลเมืองทาขาม 4 ประเด็น ดังนี้ 1) การมีสวนรวม 2) ความรับผิดชอบ 3) การสนองตอบตอความตองการของประชาชน และ 4) ความโปรงใส กลาวไดวา เทศบาลเมืองทาขามมีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการอยูในระดับสูง ซ่ึงสามารถยืนยันไดจากรางวัลท่ีไดรับ โดยเฉพาะอยางยิ่งในหลักการมีสวนรวมของประชาชนน้ัน เทศบาลเมืองทาขาม เนนมีการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอนในการดําเนินการ ต้ังแตการเสนอโครงการ การตัดสินใจ การประกวดราคา การดําเนินการกอสราง การตรวจรับงาน ซ่ึงท้ังหมดจะตองผานมาจากประชาชน หรืออยางนอยก็เปดโอกาสใหตัวแทนประชาชนเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอน โดยใชส่ือและชองทางตางๆของเทศบาลเมือง ทาขามเปนแหลงใหขอมูลกับประชาชน การบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขาม เร่ิมดวยการเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามีสวนรวม ต้ังแตการใหประชาชนไดมีสวนรวมทางการเมืองในการเลือกผูนําของตนเองท้ังในระดับเทศบาล และชุมชน ในการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขาม กระบวนการเขามามีสวนรวมของประชาชนตอการบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามน ั้นเกิดข้ึนมาจากหลายปจจัย การที่ เทศบาลเมืองทาขามเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามารวมทําแผนพัฒนารวมกับเทศบาล ซ่ึงเปนข้ันตอนเริ่มตนของการมีสวนรวมของชุมชน ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของพนัส พฤกษสุนันท (2545) เร่ืองปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนนาอยู กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี กลาวคือ กระบวนการวิจัยท่ีจัดข้ึนนี้ทําใหเกิดการเรียนรูปญหาและทุนของชุมชน จึงทําใหประชาชนรวมกันวิเคราะหปญหา และแนวทางแกไข รวมกันตัดสินใจในทุกข้ันตอนจนเกิดเปนแผนแมบทชุมชนพ่ึงตนเองเพ่ือพัฒนาชุมชนนาอยู เกิดการต้ังสภาชุมชนและคณะกรรมการบริหารชุมชนท่ีสามารถขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชน ไตรรัตน โภคพลากรณ (2549) ไดศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมกับการบริหารการคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน: ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลหวยกะป อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และองคการบริหารสวนตําบลเขาสามยอด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พบวาการท่ีประชาชนมีความเต็มใจในการจายภาษีนั้น เนื่องมาจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีความโปรงใสที่ประชาชนสามารถตรวจสอบและเขาถึงไดอยางงาย พรอมกับมีการแสดงการใชจายขององคกรปกครองสวนทองถ่ินอยางโปรงใส การศึกษานี้สอดคลองกับเทศบาลเมืองทาขาม กลาวคือ นอกจากการเขามีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะของประชาชนในชุมชนแลว การทํา

Page 192: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

182

หนาท่ีประชาชนท่ีดีในการจายภาษีของประชาชนในพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองทาขามนั้นพบวาประชาชนใหความรวมมือในการเต็มใจจายภาษีดวยดี จากการเก็บขอมูลของกองคลัง เทศบาลเมืองทาขาม พบวาประชาชนรอยละ 80 ใหความรวมมือในการจายภาษี (กองคลัง เทศบาลเมืองทาขาม, 2549 )โดยทางกองคลังก็ไดพยายามแสดงความโปรงใสทุกรูปแบบท่ีใหประชาชนไดเห็นถึงการทํางานของกองคลัง นอกจากนั้น ในการดําเนินการตางๆของเทศบาลเมืองทาขาม ยังยึดถือระเบียบปฏิบัติของทางราชการเปนสําคัญ การดําเนินการทุกข้ันตอนตองมีเอกสารอางอิงใหสามารถตรวจสอบได ทําใหไมเคยมีขอรองเรียนเร่ืองการทุจริตคอรัปช่ัน อีกท้ังการดําเนินการตางๆของเทศบาลเมืองทาขามไมมีการเลือกปฏิบัติ ทุกคนมีความเสมอภาคเทาเทียมกัน ดังนั้นการบริหารจัดการของเทศบาลเมืองทาขามจึงมีความโปรงใส ในดานความรับผิดชอบ เทศบาลมีการวางระบบงาน เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานมีความเขาใจตอภาระหนาท่ีหลักท่ีรับผิดชอบ ท้ังนี้เทศบาลเมือง ทาขามใหความสําคัญตอขอรองเรียนตางๆท่ีเกิดข้ึน เม่ือมีการรองเรียนข้ึนมาจากประชาชน เทศบาลจะทําการตรวจสอบ และรีบดําเนินการแกไขภายในเวลาอันรวดเร็ว ตลอดจนมีการประเมินผลอยางไมเปนทางการจากขอรองเรียนของประชาชนในพื้นท่ี ซ่ึงเปนตัวช้ีวัดความสําเร็จของการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางๆ นอกจากนั้นเทศบาลเมืองทาขามทํางานในเชิงรุก โดยไมเปนฝายรอต้ังรับอยูท่ีสํานักงานเทศบาล แตเลือกท่ีจะเดินลงพื้นท่ีไปพบประชาชนในชุมชน เพื่อสอบถามปญหา และความตองการจากประชาชนอยางสมํ่าเสมอ การบริหารงานตามหลักการธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองทาขามมีความสอดคลองกับการศึกษาของเจนสรร เจนสัจวรรณ (2549) ศึกษาเร่ืองธรรมาภิบาลดานการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลหนองไผ อําเภอดานมะขามเต้ีย จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีพบวาปจจัยท่ีสงผลใหองคการบริหารสวนตําบลหนองไผ มีรูปแบบการบริหารจัดการดานส่ิงแวดลอมท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาลนั้น เกิดจากปจจัยสําคัญหลายประการ ท้ังในสวนปจจัยภายใน ไดแกรูปแบบการบริหารจัดการ ลักษณะความสัมพันธของบุคลากรฝายตางๆภายในองคการบริหารสวนตําบล ตลอดจนทัศนคติและบุคลิกลักษณะสวนตัวของผูนําฝายบริหาร คือ นายกองคการบริหารสวนตําบล และความสามารถของผูนําฝายขาราชการ คือ ปลัดเทศบาล ซ่ึงความคาดหวังของประชาชนลักษณะดังท่ีกลาวไปนั้น เปนลักษณะโครงสรางของสังคมไทย เชนเดียวกับประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม การใหการยอมรับและเขามามีสวนรวมกับเทศบาลนั้นเปนเร่ืองท่ีคอนขางยาก เนื่องดวยความคิดท่ีประชาชนทั่วไปมีตอเทศบาลนั้นคือ ภาระงานทุกอยางท่ีเทศบาลตองรับผิดชอบนั้น ไมมีความเกี่ยวของกับประชาชน ประชาชนเปนเพียงแคผูรับการบริการจากเทศบาลเพียงอยางเดียว ดังนั้นเทศบาลจึงตองวางแนวทาง และ

Page 193: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

183

วิธีการที่จะชักจูงประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการบริหารงานรวมกันกับเทศบาลใหไดมากท่ีสุด การนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงานของเทศบาลนั้น เปนการบริหารงานในภาพรวมท่ีดี สามารถเขาถึงปญหาและความตองการของประชาชนในพื้นท่ีไดเพียงระดับการบริหารงานของเทศบาลเทานั้น และเปนการส่ังการในแนวดิ่ง พบวาการท่ีประชาชนเขารวมในกิจกรรมตางๆของเทศบาลนั้น ไมทราบวาเทศบาลนําหลักธรรมาภิบาลเขามาใชในการบริหารงาน แตเขารวมและใหความรวมมือกับเทศบาลนั้น เนื่องจากประชาชนมีความคาดหวังท่ีจะไดรับการดูแล ความชวยเหลือ และพ่ึงพิงจากเทศบาลในอนาคต การดําเนินงานการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมือง ทาขาม ไมใชเปนเพียงการรับรู และปฏิบัติภายในหนวยงานเทศบาลเทานั้น ภาคประชาชนเปนสวนหนึ่งท่ีมีความสําคัญในการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล เนื่องจากเปาหมายการทํางานของเทศบาลนั้นตองการใหประชาชนในเขตเทศบาลมีความเปนอยูท่ีดี และพึงพอใจตอการทํางานของเทศบาล ดังนั้นการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลจะประสบความสําเร็จไดนั้นตองไดรับความรวมมือในการปฏิบัติรวมกันจากทุกฝาย (2) ปจจัยทุนทางสังคม การศึกษาครั้งนี้ศึกษาทุนทางสังคม ไดแก 1) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม ไดแก ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี และทุนทางสังคมของเจาหนาท่ี และ 2) ทุนทางสังคมของชุมชน ผลการศึกษาสรุป และอภิปรายได ดังนี้ (1) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม ไดแก ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี และทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม ดังนี้ 1) ทุนทางสังคมของนายกเทศมนตรี การทํางานการเมืองจะตองอาศัยความศรัทธาของประชาชนท่ีมีตอผูนํา ซ่ึงจะเกิดข้ึนได เนื่องจากประชาชนเห็นวาผูนํามีการทํางานอยางจริงจัง ยอมสละเวลา ทุนทรัพยและแรงกายใหกับสวนรวม ไมเห็นแกประโยชนสวนตัวแตทําเพื่อสวนรวม ซ่ึงนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ไดรับการยอมรับจากประชาชนในเมืองทาขาม และบุคคลท่ัวไปมาต้ังแตกอนเขามารับตําแหนงนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม เม่ือนายทนงศักดิ์ ทวีทองเขามาสูการเมืองทองถ่ิน จากการที่เปนบุคคลท่ีไดรับการยอมรับจากประชาชนอยูแลว สงผลใหไดรับเลือกต้ังใหดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีต้ังแต ป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) นอกจากเปนผูท่ีไดเสียสละ และพยายามพัฒนาตนเองอยูอยางสม่ําเสมอจนเปนท่ียอมรับของผูใตบังคับบัญชาและประชาชน และดานพฤติกรรมของนายทนงศักดิ์ ทวีทองก็เปนแบบอยางท่ีดีใหกับสังคมดวยเชนกัน

Page 194: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

184

ความศรัทธาท่ีมีตอนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีนั้นมิไดมีเฉพาะเจ าหน า ท่ี เทศบาล เ มืองท าข าม เท านั้ น ประชาชนในพื้ น ท่ี มีความ รัก และศ รัทธาตอ นายทนงศักดิ์ ทวีทองเปนอยางมาก เนื่องจากเปนคนท่ีทํางานอยางจริงจัง มีการชวยเหลือประชาชนอยางตอเนื่อง จากการศึกษาพบวาเม่ือประชาชนในพื้นท่ีมีปญหา หรือตองการความชวยเหลือ นายกเทศมนตรีจะ เปนบุคคลแรกที่ประชาชนในเ มืองท าข ามไปพบ การทํางานของ นายทนงศักดิ์ ทวีทองนั้นใหเกียรติตอทุกความคิดเห็นท่ีเสนอเขามาจากเจาหนาท่ีทุกระดับ รวมท้ังใหความเสมอภาคเทาเทียมกัน การบริหารงานของเทศบาลเมืองทาขามตั้งแต ป พ.ศ.2539-2549 เทศบาลเมืองทาขามมีนายกเทศมนตรีเพียงคนเดียว คือนายทนงศักดิ์ ทวีทอง สงผลตอความผูกพัน ความรัก ความเคารพ นับถือ และความศรัทธาของประชาชนท่ีมีตอนายกเทศมนตรีเปนอยางมาก จากการศึกษาพบวาประชาชนมีความเช่ือถือ ศรัทธา และยอมรับนายกเทศมนตรีและคณะผูบริหารเทศบาล ประชาชนเขามารวมในกิจกรรมตางๆ ไมวาจะเปนกิจกรรมท่ัวไป และการจัดการขยะ เนื่องจากฐานครอบครัวของนายกเทศมนตรีเปนคนในเมืองทาขามไดรับความเคารพนับถือจากประชาชนในพ้ืนท่ี ในชวงระยะเวลาการทํางานในตําแหนงนั้นสามารถทําใหประชาชนยอมรับในการทํางาน จะเห็นไดจากประชาชนแสดงความคิดเห็นวานายกเทศมนตรีใหความสนใจ เอาใจใสปญหาของประชาชน สอดคลองกับงานวิจัยของณรงค บุญสวยขวัญ (2549) ศึกษาเร่ืองนักการเมืองทองถ่ินจังหวัดนครศรีธรรมราช พบวาอัตลักษณทางการเมืองของนักการเมืองทองถ่ิน คือ มีความรูสูงหรือมีการศึกษาคนควาอยูตลอดเวลา พรอมกับมีความใกลชิดประชาชนอยางมาก การอุปถัมภดวยการสรางโครงสรางพัฒนาทางกายภาพ สรางวาทกรรมทางการเมือง ความกลาหาญท่ีช้ีนําประชาชนใหเห็นถึงความถูกตอง กระบวนการสรางเครือขายทางการหาเสียงในชวงแรกมีการใชพรรคพวก ญาติ เครือขายวิชาชีพครู เครือขายสถาบันการศึกษาซ่ึงเปนกลุมท่ีตอยอดกลุมทางสังคมท่ีทางราชการสรางข้ึนมา ซ่ึงสอดคลองกับฐานเสียงทางการเมืองของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม ท่ีลาออกจากการเปนครู และลงการเมืองทองถ่ิน โดยมีพรรคพวก และเครือญาติเปนฐานเสียงทางการเมืองท่ีสําคัญ เห็นไดวาประชาชนมีความรูสึก และศรัทธาตอนายกเทศมนตรี เร่ืองของความรักและความศรัทธาเปนเร่ืองของความรูสึกท่ีดีตอกัน โดยสรุปความรูสึกนี้จะเปนพลังผลักดันใหเกิดการรวมมือกันซ่ึงเปนผลดีตอการบริหารงานเทศบาลเมืองทาขาม ความรักและความศรัทธาที่มีตอผูนํา เปนปจจัยท่ีมีความสําคัญอยางยิ่ง กับชุมชนในการเขารวมงานโครงการ/กิจกรรมตางๆท่ีเทศบาลไดจัดข้ึน จากการศึกษาพบวา ในมุมมองหรือภาพลักษณในสายตาประชาชนน้ันสวนใหญใหการยอมรับนับถือ และศรัทธาตอนายกเทศมนตรี ประเด็นนี้มีความสอดคลองกันท้ังใน

Page 195: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

185

เชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณกลาวคือ การศึกษาเชิงคุณภาพ พบวาผูนําทองถ่ินในภาพนักการเมืองทองถ่ินคือนายกเทศมนตรีและคณะผูบริหาร ในภาพลักษณของประชาชนนั้นใหการนับถือ และมีความศรัทธาตอนายกเทศมนตรี เนื่องจากในชวงระยะเวลาการทํางานหลังจากท่ีไดรับความไววางใจจากประชาชนใหเขามาทําหนาท่ีเปนผูบริหารเมืองนั้น ไดสรางผลงานใหประชาชนและคนท่ัวไปไดประจักษถึงความสามารถในการเปนผูนํา ความมีวิสัยทัศน การจัดการกับปญหาท่ีเกิดข้ึนไดอยางรวดเร็วทันการณ และมีผลงานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการท่ีเทศบาลเทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัล และไดรับการยอมรับจากหนวยงานและองคกรภายนอก 2) ทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขาม รูปแบบการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามมีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวท่ีเนนใหเจาหนาท่ีทุกคนของเทศบาลไดมีสวนรวมในการทํางาน และเปดโอกาสใหเจาหนาท่ีทุกระดับไดรวมกันแสดงความคิดเห็น ผานทางการประชุมของผูบริหารเทศบาลกับผูอํานวยการกองทุกกองในทุกๆเชาวันอังคาร ซ่ึงรูปแบบของการประชุมเปนลักษณะการพูดคุย แลกเปล่ียนขอมูลขาวสารการทํางานของกันและกัน นอกจากนี้ดวยเทศบาลเมืองทาขามมีเจาหนาท่ีจํานวนนอย การทํางานของเทศบาลเมืองทาขาม ในแตละงานจะมีกองไดกองหนึ่งท่ีทําหนาท่ีเปนหลัก และกองอ่ืนๆจะทําหนาท่ีเปนฝายสนับสนุน ซ่ึงเจาหนาท่ีทุกกองจะรับรูการทํางาน และกิจกรรมตางๆท่ีเกิดข้ึนในเทศบาลเมืองทาขามของทุกกองที่สําคัญคือ การอยูรวมกันของผูบริหาร และเจาหนาท่ีเทศบาลเมืองทาขามเปนการอยูรวมกันแบบถอยทีถอยอาศัยกัน เปนแบบครอบครัวสามารถพูดคุย และแสดงความคิดเห็นได จึงทําใหเจาหนาท่ีของเทศบาลสามารถทํางานไดอยางเต็มท่ี เพราะทุกคนตางรูสึกเปนสวนหนึ่งท่ีมีสวนชวยในการบริหารงานของเทศบาล สรางความเปนเจาของรวมกัน สงผลตอคุณภาพของงาน และคุณภาพชีวิตของประชาชนอีกดวย จากการศึกษาผูวิจัยไดคนพบประเด็นท่ีนาสนใจอีกประการหนึ่งคือ ทัศนคติตอผูบริหารเทศบาล ซ่ึงในระบบโครงสรางของการบริหารมี 2 ฝาย คือฝายขาราชการการเมืองท่ีมาจากการเลือกต้ังและฝายราชการท่ีปฏิบัติงานประจํา จากการศึกษาพบวา ในมุมมองหรือภาพลักษณในสายตาประชาชนนั้นสวนใหญใหการยอมรับนับถือ และศรัทธาตอนายกเทศมนตรี ประเด็นนี้มีความสอดคลองกันท้ังในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณกลาวคือ การศึกษาเชิงคุณภาพพบวา ผูนําทองถ่ินในภาพนักการเมืองทองถ่ินคือนายกเทศมนตรีและคณะผูบริหาร ในภาพลักษณของประชาชนนั้นใหการนับถือและมีความศรัทธาตอนายกเทศมนตรี เนื่องจากในชวงระยะเวลาการทํางานหลังจากท่ีไดรับความไววางใจจากประชาชนใหเขามาทําหนาท่ีเปนผูบริหารเมืองนั้น ไดสรางผลงานใหประชาชนและคนท่ัวไปไดประจักษถึงความสามารถในการเปนผูนํา ความมีวิสัยทัศน การจัดการกับปญหาที่เกิดข้ึนไดอยางรวดเร็วทันการณ และมี

Page 196: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

186

ผลงานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการท่ีเทศบาลเทศบาลเมืองทาขามไดรับรางวัล และไดรับการยอมรับจากหนวยงานและองคกรภายนอก งานวิจัยของไตรรัตน โภคพลากรณ (2549) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมกับการบริหารการคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน: ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลหวยกะป อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และองคการบริหารสวนตําบลเขาสามยอด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พบวาการนําทุนทางสังคมมาใชนั้นจะเปนตัวชวยเปนพลังในการสรางอํานาจชุมชน การใหอํานาจและการเปดโอกาสในการมีสวนรวมจะทําใหประชาชนเกิดการเรียนรู มีวัฒนธรรมการพึ่งพาอาศัยกัน เหลานี้จะเปนพลังผลักดัน สรางสรรคใหองคการบริหารสวนตําบลใหมีความเขมแข็ง ดังนั้นคณะผูบริหารและสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลจะตองสนใจ และเอาใจใสอยางจริงจัง เพื่อรวมกันยกระดับศักยภาพขององคกรบริการสวนตําบลใหสามารถมีพลังใหเกิดการจัดการอยางตอเนื่องยั่งยืน (2) ทุนทางสังคมของชุมชน ศึกษา 3 ชุมชนไดแก 1) ชุมชนฝายทา 2) ชุมชนทายควน และ3) ชุมชนเจริญลาภ การอาศัยอยูในพื้นท่ีมาเปนเวลานาน และการเปนเครือญาติกัน ทําใหประชาชนอยูรวมกันอยางรักใครสามัคคี ชวยเหลือเกื้อกูล แบงปน พึ่งพาอาศัยกันอยูตลอดเวลา ถึงแมวาจะมีการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนในระบบการพัฒนาของรัฐและระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมืองแตประชาชนยังคงรักษาความสัมพันธท่ีดีเหลานี้ไวเปนอยางดี และยังสามารถปรับตัวใหเขากับภายใตการเปล่ียนแปลง จึงทําใหความเปนอยู การดํารงชีวิตปจจุบันยังคงสืบทอดส่ิงท่ีดีงามไวกับคนรุนตอไปใหไดอยูรวมกันอยางมีความสุขและสรางความเขมแข็งของชุมชนใหเกิดข้ึนได จากการศึกษาเอกสารพบวาการท่ีชุมชนมีความเขมแข็งจนสามารถดําเนินกิจกรรมใดๆไดอยางตอเนื่อง เปนท่ียอมรับ และสามารถดึงใหประชาชนไดเขามามีสวนรวม หรือรวมเปนเจาของกิจกรรมนั้นได แสดงใหเห็นวาภายในชุมชนน้ันสามารถสรางความเขมแข็งข้ึนโดยเกิดจากทุนทางสังคมของชุมชน จากการศึกษาท้ัง 3 ชุมชน พบวามีการรวมตัวกันของประชาชนในชุมชน จนสามารถจัดต้ังเปนกลุมท่ีทํากิจกรรมเพ่ือประโยชนของประชาชนในชุมชน และสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง ซ่ึงในแตละชุมชนมีกลุมตางๆไดดังนี้ 1) ชุมชนฝายทา ประชาชนในชุมชนรวมตัวกันจัดต้ังกลุม ธนาคารชุมชนฝายทา ข้ึนมาในป พ.ศ. 2544 และสามารถดําเนินการมาไดจนถึงปจจุบัน (พ.ศ.2552) ธนาคารชุมชนฝายทาจัดต้ังข้ึนเพื่อเปนแหลงเงินทุนใหกับประชาชนในชุมชนใชในการประกอบอาชีพ ลดการเขามาของเงินกูนอกระบบ และเปนการสงเสริมการออมใหแกเด็ก และประชาชนในชุมชน เนื่องจากรูปแบบของธนาคารชุมชนฝายทาเปนการดําเนินการเหมือนกับธนาคารพาณิชย การดําเนินงานธนาคารชุมชน

Page 197: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

187

ฝายทาไดรับการตอบรับจากประชาชน ในชุมชนมีเงินหมุนเวียนภายในธนาคารประมาณ 3 ลานบาท (อุดม สุธีรพจน (สัมภาษณ), 8 มกราคม 2552) 2) ชุมชนทายควน ชุมชนทายควนเปนชุมชนแออัด ปลูกสรางบานเรือนกันอยางงายๆ ระบบสาธารณูปโภคไมท่ัวถึงทุกครัวเรือนในชุมชน ในป พ.ศ. 2546 เจาหนาท่ีจากสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนลงพ้ืนท่ีอําเภอพุนพิน เพื่อสํารวจ และใหการชวยเหลือประชาชนท่ีไมมีท่ีอยูอาศัยถาวร เม่ือเจาหนาท่ีจากสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนเห็นการรวมตัวกันของประชาชนในชุมชนทายควน จึงไดเสนอโครงการบานม่ันคงใหกับชุมชนทายควน จากการหารือของประชาชนในชุมชนไดลงมติ เห็นชอบ และยอมรับการดําเนินโครงการบานม่ันคง และในปพ.ศ. 2547 สามารถจัดต้ังเปนกลุมโครงการบานม่ันคงข้ึนภายในชุมชนทายควนมาไดจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กลุมโครงการบานม่ันคงจัดต้ังข้ึนเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทายควนใหมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึน และทําใหประชาชนในชุมชนใหการยอมรับในการทํางานของประธานชุมชนเพิ่มมากข้ึนอีกดวย นอกจากนี้การดําเนินโครงการบานม่ันคงจะเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนแลว ยังเปนการสรางความภาคภูมิใจของประชาชนในชุมชนท่ีไดรับการเปนท่ียอมรับจากหนวยงานภายนอกในการไดรับเลือกเปนชุมชนท่ีไดดําเนินการโครงการบานม่ันคง และมีชุมชนอ่ืนๆท้ังในและนอกพื้นท่ีเขามาศึกษาดูงานกิจกรรมโครงการบานม่ันคงอีกดวย สงผลใหประชาชนในชุมชนตางยินดี และพรอมท่ีจะรวมกิจกรรมตางๆท่ีชุมชนจัดข้ึน 3) ชุมชนเจริญลาภ ชุมชนเจริญลาภมีลักษณะเปนชุมชนเมือง แตดวยการมีผูนําชุมชนท่ีมีความเขมแข็ง ไดพยายามจัดกิจกรรมตางๆภายในชุมชน เพื่อใหคนในชุมชนไดมีโอกาสรวมกันทํากิจกรรม จนไดรับการจัดต้ังเปนกลุมครอบครัวเขมแข็ง โดยสถาบันครอบครัวเขมแข็ง มีวัตถุประสงคเพื่อมุงพัฒนาเร่ืองความอบอุนในครอบครัว แกนนํากลุมไดเลือกเอากิจกรรมการจัดการขยะ ไดแก ปุยหมักชีวภาพจากเศษอาหาร และธนาคารขยะ เปนกิจกรรมหลักท่ีชวยสงเสริมความสัมพันธภายในครอบครัวใหกับสมาชิกกลุม จากการศึกษา พบวา กลุมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนเจริญลาภ มีความแตกตางจากกลุมในชุมชนฝายทา และชุมชนทายควน เพราะกลุมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนเจริญลาภไมไดจัดต้ังข้ึนมาเพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพ แตเปนกลุมท่ีเนนความสัมพันธภายในครอบครัว และคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ความเขมแข็งของชุมชนท่ีเกิดข้ึนนั้นเกิดจากการใชทุนทางสังคมท่ีมีอยูในชุมชนเปนพื้นฐานในการเสริมสรางศักยภาพดานตางๆของชุมชนเปนกลไกสําคัญ จนสามารถเปน

Page 198: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

188

แรงผลักดันใหชุมชนไดเกิดการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของการพัฒนา กลุม/องคกรในชุมชนจึงเปนทุนทางสังคมของชุมชนในการพัฒนา การควบคุมและการจัดการทรัพยากรของชุมชน สามารถสรางอํานาจในการตอรอง ตลอดจนความสามารถในการพ่ึงพาตนเองได ดวยการใชภูมิปญญากับกระบวนการเรียนรูของผูคนในชุมชน ผูวิจัยยังพบวาปจจัยท่ีกอใหเกิดทุนทางสังคมนั้น สามารถแบงออกไดเปนปจจัยภายในและภายนอก ซ่ึงปจจัยภายในคือ ดานความสัมพันธทางเครือญาติท่ีชวยสรางความสัมพันธทางเครือขายท้ังในระดับบุคคล ระดับกลุม และระดับชุมชน ทําใหเกิดทุนทางสังคมในการรวมพลังเพื่อสรางประโยชนใหแกสังคม และยังชวยสรางใหเกิดความไววางใจ การเคารพนับถือ การแลกเปล่ียนการตางตอบแทน ทําใหเกิดคุณคาใหประชาชนในชุมชน และสรางความเขมแข็งของชุมชน นอกจากนี้ อําภา จันทรากาศ (2543) ไดนําเสนอลักษณะของทุนทางสังคมท่ีแสดงถึงความเขมแข็งของชุมชนไว 4 รูปแบบไดแก 1) ทุนทางวัฒนธรรม 2) ทุนบุคคลในชุมชน 3) ทุนองคกรในชุมชน และ 4) ทุนเครือญาติ และเครือขายในชุมชน ซ่ึงผูวิจัยไดนําแนวคิดทุนทางสังคมดังกลาวมาสรุปทุนทางสังคมของชุมชนท่ีศึกษา ดังแสดง (ตาราง 13) ตาราง 13 สรุปทุนทางสังคมของชุมชนท่ีศึกษา 3 ชุมชน

ประเด็นทุนทางสังคม

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

1) ทุนทางวัฒนธรรมในชุมชน

ยังไมปรากฏเดนชัดเหมือนชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ

ชุมชนทายควนเปนชุมชนที่ใชวัฒนธรรมชุมชนในการสรางความเขมแข็งของชุมชน ดวยการรักษาประเพณีด้ังเดิมของชุมชนไว แตยังคงรักษาเอกลักษณของตนเอง คือ การสานเขง และชะลอมไมไผ เมื่อถึงงานบุญเดือนสิบซึ่งเปนงานประเพณีของทางภาคใต ชุมชนทายควนไดเขารวมงานประเพณีน้ีดวยแตเปล่ียนภาชนะใสอาหารไปวัดจากถาดเปนชะลอมไมไผที่แตละครัวเรือนสานกันเอง เพ่ือเปน

เปนชุมชนดั้งเดิมของเมืองทาขาม อยูอาศัยในชุมชนมาเปนเวลานาน มีความรักตอพ้ืนที่ และเห็นถึงปญหาของปริมาณขยะที่เพ่ิมขึ้นตามจํานวนประชาชนในชุมชน จึงไดมีการรวมกลุมกันเพ่ือทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนขึ้น

Page 199: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

189

ตาราง 13 (ตอ)

ประเด็นทุนทางสังคม

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

1) ทุนทางวัฒนธรรมในชุมชน (ตอ)

การอนุรักษประเพณีของตน และปรับตัวใหเขากับพ้ืนที่ที่อาศัยในปจจุบัน

2) ทุนบุคคลในชุมชน

-ประธานชุมชนไมมีความชัดเจนในการทํางานเรื่องการจัดการขยะชุมชน จึงมีผลใหประชาชนในชุมชนไมมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน

-ประธานชุมชนมีความสามารถเรื่องการบริหารจัดการเงินกองทุนหมูบาน จนสามารถจัดต้ังเปนธนาคารชุมชน

-อสม.และคณะกรรมการชุมชนทายควน มีความเสียสละ มีความต้ังใจในการทํางาน รวมทั้งมีวิธีในการชักชวนประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการทํากิจกรรมอยางตอเน่ือง

-แกนนํากิจกรรมการจัดการขยะของชุมชนเจริญลาภ มีความรู เสียสละ และมีความพรอมที่ตองการใหมีการทํากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน และเปนตนแบบในการทํากิจกรรมการจัดการขยะ จนไดรับการยอมรับจากประชาชนในชุมชน

3) ทุนองคกรในชุมชน

-กลุมตางๆที่สามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ือง เปนกลุมที่สามารถสนองความตองการของประชาชน กิจกรรมของกลุมที่เกิดขึ้นมีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชุมชน

-ธนาคารชุมชนฝายทา

-กลุมตางๆท่ีสามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ือง เปนกลุมที่สามารถสนองความตองการของประชาชน กิจกรรมของกลุมที่เกิดขึ้นมีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชุมชน

-โครงการบานมั่นคงชุมชนทายควน

กลุมตางๆที่สามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ือง เปนกลุมที่สามารถสนองความตองการของประชาชน กิจกรรมของกลุมที่เกิดขึ้นมีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชุมชน

-ศูนยการเรียนรูสิ่งแวดลอมชุมชนเจริญลาภ

Page 200: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

190

ตาราง 13 (ตอ)

ประเด็นทุนทางสังคม

ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

4) ทุนเครือญาติและเครือขายในชุมชน

-ประชาชนในชุมชนเปนเครือญาติ

-การเปนเครือญาติกันของคนในชุมชน การติดตอ ความสัมพันธกัน และความไวเน้ือเช่ือใจภายในชุมชนสามารถทําไดงายขึ้น

-ประชาชนในชุมชนสวนหน่ึงเปนเครือญาติกัน แตชุมชนปกครองกันดวยระบบอาวุโส จึงทําใหทุกคนในชุมชนเหมือนเปนญาติ พ่ีนองกัน

ยังไมปรากฏเดนชัดเหมือนชุมชนฝายทา และชุมชนทายควน

ที่มา : ผูวิจัย

ทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในแตละชุมชนไมเหมือนกัน ข้ึนอยูกับความเปนมาของชุมชนแตละชุมชน มีรายละเอียดท่ีแตกตางกันไปแตละชุมชน ดังนี้ 1) ทุนทางวัฒนธรรมในชุมชน จากการศึกษาชุมชนท้ัง 3 ชุมชน พบวา ชุมชนทายควนเปนชุมชนท่ีใชวัฒนธรรมชุมชนในการสรางความเขมแข็งของชุมชน ดวยการรักษาประเพณีดั้งเดิมของชุมชนไว ดังท่ีไดกลาวไปแลววาประชาชนในชุมชนเปนคนจากทางภาคกลางท่ีอพยพเขามาอยูในเมืองทาขาม แตยังคงรักษาเอกลักษณของตนเองไวนั้นคือ การสานเขง และชะลอมไมไผ เม่ือถึงงานบุญเดือนสิบซ่ึงเปนงานประเพณีของทางภาคใต ชุมชนทายควนไดเขารวมงานประเพณีนี้ดวยแตเปล่ียนภาชนะใสอาหารไปวัดจากถาดเปนชะลอมไมไผท่ีแตละครัวเรือนสานกันเอง เพื่อเปนการอนุรักษประเพณีของตน และปรับตัวใหเขากับพื้นท่ีท่ีอาศัยในปจจุบัน ซ่ึงพบวางานวิจัยของอําภา จันทรากาศ (2543) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งของชุมชน ไดกลาววาทุนทางวัฒนธรรมในชุมชนเปนทุนท่ีประชาชนในชุมชนใชเปนพื้นฐานการสรางความเขมแข็งของชุมชน สรางการเรียนรู ภูมิปญญา คานิยมท่ีดี ความเช่ือ ไดรับการสืบทอดจากรุนสูรุน การปรับตัวของบุคคลและชุมชนใหทันตอเหตุการณและสถานการณท่ีเปล่ียนแปลงจากภายนอกชุมชน สามารถใหการดํารงชีวิตอยูในอยางม่ันคงมีศักดิ์ศรี มีความเชื่อม่ัน และภาคภูมิใจในความเปนชุมชนของตนเอง และยังคงไดรับการทํานุบํารุงเพื่อสืบทอดใหคนรุนใหมไดใชเปนทุนทางสังคม เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนตอไป ดังเชนวัฒนธรรมการสานเขง และชะลอมไมไผของชุมชนทายควนท่ีย้ําชัดวาทุนทาง

Page 201: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

191

วัฒนธรรมของชุมชนเม่ือเกิดข้ึนมาแลว ไมวาจะไปอยูท่ีใดทุนทางวัฒนธรรมนี้ก็ยังคงเกิดข้ึน โดยจะมีการปรับเปล่ียนรูปแบบเพื่อใหเหมาะสมตามสถานท่ีท่ีเปล่ียนไป ปจจัยท่ีกอใหเกิดทุนทางสังคมอีกปจจัยหนึ่งท่ีสงผลใหประชาชนในชุมชนมีความผูกพัน ความรัก และใหความรวมมือตองาน/กิจกรรมตางๆที่เกิดข้ึนในชุมชน ไดแกระยะเวลาการอยูอาศัยในชุมชน ผูท่ีอยูอาศัยในชุมชนยาวนานจะมีสวนรวมมากกวาผูท่ีอยูอาศัยอยูระยะเวลานอย ซ่ึงจากงานวิจัยของธเนศว เจริญเมือง (2540) ท่ีศึกษาเร่ืองมองทองถ่ินไทยในทศวรรษหนา กลาววา ความรูสึกภาคภูมิใจในทองถ่ินของตนเอง ความสนใจเรียนขอดีขอดอยของตนเอง รวมท้ังความผูกพัน และหวงใยท่ีจะเขาไปมีสวนรวมในการแกไขปญหาทองถ่ินของตนเอง ลวนมีความสําคัญในการสงเสริมการมีสวนรวมในการแกปญหาของแตละทองถ่ิน การศึกษาคร้ังนี้พบวาชุมชนเจริญลาภ ซ่ึงเปนชุมชนดั้งเดิมของเมืองทาขาม แมวาในปจจุบันประชาชนในชุมชนท่ีเปนคนดั้งเดิมมีจํานวนนอยกวาประชาชนตางถ่ินท่ีเขามาอยูอาศัยในชุมชน แตดวยความรักตอพื้นท่ี และเห็นถึงปญหาของปริมาณขยะท่ีเพิ่มข้ึนตามจํานวนประชาชนในชุมชน จึงไดมีการรวมกลุมกันเพื่อทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนข้ึน จากการทํากิจกรรมการจัดการขยะรวมกันของประชาชนในชุมชนเจริญลาภสงผลใหชุมชนเจริญลาภเปนชุมชนตนแบบของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เทศบาลเมืองทาขาม เปนตามปจจัยของการเกิดทุนทางสังคม และสอดคลองกับงานวิจัยของอําภา จันทรากาศ (2543) ท่ีศึกษาเรื่องทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งของชุมชน โดยพบวาปจจัยสําคัญ คือการมีสวนรวมของคนในชุมชน และการมีจิตสํานึกสาธารณะ ท่ีทําใหชุมชนสามารถสรางความเขมแข็งของชุมชน การที่มีผูคนมารวมกลุมกันไดเพราะเกิดความรูสึก และตระหนักวาตนเองเปนสวนหนึ่ง เพราะประชาชนในชุมชนเจริญลาภตางเห็นพองตองกันวาปญหาขยะเปนปญหาท่ีประชาชนทุกคนในชุมชนตองรวมมือกันแกไข 2) ทุนบุคคลในชุมชน ทุนบุคคลเปนส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่งท่ีไดนําชุมชนไปสูความเขมแข็งและม่ันคงได ท้ังผูอาวุโส ผูในอยูชุมชนมานาน และผูนําดานตางๆของชุมชนเปนบุคคลท่ีมีศักยภาพและความชํานาญเฉพาะในแตละดานท่ีชุมชนตองการไดชวยกันดูแล จัดการ ตามความถนัดของตนเอง เพื่อชวยใหชุมชนไดดํารงอยูดวยความผาสุก การท่ีแตละบุคคลในชุมชนไดมีความรูสึกมีสวนรวมในการเปนเจาของชุมชน เปนส่ิงท่ีชวยพัฒนาคุณภาพของคนในชุมชนท่ีตางคิดสรางตนเอง และชุมชนใหอยูรอดดวยความผูกพัน รักใคร สามัคคี ชวยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อการดําเนินการปรับปรุงเปล่ียนแปลง และแกไขปญหาตางๆที่เกิดข้ึนภายในชุมชน ซ่ึงความแตกตางกันของแตละบุคคล ทําใหเกิดการกําหนดบทบาทของผูคนในชุมชนในการทําหนาท่ีใหกับชุมชน

Page 202: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

192

ท้ังนี้บทบาทของผูนําและคณะกรรมการมีบทบาททําใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางในชุมชน ขอคนพบนี้สอดคลองกับผลการศึกษาของพรรณิกา โสตถิพันธุ (2543) เร่ืองการมีสวนรวมของกลุมแมบานสตรีน้ําขาวในการอนุรักษปาชุมชน พบวาหากผูนําชุมชนมีบทบาทก็สามารถทําใหกลุมสตรีบานน้ําขาว อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา เขามามีสวนรวมในการอนุรักษปาชุมชนมาก และงานวิจัยของณัฐกานต จิตรวัฒนา (2546) ศึกษาเร่ืองพัฒนาการทุนทางสังคมของกลุมทอผายอมสีธรรมชาติบานโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวัดนาน พบวาปจจัยท่ีจะชวยใหกระบวนการทุนทางสังคมขับเคลื่อนไปไดนั้นมาจากปจจัยผูนํา ความเปนเครือญาติ ความเช่ือ คานิยมในเร่ืองเดียวกัน ความเอื้ออาทร แตขณะท่ีการศึกษาของกนกรัตน กิตติวัฒน (2543) ศึกษาเร่ืองการจัดการทุนทางสังคมในชุมชนเมือง ศึกษากรณีเครือขายกลุมออมทรัพยบางซ่ือพัฒนา กลับพบวาการทํางานในระดับองคกรเครือขายพบวา วิธีการดังกลาวไมได ทําใหเกิดเฉพาะผลดานบวกในการเพิ่มความหมายของการเพิ่มทุนทางสังคมหรือทําใหชาวบานมีความสัมพันธท่ีแนบแนนเทานั้น แตจากการทํางานรวมกันอาจเกิดผลดานลบตอองคกรหรือตอความสัมพันธของสมาชิกไดเชนเดียวกัน ไมวาจะเปนการแบงกลุม พวกพอง หรือความหวาดระแวงระหวางสมาชิกไดเชนเดียวกัน ซ่ึงลักษณะดังกลาวถือเปนขอจํากัดในการพัฒนากลุม ในการศึกษาคร้ังนี้ พบวา ผลการศึกษาเชิงปริมาณมีความสอดคลองกับผลการศึกษาเชิงคุณภาพ กลาวคือ ผูนําและคณะกรรมการชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภท่ีมีความเสียสละ มีความต้ังใจในการทํางาน รวมท้ังวิธีคิด และกลยุทธในการชักชวนสมาชิกใหเขามามีสวนรวมในการทํากิจกรรมอยางตอเนื่อง สามารถทําใหสมาชิกใหการยอมรับ จึงทําใหชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ มีการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนอยางตอเนื่อง สวนในชุมชนฝายทา ไมไดแสดงบทบาทเทาท่ีควร อีกท้ังยังขาดกลยุทธ และไมมีความชัดเจนในการทํางาน จึงมีผลใหประชาชนในชุมชนไมมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ผลการวิจัยนี้สอดคลองกับผลการศึกษาของพนัส พฤกษสุนันท (2545) ท่ีศึกษาเร่ืองปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนนาอยู กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี พบวาปจจัยสําคัญท่ีสนับสนุนการเสริมสรางศักยภาพชุมชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนพ่ึงตนเอง เพื่อพัฒนาชุมชนนาอยู จ.ราชบุรี ก็คือแกนนําชุมชนท่ีเปนนักพัฒนา และทีมวิทยากรนั่นเอง กลาวคือบทบาทของผูนําและคณะกรรมการชุมชนเปนปจจัยหนึ่งท่ีมีผลตอการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 3) ทุนองคกรในชุมชน ทุนองคกรในชุมชนมีผลตอการคงอยูของกลุม การมีกลุมหรือองคกรในชุมชน เกิดจากการรวมตัวของผูคนในชุมชนท่ีมีความสัมพันธกัน มีแนวคิดท่ีคลายคลึงกันในเร่ือง

Page 203: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

193

ตางๆที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวัน และบางคร้ังอาจรวมตัวกันเปนกลุมในการแกไขปญหารวมกัน กลุมหรือองคกรในชุมชนจึงเกิดข้ึนมามากมาย นับต้ังแตกลุมท่ีไมเปนทางการที่สามารถตอบสนองความตองการรวมกัน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน เชนกลุมธนาคารชุมชน กลุมสตรี และกลุมที่เปนทางการ ซ่ึงไดรับการดูแลสวนหน่ึงจากทางราชการ เชนกลุม อสม. กลุมออมทรัพย ซ่ึงแตละกลุมไดรวบรวมสมาชิกเพื่อชวยเหลือซ่ึงกัน ต้ังกฏระเบียบรวมกันเพื่อใหมีผลในทางปฏิบัติท่ีเปนประโยชนตอคนในชุมชน และสามารถแกปญหาของชุมชนรวมกัน นับเปนทุนองคกรท่ีมีสวนเสริมสรางใหชุมชนไดพึ่งตนเองและเกิดความเขมแข็งของชุมชน จากการศึกษาชุมชน พบวาการคงอยูของกลุมตางๆที่สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง เปนกลุมท่ีสามารถสนองความตองการของประชาชน กิจกรรมของกลุมท่ีเกิดข้ึนมีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชุมชน ไดแก ธนาคารชุมชนฝายทา โครงการบานมั่นคงชุมชนทายควน และศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภ ซ่ึงกลุมท่ีเกิดข้ึนนี้ตองอาศัยความรวมมือจากประชาชนในชุมชน เปนไปในทิศทางเดียวกันกับการศึกษาของจุติเทพ ยาสมุทร (2543) ท่ีศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมในชุมชนภาคเหนือ พบวาปจจัยเครือขาย เปนปจจัยท่ีชวยสนับสนุนทุนทางสังคม ปจจัยเครือขายทําใหเกิดมีองคกรเครือขายท้ังภายในชุมชนกันเอง และประสานงานกับองคกรเครือขายภายนอก เพื่อจะชวยใหทําใหองคกรภายในเขมแข็งอาศัยการพึ่งพาตนเองไดมากท่ีสุด 4) ทุนเครือญาติและเครือขายในชุมชน จากการศึกษาทุนเครือญาติเครือขายในชุมชน พบวาการเปนเครือญาติกันของคนในชุมชน การติดตอ ความสัมพันธกัน และความไวเนื้อเช่ือใจภายในชุมชนสามารถทําไดงายข้ึน จะเห็นไดชัดจากกลุมท่ีดําเนินการแลวมีเงินเขามามีสวนรวมไดแก ธนาคารชุมชนฝายทาท่ีเปดใหประชาชนในชุมชนสามารถกู เ งิน และโครงการบานม่ันคงของชุมชนทายควนท่ีมีงบประมาณสําหรับการปลูกสรางบานเรือนจํานวน 6 ลานบาทโดยมีคณะกรรมการโครงการของชุมชนรวมกันดูแล ท่ีผานมาไมมีการรองเรียนจากประชาชนในชุมชนเร่ืองของการทุจริต เพราะประชาชนในชุมชนสามารถตรวจสอบการเงินไดงาย และประชาชนในชุมชนใชความเคารพนับถือกันในลักษณะเครือญาติ จากการศึกษางานวิจัยของสุชาดา วิลาพันธ (2549) เร่ืองกระบวนการทุนทางสังคมในโครงการหมูบานนาอยู กรณีศึกษา บานเกาะกลาง ตําบลบางนมโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา รูปแบบกระบวนการทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนประกอบดวยองคกรภายใน เชน ส่ิงแวดลอมท่ีดี ความสัมพันธของระบบเครือญาติ มีความเช่ือประเพณีท่ีสืบทอดกันมา และมีผูนําท่ีเขมแข็ง ทุนทางสังคมที่ทําใหชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามมีความเขมแข็งจะคงอยู และสามารถนํามาปรับใชประโยชนไดจริงนั้น ตองเกิดจากภายในชุมชนเปนหลัก และมีทุนทาง

Page 204: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

194

สั ง ค ม จ า ก ภ า ยนอกม า ช ว ย เ ส ริ ม ซ่ึ ง เ ป น ไ ป ใน ทิ ศท า ง เ ดี ย ว กั น กั บ ง า น วิ จั ย ข อ ง อุไรวรรณ พวงสายใจ (2545) ศึกษาเร่ืองทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งขององคกรชุมชน พบวาทุนทางสังคมท้ังท่ีเปนทุนมาจากภายในชุมชนเอง หรือเปนทุนท่ีมาจากภายนอก ลวนสงผลใหเกิดความเขมแข็งของชุมชน การเปนเครือญาติ และระบบครอบครัวท่ีสรางใหชุมชนมีความสัมพันธท่ีแนนแฟนตอกัน มีการชวยเหลือดูแลซ่ึงกันและกัน พึ่งพาอาศัยกันระหวางบุคคล/กลุม/องคกร ดวยความที่มีวัตถุประสงคเหมือนกัน โดยเร่ิมจากวัฒนธรรมของชุมชนท่ีมีวิถีปฏิบัติ การนับญาติ เปนความสัมพันธในชุมชนที่แสดงถึงความเปนเครือขายท้ังภายในและภายนอกชุมชน การติดตอสัมพันธกับบุคคล/กลุม/องคกรภายนอก ในรูปแบบของเพื่อนฝูงการติดตอคาขายตลอดจนการติดตอหนวยงานราชการ และเอกชน ทําใหเกิดเครือขายท่ีกวางขวางออกไป เปนส่ิงท่ีทําใหคนในชุมชนไดมีโอกาสนําระบบเครือญาติและเครือขายมาใชประโยชนในการนํามาเปนทุนทางสังคมท่ีชวยเสริมสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนได เชนเดียวกันกับธนาคารชุมชนฝายทา และโครงการบานม่ันคงในชุมชนทายควน ตางก็ไดใชทุนเครือญาติและเครือขายในชุมชนพยายามรักษาใหกลุมสามารถดําเนินการตอไปไดอยางตอเนื่อง ดังนั้นจึงสรุปไดวาทุนทางสังคมจึงเปนกลไกที่สําคัญท่ีทําใหเทศบาลและชุมชนขับเคลื่อนไปดวยกันได เม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงจากสังคมภายนอก แตทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนมาแลวนั้นก็ยังคงอยู และสืบทอดกันตอไปยังรุนตอไปในอนาคตทุนทางสังคมท่ีเกิดข้ึน 5.1.3 แนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม แนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม พบวาจากชวงเวลาท่ีทําการศึกษาตั้งแต ป พ.ศ. 2539-2549 มีชุมชนจํานวน 6 ชุมชนท่ีเคยรวมการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนอยางเปนทางการ เพราะการจัดกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น จะดําเนินการจัดกิจกรรมโดยเชิญประชาชนจากชุมชนใกลเคียงใหเขามารวมในการทํากิจกรรมรวมดวย โดยนับจํานวนชุมชนจากการเปนเจาภาพในการดําเนินกิจกรรม แตนั้นก็ไมไดหมายความวาประชาชนในชุมชนท่ีไมไดเปนชุมชนเจาภาพหลักในการทํากิจกรรมจะไมมีความสนใจในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ประชาชนในชุมชนตางก็ไดมีการดําเนินการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนอยางงายๆ ดวยรูปแบบและวิธีการตางๆ เชนการคัดแยกขยะในบาน การนําขยะอินทรียท่ีไดจากการคัดแยกนําไปใหกับชุมชนท่ีไดมีการดําเนินการทําน้ําหมัก/ปุยหมักชีวภาพ เปนตน

Page 205: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

195

นอกจากนี้ ชุมชนท่ีดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีสามารถดําเนินการไดดวยตนเองแลวไดมีการใหความรูแกชุมชนท่ีอ่ืนท่ีมีความสนใจ และอยากท่ีจะทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จึงทําใหมีการขยายการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนออกไปอีกในหลายชุมชน การใหความรูในการดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนจากเทศบาลเมืองทาขามเพียงอยางเดียวไมเพียงพอตอการดําเนินกิจกรรม จึงไดมีการไปศึกษาดูงานในการดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในพื้นท่ีชุมชนอ่ืนๆนอกเขตเทศบาลเมืองทาขาม ท้ังนี้ชุมชนเจริญลาภ ซ่ึงเปนชุมชนตนแบบการทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน มีหนวยงานและองคกรตางๆเขามาขอดูงานเปนจํานวนมาก ในปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง มีการดําเนินกิจกรรมจํานวน 3 กิจกรรม ไดแก 1) ถนนปลอดถังขยะ 2) ธนาคารขยะชุมชน และ 3) น้ําหมักและปุยหมักชีวภาพ ดําเนินการโดยชุมชนเจริญลาภ และในขณะนี้ไดมีการขยายการทํากิจกรรมทุกกิจกรรมไปยังชุมชนอ่ืนๆ ซ่ึงพบวามีจํานวนชุมชนท่ีรวมกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เพิ่มข้ึนอีก 3 ชุมชนไดแก ชุมชนธารทิพย ชุมชนใตโคง และชุมชนทาลอน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2551) และมีแนวโนมวาชุมชนท่ีเขามาทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนี้ จะสามารถดําเนินการไดเองอยางตอเนื่องตอไปไดในอนาคต โดยมีชุมชนเจริญลาภ และเทศบาลเมืองทาขามคอยเปนพี่เล้ียง และใหการสนับสนุน แนวทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น ปจจัยท่ีเขามาสนับสนุนใหชุมชนเกิดความตระหนัก และตองการรวมทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ปจจัยภายในท่ีสําคัญไดแก ทัศนคติของผูนํา คือ นายกเทศมนตรี และผูอํานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม ตองเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตางเห็นพองถึงความสําคัญของปญหาขยะ และนําไปสูการปฏิบัติโดยใหชุมชนเปนผูดําเนินการ และปจจัยภายนอกไดแก ลักษณะเฉพาะของชุมชนโดยมีผูนําชุมชนท่ีทําหนาท่ีเปนส่ือระหวางเทศบาลกับประชาชนในชุมชน ใหประชาชนเขามีรวมในการทํากิจกรรมการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธ (2544) ศึกษาเร่ืองการจัดการขยะชุมชน: กรณี บานดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง พบวาประชาชนในชุมชนสวนใหญยอมรับในบทบาทของผูนําชุมชนในเร่ืองขยะมูลฝอย โดยผูนําจะมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมและการแกไขปญหาตางๆของชุมชน และงานวิจัยของ สุนีย มัลลิกะมาลย และคณะ (2543) เสนอวา ผูนํามีบทบาทในการจัดการมูลฝอย โดยผูนําจะเปนผูดําเนินการแจกอุปกรณในการจัดการมูลฝอย ทําหนาท่ีเปนตัวแทน

Page 206: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

196

เขามาประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนท่ีศึกษา ใหความสนใจกับปญหามูลฝอยของหมูบาน รูปแบบของกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น มีนโยบายหลักท่ีตองการใหประชาชนทุกครัวเรือน ลดปริมาณขยะโดยมีการคัดแยกขยะกอนการนํามาทิ้งในถังขยะเทศบาล เพื่อลดปริมาณขยะท่ีจะเขาสูพื้นท่ีฝงกลบ ดังนั้นเทศบาลเมืองทาขามจึงสนับสนุนการทํากิจกรรมอยางเปนทางการที่เห็นชัดเจนท่ีออกมาในรูปแบบของกิจกรรม เชน กิจกรรมขยะแลกไข กิจกรรมน้ําหมักและปุยหมักชีวภาพ เปนตน ซ่ึงกิจกรรมในลักษณะนี้ไมสามารถดําเนินการใหครอบคลุมท้ังพื้นท่ีได เทศบาลเมืองทาขามจึงไดมีการรณรงคผานทางส่ือ และชองทางตางของเทศบาล เชนการติดปายประชาสัมพันธการคัดแยกขยะ การกระจายขาวสารผานทางวิทยุชุมชน การจัดการอบรมใหความรู เปนตน ซ่ึงสอดคลองกับ งานวิจัยของ ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธ (2544) ศึกษาเร่ืองการจัดการขยะชุมชน: กรณีบานดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง พบวาขาวสารเร่ืองขยะมูลฝอยประชาชนสวนใหญไดรับจากผูนําชุมชน มีการส่ือสารกับผูนําชุมชนมากกวาส่ืออ่ืนๆ ดังนั้นขาวสารท่ีไดรับจึงมีพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยของชุมชน และงานวิจัยของภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ศึกษาเร่ืองปจจัยบางประการท่ีมีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง :กรณีศึกษาชุมชนบาน คลองหวะ ชุมชนกลางนาและชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา กลาววาการไดรับขาวสารการคัดแยกมูลฝอยมีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน จากการศึกษาของหยาดพิรุณ นุตสถาปนา (2545) ศึกษาเร่ือง ระบบอุปถัมภท่ีกระทบตอความอยูรอดของชุมชนแออัด กรณีศึกษาชุมชนหัวรถจักรตึกแดง เขตบางซ่ือ พบวาการนําธรรมรัฐมาใชในกิจกรรมศูนยชุมชนไมประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค เนื่องจากไมไดนําธรรมรัฐมาปรับใชอยางถูกตองและเหมาะสมสงผลใหคณะกรรมการศูนยชุมชนไมมีความโปรงใสในการบริหารจัดการ ไมมีความรับผิดชอบตอหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย ขาดสํานึกรับผิดชอบท่ีจะตอบแทนสังคมอยางแทจริง และชาวบานในชุมชนไมมีความสนใจเขารวมในการดําเนินกิจกรรมอยางเต็มท่ี โดยภาครัฐเองนั้นไมไดเขามาแสดงบทบาทท่ีเหมาะสมของตนในการเปนพี่เล้ียงดูแลทําใหทิศทางการดําเนินงานเร่ิมเดินไปผิดทาง และเม่ือเห็นความผิดพลาดแลวก็ไมไดเขามารวมแกไข กลับปลอยใหชุมชนดําเนินตอไปอยางไรทิศทาง จึงกลาวไดวากรณีนี้ภาครัฐขาดสํานึกรับผิดชอบ และไมรูจักหนาท่ีรับผิดชอบท่ีแทจริงของตน ผูวิจัยยังพบวารูปแบบการสนับสนุนใหประชาชนทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามนั้น เทศบาลเมืองทาขามใชบทบาทการเปนพี่เล้ียงคอยดูแล และใหความชวยเหลือดานตางๆใหแกชุมชนท่ีทํากิจกรรม ซ่ึง

Page 207: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

197

วิธีการนี้สงผลใหชุมชนสามารถทํากิจกรรมไดเองอยางตอเนื่อง ถามีการทําหนาท่ีพี่เล้ียงอยางจริงจัง และมีการนําหลักธรรมาภิบาลเขามามีสวนรวมในการดําเนินการดวย จากการศึกษาคร้ังนี้ สามารถสรุปประเด็นการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ท้ัง 3 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ดังแสดง (ตาราง 14) ตาราง 14 สรุปประเด็นการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน

ประเด็น เทศบาล ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

ปญหาขยะ -ปริมาณขยะในแตละมีจํานวนมาก ประมาณวันละ 18.74 ตันตอวัน (ป พ.ศ.2550) -พ้ืนที่ที่ใชกําจัดขยะมีประมาณ 5 ไร เปดใชงานมาต้ังแต ป พ.ศ. 2539 ขณะน้ี (พ.ศ. 2552) เหลือพ้ืนที่ที่สามารถใชงานไดอีกเพียง 2 ไร

-ไมมีปญหาขยะ เน่ืองจากประชาชนในชุมชนมีจํานวนนอย และสามารถจัดการกับขยะที่เกิดขึ้นได โดยการทิ้งลงถังของเทศบาล และการกําจัดเอง

-ปญหาขยะตกคางในชุมชน เน่ืองมาจากความแออัดของบานเรือน -การเกิดโรคระบาด เน่ืองจากขยะขยะตกคาง

-ปญหาขยะลนถัง และสัตวมาคุยเขี่ย -ประชาชนที่มีถังขยะของเทศบาลวางอยูพยายามเลื่อนถังออกจากหนาบาน ทําใหยากตอการเก็บขนของเจาหนาที่

โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะ และผลลัพธ

-ป พ.ศ.2539-2549 เทศบาลมีการทําโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบ 5 รูปแบบไดแก 1) การรณรงค ประชาสัมพันธ 2) การอบรม

-ป พ.ศ. 2547 กิจกรรมขยะแลกไข เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขาม เขาไปดําเนินการใหในชุมชน -ประชาชนมีโอกาสเขามีสวนรวม

-ป พ.ศ. 2543 กิจกรรมขยะแลกไข เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขาม เขาไปดําเนินการใหในชุมชน เน่ืองจากขยะตกคางในชุมชน - ป พ.ศ. 2547

-ป พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ เปนกิจกรรมที่เกิดจากความตองการ และดําเนินการโดยประชาชนในชุมชน -ประชาชนมีโอกาสเขา

Page 208: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

198

ตาราง 14 (ตอ)

ประเด็น เทศบาล ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะ และผลลัพธ (ตอ)

3) การสาธิต 4) ทัศนศึกษา 5) อื่นๆ ไดแก กิจกรรมที่เกิดจากความตองการของประชาชน -เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน แตกิจกรรมที่เกิดขึ้นประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการรับผลประโยชน และการประเมินผล -สามาถทํากิจกรรมการจัดการขยะอยางตอเน่ืองไดเพียง 3 กิจกรรม ซึ่งดําเนินการโดยชุมชน

ขั้นตอนการรับผลประโยชน -ทํากิจกรรมเพียงครั้งเดียว

กิจกรรมขยะแลกไข และป พ.ศ. 2548 กิจกรรมนํ้าหมัก ชีวภาพ เทศบาลอบรมใหความรูแกแกนนําชุมชน และไดมีการทํากิจกรรมขึ้นในชุมชน -ประชาชนมีโอกาสเขามีสวนรวมในขั้นตอนการรับผลประโยชน และการประเมินผล -ไมมีการทํากิจกรรมตอ

มีสวนรวมในทุกขั้นตอน -ป พ.ศ. 2547 กิจกรรม ขยะแลกไข เปนกิจกรรมที่เทศบาลเมืองทาขาม เขาไปดําเนินการใหในชุมชนประชาชนมีโอกาสเขามีสวนรวมในขั้นตอนการรับผลประโยชน -ทํากิจกรรมเพียงครั้งเดียว -ป พ.ศ. 2548 กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ และป พ.ศ. 2549 กิจกรรมธนาคารขยะ ทั้ง 2 กิจกรรมยังคงดําเนินการตอเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2552) -ประชาชนมีโอกาสเขามีสวนรวมในขั้นตอนการรับผลประโยชน และการประเมินผล

กลไก และปจจัยในการขับเคล่ือน

-นายกเทศมนตรี ใหนโยบาย การจัดการขยะ โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการจัดการ

-อสม. และ คณะกรรมการชุมชน

-ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน และ อสม.และ ประชาชนในชุมชน

-ขยะเปนปญหาของชุมชน

-แกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็ง อสม. และคณะกรรมการชุมชน -ขยะเปนปญหาของชุมชน

-แกนนํากิจกรรมการ

Page 209: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

199

ตาราง 14 (ตอ)

ประเด็น เทศบาล ชุมชน

ฝายทา ทายควน เจริญลาภ

กลไก และปจจัยในการขับเคล่ือน (ตอ)

-ผูอํานวยการกองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม เปนผูรวมทํากิจกรรมกับชุมชน

-เจาหนาที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม

-ตองการการยอมรับจากเทศบาลเมืองทาขาม

จัดการขยะ เปนผูที่สนใจ และมีความรูเรื่องการจัดการขยะ

-มีสถานที่ในการทํากิจกรรม

ปญหาและอุปสรรค

-รูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะ ชุมชนไมสามารถดําเนินการตอได

-ไมมีแกนนําในการทํากิจกรรม

-ขาดอุปกรณ และสถานที่ในการทํากิจกรรม

-แกนนํากิจกรรมขยะไมมีเวลา

-ไมสามารถขยายจํานวนครัวเรือนที่ทํากิจกรรมได

ที่มา : ผูวิจัย

กลาวโดยสรุป การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม ชุมชนสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง และยังสามารถเปนตนแบบใหกับชุมชนอ่ืนๆไดดําเนินการทํากิจกรรมดวย และคาดวาในอนาคตชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามท้ัง 22 ชุมชนจะสามารถดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไดทุกชุมชน และสามารถนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกมาทําใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนแหลงรายไดใหกับชุมชนไดอีกชองทางหนึ่งดวย เห็นไดวาเทศบาลเมืองทาขามไดใหความสนใจ และใหการสนับสนุนแกประชาชน เพื่อตองการใหประชาชนไดรวมกันทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนทุกรูปแบบ และทุกชองทางท่ีเทศบาลเมืองทาขามจะสามารถดําเนินการได เพื่อใหชุมชนสามารถดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไดดวยตนเอง จากปจจัยดังท่ีไดกลาวมาแลวขางตน และผลท่ีไดจากการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีผานมาของเทศบาลเมืองทาขาม ช้ีใหเห็นวา ชุมชนท่ีไดดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไปแลวนั้น สามารถเปนตนแบบในการทํากิจกรรม และการเปนชุมชนท่ีชวยสนับสนุนชุมชนอ่ืนๆท่ีตองการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ท้ังนี้แรงสนับสนุนจากหนวยงานราชการหลักคือ เทศบาลเมืองทาขามนั้นก็ยังเปนกําลังสําคัญในการดําเนินกิจกรรมตอไปไดอยางตอเนื่อง

Page 210: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

200

จากการศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัยยังพบอีกวา ชวงระยะเวลาท่ีศึกษาตั้งแตป พ.ศ. 2539-2549 การเมืองทองถ่ินของเทศบาลเมืองทาขาม เปนการเมืองแบบผูกขาดมาตลอดระยะเวลา 10 ป ซ่ึงสงผลดีตอการบริหารจัดการพื้นท่ี ท้ังนี้ในการคงอยูของกลุมการเมืองไดนั้นการรักษาฐานเสียงจึงเปนเร่ืองท่ีมีความสําคัญอยางยิ่ง ดังนั้นกลุมตางๆท่ีเกิดข้ึนมาในชวงสมัยท่ีไดรับการรับเลือก หรือกลุมท่ีมากอนแตใหการสนับสนุนกลุมการเมืองท่ีไดรับการรับเลือกก็จะเปนกลุมท่ีไดรับการสนับสนุนจากกลุมการเมืองดวยดี จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยในเร่ืองระบบอุปถัมภพบวา ในงานวิจัยของของหยาดพิรุณ นุตสถาปนา (2545) ศึกษาเร่ือง ระบบอุปถัมภท่ีกระทบตอความอยูรอดของชุมชนแออัด กรณีศึกษาชุมชนหัวรถจักรตึกแดง เขตบางซ่ือ พบวาโครงสรางความสัมพันธในชุมชนแบงออกเปน 2 ลักษณะ 1) ความสัมพันธภายในชุมชน ไดแก ความสัมพันธระหวางผูนําชุมชนดวยกันเอง และความสัมพันธระหวางผูนําชุมชนกับลูกบาน และ 2) ความสัมพันธภายนอกชุมชน ไดแก ความสัมพันธระหวางบุคคลภายนอกชุมชนกับคนในชุมชน โดยบุคคลภายนอกชุมชนนั้น ประกอบดวย หนวยงานภาครัฐ นักการเมืองทองถ่ิน และผูมีอิทธิพลในพื้นท่ี ท้ังนี้ความสัมพันธท้ังสองลักษณะมีระดับชวงของความสัมพันธท่ีอยูในท้ังแนวดิ่ง คือเปนความสัมพันธระหวางผูใหกับผูรับ โดยมีผลประโยชนหรือผลตอบแทนเปนตัวกลางในการแลกเปล่ียนความสัมพันธ นอกจากนั้นจากการศึกษาของสกุณา ฉันทดิลก (2550) ศึกษาเร่ือง บางล่ี : กรณีศึกษาการเปล่ียนแปลงของชุมชนการคาในลุมน้ําทาจีน ภาพรวมของเครือขายทางการเมืองของนักการเมืองผูกขาดจังหวัดสุพรรณบุรี สามารถสรุปไดวาประกอบดวยกลุมทางสังคมตางๆ ดังนี้ 1) กลุมเครือญาติของนักการเมือง 2) กลุมกํานัน ผูใหญบาน 3) กลุมนักการเมืองทองถ่ิน 4) กลุมพอคาและนักธุรกิจ และ 5) กลุมเกษตรกร เม่ือพิจารณาถึงผลพวงของระบบการเมืองผูกขาดท่ีมีตอวิถีชีวิตของชาวบานในชุมชนตลาดบางล่ี พบวาการเติบโต และฝงรากลึกของระบบการเมืองผูกขาดมีสวนทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงโครงสรางทางสังคมของชุมชน ในบทบาทฐานะเปนคนกลางในการระงับความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนในชุมชน และการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของชุมชนเปนอยางมาก โดยมีการตัดถนนหนทางเช่ือมโยงระหวางชุมชนเปนโครงขาย รวมท้ังมีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคตางๆไมวาจะเปนระบบไฟฟา ระบบประปา และในกรณีของเทศบาลเมืองทาขาม อีกบทบาทหนาท่ีหนึ่งท่ีสําคัญของนักการเมืองทองถ่ินของเทศบาลเมืองทาขาม นั้นคือการทําหนาท่ีเปนคนกลางไกลเกล่ียความขัดแยงตางๆที่เกิดข้ึนภายในชุมชน ท่ีผานมาเม่ือมีปญหาทะเลาะเบาะแวง ท่ีไมสามารถยุติไดดวยคนในชุมชนเอง นายกเทศมนตรี หรือนักการเมืองทองถ่ินคนอ่ืนๆจะตองรับหนาท่ีเปนผูยุติ หรือระงับขอขัดแยงนั้นๆ นอกจากนี้ขอคนพบของพรรธิดา เหลาพวงศักดิ์ (2545) ท่ีศึกษาปญหาและทางเลือกของการพัฒนาชนบทไทย โดยพบวา ภาวะพึ่งพาไดสืบทอดมาจากสังคมไทยโบราณท่ีแบง

Page 211: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

201

ออกเปนสองพวกคือ ชนช้ันสูงประกอบดวยเจานายและขุนนาง และชนช้ันตํ่าประกอบดวยไพรและทาส มูลนายมีฐานะเปนผูอุปถัมภ สวนไพรและทาสเปนผูใตอุปถัมภซ่ึงสืบทอดมาจนถึงปจจุบันเพียงแตเปล่ียนรูปแบบ ซ่ึงรูปแบบในปจจุบันไดแก ชนช้ันปกครอง ประกอบดวยขาราชการและพอคา (นักธุรกิจ) ซ่ึงเปนผูท่ีกําหนดทิศทางของประเทศเปนอยางมาก อีกพวกหน่ึงคือ ชนช้ันผูถูกปกครอง ผูอยูในฐานะอุปถัมภจึงมักมีลักษณะส่ังการ ขณะเดียวกันผูอยูใตอุปถัมภก็มักจะฝากความสําเร็จ ความกาวหนาไวกับผูนํากลุมอุปถัมภ อาจกลาวไดวาระบบอุปถัมภนั้นมีบทบาทตอสังคมไทยมาต้ังแตอดีต เพราะเปนการตางแลกเปล่ียนผลประโยชนกัน ความสัมพันธแบบนี้เปนการสงเสริมใหคนในสังคมมีการชวยเหลือกัน ซ่ึงชุมชนของเทศบาลเมืองทาขามก็ใชการตางตอบแทน แตในขณะเดียวกันจากการศึกษาของสมชาย ร้ีพลกุล (2543) ศึกษาเร่ืองการบริหารจัดการท่ีดีและความสัมพันธแบบอุปถัมภกับระบอบประชาธิปไตย: ศึกษากรณีทัศนคติของพนักงานการปโตรเลียมแหงประเทศไทย พบวาลักษณะของความสัมพันธแบบอุปถัมภกลับมีความขัดแยงและไมเหมาะสมกับการบริหารจัดการท่ีดี การยึดถือ พวกพอง ไมโปรงใส ถือเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประชาธิปไตยท่ีตองใหเกิดความไมสวนรวม มีความรับผิดชอบ ยุติธรรม โปรงใส โดยความสัมพันธแบบอุปถัมภนั้นเปนสาเหตุของการทุจริต ซ้ือสิทธ์ิขายเสียง ตองตอบแทนประโยชน เปนตน เพราะส่ิงท่ีไดตางแลกเปล่ียน หรือตางตอบแทนนั้น ผูอุปถัมภจะไดรับจากผูใตอุปถัมภนั้นมักอยูในรูปของการชวยเหลือ การรับใช และแสดงความจงรักภักดี ซ่ึงจะเปนลักษณะของการแลกเปล่ียนท่ีไมเสมอภาคเทาเทียมกัน จากการศึกษาปจจัยธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ปจจัยท้ังสองตางมีความสัมพันธตอการคงอยูของกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน และกิจกรรมอ่ืนๆของเทศบาลเมืองทาขามอีกดวย การศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัย พบวาธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมของเทศบาลเมืองทาขามนั้น มีเร่ืองของระบบอุปถัมภเขามาเกี่ยวของดวย ผูวิจัยทราบวาในป พ.ศ. 2552 จะมีการเปล่ียนแปลงทางการเมืองของเทศบาลเมืองทาขาม เนื่องจากนายทนงศักดิ์ ทวีทอง ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองทาขาม มาต้ังแตป พ.ศ. 2539-2552 ไดหมดวาระลงตามพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี 10) พ.ศ. 2542 และตองมีการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาเทศบาลเมืองทาขามชุดใหม ซ่ึงผลการวิจัยคร้ังนี้พบวาทุนทางสังคมของนายทนงศักดิ์ ทวีทอง และทุนทางสังคมของชุมชนมีผลตอการเขามามีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน หากมีการเปล่ียนแปลงทางการเมืองไปในทิศทางท่ีตรงขามกับกลุมการเมืองเดิม ทิศทางการเมืองของเทศบาลเมืองทาขาม นาจะสงผล

Page 212: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

202

ตอการบริหารงาน และโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการมาแลว อาจกลาวไดวาการเมืองระดับทองถ่ินของประเทศไทยอิงอยูกับระบบอุปถัมภมาเปนเวลานาน เปนการปกครองโดยใชความเปนผูให ผูรับ และการตางตอบแทน จนกลายเปนสวนสําคัญของการเมืองทองถ่ิน การเปล่ียนแปลงทางการเมืองของเทศบาลเมืองทาขามในครั้งนี้ จึงเปนเร่ืองท่ีนาสนใจวาทิศทางการเมืองของเทศบาลเมืองทาขามจะเปนอยางไรตอไปในอนาคต 5.2 ขอเสนอแนะ จากการศึกษาเร่ือง ธรรมาภิบาลและทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณี: ศึกษาเทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้ 5.2.1 ขอเสนอแนะ 1) พัฒนาการการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม ในชวงเวลาท่ีไดดําเนินการศึกษามา พบวา มีการดําเนินกิจกรรมอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง แตในการทํากิจกรรมนั้น เปนการทํากิจกรรมในชุมชนเดิม ไมไดมีการขยายไปยังชุมชนอ่ืนๆ เนื่องจากหลักเกณฑท่ีไดมีการกําหนดการคัดเลือกชุมชนท่ีจะดําเนินกิจกรรม นั่นคือ ความพรอมของผูนํา และประชาชนในชุมชน และชุมชนท่ีไดดําเนินการกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนนั้น พบวาผูนําชุมชน มีความใกลชิดกับเทศบาล และมีพื้นท่ีอยูใกลสํานักงานเทศบาลเมือง ทาขาม ท้ังนี้เนื่องจากในเขตเทศบาลเมืองทาขาม มีจํานวนชุมชนถึง 22 ชุมชน ความพรอมของแตละชุมชนยอมไมเทากัน \ตามสภาพของพื้นท่ี และประชาชนในชุมชนท่ีอาศัยอยู จึงควรมีการทดลองทํากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในหลากหลายรูปแบบ จะเปนการเขาถึงปญหา และเปนการเขาถึงประชาชนในพ้ืนท่ีมากข้ึนอีกดวย 2) การมีสวนรวมของประชาชน และทุนทางสังคม กรณีศึกษานี้จะเห็นไดชัดเจนวา ในวัฒนธรรมการมีสวนรวมของสังคมไทย เราสามารถใชประโยชนจากทุนทางสังคมผานรูปแบบความสัมพันธในแนวราบมากกวาแนวดิ่ง อีกท้ังการใชรูปแบบความสัมพันธท่ีไมเปนทางการ เชน ความเปนเครือญาติ พรรคพวก พี่นอง ก็ประสบความสําเร็จมากกวารูปแบบความสัมพันธท่ีเปนทางการ 3) กิจกรรมการจัดการขยะท่ีเกิดจากความตองการของประชาชน ประชาชนไดคิดรูปแบบในการทํากิจกรรรม มีผลลัพธในการทํากิจกรรมท่ีดีกวากิจกรรมการจัดการขยที่เกิดจากเทศบาล แลวใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติ

Page 213: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

 

 

203

4) กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีไดดําเนินการอยูอยางตอเนื่องในขณะน้ี ถาไดรับการสนับสนุนจาก เทศบาลเมืองทาขาม ท่ีเปนกําลังหลักในการสนับสนุน และถามีหนวยงานภายนอกอ่ืนๆท่ีสนใจเขามาใหการสนับสนุน และการเขามาดูงานจะยิ่งเปนการเพิ่มแรงผลักใหชุมชนสามารถดําเนินกิจกรรมตอไปไดอยางตอเนื่องและม่ันคงมากข้ึน 5.2.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยตอไป 1) ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมถึงสาเหตุ หรือปจจัยท่ีเปนอุปสรรคของการไมเขารวมในกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ในชุมชนท่ีไมเคยมีการทํากิจกรรมมากอนเลย 2) ควรมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางบทบาทผูนําทองถ่ิน (นักการเมือง) กับผูนําชุมชน ในการทํากิจกรรมภายในชุมชนวามีศักยภาพเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร 3) ควรมีการศึกษาชุมชนท่ีไมพรอม หรือมีเง่ือนไขในการทํากิจกรรม เทศบาลจะมีการผลักดันใหชุมชนเหลานี้เขามามีสวนรวม

Page 214: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

204

บรรณานุกรม

หนังสือ กัลยา วาณิชบัญชา. 2546. การใช SPSS for windows ในการวิเคราะหขอมูล. กรุงเทพฯ : หจก.ซี เค

แอนด เอส โฟโตสตูดิโอ. โกวิทย พวงงาม. 2549. การปกครองทองถ่ินไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิญูชนจํากัด. ณรงค บุญสวยขวัญ. 2549. นักการเมืองถ่ินจังหวัดนครศรีธรรมราช. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. ธเนศวร เจริญเมือง. 2540. 100 ป การปกครองทองถ่ินไทย พ.ศ. 2440-2540. กรุงเทพฯ : คบไฟ. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ. 2549. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : จามจุรีโปรดักส. ประทาน คงฤทธ์ิศึกษากร. 2535. ทฤษฎีการปกครองทองถ่ิน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ประมวล รุจนเสรี. 2544. การบริหาร-การจัดการท่ี (Good Governance). กรุงเทพฯ : อาสารักษา

ดินแดน. ประเวศ วะสี. 2541. ยุทธศาสตรชาติเพื่อความเขมแข็งทางเศรษฐกิจสังคมและศีลธรรม. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ประเวศ วะสี. 2542. ชุมชนเขมแข็ง ทุนทางสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. วรวุฒิ โรมรัตนพันธ. 2548. ทุนทางสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเดือนตุลา. วีระชัย คําลาน. 2547. คูมือปฏิบัติงาน สอบเล่ือนระดับ และสอบบรรจุเขารับราชการ.อุบลราชธานี:

หจก.อุบลกิจออฟเซทการพิมพ.

Page 215: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

205

ลิขิต ธีรเวคิน. 2539. การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สถาบันวิจัยสังคม. 2546. โครงการพัฒนาการดําเนินงาน การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ

วิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุนีย มัลลิกามาลย และคณะ. 2543. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยการจัดการขยะชุมชนอยางมี

ประสิทธิภาพ: รูปแบบและมาตราการทางสังคม เศรษฐศาสตร การจัดการ และกฎหมายเพื่อแกไขปญหาขยะชุมชน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนบัสนุนการวจิยั.

สุรีย บุญญานุพงศ. 2546. การบริหารจัดการระบบกําจัดขยะแบบศูนยรวมขององคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน. เชียงใหม : สถาบันวิจัยสังคม. สุภางค จันทวณิชย. 2540. การวิจัยทางสังคม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักอนามัยส่ิงแวดลอม 2544. การจัดการมูลฝอยของเทศบาลในประเทศไทย: สถานการณปจจุบัน

และทิศทางในอนาคต. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย. อรทัย กกผล. 2546. Best practices ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกลา. เอนก นาคะบุตร. 2545. ทุนทางสังคมและประชาสังคมในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนเพื่อ

สังคม ธนาคารออมสิน.

Page 216: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

206

วิทยานิพนธ กมลศักดิ์ ธรรมาวุธ . 2545. “การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยของเทศบาลนคร

หาดใหญ จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะการจัดการส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. (สําเนา).

กรรณิการ ชมดี . 2524. “การมีสวนรวมของประชาชนท่ีมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจ: ศึกษาเฉพาะกรณี

โครงการสารภี ตําบลทาชาง อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี”, วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา).

กิตติพงศ อุรพีพัฒนพงศ. 2545. “ หลักการธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการรัฐกิจ : กรณีศึกษาบริษัท

จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย”, สํานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกลา. (สําเนา).

จุฑารัตน บุญญานุวัตร. 2546. “การสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการสงขลาเมือง

นาอยูของเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอม คณะการจัดการส่ิงแวดลอม.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สําเนา).

จุติเทพ ยาสมทุร. 2543. “ทุนทางสังคมในชุมชนภาคเหนือ”, ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การศกึษานอก

ระบบ มหาวทิยาลัยเชียงใหม (สําเนา). ชยุต อินพรหม. 2547. “ทุนทางสังคมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน: กรณีศึกษาสภาลาน

วัดตะโหมด ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง”, วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา).

เตือนใจ ฤทธิจักร . 2550. “ธรรมาภิบาลในการบริหารสถาบันิติวิทยาศาสตรตามทัศนะของบุคลากร

สถาบันนิติวิทนาศาศตร กระทรวงยุติธรรม”,วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. (สําเนา).

Page 217: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

207

ไตรรัตน โภคพลากรณ. 2549. “ทุนทางสังคมกับการบริหารการคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน:

ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลหวยกะป อําเภอเมือง จังหวดัชลบุรี และองคการบริหารสวนตําบลเขาสามยอด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี”,พัฒนาชุมชนดุษฎีบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา).

ณัฐกานต จิตรวัฒนา . 2546. “พัฒนาการทุนทางสังคมของกลุมทอสียอมผาธรรมชาติ บานโปงคํา

ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวัดนาน”, วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา).

ทศพล กฤตยพิสิฐ . 2538. “การมีสวนรวมของกํานันผูใหญบานเขตหนอกจอกท่ีมีตอโครงการ/กิจกรรม

การพัฒนาตามแนวทาง “บวร” และ “บรม” เพื่อสรางอุดมการณแผนดินธรรมแผนดินทอง”,วิทยานิพนธ สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา).

ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธุ. 2544. “การจัดการขยะชุมชน: กรณีบานดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง,

วิทย า นิพนธ ศิ ลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาการ จัดการมนุษย กั บ ส่ิ งแวดล อม .มหาวิทยาลัยเชียงใหม (สําเนา).

ธเนศ ทิพยศ. 2542. “ระบบการจัดการมูลฝอยสําหรับองคการบริหารสวนตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ

จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอม คณะการจัดการส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. (สําเนา).

นฤดี บุญชุม. 2546. “แนวทางการปรับปรุงการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน :

กรณีศึกษาชุมชนปริกตก เทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา”,วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิช า ส่ิ งแวดลอม ศึกษา คณะการจัดการ ส่ิ งแวดล อม .มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สําเนา).

บัณฑิต เอ้ือวัฒนานุกูล และ ไพฤทธ์ิ สุขเกิด. 2544. “การมีสวนรวมของชุมชน: กรณีศึกษาศูนยวัสดุรี

ไซเคิลและธนาคารขยะ เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร”, สํานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกลา. (สําเนา).

Page 218: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

208

ปานกมล พิสิฐอรรถกุล. 2545. “การสงเสริมการมีสวนรวมและกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน :กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา”,วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดลอมศึกษา คณะการจัดการส่ิงแวดลอม.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สําเนา).

พรรณิภา โสตถิพันธุ. 2543. “การมีสวนรวมของกลุมแมบานสตรีน้ําขาวในการอนุรักษปาชุมชน”,

วิทยานิพนธสาขารัฐประศาสนศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. (สําเนา).

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ. 2547. “ปจจัยบางประการท่ีมีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของ

ครัวเรือน ในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษาชุมชนบานคลองหวะ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. (สําเนา).

รัชดา บุญแกว. 2551. “การพัฒนากระบวนการเรียนรูของแกนนําชุมชนในการจัดการส่ิงแวดลอมชุมชน

แบบบูรณาการ: กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดลอมศึกษา คณะการจัดการส่ิงแวดลอม .มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สําเนา).

วิวัฒน อ่ึงเจริญ. 2546. “การพัฒนากระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน :

กรณีศึกษาชุมชนปริกตก เทศบาลตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา”,วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิช า ส่ิ งแวดลอม ศึกษา คณะการจัดการ ส่ิ งแวดล อม .มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (สําเนา).

สกุณา ฉันทดลิก. 2550. “บางล่ี: กรณีศึกษาการเปล่ียนแปลงของชุมชนการคาในลุมน้ําทาจีน”, สังคม

วิทยาและมานษุยวิทยามหาบัณฑิต สาขามนุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 219: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

209

สุชาดา วิลาพนัธ. 2549. “กระบวนการทนุทางสังคมในโครงการหมูบานนาอยู กรณีศึกษา บานเกาะกลาง ตําบลบางนมโค จังหวดัพระนครศรีอยุธยา”, วิทยานิพนธพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สุดธิดา สุวรรณะ. 2545. “การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนรัตนวิบูลย และ

ชุมชนไทยโฮเต็ล ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอม คณะการจัดการส่ิงแวดลอม.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. (สําเนา).

หยาดพิรุณ นุตสถาปนา. 2545. “ระบบอุปถัมภท่ีกระทบตอความอยูรอดของชุมชนแออัด กรณีศึกษา

ชุมชนหัวรถจักรตึกแดง เขตบางซ่ือ”, วิทยานิพนธการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. (สําเนา).

อรุณรัศมี สุวรรณะ. 2545. “การจัดการมูลฝอยของครัวเรือนในเขตองคการบริหารสวนตําบล จังหวัด

พะเยา”, วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษยกับส่ิงแวดลอม.มหาวิทยาลัยเชียงใหม. (สําเนา).

อําภา จันทรากาศ. 2543. “ทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งของชุมชน”, วิทยานพินธศิลปศาสตร

มหาบัณฑติ สาขาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. (สําเนา). อุไรวรรณ พวงสายใจ .2545. “ทุนทางสังคมท่ีสงผลตอความเขมแข็งขององคกรชุมชน”, วิทยานิพนธ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. (สําเนา). แผนท่ี สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร. 2552. แผนท่ีเทศบาลเมืองทาขาม. คณะการจัดการส่ิงแวดลอม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 220: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

210

วารสาร กองราชการตําบล กรมการปกครอง. 2545. “ธรรมาภิบาลกับองคการบริหารสวนตําบล” วารสารขาว

ชาง 358 (มี.ค. 2545), 55 -57. ประทาน คงฤทธิศึกษากร . 2539. “การเพิ่มพูนประสิทธิภาพการบริหารงานของเทศบาล”. นิตยสาร

ทองถ่ิน. 6 (มิ.ย. 2539), 45-51. พนัส พฤกสุนันท. 2545. “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของสมาชิกชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนนา

อยู: กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี”. วารสารอนามัยส่ิงแวดลอม. 1 (ม.ค.-มี.ค. 2545), 27-39. พรรณิดา เหลาพวงศักดิ์. 2545. “ปญหาและทางเลือกของการพัฒนาชนบทไทย”. วารสารรมไทรทอง.

12 (มิ.ย.-ก.ค. 2545), 9-12. วิจิตร วิชัยสาร . 2537. “การกระจายอํานาจใหแกทองถ่ิน”. นิตยสารทองถ่ิน. 6 (มิ.ย. 2537), 18 -23. สมบัติ ชุตินันท . 2546. “พัฒนาทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน”. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. 4

(พ.ค. – มิ.ย. 2546), 43 -45. สุจิตรา นาคะลักษณ . 2547. “ทุนทางสังคม:ความเชื่อมโยงกับวาระแหงชาติ”. วารสารเศรษฐกิจและ

สังคม. (ก.ย. – ต.ค. 2547), 23 -28. สุดจิต นิมิตกลุ . 2543. “เมืองนาอยูกับการพัฒนาท่ียั่งยืน”. วารสารเทศาภิบาล. 95(ต.ค. 2543), 16-18. สาโรช คัชมาตย . 2542. “การเปล่ียนแปลงการบริหารงานองคกรปกครองสวนทองถ่ินรับป ค.ศ.2000

มิติใหมแหง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ิน พ.ศ.2542”. นิตยสารกรมการปกครองเทศาภิบาล. 95(มี.ค. 2542).

อกนิษฐ ชุมนุม . 2547. “ยุทธศาสตรการพัฒนาทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน”. วารสารเศรษฐกิจ

และสังคม. (ก.ย. – ต.ค. 2547), 16 -22.

Page 221: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

211

รายงานการประชุมวิชาการ คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ. 2546. “การประชุมวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรในสวน

ภูมิภาค ประจําป 2546 (ภาคใต) .สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. 2543. “ การสรางธรรมาภิบาล (Good Governance)ในสังคมไทย”. การสัมมนา

โครงการปราชญเพื่อแผนดิน คร้ังท่ี 2 ฐานปญญาไทยในสากล.กรุงเทพ: ราชบัณฑิตยสถานศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร.

สํานักงานนโยบายแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. 2548. “รายงานหลักการและเหตุผล

โครงการศึกษาการจัดทําแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและขยะมูลฝอยอันตรายชุมชนระดับประเทศ . กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม.

อินเทอรเน็ท การปกครองทองถ่ินไทย:เทศบาล .2549.สืบคนไดจาก www.thailocaladmin.go.th ควบคุมมลพิษ,กรม.2546. “สถานการณส่ิงแวดลอม” สืบคนจาก www.pcd.go.th ทุนทางสังคม.2549.สืบคนไดจาก www/nidambell.net/economic/2003q3/artical2003.htm เทศบาลเมืองทาขาม อ.พุนพิน จ.สุราษฎรธานี.สืบคนไดจาก www.thakhamcity.go.th สุทัศนา สุทธิกุลสมบัติ.2549. “ธรรมาภิบาล (Good Governance) คืออะไร?” สืบคนไดจาก

www.krusakon.com/article/good.pdf การสัมภาษณ เกษยีร ประเสริฐสุข. รองนายกเทศมนตรี (สัมภาษณ)

20 มกราคม 2550 20 กุมภาพันธ 2550

Page 222: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

212

จุมพล ชลีกรชูวงศ. รองนายกเทศมนตรีเมืองทาขาม (สัมภาษณ) 24 มกราคม 2550

จริยา จายพัฒน. สมาชิกสภาเทศบาลเมือง (สัมภาษณ)

21 มกราคม 2550 จันทรพร สกลุพันธ. หัวหนาสํานักปลัดเทศบาลเมืองทาขาม (สัมภาษณ)

25 มกราคม 2550 จารุพรรณ สิรยาภรณ. ปลัดเทศบาลเมืองทาขาม. (สัมภาษณ)

18 มกราคม 2550. ฉลวย พานแกว. ประธานชุมชนเจริญลาภ (สัมภาษณ)

26 กุมภาพนัธ 2550 9 มกราคม 2552

ณิชมน เกตุมณี. ผูอํานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม. (สัมภาษณ)

18 มกราคม 2550 25 กุมภาพันธ 2550

เดชะ จติรักดี.ประธานกลุมศาลเจา.(สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550 ทนงศักดิ์ ทวทีอง. นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม (สัมภาษณ )

21 มกราคม 2550 7 มกราคม 2552

ธงชัย วิชัยดิฐ. ผูอํานวยการกองสวัสดิการสงัคมเทศบาลเมอืงทาขาม. (สัมภาษณ)

19 มกราคม 2550 7 มกราคม 2552

Page 223: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

213

ประดับ ศรีเช้ือ. แกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็ง ชุมชนเจริญลาภ (สัมภาษณ)

26 กุมภาพนัธ 2550 9 มกราคม 2552

พยอม คงทอง. อสม. ชุมชนเจริญลาภ (สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550 พัชรี วิเชียรซอย ประธานชมุชนทายควน. (สัมภาษณ)

25 กุมภาพนัธ 2550 มาลี อินทคชสาร. คณะกรรมการชุมชนเจริญลาภ.(สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550 ลําจวน คุมหยวง ประธานอสม.ชุมชนทายควน (สัมภาษณ)

25 กุมภาพนัธ 2550 8 มกราคม 2552

รัชนี วิเชียรซอย ประชาชนชุมชนทายควน. (สัมภาษณ)

7 มกราคม 2552 วัฒนา สุขกําลัง. ประชาชนชุมชนเจริญลาภ. (สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550 วีนัช นิตรสิทธ์ิใหม. คณะกรรมการชุมชนฝายทา.(สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550

Page 224: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

214

วิมล ศรีเช้ือ แกนนํากลุมครอบครัวเขมแข็ง ชุมชนเจริญลาภ(สัมภาษณ) 26 กุมภาพนัธ 2550 9 มกราคม 2552

ศิริพันธ คามมะวัลย ประชาชนชุมชนทายควน.(สัมภาษณ)

10 มีนาคม 2550 วรรณ แสงศร. ประชาชนชมุชนฝายทา. (สัมภาษณ)

15 มกราคม 2550 สมจิตร ปนสมาน. ประชาชนชุมชนฝายทา. (สัมภาษณ)

27 กุมภาพนัธ 2550

สุพรรณี แนนอน. ประชาชนชุมชนเจริญลาภ (สัมภาษณ) 27 กุมภาพนัธ 2550

สุวรรณี ศรีวรานพคุณ. อดีตผูอํานวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม. (สัมภาษณ)

24 มีนาคม 2550 สัมพันธ สิทธิสงคราม. ผูอํานวยการกองวชิาการและแผนงาน (สัมภาษณ)

23 มกราคม 2550 พ.จ.ต. อรรนพ พฤกษวานชิ. หัวหนารักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม. (สัมภาษณ)

19 มกราคม 2550 7 มกราคม 2552

อุดม สุธีรพจน. ประธานชมุชนฝายทา.(สัมภาษณ)

12 มีนาคม 2550 8 มกราคม 2552

Page 225: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

215

อนุกูล เขมาภวิงศ. สมาชิกสภาเทศบาล.(สัมภาษณ)

20 มกราคม 2552 อรุณศักดิ์ สธนเสถียร. เจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผน กองวิชาการและแผนงาน.(สัมภาษณ)

23 มกราคม 2550 อัจฉรา แจมกมล. อสม. ชุมชนฝายทา.(สัมภาษณ)

25 มกราคม 2550 8 มกราคม 2552

Page 226: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

216

 

ภาคผนวก

Page 227: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

217

 

ภาคผนวก ก

คาความเท่ียงของแบบสอบถาม

Page 228: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

218

 

คาความเท่ียงของแบบสอบถาม

Reliability ****** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ****** R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) สวนท่ี 2 (2.1) การใหความชวยเหลือกันภายในชุมชน Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item Alpha If Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted HELP 1 13.7667 2.9437 .9216 .8695 HELP 2 13.7667 2.9437 .9216 .8695 HELP 3 13.7333 3.0989 .8089 .8932 HELP 4 13.6667 3.057 .8478 .8852 HELP 5 .0000 3.6552 .4652 .9585 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 5 Alpha = .9166

Page 229: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

219

 

Reliability ****** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ****** R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) สวนท่ี 2 (2.2) ความไววางใจตอบุคคล Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item Alpha If Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted TRUST 1 32.9667 72.5161 .4431 .9305 TRUST 2 33.1000 67.0586 .7540 .9196 TRUST 3 33.2000 66.5103 .7335 .9199 TRUST 4 33.1000 66.5069 .7570 .9192 TRUST 5 33.2333 62.6678 .8085 .9157 TRUST 6 33.3000 60.9759 .9099 .9106 TRUST 7 33.3000 60.7000 .8999 .9109 TRUST 8 33.4333 60.1851 .9057 .9105 TRUST 9 33.2667 60.2713 .8778 .9119 TRUST 10 33.2667 60.2713 .8778 .9119 TRUST 11 36.5000 80.1897 .1546 .9556 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 11 Alpha = .9275

Page 230: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

220

 

Reliability ***** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ****** R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) สวนท่ี 3 (3.1) การนําหลักการธรรมาภิบาลมาปฏิบัติงานของเทศบาลเมืองทาขาม Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item Alpha If Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted GG 1 37.3000 117.8724 .3845 .8399 GG 2 37.3000 117.1828 .4116 .8386 GG 3 37.5000 116.0517 .4757 .8356 GG 4 37.4667 117.0161 .4678 .8361 GG 5 37.4000 118.3862 .3442 .8420 GG 6 36.3333 124.1609 .3472 .8416 GG 7 37.1000 115.4034 .5087 8342 GG 8 37.3000 116.0103 .4454 .8371 GG 9 36.8667 111.2230 .7254 .8247 GG 10 37.2667 109.6506 .6898 .8248 GG 11 37.2000 119.6138 .3295 .8423 GG 12 37.1000 118.7138 .3978 .8391 GG 13 36.5333 124.6713 .2211 .8451 GG 14 37.1000 123.4034 .2288 .8456

Page 231: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

221

 

Reliability ***** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ****** R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) สวนท่ี 3 (3.1) การนําหลักการธรรมาภิบาลมาปฏิบัติงานของเทศบาลเมืองทาขาม (ตอ) GG 15 36.9000 125.5414 .1190 .8503 GG 16 37.0667 118.6851 .3462 .8418 GG 17 37.0667 117.3747 .4348 .8375 GG 18 37.5000 117.7069 .4080 .8387 GG 19 37.8667 113.4299 .6466 .8285 GG 20 38.0000 116.1379 .5647 .8325 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 20 Alpha = .8449

Page 232: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

222

 

Reliability ****** Method 1 (space saver) will be used for this analysis ****** R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) สวนท่ี 3 (3.2) ส่ือและชองทางการรับรูขาวสารเทศบาล Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item Alpha If Item f Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted COMMU 1 29.0333 50.0333 .6953 .6524 COMMU 2 30.0333 53.8954 .4154 .6805 COMMU 3 28.9000 53.5414 .4337 .6785 COMMU 4 29.7667 49.9782 .5683 .6585 COMMU 5 28.8333 58.4885 .0348 .7083 COMMU 6 28.8667 54.0506 .4608 .6792 COMMU 7 29.6667 52.4368 .7620 .6639 COMMU 8 29.5667 52.1161 .6889 .6636 COMMU 9 29.0333 39.2057 .1324 .8954 COMMU 10 29.7000 52.7690 .6885 .6671 COMMU 11 29.5667 52.0471 .6965 .6630 COMMU 12 29.6333 52.5851 .6374 .6673 COMMU 13 29.2667 50.6161 .6968 .6553 COMMU 14 28.9333 59.4437 0622 .7113 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 14 Alpha = .7015

Page 233: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

223

 

ภาคผนวก ข รายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ตั้งแตป พ.ศ. 2539-2549

Page 234: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

224

 

รายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ตั้งแตป พ.ศ. 2539-2549 โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตั้ง ต้ังแต ปพ.ศ. 2539-2549 ท่ีไดดําเนินการในชุมชน เทศบาลเมืองทาขาม มีรายละเอียดดังนี้ ป พ.ศ. 2539 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินโครงการอบรมเยาวชนเพื่ออนุรักษส่ิงแวดลอม มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสรางแนวรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม โดยการจัดอบรมเร่ืองการอนุรักษและรักษาส่ิงแวดลอม กลุมเปาหมายคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนพุนพินพิทยาคมจํานวน 60 คน รูปแบบกิจกรรมเปนการฝกอบรม ผลของการทํากิจกรรมเปนการปลูกจิตสํานึกการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหแกเยาวชนในพื้นท่ี ป พ.ศ. 2540 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินการ 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการอบรมเยาวชนเพ่ืออนุรักษส่ิงแวดลอม มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสรางแนวรวมในการรวมกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม โดยมีการจัดอบรมนักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคมระดับมัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย จํานวน 100 คน ผลจากการดําเนินงานพบวา เยาวชนมีความรูเร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและเปนการปลูกจิตสํานึกใหกับเยาวชน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) 2) กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ บนถนนเจริญเวช ชุมชนเจริญลาภเปนกิจกรรมการจัดการขยะท่ีเกิดข้ึนจากปญหาและความตองการของประชาชนในชุมชน มีวัตถุประสงคเพื่อลดปริมาณขยะตกคางท่ีเกิดข้ึนในชุมชน และตองการรักษาความสะอาดบริเวณบานเรือน รานคา และถนนในชุมชน โดยการนําถังขยะเทศบาลท่ีวางไวบริการประชาชนบนถนนเจริญเวชออก และใหประชาชนในบริเวณน้ันเก็บขยะไวในบาน เม่ือถึงเวลาที่กําหนดไวประมาณ 15.00 น.ของทุกวัน เจาหนาท่ีเทศบาลเขามาทําการเก็บขนขยะ และนําไปกําจัดตอไป ผลจากการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะ พบวาในชวงแรกของการดําเนินกิจกรรมประชาชนในชุมชนสวนใหญยังไมเห็นดวยตอการทํากิจกรรมนี้ แตทางกรรมการชุมชนยังคงยืนยันท่ีจะดําเนินกิจกรรมถนนปลอดถังขยะตอไป (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) ใชเวลาในการดําเนินกิจกรรมตั้งแตป พ.ศ. 2540-2543 ถึงไดรับความรวมมือจากประชาชนในชุมชนในการทํากิจกรรม ปจจุบันกิจกรรมน้ียังคงดําเนินการอยู ในป พ.ศ.2549 ไดขยายการทํากิจกรรมถนนปลอดถังขยะบนนถนนเสนหลักโดยรอบชุมชน ป พ.ศ. 2541 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการโครงการอบรมเยาวชนเพ่ืออนุรักษส่ิงแวดลอม ซ่ึงโครงการนี้เปนโครงการตอเนื่องต้ังแตป พ.ศ. 2539-2542 มีวัตถุประสงค เพื่อเปน

Page 235: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

225

 

การสรางแนวรวมในการรวมกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม โดยมีการจัดอบรมนักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคมจํานวน 100 คน ผลจากการดําเนินงานพบวา เยาวชนมีความรูเร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและเปนการปลูกจิตสํานึกใหกับเยาวชน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) ป พ.ศ. 2542 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินการโครงการอบรมเยาวชนเพ่ืออนุ รักษ ส่ิงแวดลอม มีวัตถุประสงค เพื่อ เปนการสรางแนวรวมในการรวมกันอนุ รักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม โดยมีการจัดอบรมนักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคมจํานวน 100 คน ผลจากการดําเนินงานพบวา เยาวชนมีความรูเร่ืองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและเปนการปลูกจิตสํานึกใหกับเยาวชน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) ป พ.ศ. 2543 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนิน 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการสรางจิตสํานึกในการพัฒนาส่ิงแวดลอมชุมชนและโรงเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหประชาชนมีการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะกอนท่ีจะนํามาท้ิง และลดปริมาณขยะเขาสูพื้นท่ีฝงกลบ กลุมเปาหมายคือ นักเรียนและประชาชนท่ัวไปในชุมชน มีกิจกรรมดังนี้ การจัดอบรมใหความรูแกประชาชนในเร่ืองการคัดแยกขยะ และเทศบาลไดจัดซ้ือถังขยะแยกประเภทใหกับชุมชนและโรงเรียนในเขตเทศบาล ผลการดําเนินโครงการพบวาจากการใหความรู และการจัดซ้ือถังขยะแยกประเภทใหกับชุมชนท้ัง 10 ชุมชน1ในเขตเทศบาลไปแลวนั้น ประชาชนไมสามารถคัดแยกขยะไดเห็นไดจากภายในถังขยะจะพบขยะทุกประเภทอยูรวมกัน ขาดการคัดแยกทําใหการจัดถังขยะแยกประเภทในชุมชนนั้นไมประสบความสําเร็จในการทํากิจกรรมนี้ (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) 2) กิจกรรมขยะแลกไข เกิดจากเทศบาลเมืองทาขามไดมีการสํารวจโรคระบาดภายในชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม พบโรคไขเลือดออกและโรคอหิวาหภายในชุมชนบนควน ชุมชนธีราศรม และชุมชนทายควน ซ่ึงเปนชุมชนแออัดขนาดใหญ ซ่ึงท้ัง 3 ชุมชนมีพื้นท่ีติดตอกัน ไดมีการสรางบานเรือนข้ึนเองกันอยางหนาแนน ขาดการดูแลรักษาความสะอาดภายในชุมชน ทําใหมีขยะตกคางท่ีบริเวณบาน คูระบายนํ้า ริมถนน และพ้ืนท่ีวางภายในชุมชน ซ่ึงขยะตกคางท่ีอยูในชุมชนนี้เปนสาเหตุของการเกิดโรคระบาดท่ีเกิดข้ึน (สุวรรณี ศรีวรานพคุณ (สัมภาษณ), 24 มีนาคม 2550) เพื่อแกไขปญหาที่เกิดข้ึน จึงไดมีการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนข้ึน ไดแก “กิจกรรมขยะแลกไข” ท่ีชุมชนบนควน โดยมีชุมชนธีราศรม และชุมชน                                                            1 ป พ.ศ. 2543 เทศบาลเมืองทาขามีชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม จํานวน 10 ชุมชน

Page 236: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

226

 

ทายควนรวมทํากิจกรรมดวย มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการใหประชาชนในชุมชนเขามารวมกันกําจัดขยะตกคางในชุมชนใชไขไกเปนแรงจูงใจในการใหประชาชนนําขยะตกคางออกจากบริเวณบานของตนเอง เทศบาลเมืองทาขามจัดใหความรูเร่ืองขยะ และประเภทของขยะใหประชาชนในชุมชน โดยใหประชาชนนําขยะรีไซเคิลท่ีอยูในบริเวณบานและในชุมชนมารวมแลกไข จัดกิจกรรมท่ีอานหนังสือประจําชุมชน ผลการดําเนินงานพบวาการทํากิจกรรมขยะแลกไข ไดรับความรวมมือจากแกนนําชุมชน กรรมการชุมชน และ อสม.ในชุมชนเปนแกนนําในการทํากิจกรรม สวนประชาชนในชุมชนใหความรวมมือนอยมาก แตกิจกรรมขยะแลกไขนี้กลับไดรับการตอบรับท่ีดีจากเด็กๆในชุมชนเพราะตองการไขไก (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) ป พ.ศ. 2544 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินการโครงการสรางจิตสํานึกในการพัฒนาส่ิงแวดลอมชุมชนและโรงเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อใหเด็กและเยาวชนเปนแบบอยาง เปนผูนําในดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมในอนาคตไดอยางเหมาะสม กลุมเปาหมายคือ นักเรียนโรงเรียนพุนพินพิทยาคม จํานวน 100 คน มีกิจกรรมดังนี้ การบรรยายเร่ืองการจัดการขยะ แนวทางการลดปริมาณขยะ และการทัศนศึกษาดูงานท่ีโรงเตาเผาขยะมูลฝอย เทศบาลเมืองภูเก็ต ผลของการทํากิจกรรมพบวาเยาวชนท่ีไดเขารวมกิจกรรมมีความสนใจ และสามารถคัดแยกขยะได จนนําไปสูโครงการจัดต้ังธนาคารขยะภายในโรงเรียนพุนพินพิทยาคม ซ่ึงโครงการนี้ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานส่ิงแวดลอมภาคท่ี 11 (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) แตจากการสัมภาษณเจาหนาท่ีผูดําเนินการจัดกิจกรรมกลับพบวาจากการทําโครงการนี้ไดมีการประเมินผลหลังการทํากิจกรรม พบวาเยาวชนท่ีเขารวมกิจกรรมไมไดนําความรูท่ีไดรับจากการอบรมและทัศนศึกษามาสานตอใหเกิดประโยชนท้ังตอตนเอง และสวนรวม เนื่องมาจากเยาวชนท่ีเขามาเรียนท่ีโรงเรียนพุนพินพิทยาคมรอยละ 70 เปนเยาวชนนอกเขตพื้นท่ีทาขาม ขาดความรักตอพื้นท่ีทาขาม ทําใหไมมีการทํากิจกรรมใดๆตอเนื่องภายในโรงเรียนในสวนของกิจกรรมธนาคารขยะภายในโรงเรียนพุนพินพิทยาคมน้ันเร่ิมมีการจัดต้ังในป พ.ศ. 2546 โดยโรงเรียนทํากิจกรรมรวมกับกระทรวงวิทยาศาสตรและส่ิงแวดลอม ซ่ึงเปนผูสนับสนุนงบประมาณในการจัดต้ังธนาคารขยะ (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 19 มกราคม 2550) ป พ.ศ. 2545 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินการ 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการสรางรายไดเสริมแกประชาชนผูมีรายไดนอยในชุมชนเทศบาลเมืองทาขาม มีวัตถุประสงคเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาส่ิงแวดลอมรวมกับเทศบาลเมืองทาขาม เสริมสรางรายไดเสริมแกประชาชนผูมีรายไดนอยในชุมชนใหมีรายไดเพิ่มจากการคัดแยกขยะ กลุมเปาหมายคือ กรรมการชุมชนในแตละชุมชน

Page 237: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

227

 

มีกิจกรรมดังนี้ การจัดอบรมใหแกประชาชน และผูท่ีสนใจเร่ืองการจัดต้ังธนาคารขยะและการจัดทําปุยหมักชีวภาพ จัดทัศนศึกษาดูงานเทศบาลที่ดําเนินงานการลดปริมาณขยะโดยวิธีการจัดต้ังธนาคารขยะ การจัดทําปุยหมักชีวภาพ ณ เทศบาลพิษณุโลก จ.พิษณุโลก จัดกิจกรรมแยกขยะ และการทําปุยหมักชีวภาพในชุมชน ผลท่ีไดจากการทํากิจกรรมพบวากรรมการชุมชนมีความต่ืนตัว และสนใจในกิจกรรมการทําปุยหมักชีวภาพไดมีการขออุปกรณตางๆจากทางเทศบาลและไดมีการทดลองทํากิจกรรมภายในชุมชน โดยกรรมการชุมชนมีความพรอมและสนใจในการทํากิจกรรม แตประชาชนในชุมชนสวนใหญไมใหการตอบรับ และไมใหความรวมมือในการทํากิจกรรม ทําใหกิจกรรมการทําปุยหมักชีวภาพไมสามารถดําเนินการตอไปได (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) 2) โครงการประชาชนอาสาพิทักษส่ิงแวดลอม มีวัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนไดมีความรูความเขาใจในเร่ืองการปรับปรุงและอนุรักษ ทรัพยากรส่ิงแวดลอมโดยภูมิปญญาทองถ่ิน และสงเสริมใหเอกชนจัดต้ังกลุมดานส่ิงแวดลอม ในการอนุรักษทรัพยากร ปรับปรุงสภาพแวดลอมท่ีเส่ือมโทรม การกําจัดมลพิษอ่ืนๆ กลุมเปาหมายคือ ตัวแทนอสม.ทุกชุมชนในเขตเทศบาล โดยดําเนินการพัฒนารวมกับประชาชนในชุมชนบนควน และธีราศรม มีกิจกรรมดังนี้ จัดอบรมใหความรูดานส่ิงแวดลอม จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ืองการจัดทําแผนส่ิงแวดลอมชุมชน ดําเนินกิจกรรมการพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชนรวมกับประชาชนในชุมชนบนควน และชุมชนธีราศรม จัดศึกษาดูงานการจัดการมูลฝอย ณ เทศบาลตําบลปากแพรก อ.ทุงสง จ.นครศรีธรรมราช และไดมีการพัฒนาส่ิงแวดลอมภายในชุมชนบนควน และชุมชนธีราศรม เพราะท้ัง 2 ชุมชนน้ีเปนชุมชนแออัดท่ีมีพื้นท่ีติดตอกัน ยังคงพบการระบาดของโรคไขเลือดออกในชุมชน มีสาเหตุมาจากขยะตกคางในชุมชน ทางกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมจึงขอความรวมมือจากอสม.ทุกชุมชนเปนแกนนําในการทํากิจกรรมการพัฒนาส่ิงแวดลอมภายในชุมชนท้ัง 2 ชุมชน เพื่อชวยชวยกันพัฒนาความสะอาดคูระบายนํ้า ตัดแตงกิ่งไมโดยรอบ เก็บขยะตกคางท่ีอยูในบริเวณชุมชน เพื่อชวยลดสาเหตุการเกิดโรคไขเลือดออก (ณิชมน เกตุมณี, (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ป พ.ศ. 2546 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินโครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอม และรักษาความสะอาดความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมืองประจําปพ.ศ. 2546 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหชุมชน/โรงเรียน ตระหนัก และมีสวนรวมในปญหาของการจัดการมูลฝอยรวมกับเทศบาลเมืองทาขาม สงเสริมใหมีการคัดแยกขยะเพื่อนํากลับมาใชใหม กําจัดขยะท่ีเหลือจากการคัดแยกไดอยางถูกตอง และลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในชุมชน กลุมเปาหมายคือ แกนนําชุมชน กลุม อสม.ในแตละชุมชน และประชาชนท่ัวไป มีกิจกรรมดังนี้ จัดอบรมใหความรูเร่ืองขยะ การคัดแยกขยะ และจัดกิจกรรมขยะรีไซเคิลแลกไขในชุมชนเขตเทศบาลเมืองทาขามจํานวน 4

Page 238: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

228

 

ชุมชน และจัดสัปดาหรณรงครักษาความสะอาดอาคารบานเรือนเนื่องในวันสาธารณสุข และวันสําคัญตางๆ ผลท่ีไดจากการทํากิจกรรมพบวาจากท่ีไดระบุไวในแผนพัฒนาเทศบาลวาจะดําเนินการจัดกิจกรรมขยะแลกไขในชุมชนจํานวน 4 ชุมชน จํานวน 4 คร้ัง แตมีการทํากิจกรรมขยะแลกไข เพี ย ง ชุมชน เดี ย ว ท่ี เ ข า ไป ดํ า เนินการ คือ ท่ี ชุมชนท า ยควน เนื่ อ งมาจากก ลุ ม อสม. ในชุมชนทายควนมีความพรอมและตองการที่จะทํากิจกรรมขยะแลกไข เพื่อแกปญหาขยะท่ียังคงตกคางภายในชุมชน ทางกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมจึงไดลดจํานวนชุมชนจากท่ีไดระบุในโครงการจาก 4 ชุมชนทํากิจกรรมชุมชนละ 1 คร้ังมาเปนการทํากิจกรรม 4 คร้ังในชุมชนเดียว (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ป พ.ศ. 2547 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนิน 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอม รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมืองประจําปพ.ศ. 2547 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหชุมชนใหมีการคัดแยกขยะเพ่ือนํากลับมาใชใหม กําจัดขยะท่ีเหลือจากการคัดแยกไดอยางถูกตอง และลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในชุมชน กลุมเปาหมายคือ แกนนําชุมชนในแตละชุมชน มีกิจกรรมดังนี้ จัดอบรมใหความรูเร่ือง “ขยะ” แกแกนนําชุมชน จํานวน 100 คน และช้ีแจงการดําเนินงานกิจกรรม “ขยะแลกไข” โดยวิทยากรจากบริษัท วงษพาณิชยกรุป จัดกิจกรรม “ขยะแลกไข” ชุมชนบนควน และชุมชนธีราศรม เปนชุมชนนํารอง ประเมินผลการดําเนินงาน และไดมีการขยายชุมชนกับทํากิจกรรมขยะแลกไขออกไปยังชุมชนทายควน ชุมชนใตโคง และชุมชนเจริญลาภ 2) กิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิล เทศบาลเมืองทาขามไดรับงบประมาณจํานวน 300,000 บาทจากสํานักงานส่ิงแวดลอมภาคท่ี 11 และกรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอมใหดําเนินการจัดการขยะแบบครบวงจร มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางจิตสํานึกใหประชาชนทราบถึงปญหาและการแกปญหาขยะ พรอมท้ังสงเสริม สนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการลดและการแยกขยะอยางเปนรูปธรรมกอนนําไปกําจัด ซ่ึงในการไดรับเงินอุดหนุนมีเง่ือนไข คือ เทศบาลเมืองทาขามตองดําเนินกิจกรรมการลดปริมาณขยะจากรูปแบบท่ีกําหนดให ไดแก 1) กิจกรรมสรางจิตสํานึก โดยการจัดประชุม/อบรมใหความรูแกเครือขายตาง ๆ เชน กลุม อสม. ชุมชน, โรงเรียน, รานคาและหนวยงานราชการท่ีเกี่ยวของ 2) กิจกรรมธนาคารขยะในโรงเรียน 3) กิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิล 4) กิจกรรมหมักปุยชีวภาพ และ 5) กิจกรรมขยะแลกไข กิจกรรมทอดผาปาขยะรีไซเคิล จัดวาเปนกิจกรรมรณรงคการลดปริมาณขยะคร้ังใหญของเทศบาลเมืองทาขาม กิจกรรมนี้ไดรับความรวมมือจากประชาชนเปนอยางดีประชาชนทุกชุมชนนําขยะรีไซเคิลมาเขารวมกิจกรรม นิมนตพระสงฆมาทําพิธี จากกิจกรรมทอดผาปาขยะรี

Page 239: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

229

 

ไซเคิลสามารถขายขยะไดเปนจํานวนเงิน 30,000 บาทเปนกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนกิจกรรมหนึ่งท่ีไดรับความสนใจ และการตอบรับท่ีดีจากประชาชนในพื้นท่ี เพราะเปนกิจกรรมการจัดการขยะรูปแบบใหมท่ีเกิดข้ึนในเทศบาล และเปนคร้ังแรกท่ีไดมีการดําเนินการทําใหประชาชนสนใจและเขารวมทํากิจกรรมเปนจํานวนมาก (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ป พ.ศ. 2548 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนิน 2 โครงการ ดังนี้ 1) โครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอม รักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง ประจําปพ.ศ. 2548 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหองคกรชุมชน ตระหนัก และมีสวนรวมในการแกไขปญหาของการจัดการมูลฝอยรวมกับเทศบาล ลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในชุมชน/ครัวเรือน เพื่อลดงบประมาณในการกําจัดขยะ กลุมเปาหมายคือ แกนนําชุมชนในแตละชุมชน จํานวน 100 คน มีกิจกรรมดังนี้ จัดอบรมใหความรูเร่ือง “ขยะ” และ จัดกิจกรรม “ขยะแลกไข” ในชุมชนนํารอง ไดแก ชุมชนบนควน ชุมชนใตโคง และชุมชนมุงพัฒนา ผลท่ีไดจากการดําเนินกิจกรรมพบวาประชาชนมีความรู เห็นคุณคาของขยะ จึงทําใหมีประชาชนท่ีสนใจเขารวมในการทํากิจกรรมเพ่ิมมากข้ึนในแตละคร้ัง (ณิชมน เกตุมณี, (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) 2) โครงการการกําจัดขยะแบบครบวงจร ประจําป พ.ศ.2548 มีวัตถุประสงคเพื่อตองการใหประชาชนมีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของขยะ สามารถคัดแยกขยะและนําขยะท่ีไดจากการคัดแยกนํากลับมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งสามารถลดตนทุนในการจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขาม กลุมเปาหมายคือ ผูนําชุมชน และกลุมอสม. จํานวน 120 คน มีกิจกรรมดังนี้ จัดทําปายในการรณรงคสรางจิตสํานึก เร่ืองการจัดการขยะแบบครบวงจร จัดอบรมเร่ืองวิธีการคัดแยกเศษอาหารประเภทตางๆในครัวเรือน การคัดแยกขยะเพ่ือนํามาใชใหม และจัดสาธิตการทําปุยโบกาฉิ2 เพื่อใชในการทําน้ําหมักชีวภาพ เทศบาลจัดซ้ือถังแยกเศษอาหาร (ถังพิทักษโลก) ในการทําปุยชีวภาพในครัวเรือนใหครอบครัวแกนนําชุมชนท่ีเขารวมโครงการ จํานวน165 ใบ ผลท่ีไดจากการดําเนินกิจกรรมพบวามีการประเมินผลสรุปไดวาไมไดผล เพราะประชาชนท่ีเขารวมโครงการนั้น คิดวาการทําน้ําหมักชีวภาพนั้นเปนภาระ และประสบกับปญหาการขาดแรงงานในการทําโบกาฉิ คงเหลือประชาชนท่ีรวมกิจกรรมเพียง 30 ครัวเรือน (กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองทาขาม, 2549) ป พ.ศ. 2549 เทศบาลเมืองทาขามไดมีการดําเนินการ 2 โครงการ ดังนี้

                                                            2 โบกาฉิ คือ สวนผสมในการทํานํ้าหมักชีวภาพสามารถใชแทนกากนํ้าตาลๆได โบกาฉิประกอบดวย แกลบ มูลสัตว และเชื้อจุลินทรีย ผสมเขาไปดวย และนําไปตากแดดใหแหง

Page 240: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

230

 

1) โครงการรณรงคดูแลรักษาส่ิงแวดลอม รักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง ประจําป 2549 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหองคกรชุมชน ตระหนัก และมีสวนรวมในการแกไขปญหาของการจัดการมูลฝอยรวมกับเทศบาล ลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในชุมชน/ครัวเรือน เพื่อลดงบประมาณในการกําจัดขยะ กลุมเปาหมายคือ แกนนําชุมชน และกลุมอสม.ในแตละชุมชน จํานวน 100 คน มีกิจกรรมดังนี้ จัดอบรมใหความรูเร่ือง “การจัดการขยะในชุมชน” และจัดกิจกรรม “ขยะแลกไข” ในชุมชนนํารองของเทศบาลเมืองทาขาม ไดแก ชุมชนบนควน ชุมชนทายควน ชุมชนธีราศรม และชุมชนมุงพัฒนาผลท่ีไดจากการดําเนินกิจกรรมพบวาประชาชนใหความสนใจ และเขารวมในการทํากิจกรรมมากข้ึน เห็นไดชัดวาประชาชนมีความเขาใจในการคัดแยกขยะ เพราะขยะสวนใหญท่ีนํามาแลกไขนั้นไมสามารถขายใหกับซาเลงได จึงนํามาแลกไขของเทศบาล(ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) ซ่ึงการดําเนินกิจกรรมขยะแลกไขมีการขยายชุมชนในการทํากิจกรรมเปนผลมาจากนโยบายเร่ืองของการรักษาความสะอาด และการจัดการขยะท่ีไดรับจากนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกเทศมนตรี ท่ีตองการใหประชาชนมีการคัดแยกขยะและลดขยะภายในบานของตนเองกอนการเขาสูระบบการกําจัดขยะของเทศบาลตอไป (จริยา จายพัฒน (สัมภาษณ), 21 มกราคม 2550) 2) โครงการการกําจัดขยะแบบครบวงจรประจําป พ.ศ.2549 มีวัตถุประสงคเพื่อรณรงคสรางจิตสํานึก ความเขาใจในการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือน จากแหลงกําเนิดอ่ืนๆกอนนําไปกําจัดอยางถูกวิธี และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะแบบครบวงจรรวมกับทองถ่ิน กลุมเปาหมายคือ กลุมเครือขายผูนําทองถ่ิน ผูนําชุมชน สถาบันการศึกษา องคกรพัฒนาเอกชน และประชาชนท่ีสนใจ จํานวน 150 คน และครอบครัวแกนนําในชุมชนนํารอง เขตเทศบาลเมืองทาขาม จํานวน 100 คน มีกิจกรรมดังนี้ การจัดทําปายในการรณรงคสรางจิตสํานึก เร่ืองการจัดการขยะแบบครบวงจร จัดอบรมเร่ืองวิธีการคัดแยกเศษอาหารประเภทตางๆในครัวเรือน การคัดแยกขยะเพ่ือนํามาใชใหม และจัดสาธิตการทําปุยโบกาฉิ และเทศบาลจัดซ้ือถังแยกเศษอาหาร ผลของการทํากิจกรรมพบวา ชุมชนเจริญลาภมีการทํากิจกรรมน้ําหมักชีวภาพ โดยเปล่ียนรูปแบบจากการหมักแบบถังละบานมาเปนมาหมักรวมกันท่ีศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลมชุมชนเจริญลาภ โดยมีเจาหนาท่ีกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมเขามาเก็บขนขยะอินทรียจากแตละบานมาใหท่ีศูนยการเรียนรูส่ิงแวดลอมชุมชนเจริญลาภดําเนินการหมักตอไป (ณิชมน เกตุมณี (สัมภาษณ), 18 มกราคม 2550) โครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนเทศบาลเมืองทาขามท่ีไดนําเสนอไปแลวนั้น ผูวิจัยสามารถแบงรูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนไว 5 รูปแบบดังนี้ 1) การรณรงค/ประชาสัมพันธ 2) การอบรม 3) การสาธิต 4) ทัศนศึกษาดูงาน

Page 241: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

231

 

และ 5) อ่ืนๆ ไดแก การเขามาทํากิจกรรมจากหนวยงานภายนอก กิจกรรมท่ีเกิดจากปญหาขยะในชุมชน และกิจกรรมท่ีเกิดจากความตองการของประชาชนในชุมชน เปนตน ซ่ึงรูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการนั้นเนนไปท่ีรูปแบบการรณรงค/ประชาสัมพันธ และการอบรม เพราะเปนรูปแบบท่ีสามารถดําเนินการไดงาย และเขาถึงประชาชนมากกวารูปแบบอ่ืนๆ (พ.จ.อ. อรรนพ พฤกษวานิช (สัมภาษณ), 7 มกราคม 2552)

Page 242: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

232

 

ภาคผนวก ค ขอมูลเชิงปริมาณของกลุมตวัอยางชุมชนที่ศึกษา 3 ชุมชน

Page 243: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

233

 

ขอมูลเชิงปริมาณของกลุมตวัอยางชุมชนที่ศึกษา 3 ชุมชน จากการศึกษาเชิงปริมาณจากชุมชนท่ีเปนกลุมในตัวอยางในการศึกษาคร้ังนี้ 3 ชุมชนไดแก ชุมชนฝายทา ชุมชนทายควน และชุมชนเจริญลาภ ถึงปจจัยท่ีมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนของเทศบาลเมืองทาขาม มีรายละเอียดดังนี้ 1) ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางไดแก เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการอยูอาศัยในชุมชนและสถานภาพในชุมชน สามารถแสดงผลการวิจัยจําแนกตามพื้นท่ีศึกษาดังแสดง (ตาราง 15) ตาราง 15 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

เพศ ชาย 7

(24.1) 8

(33.3) 16

(30.8) 31

(29.5) หญิง 22

(75.9) 16

(66.7) 36

(69.2) 74

(70.5) อายุ (ป) ตํ่ากวา 20 ป 1

(3.4) 2

(8.3) 9

(17.3) 12

(11.4) 21-40 ป 16

(55.2) 12

(50.0) 15

(28.8) 39

(37.1) 41-60 ป 11

(37.9) 8

(33.3) 27

(32.7) 40

(38.1)

มากกวา 60 ป 1

(3.4) 2

(8.3) 11

(21.2) 14

(13.3) คาเฉล่ีย (Mean) 39.41 42.42 41.92 41.34 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 10.25 13.22 17.86 14.99

Page 244: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

234

 

ตาราง 15 (ตอ)

ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือน

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

อาชีพ พนักงานบริษัท /ลูกจาง ขาราชการรับจางทั่วไป

5 (17.1)

13 (54.2)

8 (15.3)

26 (24.8)

ประกอบอาชีพอิสระและเจาของธุรกิจ 15 (58.6)

7 (29.2)

20 (38.5)

44 (41.9)

แมบาน นักเรียน นักศึกษา วางงานและอาชีพอื่นๆ ไดแก ขาราชการเกษียณอายุ

7 (24)

4 (16.6)

24 (46.2)

35 (33.3)

การศึกษา ประถมศึกษา 18

(62) 11

(45.8) 26

(50.0) 37

(35.2) มัธยมศึกษา 5

(17.2) 9

(37.5) 15

(28.8) 42

(40) ประกาศนียบัตรและอนุปริญญา 6

(20.7) 4

(16.7) 4

(7.7) 13

(12.4) ปริญญาตรี 0

(0) 0

(0) 6

11.5) 12

(11.4) อื่นๆ ไดแก ปริญญาโท 0

(0) 0

(0) 1

(1.9) 1

(1.0) สถานภาพในชุมชน ประชาชนทั่วไป 20

(69.0) 16

(66.7) 37

(80.8) 73

(74.3) ผูนําชุมชน 0

(0) 1

(4.2) 1

(1.9) 2

(1.9) คณะกรรมการชุมชน 2

(6.9) 4

(16.7) 4

(7.7) 10

(9.5) สมาชิกกลุมในชุมชน 7

(24.1) 3

(12.5) 10

(19.2) 20

(19.0)

Page 245: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

235

 

จากตาราง 15 พบวากลุมตัวอยางเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย เพศหญิงรอยละ 70.5 เพศชายรอยละ 29.5 มีอายุเฉล่ีย 41.3 ป จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามากท่ีสุดรอยละ 35.2 รองลงมาคือระดับประถมศึกษา รอยละ 12.4 มีอาชีพเปนเจาของธุรกิจมากท่ีสุด รอยละ 41.9 และสถานภาพในชุมชนเปนประชาชนท่ัวไป 2) กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม การชวยเหลือซ่ึงกันระหวางเครือญาติ การรับทราบกลุมตางๆภายในชุมชน การเขารวมเปนสมาชิกของกลุมตางๆภายในชุมชน และสาเหตุของการเขารวมเปนสมาชิกกลุม ซ่ึงในท่ีนี้ผูตอบแบบสอบถามสามารถระบุไดมากกวา 1 ขอ ตามความเปนจริงสามารถแสดงผลการวิจัยตามพื้นท่ีศึกษา ดังแสดง (ตาราง 16) ตาราง 16 กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม

กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

การชวยเหลือกันในเครือญาติ* ชวยเหลือดานสิ่งของ 15

(51.7) 8

(33.3) 24

(46.2) 46

(43.8) ชวยเหลือดานการเงิน 10

(34.5) 6

(25.0) 14

(26.9) 30

(28.6) ฝากดูแลสมาชิกในบาน 17

(58.6) 15

(62.5) 21

(40.4) 53

(50.5) ฝากดูแลบาน 18

(12.1) 12

(50.0) 24

(46.2) 54

(51.4) อื่นๆ 0

(0) 0

(0) 1

(1.9) 1

(1.0) การจัดต้ังกลุมภายในชุมชน ทราบ 28

(96.6) 24

(100) 48

(92.3) 100

(95.2)

Page 246: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

236

 

ตาราง 16 (ตอ)

กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

กลุมตางๆในชุมชนท่ีประชาชนรับทราบ* คณะกรรมการชุมชน 24

(82.8) 24

(100) 35

(67.3) 83

(79.0) อสม. 20

(69.0) 24

(100) 36

(69.2) 80

(76.2) กลุมเพ่ือการออมทรัพย 3

(10.3) 17

(70.8) 23

(44.2) 43

(41.0) กลุมกองทุนชุมชน 19

(65.5) 17

(70.8) 29

(55.8) 65

(61.9) กลุม อปพร. 0

(0) 12

(50.0) 20

(38.5) 32

(30.5) กลุมอาสาสมัครสิ่งแวดลอม 3

(10.3) 6

(25.0) 12

(23.1) 21

(20.0) กลุมเพ่ือการนันทนาการในชุมชน 2

(6.9) 3

(12.5) 10

(19.2) 15

(14.3) อื่นๆ ไดแก กลุมครอบครัวเขมแข็งของ ชุมชนเจริญลาภ

0 (0)

0 (0)

8 (15.4)

8 (7.6)

การเปนสมาชิกกลุมในชุมชน เปน 16

(55.2) 9

(37.5) 21

(40.4) 43

(41.0) ไมเปน 13

(44.8) 15

(62.5) 31

(59.6) 62

(59.0)

Page 247: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

237

 

ตาราง 16 (ตอ)

กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

กลุมท่ีเขารวมเปนสมาชิก* คณะกรรมการชุมชน 3

(10.3) 7

(29.2) 2

(3.8) 12

(11.4) กลุมอสม. 1

(3.4) 4

(16.7) 1

(1.9) 6

(5.7) กลุมเพ่ือการออมทรัพย 0

(0) 4

(16.7) 9

(17.3) 8

(7.6) กลุมกองทุนชุมชน 12

(41.4) 4

(16.7) 9

(17.3) 25

(23.8) กลุม อพปร. 0

(0) 0

(0) 0

(0) 0

(0) กลุมอาสาสมัครสิ่งแวดลอม 1

(3.4) 4

(16.7) 4

(7.7) 9

(8.6) กลุมเพ่ือการนันทนาการในชุมชน 0

(0) 1

(4.2) 3

(5.8) 4

(3.8) สาเหตุของการเขารวมทํากิจกรรม ผูบรหิารเทศบาล 0

(0) 0

(0) 2

(3.8) 2

(1.9) เจาหนาที่เทศบาล 2

(6.9) 0

(0) 2

(3.8) 4

(3.8) ผูนําชุมชน 3

(10.3) 8

(33.3) 6

(11.5) 17

(16.2) เพ่ือนบาน 6

(20.7) 1

(4.2) 9

(17.3) 16

(15.2) ญาติพ่ีนอง 4

(13.8) 1

4.2) 4

(7.7) 9

(8.6)

Page 248: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

238

 

ตาราง 16 (ตอ)

กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม

จํานวนกลุมตัวอยางพ้ืนท่ีศึกษา (คน) (รอยละ)

ฝายทา (n = 29)

ทายควน (n = 24)

เจริญลาภ (n = 52)

รวม (n = 105)

การเขารวมเปนสมาชิกกลุมในอนาคต ไมเขารวม 7

(24.1) 6

(25.0) 22

(42.3) 36

(34.3) การเขารวมเปนสมาชิกกลุมในอนาคต เขารวม 11

(37.9) 11

(45.8) 24

(46.2) 46

(43.8) ไมแนใจ 11

(37.9) 7

(29.2) 6

(11.5) 23

(21.9) *กลุมตัวอยางสามารถตอบไดมากกวาหน่ึงขอ จากตาราง 16 พบวาประชาชนกลุมตัวอยางท้ัง 3 ชุมชนมีญาติพี่นองท่ีอาศัยอยูในชุมชนเดียวกัน และมีการชวยเหลือกัน โดยมีการชวยเหลือดานส่ิงของเคร่ืองใช ดานการเงิน ฝากดูแลสมาชิกและบาน ท้ังนี้ประชาชนทราบวาภายในชุมชนน้ันมีการจัดต้ังกลุมข้ึนโดยเทศบาลเมืองทาขาม เชนคณะกรรมการชุมชน อสม. เปนตน และกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนเอง เชน อาสาสมัครส่ิงแวดลอม กลุมนันทนาการ เปนตน ประชาชนสวนใหญ เขามาเปนสมาชิกกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนเองถึงรอยละ 41.0 โดยเปนสมาชิกกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนท่ีมีผลประโยชนโดยตรงการกับดําเนินชีวิต ไดแก รอยละ 23.8 เปนสมาชิกกลุมกองทุนชุมชน สวนกลุมท่ีเปนอาสาสมัครตางๆนั้นประชาชนเขารวมเปนสมาชิกนอย สวนสาเหตุของการเขารวมทํากิจกรรมนั้นเกิดจากการชักชวนของผูนําชุมชน รอยละ 16.2 เพื่อนบานรอยละ 15.2 และประชาชนท่ีไมไดเปนสมาชิกกลุมท่ีไดจัดต้ังข้ึนนั้นพบวา ในอนาคตจะเขารวมเปนสมาชิก รอยละ 43.8 ไมเขารวม รอยละ 34.3 และยังไมแนใจ รอยละ 21.9  

Page 249: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

239

 

ภาคผนวก ง แบบสัมภาษณ

Page 250: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

240

 

แบบสัมภาษณ เร่ือง ธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษา

เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธาน ี

คําช้ีแจง แบบสัมภาษณนี้เปนสวนหน่ึงในการทําวิทยานิพนธเร่ือง “ธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษา เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยแบบสัมภาษณออกเปน 5 ตอนดังนี้ ตอนท่ี 1 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน ตอนท่ี 2 ธรรมาภิบาล ตอนท่ี 3 ทุนทางสังคม ตอนท่ี 4 แนวโนมและทิศทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน จึงใครขอความรวมมือทานในการตอบแบบสัมภาษณใหครบทุกขอ เพื่อความสมบูรณในการวิจัยคร้ังนี้

ขอบพระคุณ ผูวิจัย

Page 251: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

241

 

แบบสัมภาษณผูบริหารและเจาหนาท่ีเทศบาล เร่ือง “ธรรมาภิบาล และทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน : กรณีศึกษา

เทศบาลเมืองทาขาม อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธาน ี ช่ือผูใหสัมภาษณ................................................................................ตําแหนง.................................. หนวยงานท่ีสังกัด............................................................................................................................... วันท่ีสัมภาษณ.........................เดือน........................พ.ศ................................... สวนท่ี 1 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1. ทานมีนโยบายดานการจัดการส่ิงแวดลอมอยางไรบาง 2. นโยบายกอนท่ีทานจะเขามารับตําแหนง ทานมีนโยบายดานการจัดการขยะอยางไรบาง 3. หลังจากท่ีไดรับตําแหนงแลว ทานมีนโยบายดานการจัดการขยะอยางไรบาง 4. ทานมีโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะอยางไรบาง 5. ทานคิดวาโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมในเขตเทศบาลเมืองทาขาม ประชาชนไดเขามามีสวนรวมเพียงใด 6. ทานคิดวาประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามจึงเขามามีสวนรวมในโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวม เพราะเหตุใด 7. ทานมีเกณฑอยางไรในการกําหนดผูรับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวม สวนท่ี 2 ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1. ปจจัยดานธรรมาภิบาล 1.1 การมีสวนรวมของประชาชน 1.1.1 ทานมีชองทางท่ีหลากหลายในการใหขอมูลการจัดการขยะแกประชาชน มีท้ังภาพรวมและ เฉพาะกลุมอยางไรบาง 1.1.2 ทานมีการสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาล 3 ป อยางไรบาง 1.1.3 ทานเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะ อยางไรบาง

Page 252: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

242

 

1.1.4 ทานสามารถทําโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะท่ีระบุไวในแผนไดหรือไม 1.1.5 ทานเปดโอกาสใหประชาชนเขาไปมีสวนรับผิดชอบในการจัดการโครงการส่ิงแวดลอมในระดับท่ีสูงข้ึน ไมใชเพียงการรับผลประโยชน อาจเปนรูปแบบอาสาสมัคร เปนตนมีหรือไม อยางไรบาง 1.1.6 ทานมีการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทา ขามตอการดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมอยางไรบาง 1.1.7 ทานมีการติดตามผลกระทบของโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามไดดําเนินการไปแลวอยางไรบาง 1.2 ความโปรงใส 1.2.1 ทานมีการเปดเผยขอมูลขาวสารตางๆท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะของเทศบาลเมืองทาขามใหประชาชนไดรับทราบอยางไรบาง 1.2.2 ทานมีการเปดเผยขอมูลดานการเงินการคลังอยางไรบาง 1.2.3 ทานไดมีการแจงผลการตัดสินใจในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะใหประชาชนทราบหรือไม ดวยวิธีการอยางไรบาง 1.2.4 หนวยงานของทานไมมีการทุจริต และ/หรือประพฤติมิชอบของผูบริหาร และ/หรือบุคลากรของเทศบาล และหากมีก็ไดดําเนินการตัดสินโดยยุติธรรมและโปรงใส 1.2.5 ทานมีการจัดระบบรองเรียน/รับเร่ืองราวรองทุกขท่ีครบวงจร ต้ังแตการรับเร่ือง การดําเนินตรวจสอบแกไข และการแจงกลับผูรองเรียน และ/หรือเปดเผยการดําเนินงานแกสาธารณะ 1.3 ความรับผิดชอบ 1.3.1 ทานมีการกําหนดมาตรฐานการใหบริการและความพยายามในการประเมินใหเปนมาตรฐาน รวมท้ังประกาศใหคนรูดวยวามีมาตรฐาน 1.3.2 ทานและผูบริหารทั้งฝายการเมืองและฝายบริหาร มีการทํางานเชิงรุกโดยไมรอจนกระท่ังเกิดปญหาแลว 1.3.3 ทานมีการออกเทศบัญญัติท่ีครอบคลุมปญหาเฉพาะของพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองทาขาม และมีการนําไปใชแลวอยางเปนรูปธรรม 1.3.4 ทานมีชองทางและกระบวนการท่ีชัดเจนท่ีจะใหประชาชนท่ีไมพึงพอใจในคุณภาพและมาตรฐานสามารถรองเรียนไดอยางไรบาง

Page 253: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

243

 

1.3.5 ทานมีการจัดชองทางรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือนํามาประกอบการตัดสินใจดําเนินโครงการใดๆท่ีมีผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงความเปนอยูของประชาชนและส่ิงแวดลอมเมือง 1.4 การสนองตอบตอความตองการของประชาชน 1.4.1 ทานมีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะท่ีสามารถตอบสนองตอปญหาและความตองการของประชาชนอยางไรบาง 1.4.2 ทานมีกลไกหรือกระบวนการในการจัดการปญหาไดอยางรวดเร็ว เชน มีหนวยรับเร่ืองราวรองทุกข มีหนวยเคล่ือนท่ีเร็วในการจัดการปญหาใหกับประชาชนท่ีรวดเร็วหรือไม อยางไรบาง 1.4.3 ทานมีการดําเนินการสนองตอบตอความตองการของประชาชนเปนไปอยางท่ัวถึงกระจายไปในพ้ืนท่ีท่ีมีความจําเปน 1.4.4 ทานมีการประเมินความพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาลตอการแกไขปญหาและตอบสนองความตองการของประชาชนอยางไรบาง 2.ปจจัยทางดานทุนทางสังคม 2.1 ความเชื่อใจ 2.1.1 ทานคิดวาชุมชนมีความไววางใจกับเทศบาลเมืองทาขามมากนอยเพียงใด 2.1.2 ทานคิดวาความสัมพันธเร่ืองความชวยเหลือซ่ึงกันและกันระหวางเทศบาลเมืองทาขามกับชุมชนภายในเขตเทศบาลเมืองทาขามเปนอยางไร 2.2 เครือขาย/ความสัมพันธของชุมชน 2.2.1 เทศบาลเมืองทาขามมีการจัดต้ังกลุมอ่ืนๆท่ีเปดโอกาสใหประชาชนเขามาเปนสมาชิกหรือไม 2.2.2 เทศบาลเมืองทาขามมีการจัดประชุมกับชุมชนหรือไม และจํานวนคนท่ีเขารวมประชุมในแตละคร้ังจํานวนเทาไร 2.2.3 เทศบาลเมืองทาขามสามารถชวยเหลือประชาชนในชุมชนไดหรือไมเม่ือชุมชนรองขอ 2.3 การเปนสมาชิกของกลุม 2.3.1 มีการจัดต้ังกลุมประชาสังคมโดยเทศบาลเมืองทาขามเปนผูจัดใหหรือไม 2.3.2 จํานวนประชาชนท่ีเขารวมเปนสมาชิกกลุมท่ีเทศบาลเมืองทาขามจัดต้ังข้ึนมีจํานวนเทาไร

Page 254: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

244

 

2.4 กิจกรรมการมีสวนรวมของชุมชน 2.4.1 จํานวนคนท่ีเขารวมกิจกรรมท่ีเปนประโยชนโดยรวมตอชุมชนท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามจัดข้ึน 2.5 คุณลักษณะผูนํา 2.5.1 ทานคิดวาระดับการศึกษาของผูนํามีผลตอการบริหารจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 2.5.2 ทานคิดวาสถานภาพทางสังคมท่ีมีผูนําเปนอยูมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 2.5.3 ทานคิดวาบุคลิกภาพของผูนํา เชน ความเช่ือม่ันในตัวเอง การเปนผูท่ีตองการมีสวนรวมในกิจกรรมตางอยางกระตือรือรน และการเปนผูท่ีชอบการติดตอ พบปะสังสรรคกับบุคลลอ่ืน เปนตน มีผลตอการการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 2.5.4 ทานคิดวาความรับผิดชอบตองานท่ีทํา การตองการความสําเร็จมีการพัฒนาตนเองและผลงานตลอดเวลาของผูนํา มีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 2.5.5 ทานคิดวาการมีความคิดสรางสรรคของผูนํา เชน มีการนําเสนอโครงการ/กิจกรรมในรูปแบบใหมๆ การเปดโอกาสในการทํางานใหผูใตบังคับบัญชามีสวนรวม เปนตนมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง สวนท่ี 3 แนวโนมและทิศทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.ทานคิดวาโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในเทศบาลเมืองทาขามเพียงพอแลวหรือไม 2. ทานคิดวาควรจะตองมีการเพิ่มจํานวนโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนหรือไม 3. ทานคิดวาถาภายในชุมชนยังคงดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตอไปในอนาคตจะมีผลตอปริมาณขยะของเทศบาลเมืองทาขามอยางไรบาง 4. ทานคิดวาแนวโนมปริมาณขยะของเทศบาลเมืองทาขามจะเปนอยางไรตอไปในอนาคต 5. ทานคิดวาในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนมีปญหาและอุปสรรคดานใดบาง เพราะอะไร

Page 255: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

245

 

แบบสัมภาษณตัวแทนประชาชนในชุมชน สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ ช่ือผูใหสัมภาษณ............................................................................................ชุมชน....................... บานเลขท่ี...........................................................................................อาศัยอยูในชุมชน................ป วันท่ีสัมภาษณ.........................เดือน........................พ.ศ................................... ผูสัมภาษณ........................................................................................................................................... สวนท่ี 2 พัฒนาการของการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1. ทานเคยเขารวมโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการลดปริมาณขยะท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามจัดใหหรือไม อยางไรบาง 2. ในชุมชนของทานมีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการลดปริมาณขยะท่ีคิดข้ึนเองภายในชุมชนหรือไม อยางไรบาง 3. ทานคิดวาโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการลดปริมาณขยะในเขตเทศบาลเมือง ทาขามมีการเปดโอกาสให ประชาชนไดเขามามีสวนรวมอยางไรบาง 4. ทานคิดวาทําไมประชาชนในเขตเทศบาลเมืองทาขามจึงเขามามีสวนรวมในโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการลดปริมาณขยะท่ีทางเทศบาลเมืองทาขามจัดข้ึน เพราะเหตุใด สวนท่ี 3 ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.ปจจัยทางดานทุนทางสังคม 1.1 ความเชื่อใจ 1.1.1 ทานมีความไววางใจตอบุคคลในชุมชนเดียวกัน และเทศบาลมากนอยเพียงใด 1.1.2 ถามีปญหาเกิดข้ึนทานจะไปขอความชวยเหลือจากเพ่ือนบานหรือคนในชุมชน หรือเทศบาลของทานหรือไม ถาไมใชทานไปขอความชวยเหลือจากใคร 1.1.3 ทานจะใหความชวยเหลือโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอคนสวนใหญ แมวาตัวทานเองจะไมไดรับผลประโยชนจากโครงการ/กิจกรรมดังกลาวหรือไม

Page 256: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

246

 

1.2 เครือขาย/ความสัมพันธของชุมชน 1.2.1 ภายในชุมชนของทานเองมีการจัดต้ังเครือขายอ่ืนๆนอกเหนือจากท่ีทางเทศบาลจัดใหหรือไม 1.2.2 ภายในชุมชนของทานมีการประชุมกันเองภายในชุมชนหรือไม จํานวนคนท่ีเขารวมประชุมในแตละคร้ังจํานวนเทาไร 1.2.3 ทานหรือคนในชุมชนสามารถขอความชวยเหลือยามมีปญหาจากคนในชุมชนเดียวกันไดหรือไม อยางไรบาง 1.3 การเปนสมาชิกของกลุม 1.3.1 ในชุมชนของทานมีการจัดต้ังกลุมสมาชิกท่ีจัดต้ังข้ึนเองหรือไม 1.3.2 จํานวนประชาชนท่ีเขารวมเปนสมาชิกกลุมท่ีจัดต้ังข้ึนเองมีจํานวนเทาไร 1.3.3 กลุมท่ีจัดต้ังข้ึนมา มีความเขมแข็งภายในกลุมหรือไม (ดูวามีความเหนียวแนนในการดํารงอยู เชนจํานวนสมาชิกต้ังแตกอต้ังจนถึงปจจุบัน การโกงกันมีหรือไม เปนตน) 1.4 กิจกรรมการมีสวนรวมของชุมชน 1.4.1 จํานวนกิจกรรมที่เปนประโยชนโดยรวมตอชุมชนท่ีจัดข้ึนเองภายในชุมชนของทาน 1.5 คุณลักษณะผูนํา 1.5.1 ทานคิดวาระดับการศึกษาของผูนําในชุมชนมีผลตอการบริหารจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 1.5.2 ทานคิดวาสถานภาพทางสังคมของผูนําในชุมชนท่ีเปนอยูมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 1.5.3 ทานคิดวาบุคลิกภาพของผูนําในชุมชน เชน ความเช่ือม่ันในตัวเอง การเปนผูท่ีตองการมีสวนรวมในกิจกรรมตางอยางกระตือรือรน และการเปนผูท่ีชอบการติดตอ พบปะสังสรรคกับบุคลลอ่ืน เปนตน มีผลตอการการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 1.5.4 ทานคิดวาความรับผิดชอบตองานท่ีทํามีการวางแผนการดําเนินงานอยางชัดเจน มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง รับทราบ ใหความสนใจ เอาใจใสปญหาของประชาชน และจัดการปญหา ของผูนําในชุมชนมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง 1.5.5 ทานคิดวาการมีความคิดสรางสรรคของผูนําในชุมชน เชน มีการนําเสนอโครงการ/กิจกรรมท่ีเหมาะสมกับชุมชนใหสมาชิกไดชวยกันตัดสินใจ มีการปรับรูปแบบโครงการ/กิจกรรมท่ีทางเทศบาลเสนอมาใหมีความเหมาะสมตอชุมชนและนํามาปรับใชในชุมชนมีผลตอการจัดการขยะแบบมีสวนรวมหรือไม อยางไรบาง

Page 257: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

247

 

สวนท่ี 4 แนวโนมและทิศทางการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.ทานคิดวาโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนในชุมชนของทานเพียงพอแลวหรือไม 2. ทานคิดวาควรจะตองมีการเพิ่มจํานวนโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนหรือไม 3. ทานคิดวาถาภายในชุมชนยังคงดําเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนตอไปในอนาคตจะมีผลตอปริมาณขยะอยางไรบาง

 

Page 258: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

248

 

ภาคผนวก จ แบบสอบถาม

Page 259: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

249

 

แบบสอบถาม เลขแบบสอบถาม……………….วันที่……………………….

แบบสอบถาม เรื่องทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน กรณีศึกษา: เทศบาลเมืองทาขาม

อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี คําช้ีแจง

แบบสอบถามฉบับน้ีตองการทราบระดับทุนทางสังคมในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน เพ่ือศึกษาปจจัยทุนทางสังคมตอการจัดการขยะของประชาชนในชุมชน 3 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองทาขาม คําตอบทุกขอจะเปนไปตามความคิดเห็นของทานเอง แบบสอบถามฉบับน้ีประกอบดวย 4 สวน คือ สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนท่ี 2 ทุนทางสังคม สวนท่ี 3 ธรรมาภิบาล สวนท่ี 4 การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน สวนท่ี 5 แนวโนมและทิศทางการจัดการขยะแบบสวนรวมของชุมชนในอนาคต สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. ช่ือ............................................นามสกุล....................................บานเลขท่ี................................

ถนน...............................................ชุมชน.......................................

2. เพศ ( ) 1.ชาย ( ) 2.หญิง 3. อายุ......................ป 4. การศึกษา ( ) 1. ประถมศึกษา ( ) 2.มัธยมศึกษาตอนตน ( ) 3.มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) 4.อนุปริญญาตรี/ปวส. ( ) 5.ปริญญาตรี ( ) 6.อื่นๆ (ระบุ)................... 5. อาชีพ ( ) 1. เกษตรกร ( ) 2.พนักงานบริษัท/ลูกจาง ( ) 3.เจาของธุรกิจ ( ) 4.รับราชการ ( ) 5.ประกอบอาชีพอิสระ ( ) 6.แมบาน ( ) 7.นักเรียน/นักศึกษา ( ) 8.รับจางทั่วไป ( ) 9.วางงาน ( ) 10.อื่นๆ (ระบุ)................... 6. รายไดครัวเรือนตอเดือน ………………. บาท/เดือน

Page 260: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

250

 

7. สถานภาพในครัวเรือน ( ) 1. หัวหนาครอบครัว ( ) 2. คูสมรสของหัวหนาครอบครัว ( ) 3. บุตร ( ) 4.ญาติ พ่ีนอง บิดามารดา ( ) 5. อื่นๆ (ระบุ).................................. 8. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน (รวมทานดวย)..........................คน 9. ประเภทที่อยูอาศัย

10. ทานพักอาศัยอยูในชุมชนมาเปนเวลาประมาณ..............ป 11. สถานภาพของทานในชุมชน ( ) 1. ประชาชนทั่วไป ( ) 2. ผูนําชุมชน ( ) 3. คณะกรรมการชุมชน ( ) 4. สมาชิกกลุมในชุมชน ระบุ................................

สวนท่ี 2 ทุนทางสังคม 1.กลุม เครือขาย และการเปนสมาชิกของกลุม 1.1 ทานมีญาติพ่ีนองอาศัยอยูในชุมชนเดียวกันน้ีหรือไม ( ) 1. มี จํานวน.................................ครอบครัว ( ) 2. ไมมี 1.2 ทานมีการชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางเครือญาติของทานในดานใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) 1. การชวยเหลือดานสิ่งของ ( ) 2. การชวยเหลือดานการเงิน ( ) 3.การฝากดูแลสมาชิกในครอบครัว ( ) 4. การฝากดูแลบาน ( ) 5. อื่นๆ (ระบุ)..................................... 1.3 ทานทราบหรือไมในชุมชนของทานมีการจัดต้ังกลุมตางๆขึ้น ( ) 1.ทราบ ( ) 2. ไมทราบ (ขามไปตอบขอ 1.5)

ประเภทท่ีอยูอาศัย บริเวณบาน

มีบริเวณบาน ไมมีบริเวณบาน ( )1. บานเด่ียว ( ) 2. ทาวเฮาส/อาคารพาณิชย ( ) 3. บานเชา ( ) 4. หองแถว ( ) 5. บานและสถานประกอบอาชีพ ( ) 6. รานคา ( ) 7. อื่นๆ (ระบุ)...........................

Page 261: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

251

 

1.4 กรุณาระบุกลุมตางๆในชุมชนที่ทานทราบ ( ) 1. คณะกรรมการชุมชน ( ) 2.กลุมอสม. ( ) 3. กลุมเพ่ือการออมทรัพย ( ) 4. กลุมกองทุนชุมชน ( ) 5. กลุมอปพร. ( ) 6. กลุมอาสาสมัครสิ่งแวดลอม ( ) 7.กลุมเพ่ือการนันทนาการในชุมชน ( ) 8. อื่นๆ (ระบุ).......................... 1.5 ทานและสมาชิกในครอบครัวของทานเปนสมาชิกกลุมดังกลาวขางตนหรือไม ( ) เปน ( ) ไมเปน (ขามไปตอบขอ 1.13) 1.6 ทานไดเขารวมเปนสมาชิกกลุมตางๆท่ีเกิดขึ้นในชุมชนของทานหรือไม ถาเขารวมเปนสมาชิกระบุสถานภาพที่ทานเขารวมเปนสมาชิก

กลุม การเปนสมาชิก

สถานภาพ เปน ไมเปน

1.คณะกรรมการชุมชน

2. กลุมอสม.

3. กลุมเพ่ือการออมทรัพย

4. กลุมกองทุนชุมชน

5. กลุมอปพร.

6. กลุมอาสาสมัครสิ่งแวดลอม

7.กลุมเพ่ือการนันทนาการในชุมชน

8. อื่นๆ (ระบุ).....................................

1.7 รูปแบบการทํากิจกรรมของกลุมที่ทานเปนสมาชิก เปนการทํากิจกรรมลักษณะใด ( ) 1.กิจกรรมทั่วไป (ระบุ) 1…………………………………………………………………………….. 2……………………………………………………………………………... 3……………………………………………………………………………... ( ) 2.กิจกรรมสิ่งแวดลอม (ระบุ) 1……………………………………………………………………………… 2……………………………………………………………………………… 3……………………………………………………………………………………

Page 262: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

252

 

1.8 เพราะเหตุใดทานจึงเขารวมทํากิจกรรม ( ) 1. ผูบริหารเทศบาล ( ) 2. เจาหนาที่เทศบาล ( ) 3. ผูนําชุมชน ( ) 4. เพ่ือนบาน ( ) 5. ญาติพ่ีนอง ( ) 6. อื่นๆ ระบุ............................. 1.9 ความถ่ีในการทํากิจกรรมของกลุมที่ทานเปนสมาชิก ( ) 1. 1-2 ครั้ง/ สัปดาห ( ) 2. 2 สัปดาห/ครั้ง ( ) 3. เดือนละครั้ง ( ) 4.อื่นๆ..................................... 1.10 ความถ่ีที่ทานเขารวมทํากิจกรรมของกลุมที่ทานเปนสมาชิก ( ) 1. 1-2 ครั้ง/ สัปดาห ( ) 2. 2 สัปดาห/ครั้ง ( ) 3. เดือนละครั้ง ( ) 4.อื่นๆ...................................... 1.11 จํานวนสมาชิกในกลุมต้ังแตการเริ่มกอต้ังจนถึงปจจุบันน้ี จํานวนสมาชิกเปนอยางไร ( ) 1.เทาเดิม ( ) 2.เพ่ิมขึ้น จํานวน................คน ( ) 3.ลดลง จํานวน...............คน ( ) 4. ไมทราบ 1.12 กลุมของทานเคยทํากิจกรรมรวมกับกลุมอื่นๆในชุมชนบางหรือไม ( ) เคย ระบุกิจกรรม ( ) ไมเคย 1) กิจกรรม…………………………………………………… กลุม……………… 2) กิจกรรม…………………………………………………… กลุม……………… 3) กิจกรรม…………………………………………………… กลุม……………… 1.13หากทานไมเคยเปนสมาชิกของกลุมใดๆในชุมชน ทานคิดวาในอนาคตจะเขารวมเปนสมาชิกกลุมที่มีอยูในชุมชนของทานหรือไม ( ) 1.เขารวม เพราะ................................................................................................... ( ) 2.ไมเขารวม เพราะ............................................................................................... ( ) 3.ไมแนใจ

Page 263: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

253

 

2.ความไวเน้ือเชื่อใจ 2.1 การใหความชวยเหลือกันภายในชุมชน

การใหความชวยเหลือกันภายในชุมชน ระดับการใหความชวยเหลือ

ทุกคร้ัง บางคร้ัง ไมได ไมแนใจ 1.เมื่อทานตองการความชวยเหลือดานสิ่งของทานสามารถขอความชวยเหลือจากเพ่ือนบานของทานไดหรือไม

2.เมื่อทานไมอยูบานทานสามารถฝากบานหรือสิ่งของตางๆกับเพ่ือนบานของทานไดหรือไม

3.เมื่อเพ่ือนบานของทานขอความชวยเหลือดานสิ่งของ ทานใหความชวยเหลือเพ่ือนบานไดหรือไม

4.เมื่อเพ่ือนบานของทานไมอยูบานสามารถฝากบานหรือสิ่งของตางๆกับทานไดหรือไม

5.เมื่อคนในชุมชนมีงานทําบุญตางๆ หรือการจัดงานประเพณีขึ้นในชุมชนทานไดเขารวมกิจกรรมเหลาน้ีหรือไม

2.2 ทานมีความไวใจตอบุคคลเหลาน้ีในระดับใด

ประเด็น ระดับความเชื่อใจ

มาก ปานกลาง นอย ไมมี ไมแนใจ

(1)ทานมีความเชื่อใจตอบุคคลเหลาน้ีในเร่ืองความซื่อสัตย และความรับผิดชอบในการทํางานในระดับใด

1. นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม 2. รองนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม 3. สมาชิกสภาเทศบาลเมืองทาขาม 4. เจาหนาที่เทศบาลเมืองทาขาม

(2) ทานมีความเชื่อใจ และไววางใจตอบุคคลในชุมชนของทาน เม่ือทานตองการความชวยเหลือเร่ืองตางๆในระดับใด

5. ประธานชุมชน 6. คณะกรรมการชุมชน 7. อสม. 8. คณะกรรมการกลุมตางๆในชุมชน 9. ผูนําที่ไมเปนทางการ

9.1 บุคคลที่อาศัยอยูในชุมชนมาเปนเวลานาน 9.2 บุคคลที่เปนที่ยอมรับ นับถือของประชาชนใน

ชุมชน

Page 264: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

254

 

ทานมีความไวใจตอบุคคลเหลาน้ีในระดับใด (ตอ)

ประเด็น ระดับความเชื่อใจ

มาก ปานกลาง นอย ไมมี ไมแนใจ 10. อื่นๆ (ระบุ).........................................

3.การเขารวมกิจกรรมชุมชน 3.1 ทานเขารวมกิจกรรมในชุมชนมากนอยเพียงใด 1) งานประเพณีในชุมชน ( ) 1. มาก ( ) 2. ปานกลาง ( ) 3. นอย ( ) 4. ไมเขารวม เหตุผล เพราะ............................................................................................................ 2) งานพัฒนาชุมชน ( ) 1. มาก ( ) 2. ปานกลาง ( ) 3. นอย ( ) 4. ไมเขารวม เหตุผล เพราะ.............................................................................................................. 3.2 ทานคิดวาสมาชิกในชุมชนเขารวมกิจกรรมในชุมชนมากนอยเพียงใด 1) งานประเพณี ( ) 1. มาก ( ) 2. ปานกลาง ( ) 3. นอย ( ) 4. ไมเขารวม เหตุผล เพราะ............................................................................................................. 2) งานพัฒนาชุมช ( ) 1. มาก ( ) 2. ปานกลาง ( ) 3. นอย ( ) 4. ไมเขารวม เหตุผล เพราะ.............................................................................................................. 3.3 ทานคิดวาผูนําชุมชนของทานสามารถสรางแรงจูงใจใหทานเขารวมกิจกรรมของชุมชนมากนอยเพียงใด ( ) 1. มาก ( ) 2. ปานกลาง ( ) 3. นอย ( ) 4. ไมเขารวม เหตุผล เพราะ............................................................................................................. 3.4 ทานคิดวาประธานชุมชนคนปจจุบันมีคุณสมบัติดังตอไปน้ีหรือไม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) 1. เปนที่ยอมรับของประชาชน ( ) 2. มีความเขาใจในทองถ่ินของตน ( ) 3.เปนผูใฝหาความรู ( ) 4. มีความขยัน อดทน กระตือรือรน ( ) 5. มีความเสียสละ ( ) 6. มีความซื่อสัตย ( ) 7.รับฟงความคิดเห็น ( ) 8. สามารถติดตอประสานงานกับหนวยงานตางๆนอกชุมชนได ( ) 9. อื่นๆ (ระบุ).....................................

Page 265: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

255

 

3.5 ทานคิดวาคุณสมบัติของประธานชุมชนที่มีผลตอความสําเร็จของกิจกรรมชุมชนคือะไร (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) 1. เปนที่ยอมรับของประชาชน ( ) 2. มีความเขาใจในทองถ่ินของตน ( ) 3.เปนผูใฝหาความรู ( ) 4. มีความขยัน อดทน กระตือรือรน ( ) 5. มีความเสียสละ ( ) 6. มีความซื่อสัตย ( ) 7.รับฟงความคิดเห็น ( ) 8. สามารถติดตอประสานงานกับหนวยงานตางๆนอกชุมชนได ( ) 9. อื่นๆ (ระบุ)..................................... 3.6 ทานทราบหรือไมวาผูนําในชุมชนของทานที่เปนแกนนําในการทํากิจกรรมการลดปริมาณขยะคือใคร ( ) 1. ทราบ (ระบุ) ( ) 2. ไมทราบ 1)………………………………………………………..………………………… 2)………………………………………………………..………………………… สวนท่ี 3 ธรรมาภิบาล 1.ความคิดเห็นของประชาชนตอการทํางานของเทศบาล 1.1ทานคิดวาการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามมีลักษณะดังตอไปน้ีหรือไม

ประเด็น มี ไมมี ไมแนใจ ไมทราบ 1. เทศบาลมีการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตางๆ 1.1เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการระบุปญหา 1.2เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการปฏิบัติ 1.3เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการรับผลประโยชน 1.4เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในขั้นตอนการประเมินผล

2. เทศบาลเปดโอกาสใหประชาชนไดเขารวมทําแผนพัฒนาเทศบาล

Page 266: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

256

 

1.1ทานคิดวาการทํางานของเทศบาลเมืองทาขามมีลักษณะดังตอไปน้ีหรือไม (ตอ)

ประเด็น มี ไมมี ไมแนใจ ไมทราบ 3. เทศบาลมีการเปดชองทางการรับรูขาวสารท่ีหลากหลายใหประชาชนไดรับทราบ

4.เทศบาลมีการแจงผลการตัดสินใจในการดําเนินการโครงการ/กิจกรรมผานทางชองทางตางๆ 4.1โครงการ/กิจกรรมทั่วไป 4.2โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม

5.เทศบาลมีการเปดเผยขอมูลขาวสารใหประชาชนไดรับทราบทางชองทางตางๆ 5.1โครงการ/กิจกรรมทั่วไป 5.2โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม

6.เทศบาลไมมีเรื่องของรองเรียนการทุจริตและ/หรือประพฤติมิชอบของผูบริหาร และ/หรือบุคลากรของเทศบาล

7.เทศบาลมีการจัดระบบรองเรียน/รับเรื่องราวรองทุกขใหประชาชนเขามาใชบริการไดโดยงาย

8.เทศบาลมีการทํางานเชิงรุก 8.1เทศบาลมีกิจกรรมเทศบาลพบประชาชน 8.2เทศบาลมีการลงพื้นที่ชุมชนเปนประจํา

9. เทศบาลมีการดําเนินงานตามหนาที่รับผิดชอบของเทศบาล

10. เทศบาลมีการเปดใหประชาชนแสดงความคิดเห็นตอการทํางานของเทศบาล

11.เทศบาลมีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่สามารถแกปญหาและสนองความตองการของประชาชนในพ้ืนที่ได 11.1โครงการ/กิจกรรมทั่วไป 11.2โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม

12.เทศบาลมีการทําการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนตอการแกไขปญหาของประชาชน และมีการนําการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนมาปรับแกใหตรงกับความตองการของประชาชน 12.1โครงการ/กิจกรรมทั่วไป 12.2โครงการ/กิจกรรมสิ่งแวดลอม

Page 267: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

257

 

2.ชองทางการติดตอสื่อสาร

สื่อและชองทางการสื่อสาร การไดรับสื่อ/ชองทาง

เคย ไมเคย ไมแนใจ ไมทราบ 2.1 ทานเคยไดรับสื่อของเทศบาลเหลาน้ีหรือไมวารสาร 1. จดหมายขาว

2. จุลสารอิเล็กทรอนิกส (จุลสารในwebsite เทศบาลเมืองทาขาม)

3. วิทยุชุมชน

4. ตูรองเรียน

5. รถขาวกระจายเสียง

6. ปายประชาสัมพันธ 2.2 ทานเคยติดตอกับเทศบาลผานทางชองทางใดบาง 7. Internet

8. โทรศัพทสายดวน

9. หนวยรับเรื่องรองเรียน

10. หองขอมูลขาวสาร

11. นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม

12. รองนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทาขาม

13. สมาชิกสภาเทศบาลเทศบาลเมืองทาขาม

14. เจาหนาที่เทศบาลเมืองทาขาม

สวนท่ี 4 การจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชน 1.ชุมชนกับการมีสวนรวมในการจัดการขยะ 1.1ทานทราบหรือไมวาในชุมชนของทานมีการดําเนินกิจกรรมการจัดการขยะ ( ) 1. ทราบ (ระบุ) ( ) 2. ไมทราบ 1.2กิจกรรมการจัดการขยะที่ชุมชนของทานไดดําเนินกิจกรรมมีกิจกรรมใดบาง ( ) 1. กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ ( ) 2. กิจกรมขยะแลกไข ( ) 3. กิจกรรมนํ้าหมักและปุยหมักชีวภาพ ( ) 4. กิจกรรมธนาคารขยะ ( ) 5. อื่นๆ (ระบุ)..................................... 1.3 ทานเคยเขารวมกิจกรรมการจัดการขยะที่ดําเนินการในชุมชนของทานบางหรือไมโปรดระบุ ( ) เคย ระบุกิจกรรม ( ) ไมเคย 1) กิจกรรม…………………………………………………………………… 2) กิจกรรม……………………………………………………………………

Page 268: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

258

 

2.การมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะ

ขั้นตอนการมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการขยะ มี ไมมี ไมแนใจ ไมทราบ

2.1 กิจกรรมถนนปลอดถังขยะ

1. ทานไดเขามามีสวนรวมในการระบุปญหา 2. ทานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ 3. ทานไดเขามามีสวนรวมในการรับผลประโยชน 4. ทานไดเขามามีสวนรวมในการประเมินผล

2.2 กิจกรรมขยะแลกไข

1. ทานไดเขามามีสวนรวมในการระบุปญหา 2. ทานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ 3. ทานไดเขามามีสวนรวมในการรับผลประโยชน 4. ทานไดเขามามีสวนรวมในการประเมินผล

2.3 กิจกรรมนํ้าหมักชีวภาพ/ปุยหมักชีวภาพขยะแลกไข

1. ทานไดเขามามีสวนรวมในการระบุปญหา 2. ทานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ 3. ทานไดเขามามีสวนรวมในการรับผลประโยชน 4. ทานไดเขามามีสวนรวมในการประเมินผล

2.4 กิจกรรมธนาคารขยะ

1. ทานไดเขามามีสวนรวมในการระบุปญหา 2. ทานไดเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ 3. ทานไดเขามามีสวนรวมในการรับผลประโยชน 4. ทานไดเขามามีสวนรวมในการประเมินผล

สวนท่ี 5 แนวโนมและทิศทางการจัดการขยะแบบสวนรวมของชุมชนในอนาคต 1.ทานคิดวาในชุมชนของทานมีปญหาในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนหรือไม ( ) 1. มี ( ) 2. ไมมี ( ) 3.ไมแนใจ ( ) 4.ไมทราบ 2.ทานคิดวารูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนเหมาะสมแลวหรือไม ( ) 1. เหมาะสม ( ) 2. ไมเหมาะสม ( ) 3.ไมแนใจ ( ) 4.ไมทราบ 3.ทานคิดวากิจกรรมการจัดการขยะแบบมีสวนรวมของชุมชนท่ีเกิดขึ้นจะสามารถดําเนินการตอไปในอนาคตไดหรือไม ( ) 1. ได ( ) 2. ไมได ( ) 3.ไมแนใจ ( ) 4.ไมทราบ

Page 269: Jutharat Rattanaphithakchon · 2010-04-26 · : กรณีศึกษาเทศบาลเม ืองท าข าม อําเภอพ ุนพิน จังหวัดสุราษฎร

259

 

4.ทานประสบปญหาและอุปสรรค อยางไรบางในการจัดการขยะแบบมีสวนรวมชุมชน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) 1. ไมมีความรูเรื่องขยะ ( ) 2. ไมมีเวลา ( ) 3. ไมมีผูนําในการทํากิจกรรม ( ) 4. ไมไดรับความรวมมือจากเทศบาล ( ) 5. อื่น ๆ (ระบุ).................................. 5.ทานอยากใหชุมชนของทานทํากิจกรรมการจัดการขยะใดบาง (ระบุ) 1…………………………………………………………………………………………… 2……………………………………………………………………………………………… 3……………………………………………………………………………………………… 6.ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................................................