manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส...

23
คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 1 สํานักคอมพิวเตอร 10B คํานํา การประกันคุณภาพการศึกษาเปนนโยบายสําคัญที่สํานักคอมพิวเตอรตองปฏิบัติตามอยาง ตอเนื่อง เพื่อเสริมสรางมาตรฐาน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักคอมพิวเตอร เพิ่มมากขึ้น ใหมีความพรอมสําหรับการตรวจสอบ หรือการประเมินโดยบุคลากรและหนวยงาน ภายนอก เพื่อนําผลการประเมินมาพิจารณาหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาหนวยงานใหสอดคลอง กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ตั้งแตป 2543 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสํานัก เพื่อพัฒนากําหนดแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสํานักใหเหมาะสม และ สอดคลองกับแนวทางที่มหาวิทยาลัยวางไว แตอยางไรก็ตามในปจจุบันบุคลากรมีความเขาใจ และ ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติงาน เพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิตที่มีคุณภาพเปนที่พอใจของผูรับ บริการ การจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาเปนกรอบแนวทางในการจัดทํารายงานการ- ประเมินตนเองเพื่อแสดงผลการดําเนินงานของสํานักคอมพิวเตอรจึงนับเปนกลไกสําคัญประการหนึ่ง ที่จะชวยใหบุคลากรของสํานักมองเห็นทิศทางการดําเนินงานไดชัดเจนยิ่งขึ้น (รองศาสตราจารยณัฏฐพร พิมพายน) ผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร 30 กันยายน 2549

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 1 สํานักคอมพวิเตอร

10B คํานํา

การประกันคุณภาพการศึกษาเปนนโยบายสําคัญท่ีสํานักคอมพิวเตอรตองปฏิบัติตามอยาง

ตอเนื่อง เพื่อเสริมสรางมาตรฐาน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักคอมพิวเตอร เพิ่มมากข้ึน ใหมีความพรอมสําหรับการตรวจสอบ หรือการประเมินโดยบุคลากรและหนวยงาน ภายนอก เพื่อนําผลการประเมินมาพิจารณาหาแนวทางปรับปรุงและพฒันาหนวยงานใหสอดคลอง กับการเปล่ียนแปลงทางสังคม ต้ังแตป 2543 ไดมีการแตงต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสํานัก เพื่อพัฒนากําหนดแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสํานักใหเหมาะสม และ สอดคลองกับแนวทางที่มหาวิทยาลัยวางไว แตอยางไรก็ตามในปจจบัุนบุคลากรมีความเขาใจ และ ตระหนกัถึงความสําคัญของการปฏิบัติงาน เพื่อใหไดมาซ่ึงผลผลิตท่ีมีคุณภาพเปนท่ีพอใจของผูรับ บริการ การจดัทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาเปนกรอบแนวทางในการจดัทํารายงานการ- ประเมินตนเองเพ่ือแสดงผลการดําเนนิงานของสํานักคอมพิวเตอรจึงนับเปนกลไกสําคัญประการหนึ่ง ท่ีจะชวยใหบุคลากรของสํานักมองเหน็ทิศทางการดําเนนิงานไดชัดเจนยิ่งข้ึน (รองศาสตราจารยณัฏฐพร พิมพายน) ผูอํานวยการสํานกัคอมพิวเตอร

30 กันยายน 2549

Page 2: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 2 สํานักคอมพวิเตอร

สารบัญ

หนา

คํานํา สารบัญ สวนท่ี 1 ขอมูลเกี่ยวกับสํานกัคอมพิวเตอร 3

1.1 สถานท่ีต้ัง 4 1.2 ประวัติความเปนมาของสํานักคอมพิวเตอร 4 1.3 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค เปาหมายและกลยุทธ 6 ของสํานักคอมพิวเตอร 1.4 ขอมูลการปฏิบัติงานของสํานักคอมพิวเตอร 7 1.5 โครงสรางการบริหารงานของสํานักคอมพวิเตอร 11 1.6 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสํานักคอมพิวเตอร 14 1.7 แผนปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักคอมพิวเตอร 16

สวนท่ี 2 องคประกอบ ตัวบงช้ี และเกณฑการประเมินคุณภาพการศกึษาของ 17 สํานักคอมพิวเตอร

Page 3: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 3 สํานักคอมพวิเตอร

สวนท่ี 1 ขอมูลเก่ียวกับสํานักคอมพิวเตอร

Page 4: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 4 สํานักคอมพวิเตอร

สวนท่ี 1

ขอมูลเก่ียวกับสํานักคอมพิวเตอร 1.1 สถานท่ีตัง้ของสํานักคอมพวิเตอร

สํานักคอมพิวเตอร มีท่ีทําการอยูภายในอาคาร 3 แหง ไดแก อาคารบริการ 1 อาคารบริการ 2 และอาคารวิชาการ 1

1) อาคารบริการ 1 ช้ัน 4 เปนท่ีทําการของสํานักงานเลขานุการ ช้ัน 5 เปนท่ีทําการของฝายบริการงานคอมพิวเตอร ศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายเครือขายคอมพิวเตอร และหองตรวจขอสอบของฝายปฏิบัติการประมวลผล 2) อาคารบริการ 2 ช้ัน 4 เปนท่ีทําการของฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ 3) อาคารวิชาการ 1 ช้ัน 1 เปนท่ีทําการของฝายปฏิบัติการประมวลผล และหองอุปกรณเครือขายคอมพิวเตอร ฝายเครือขายคอมพิวเตอร 0B1.2 ประวัติความเปนมาของสํานักคอมพวิเตอร

ในระยะเร่ิมแรกสํานักคอมพวิเตอรมีฐานะเปน “ศูนยคอมพิวเตอร” ซ่ึงเปนสวนราชการในสังกัด สํานักทะเบียนและวดัผล จัดต้ังข้ึนเม่ือป 2522 มีหนาท่ีจดัเตรียมและประมวลผลขอมูลนักศึกษา ตอมา มหาวิทยาลัยมอบหมายภาระหนาท่ีความรับผิดชอบตาง ๆ เพิ่มมากข้ึนกลาวคือ ไดทําหนาท่ีเปนศูนยกลาง ของการประมวลผลขอมูล ท่ีสนับสนุนงานดานการเรียนการสอน งานบริหาร งานบริการทางวิชาการ และงานวิจยัของมหาวิทยาลัย ตลอดจนตองทําหนาท่ี ในการเปนผูนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาชวย สงเสริม และสนับสนุนงานดานตางๆ และฝกอบรมความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอรใหแกบุคลากร ของมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยไดเสนอโครงการจัดต้ังสํานักคอมพิวเตอร ไวในแผนพัฒนาการศึกษาระยะท่ี 6 (พ.ศ. 2530-2534) และกไ็ดมีการจัดต้ัง “สํานักคอมพิวเตอร” อยางเปนทางการเม่ือวนัท่ี 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยกลางในการประมวลผลขอมูลนักศึกษา พฒันาระบบงานคอมพิวเตอรเพื่องานบริหารและวิชาการ พัฒนาระบบสารสนเทศ ตลอดจนสนับสนุนการจดัการเรียนการสอนในระบบ การศึกษาทางไกล สํานักคอมพิวเตอรแบงสวนราชการออกเปน 5 หนวยงานไดแก สํานักงานเลขานกุาร ฝายบริการงานคอมพิวเตอร ฝายปฏิบัติการประมวลผล ฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ และศูนยคอมพิวเตอร- ชวยสอน ในป 2546 ไดปรับปรุงการแบงสวนราชการระดับฝายเปนการภายในเพิ่มอีก 2 หนวยงาน ไดแก ฝายเครือขายคอมพิวเตอร และศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนีใ้นป 2547 มหาวิทยาลัยมีคําส่ัง ใหศูนยคอมพวิเตอรชวยสอน อยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักเทคโนโลยีการศึกษา ต้ังแตวนัท่ี 1 กนัยายน

Page 5: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 5 สํานักคอมพวิเตอร

2547 และในป 2549 มหาวทิยาลัยมอบหมายใหสํานักพิจารณาปรับปรุงโครงสรางสํานัก โดยใหทบทวน ภารกิจและปญหาอุปสรรคของสํานักใหม เพื่อกําหนดหนวยงานท่ีจะรองรับการดาํเนินงานใหสอดคลองกับ วิสัยทัศน วัตถุประสงคและเปาหมายของมหาวิทยาลัย รวมท้ังคํานึงถึงความรู ความสามารถ และทักษะ ของบุคลากรท่ีจะปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จดวย หนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงานในสํานักคอมพิวเตอร ท้ัง 6 หนวยงาน มีดงันี ้

1. สํานักงานเลขานุการ แบงออกเปน 2 งานไดแก งานอํานวยการ และงานบริหารทั่วไป รับผิดชอบในฐานะหนวยงานกลาง ปฏิบัติงานและดําเนนิงานรวมกับหนวยงานภายในสํานัก เกี่ยวกับงานธุรการ บริหารงานท่ัวไป การบริหารจัดการ งานสํานักงาน สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหนวยงานในสํานัก การประสานงานรวมกับศูนย/ฝายในการดําเนนิงานเกีย่วกับแผน งบประมาณ ประเมินผล งานเชิงรุก งานใหม และงานพเิศษอ่ืน ๆ

2. ฝายบริการงานคอมพิวเตอร รับผิดชอบ งานบริการเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร ติดต้ัง และให คําปรึกษาแนะนําการใชเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร อุปกรณตอพวง และโปรแกรมสําเร็จรูป ตรวจสอบ ซอมบํารุง และจัดทําทะเบียนประวัติการซอมบํารุง

3. ฝายปฏิบัติการประมวลผล รับผิดชอบงานประมวลผลขอมูลดวยเคร่ืองคอมพิวเตอร วางแผนการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร บริการและสนับสนุนระบบคอมพิวเตอรสําหรับการประมวลผล ขอมูลนักศึกษา จัดทํารายงานตาง ๆ ใหแกผูใชบริการ บริการฐานขอมูลและโปรแกรมระบบปฏิบัติการ บริการตรวจกระดาษคําตอบของมหาวิทยาลัยและหนวยงานภายนอก ใหบริการ ควบคุม ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรมการทํางานของเคร่ืองบันทึกขอมูล

4. ฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ รับผิดชอบงานวิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร ประเมินและติดตามเทคโนโลยีคอมพิวเตอร จัดหาโปรแกรมสําเร็จรูป ออกแบบสรางฐานขอมูลและจัดการฐานขอมูล เพื่อสนับสนุนระบบสารสนเทศ เผยแพร และใหความรูเกี่ยวกับการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร

5. ศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ รับผิดชอบ งานวิชาการและพัฒนาหลักสูตร สํารวจ ความตองการในการฝกอบรม จัดทําโครงการหลักสูตรฝกอบรมและกําหนดคุณสมบัติ ของผูเขาฝกอบรม บริหารการฝกอบรมและสนับสนุนการเรียนการสอน ติดตามและ ประเมินผลการฝกอบรมและการใชหองฝกอบรม

6. ฝายเครือขายคอมพิวเตอร รับผิดชอบงานเทคโนโลยีเครือขายคอมพิวเตอร การเช่ือมตอระบบเครือขายภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ติดตามเทคโนโลยีเพื่อนํามาใชพัฒนาเครือขาย ดูแลระบบรักษาความปลอดภัยเครือขาย สนับสนุนผูใชบริการเครือขายคอมพิวเตอรท้ังระบบอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต

Page 6: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 6 สํานักคอมพวิเตอร

1.3 วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค เปาหมายและกลยุทธของสํานักคอมพิวเตอร 1Bวิสัยทัศน

มุงพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการเรียนการสอนทางไกล การบริการการศึกษา และการบริหารงานของมหาวิทยาลัยโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีทันสมัย เพือ่การเปนผูนําในระบบการศึกษาทางไกล พันธกิจ

1) พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่องานบริหาร งานบริการ และงานวิชาการ ของมหาวิทยาลัย 2) พัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกลโดยใชเทคโนโลยสีารสนเทศท่ีทันสมัย 3) พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพและความสามารถในการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ วัตถุประสงค

1) เพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ืองานบริหาร งานบริการ และงานวิชาการ ของมหาวทิยาลัย 2) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกลโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย 3) เพื่อสนับสนุนงานดานการเรียนการสอนและงานวจิัยของมหาวิทยาลัย 4) เพื่อพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพและความสามารถในการใชเทคโนโลยี-

สารสนเทศ 5) เพื่อใหบริการ ตรวจขอสอบและประมวลผลสอบแกหนวยงานภายนอกและประชาชนท่ัวไปตาม

หลักการพึ่งพาตนเองและเพิม่พูนรายไดของมหาวิทยาลัย 6) เพื่อใหคําปรึกษา แนะนําและแกไขปญหาเกี่ยวกับการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร ภายในมหาวิทยาลัย

เปาหมาย

1) พัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกลผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรในทุกหลักสูตร 2) พัฒนาระบบงานทะเบียนนกัศึกษาใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชระบบมากข้ึน 3) พัฒนาระบบสารสนเทศตามความตองการของหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย 4) พัฒนาระบบสํานักงานอัตโนมัติ เพื่อการติดตามผลการปฏิบัติงาน 5) พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีทักษะและความชํานาญในการวิเคราะห ออกแบบ

และพัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน 6) พัฒนาบุคลากรทุกคนของมหาวิทยาลัยใหมีความสามารถในการใชคอมพิวเตอรเพื่อการ

ติดตอส่ือสารไดอยางมีประสิทธิภาพ 7) ปรับปรุงและขยายระบบสารสนเทศสําหรับใหบริการนกัศึกษา 8) จัดระบบเครือขายคอมพิวเตอรใหมีขีดความสามารถในการใหบริการแกบุคลากรของมหาวิทยาลัย

และนักศึกษาอยางเพียงพอ และสามารถใหบริการไดตลอด 24 ช่ัวโมง

Page 7: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 7 สํานักคอมพวิเตอร

9) เช่ือมโยงเครือขายคอมพิวเตอรจากสวนกลางไปยังศูนยวทิยพัฒนาทุกศูนยของมหาวทิยาลัย 10) พัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับควบคุมการผลิต การจัดสง และการจําหนายวัสดุการศกึษา 11) พัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการจัดสอนเสริม การจัดฝกปฏิบัติเสริมทักษะ และการจัดอบรม

เสริมประสบการณวิชาชีพ 12)

จัดการเรียนการสอนทางไกลผานวิทยาเขตเสมือนจริงในหลักสูตรระดบับัณฑิตศึกษา หลักสูตร ปริญญาตรี และหลักสูตรฝกอบรมทางไกล

13) พฒันาระบบสารสนเทศสําหรับงานพัสดุ งานการเงิน การคลัง และงานบริหารบุคคล

กลยุทธ 1. สรางความพรอมของทางดวนสารสนเทศท่ีออกไปสูภายนอกมหาวทิยาลัย 2. ปรับปรุงการใหบริการเครือขายคอมพิวเตอรใหสอดคลองกับจํานวนผูใชบริการทีเ่พิ่มมากข้ึน

3. ปรับปรุงประสิทธิภาพการใหบริการคอมพิวเตอรแกผูใชภายในมหาวทิยาลัย 4. ปรับปรุงการใหบริการที่เกี่ยวกับงานทะเบียนนกัศึกษา 5. ปรับปรุงการใหบริการจัดสงและจําหนายวัสดกุารศึกษา 6. จดัใหมีระบบบริหารขอมูลขาวสารที่มีคุณภาพแกนักศึกษา 7. สรางเครือขายสารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร การวางแผน และการตัดสินใจของผูบริหาร 8. จัดระบบอัตรากําลังและพฒันาบุคลากรท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหเหมาะสม 9.พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหมีความรูและศักยภาพในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 10.ขยายการใหบริการดานการบันทึกและประมวลผลขอมูลแกหนวยงานภายนอก 11.พัฒนาระบบสารสนเทศ รวมท้ังการใหคําปรึกษาหารือแกหนวยงานภายนอก 12.ใหบริการเผยแพรความรูทางดานเทคโนโลยสีารสนเทศแกประชาชนผูสนใจท่ัวไป

1.4 ขอมูลการปฏบัิติงานของสํานักคอมพิวเตอร 1.4.1 พัฒนาเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต

เพื่องานบริการ บริหาร วิชาการ และวิจัย ใหสามารถติดตอส่ือสาร แลกเปล่ียนขอมูลและ เปนชองทางติดตอส่ือสารไปยังเครือขายอินเทอรเน็ตในตางประเทศ โดยในพ.ศ. 2545 ไดทําการปรับปรุงระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในมหาวิทยาลัยใหมีความเร็วในการรับสงขอมูลท่ีสูงข้ึน โดยใชเทคโนโลยี Gigabit Ethernet ซ่ึงสามารถรับสงขอมูลไดสูงสุดถึง 1000 เมกกะบิตตอวินาที ใชสายสัญญาณใยแกวนําแสงเช่ือมตอระบบเครือขายคอมพิวเตอรไปยังทุกอาคารภายในมหาวิทยาลัย มีจุดเช่ือมตอเคร่ืองคอมพิวเตอรเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรมากกวา 1000 จุด นอกจากนัน้ยังจดัหาเคร่ืองคอมพิวเตอรเซิรฟเวอรสําหรับระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส ระบบสารสนเทศ ระบบการจัดเก็บขอมูล และโปรแกรมตาง ๆ เพิ่มเติม เพื่อรองรับการขยายตัวในการใหบริการแกบุคลากรของมหาวิทยาลัย การเผยแพรขอมูลขาวสารแกนกัศึกษา และบุคคล

Page 8: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 8 สํานักคอมพวิเตอร

ภายนอกผานเครือขายอินเทอรเน็ต รวมถึงอุปกรณในการบริหารจัดการปองกันผูบุกรุกระบบเครือขายคอมพิวเตอรจากภายนอก และใน พ.ศ.2546 ทําการขยายระบบ และเพ่ิมจุดเช่ือมตอเครือขายคอมพิวเตอรภายในมหาวิทยาลัยใหแกหนวยงานตาง ๆ มากกวา 350 จุด เพื่อใหเพยีงพอกับการใชงาน รวมท้ังขยายการเช่ือมตออินเทอรเน็ตกับผูใหบริการรายอ่ืนนอกจาก UniNet เพื่อเปนการขยายชองสัญญาณรับสงขอมูล (Bandwidth) และเปนการกระจายความเส่ียงความขัดของในการใชงานเครือขายอินเทอรเน็ตในกรณีระบบของผูใหบริการเช่ือมตออินเทอรเน็ตรายใดรายหนึ่งเกดิขัดของ ใน พ.ศ 2547 ตอมาในป 2549 ไดดําเนินการติดต้ัง เช่ือมตอเครือขาย (Outlet) อีกประมาณ 650 จุด เพื่อรองรับการเช่ือมตอเคร่ืองคอมพิวเตอรของหนวยงาน ในมหาวิทยาลัยเขากับระบบเครือขาย

1.4.2 จัดหาระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของมหาวิทยาลัย ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสนี้จะชวยลดปริมาณการใชกระดาษของหนวยงานตาง ๆ ลดปริมาณการสําเนาเอกสารบางประเภท และสามารถติดตามเอกสารท่ีจัดสงระหวางหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในระยะแรกไดนําระบบงาน 3 ระบบหลักมาใช ไดแก ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบจัดเก็บและคนหาเอกสาร และระบบการจองหองประชุม โดยท้ัง 3 ระบบนี้ไดเร่ิมทดลองใชงานประมาณกลางป 2545 เปนตนมาและในตนป 2546 ไดขยายการใชงานไปยังทุกหนวยงานของมหาวิทยาลัยใหสามารถใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิสในการลงทะเบียนรับ – สงเอกสาร โดยการใชเคร่ืองคอมพิวเตอรแทนการลงทะเบียนรับ – สงเอกสารในสมุด การใชงานมีความสะดวกและรวดเร็ว โดยศูนยกลางของการจัดเก็บขอมูลจะอยูท่ีเคร่ือง Server ของสํานักคอมพิวเตอร ตอมาสํานักคอมพิวเตอรไดขยายขอบเขตการใชงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิสไปยังศูนยวทิยพัฒนาท้ัง 10 แหง เพื่อใหการใชงานระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสเปนไปอยางเต็มรูปแบบ โดยมีการทาํงานผานเครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเช่ือมโยงไปยังศูนยวิทยพฒันา 10 แหง ผานเครือขาย UniNet ซ่ึงทําใหการลงทะเบียนรับ – สงเอกสารระหวางสวนกลางไปยังศูนยวทิยพัฒนามีความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดงบประมาณกวาวิธีอ่ืน เชน การสง FAX และ EMS เปนตน ปจจุบันระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสไดขยาย การใชงานครอบคลุมการรับ-สงหนังสือในระดับศูนยและฝายของทุกหนวยงานในมหาวิทยาลัย ในสวน ของระบบจัดเก็บและคนคืนเอกสารนั้น จะจัดเก็บขอมูลท่ีเปนขอความ และภาพ หรือเอกสารท่ีเปนตนฉบับดวยวิธีการสแกนเอกสาร ไดแก ขอมูลใบสมัครนักศึกษาซ่ึงประกอบดวยใบสมัคร รูปถายลายเซ็นตและเอกสารการสมัครของนักศึกษาแตละราย รวมท้ังใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) เพื่อการคนหารายละเอียดของนักศึกษา ในกรณีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาซ่ึงจะชวยลดเวลาการทํางานจากเดิมท่ีตองเรียกดจูากซองใบสมัคร นอกจากนี้ยังใชจัดเก็บภาพถายตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย บทรายการตาง ๆ ขอมูล/ภาพถายของรัชกาลท่ี 7 และยังเช่ือมโยงไปยงัระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสในการจดัเก็บเอกสารท่ีดําเนินการเสร็จแลว โดยมีการจัดหมวดหมูการจัดเก็บเอกสารอยางเปนระบบ สําหรับระบบการจองหองประชุมอิเล็กทรอนิกสไดนํามาใชแทนการรับจองทางโทรศัพท โดยเร่ิมทดลองใชกับหองประชุมสําคัญ ๆ ของมหาวิทยาลัย เพือ่เพิ่มประสิทธิภาพการจองหองประชุมและเปนการอํานวยความสะดวกแกผูท่ีเกีย่วของกับการใหบริการในหองประชุม เชน เจาหนาท่ีโสตทัศนูปกรณ เจาหนาท่ี

Page 9: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 9 สํานักคอมพวิเตอร

คอมพิวเตอร ผูจัดเคร่ืองดื่ม เปนตน ซ่ึงสามารถทราบความตองการตาง ๆ ในขณะท่ีผูใชระบบทําการจองหองประชุมและจะมีการจัดทํารายงานการใชหองประชุมจากขอมูลการจองไดทันที นอกจากนีย้ังไดมีการปรับใชระบบการจองหองประชุมอิเล็กทรอนิกสมาเปนระบบการจองหองผลิตรายการวิทยุโทรทัศน ของสํานักเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อใชในการจองหองผลิตรายการและทีมถายทํานอกสถานท่ีแทนระบบการจองดวยใบจองเดิม ซ่ึงทําใหเกิดความสะดวกแกผูใชงานท่ีเปนผูผลิตรายการ และเจาหนาท่ีท่ีใหบริการประจําหองตาง ๆ ไดเตรียมความพรอมและวางแผนการดําเนินงานไดลวงหนา อีกท้ังยังสามารถตรวจสอบระยะเวลาใชหองของผูผลิตรายการ อุปกรณท่ีใช วตัถุประสงคของการใช พรอมท้ังการออกรายการตาง ๆ ไดตลอดเวลา 1.4.3 ใหบริการคอมพิวเตอร เพื่องานบริหาร บริการ วิชาการ และวจิัย อันไดแกเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร อุปกรณตอพวงและโปรแกรมสําเร็จรูป พรอมการติดต้ังตรวจสอบและซอมบํารุง โดยเช่ือมตอเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย ซ่ึงการใหบริการไดกระจายไปตามหนวยงานตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยและศูนยวิทยพัฒนาในสวนภูมิภาค 10 แหง นอกจากนั้นยังใหบริการเคร่ืองคอมพิวเตอร Notebook สําหรับงาน จัดสอบ และงานนําเสนอขอมูลในการประชุมตาง ๆ นอกจากการใหบริการเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร เคร่ืองคอมพิวเตอร Notebook อุปกรณตอพวงและโปรแกรมสําเร็จรูปแลว ยังเตรียมการจัดหาเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรสําหรับคณาจารย เพื่อใชในดานการเรียนการสอน ซ่ึงปจจุบันมหาวิทยาลัยไดเนนการเรียนการสอนทางไกลผานเครือขายอินเทอรเน็ต หรือท่ีเรียกวา e-Learning และจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร Notebook สําหรับใหบริการงานประชุมตาง ๆ เพือ่การพัฒนางานไปสูการประชุมในลักษณะ e-Meeting 1.4.4 พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยจัดทําหลักสูตรฝกอบรมเพื่อพฒันาบุคลากรของมหาวิทยาลัย ท้ังหลักสูตรปกติและหลักสูตรพิเศษตามความตองการของหนวยงาน ใหมีทักษะทางดานคอมพิวเตอร สามารถนําความรูท่ีไดไปพัฒนา และประยุกตใชกับระบบงานในหนวยงานของตนเอง สนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในดานการเรียนการสอน ใหแกนกัศึกษาท่ีเขามาฝกปฏิบัติเสริมทักษะ และฝกอบรมเขมเสริมประสบการณ บัณฑิตและอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสมของหลักสูตร ทําการปรับปรุงหลักสูตรเดิมใหมีประสิทธิภาพ และเพิ่มหลักสูตรฝกอบรมเพื่อใหสอดคลองกับเทคโนโลยีในปจจุบัน ปรับปรุงและขยายหองฝกอบรมใหสามารถรองรับจํานวนผูเขาฝกอบรม ซ่ึงเปนบุคลากรของมหาวิทยาลัย และจํานวนนักศึกษาท่ีเขามาฝกปฏิบัติเสริมทักษะ และฝกอบรมเขมเสริมประสบการณบัณฑติใหไดอยางเพียงพอ ใหการสนับสนุนในดานการเรียนการสอนแกนักศึกษาเพื่อใหสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 10: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 10 สํานักคอมพิวเตอร

1.4.5 บริการงานประมวลผลขอมูลและจัดทํารายงาน ใหบริการระบบคอมพิวเตอรและสนบัสนุนการประมวลผลขอมูลระบบทะเบียนนักศึกษาแบบออนไลน ซ่ึงจะประกอบดวยระบบงานยอย ๆ ดังนี ้

1. ระบบรับสมัครนักศึกษา 2. ระบบลงทะเบียนเรียน 3. ระบบการจัดสอบและพิมพรายงาน 4. ระบบประมวลผลสอบและพิมพใบแจงเกรด 5. ระบบงานสําเร็จการศึกษา 6. ระบบการจัดการแฟมขอมูลหลัก 7. ระบบงานเทียบรายวิชาและโอนชุดวิชา 8. ระบบงานจัดการสถานภาพนักศึกษา 9. ระบบสอบถามขอมูล 10. ระบบจัดการเปล่ียนแปลงขอมูลตาง ๆ ของนักศึกษา

โดยจะใหบริการในการวิเคราะห ตรวจสอบและแกไขปญหาทางดานเทคนิคและการประมวลผลของระบบทะเบียนเรียนนกัศึกษาแบบออนไลน การใหบริการเพื่อจัดพิมพรายงานดวยเคร่ืองพิมพความเร็วสูง การจัดทําระบบสํารองขอมูลประเภทตาง ๆ ของนักศึกษาเพื่อสงเขาระบบคลังขอมูล การใหบริการประมวลผลขอมูล เพื่อจัดทํารายงานประเภทตาง ๆ อาทิ การใหบริการจัดทําสถิติขอมูลตาง ๆ ของนักศึกษา การใหบริการประมวลผลขอมูลสําหรับการจัดฝกอบรมเขม (พิเศษ)ชุดวิชา การประมวลผลขอมูลระบบงานผูเรียนโครงการการศึกษาตอเนื่อง และหลักสูตรสัมฤทธิบัตร ระบบประมวลผล และจัดพิมพรายงานการส่ังจองเข็ม และแหวนรุนของบัณฑิต นอกจากนี้ยังใหบริการดานการบันทึกขอมูลเคร่ือง OMR (Optical Marks Reader) ใหบริการตรวจกระดาษคําตอบนกัศึกษาของมหาวิทยาลัย และการใหบริการสนับสนุนระบบบันทึกขอมูล (Data Entry & Verify) ตลอดจนการใหบริการตรวจขอสอบ และประมวลผลสอบแกหนวยงานภายนอกท่ีมาขอใชบริการ

Page 11: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 11 สํานักคอมพิวเตอร

1.5 โครงสรางการบริหารงานของสํานักคอมพิวเตอร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ

สํานักคอมพิวเตอร สํานักงานเลขานุการ ฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ ฝายบริการงานคอมพิวเตอร ฝายปฏิบัติการประมวลผล *ศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ * ฝายเครือขายคอมพิวเตอร

* หนวยงานท่ีจัดตั้งเปนการภายใน

การบริหารงานของสํานักคอมพิวเตอร บริหารโดย 1) คณะกรรมการประจําสํานักคอมพิวเตอร ทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษาและใหนโยบายการดาํเนินงาน

แกสํานัก 2) คณะกรรมการบริหารสํานักคอมพิวเตอร ประกอบดวยรองผูอํานวยการสํานัก เลขานุการสํานัก

หัวหนาศูนย หัวหนาฝาย ซ่ึงมีผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอรเปนประธาน ทําหนาท่ีพิจารณาการ ปฏิบัติงานตาง ๆ ภายในสํานักคอมพิวเตอร

คณะกรรมการประจําสํานัก

คอมพิวเตอร

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับสํานัก สํานักคอมพิวเตอร

งานอํานวยการ

งานบริหารทั่วไป

Page 12: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 12 สํานักคอมพิวเตอร

คณะกรรมการประจําสํานักคอมพิวเตอร องคประกอบ 1. ประธานกรรมการ 1.1 อธิการบดี 2. รองประธานกรรมการ

2.1 รองอธิการบดีท่ีดูแลรับผิดชอบสํานักคอมพิวเตอร 3. กรรมการ

3.1 รองอธิการบดีฝายวิชาการ 3.2 รองอธิการบดีฝายบริหาร

* 3.3 ผูแทนประธานกรรมการประจําสาขาวิชา * 3.4 ผูแทนสภาวิชาการ

3.5 ผูอํานวยการสํานักบรรณสารสนเทศ 3.6 ผูอํานวยการสํานักบริการการศึกษา 3.7 ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผล 3.8 หัวหนาฝายบริการงานคอมพิวเตอร 3.9 หัวหนาฝายปฏิบัติการประมวลผล 3.10 หัวหนาฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ 3.11 หัวหนาศูนยคอมพวิเตอรชวยสอน

4. กรรมการและเลขานุการ 4.1 ผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร

5. กรรมการและผูชวยเลขานุการ 5.1 รองผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร 5.2 เลขานุการสํานักคอมพิวเตอร

6. ผูชวยเลขานุการ 6.1 เจาหนาท่ีสํานกัคอมพิวเตอร

* ดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป แตอาจไดรับการแตงต้ังใหมอีกได หนาท่ีของคณะกรรมการประจําสํานักคอมพิวเตอร 1. กําหนดนโยบายการบริหารและการดําเนนิงานของสํานกัคอมพิวเตอร 2. พิจารณาแนวทางการประสานงานระหวางสํานักคอมพวิเตอรกับหนวยงานตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย 3. ใหคําปรึกษาแกผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร 4. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนท่ีสภามหาวทิยาลัย สภาวชิาการ หรืออธิการบดีมอบหมาย

Page 13: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 13 สํานักคอมพิวเตอร

คณะกรรมการบริหารสํานักคอมพิวเตอร องคประกอบ 1. ประธานกรรมการ 1.1 ผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร 2. กรรมการ 2.1 รองผูอํานวยการสํานกัคอมพิวเตอร (ทุกตําแหนง) 2.2 หัวหนาฝายบริการงานคอมพิวเตอร 2.3 หัวหนาฝายปฏิบัติการประมวลผล 2.4 หัวหนาฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ 2.5 หัวหนาฝายเครือขายคอมพิวเตอร 2.6 หัวหนาศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. กรรมการและเลขานุการ 3.1 เลขานุการสํานกัคอมพิวเตอร 4. ผูชวยเลขานุการ 4.1 เจาหนาท่ีสํานักคอมพิวเตอร หนาท่ีของคณะกรรมการบริหารสํานักคอมพิวเตอร

1. กําหนดนโยบายการบริหารและพัฒนาบุคลากร 2. พิจารณาการปฏิบัติงานภายในสํานัก 3. ใหคําปรึกษาแนะนําแกผูบริหารหนวยงานระดับศูนยและฝาย 4. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามท่ีมหาวทิยาลัยมอบหมาย

Page 14: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 14 สํานักคอมพิวเตอร

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับสํานัก สํานกัคอมพิวเตอร องคประกอบ 1. ประธานกรรมการ

1.1 ผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร 2. กรรมการ

2.1 รองผูอํานวยการสํานักคอมพิวเตอร (ทุกตําแหนง) 2.2 หัวหนาฝายบริการงานคอมพิวเตอร 2.3 หัวหนาฝายปฏิบัติการประมวลผล 2.4 หัวหนาฝายวิเคราะหและพัฒนาระบบ *2.5 ผูทรงคุณวุฒิภายในที่ไมไดสังกัดในสํานัก หรือผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย 2-3 คน 3. กรรมการและเลขานุการ

3.1 เลขานุการสํานักคอมพิวเตอร * ดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป แตอาจไดรับการแตงต้ังใหมอีกได

11Bหนาท่ีของคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

1. ทําความเขาใจเร่ืองการประกนัคุณภาพกับบุคลากรในหนวยงาน 2. จัดวางระบบ กํากับ ดําเนินการเพ่ือการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสํานกัและเตรียมการ

เพื่อการตรวจสอบคุณภาพภายนอก (Quality Audit) 3. จัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report) สํานักคอมพิวเตอร 4. เสนอแตงต้ังคณะอนกุรรมการข้ึนมาปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีมอบหมาย

2B1.6 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสํานักคอมพิวเตอร การประเมินคุณภาพการศึกษาถือเปนกลไกสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสํานักคอมพิวเตอรท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ประเมินการดําเนินงานของสํานักคอมพิวเตอร ตามองคประกอบคุณภาพตาง ๆ ท่ีหนวยงานไดกําหนดข้ึน โดยเปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีในแตละองคประกอบวาไดมาตรฐานตามท่ีกําหนดไวมากนอยเพยีงใด

2. ใหสํานักคอมพิวเตอร ทราบสถานะคุณภาพของตนเองในปจจุบัน ซ่ึงจะนําไปสูการพัฒนา คุณภาพใหไดมาตรฐานตามท่ีกําหนดไว 3. ใหสํานักคอมพิวเตอร ทราบจุดแข็งและจุดออนท่ีควรปรับปรุง รวมท้ังขอเสนอแนะตาง ๆ ซ่ึงจะเปนแนวทางสําคัญในการพฒันาการดําเนนิงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง เพื่อมุงสูการยกระดับมาตรฐาน ใหสูงข้ึนตอไปในอนาคต

Page 15: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 15 สํานักคอมพิวเตอร

แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสํานักคอมพวิเตอร การประเมินคุณภาพการศึกษา เปนการใหขอมูล ความคิดเห็น ผลการตัดสินแกผูรับการประเมิน วาส่ิงท่ีดําเนนิการตามดัชนีมีหลักฐานสอดคลองกันหรือไม โดยการประเมินระดับความสอดคลองระหวาง ตัวบงช้ี เกณฑการประเมิน และผลการประเมินกับหลักฐาน/แหลงขอมูลเปนรายดัชน ี การตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในการตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษา กรณท่ีีเอกสารหลักฐานยืนยันชัดเจน อาจตัดสินจากขอเท็จจริงท่ีปรากฏโดยอาศัยเอกสารหลักฐานดังกลาวได สวนในกรณีท่ีไมมีหรือไมสามารถหาเอกสารหลักฐานยืนยันไดชัดเจน อาจตัดสินจากการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากการสืบคนในลักษณะอ่ืน เชน ผลจากการสัมภาษณ ผลจากการสังเกต และอ่ืน ๆ เพื่อใชประกอบการตดัสินผลการประเมิน การตัดสินผลใหถือเกณฑการตัดสินตามระบบคะแนน (Point System) ท่ีกําหนดเปน 5 ระดับคะแนนเปนหลัก โดยระดับคะแนนท้ัง 5 มีดังนี ้ ระดับคะแนน 5 หมายถึง ดีเยี่ยม ระดับคะแนน 4 หมายถึง ดี ระดับคะแนน 3 หมายถึง ผาน ระดับคะแนน 2 หมายถึง ตองปรับปรุง ระดับคะแนน 1 หมายถึง ไมผาน 3Bเกณฑการตัดสินคุณภาพ ใชเกณฑคะแนนเฉล่ียรายผลการประเมินรวมทุกตัวบงช้ี โดยกําหนดเปนชวงของคะแนนเฉล่ีย ดังนี้ คะแนนเฉล่ียระหวาง 1.00 – 1.80 ถือวา ยังตองมีการปรับปรุง คะแนนเฉล่ียระหวาง 1.81 – 2.60 ถือวา พอใช

คะแนนเฉล่ียระหวาง 2.61 – 3.40 ถือวา ดี คะแนนเฉล่ียระหวาง 3.41 – 4.20 ถือวา ดีมาก คะแนนเฉล่ียระหวาง 4.21 – 5.00 ถือวา ดีเยีย่ม

Page 16: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 16 สํานักคอมพิวเตอร

1.7 แผนปฏิบัติการประกันคณุภาพการศึกษาของสํานักคอมพิวเตอร

Page 17: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 17 สํานักคอมพิวเตอร

สวนท่ี 2 องคประกอบ ตัวบงชี ้และเกณฑการประเมิน คุณภาพการศึกษา ของสํานกัคอมพิวเตอร

Page 18: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 18 สํานักคอมพิวเตอร

สวนท่ี 2 องคประกอบ ตัวบงชี้และเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษา

สํานักคอมพิวเตอร

องคประกอบคุณภาพการศกึษาของสํานักคอมพิวเตอร ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2549 มีท้ังส้ิน 6 องคประกอบ 16 ตัวบงช้ี โดยมีเกณฑการประเมิน 5 ระดับ ดังนี ้ องคประกอบท่ี 1 ปณิธาน วิสัยทัศน พนัธกิจ วัตถุประสงคและแผนการดําเนนิงาน

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมนิ 1.1 วิสัยทัศน พันธกิจ และวัตถุประสงคที่มีความสอดคลอง ระหวางกัน

1. มีวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคเปนลายลักษณอักษร

2. มี (1) และมีการเผยแพรวิสัยทัศน พันธกิจ และวัตถุ

ประสงคในหนวยงาน

3. มี (2)และมีการเผยแพรวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค

แกสาธารณะ

4. มี (3) และมีการประเมินความสอดคลองของวิสัยทัศน

พันธกิจ และวัตถุประสงค

5. มี (4)และมีการนําผลการประเมินมาใชในการทบทวน

วิสัยทัศน พันธกิจ

1.2 แผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการที่กําหนดทิศทาง การดําเนินงานที่สอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ และ วัตถุประสงคของหนวยงาน

(1) มีการจัดทําแผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการ แบบมีสวนรวมของบุคลากรภายในหนวยงาน

(2) มี (1) และมีแผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการ

เปนลายลักษณอักษร

(3) มี (2) มีการดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานหรือ

แผนปฏิบัติการ

(4) มี (3) และมีการประเมินผลการดําเนินงาน

ตามแผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการ

(5) มี (4) และมีการนําผลการประเมินมาใชในการจัดทํา

แผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการในปตอไป

Page 19: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 19 สํานักคอมพิวเตอร

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 1.3 รอยละความสําเร็จของการดําเนินงานตาม เปาหมายผลผลิตของสํานัก

(1) บรรลุผลผลิตเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไดรอยละ 80 (2) บรรลุผลผลิตเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไดรอยละ 85 (3) บรรลุผลผลิตเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไดรอยละ 90 (4) บรรลุผลผลิตเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไดรอยละ 95 (5) บรรลุผลผลิตเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไดรอยละ 100

องคประกอบท่ี 2 การเรียนการสอน

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 2.1 การประมวลผลระบบงานทะเบียนขอมูลนักศึกษา

1. มีเคร่ืองคอมพิวเตอร Server ใหบริการตอเนื่องตลอดทั้งป

2. มี (1) และมีการมอบหมายการปฏิบัติงานประมวลผลขอมูล

เพื่อจัดทํารายงาน และการสํารองขอมูล

3. มี (2) และมีการบันทึกรายละเอียดในการใหบริการจัดพิมพ

รายงานดวยเคร่ืองพิมพที่มีความเร็วสูง

4. มี (3) และมีการบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณ

5. มี (4) และมีการประเมินผลความพึงพอใจของผูขอใชบริการ

เพื่อนํามาปรับปรุงการปฏิบัติงาน

2.2 งานตรวจกระดาษคําตอบของนักศึกษา

1. มีการสรางและปรับปรุงโปรแกรมการตรวจ

กระดาษคําตอบ

2. มี (1) และ มีการบันทึกรายละเอียดในการปฏิบัติงาน

ตรวจกระดาษคําตอบที่ชัดเจน

3. มี (2) และมีการสํารองขอมูลคะแนนที่ไดจากการตรวจ

4. มี (3) และมีการบํารุงรักษาเครื่องตรวจกระดาษคําตอบ

1. มี (4) และมีการประเมินผลความพึงพอใจของผูขอใชบริการ

เพื่อนํามาปรับปรุงการปฏิบัติงาน

Page 20: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 20 สํานักคอมพิวเตอร

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 2.3 ความพึงพอใจตอการใชบริการหองฝกปฏิบัติ-

คอมพิวเตอร

1. ความพึงพอใจของนักศึกษาสวนใหญอยูในระดับนอยมาก

2. ความพึงพอใจของนักศึกษาสวนใหญอยูในระดับนอย

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาสวนใหญอยูในระดับปานกลาง

4. ความพึงพอใจของนักศึกษาสวนใหญอยูในระดับดี

5. ความพึงพอใจของนักศึกษาสวนใหญอยูในระดับมาก 2.4 ระบบงานทะเบียนขอมูลนักศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา

1. มีการพัฒนาโปรแกรมระบบงานทะเบียนขอมูลนักศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษา

2. มี (1) และมีการประมวลผลขอมูล

3. มี (2) และมีการติดตามการดําเนินงาน

4. มี (3) และมีการประเมินการดําเนินงาน

5. มี (4) และมีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงการ

ดําเนินงานในปถัดไป

2.5 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การเรียนการสอน

1. มีการวิเคราะหออกแบบระบบ และจัดทําฐานขอมูล

2. มี (1) และมีการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรบนเว็บไซต

ตามความตองการของผูใชงาน

3. มี (2) และมีการพัฒนาบุคลากรใหมีความสามารถและ

ทักษะทางดานการวิเคราะหและพัฒนาระบบมากขึ้น

4. มี (3) และมีการประเมินการใชงานในระบบ

5. มี (4) และมีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบ

2.6 การวางแผนการสํารวจความตองการทรัพยากร สารสนเทศ

1. มีนโนยายเก่ียวกับการจัดสรรทรัพยากรสารสนเทศ

2. มี (1) และการสํารวจความตองการเก่ียวกับทรัพยากร

สารสนเทศของผูใชบริการ

3. มี (2) และมีการวางแผนการปฏิบัติงานในดานการจัดหา

ทรัพยากรสารสนเทศ

4. มี (3) และมีการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน

5. มี (4) และมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน

ตามเปาหมายที่วางไว

Page 21: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 21 สํานักคอมพิวเตอร

องคประกอบท่ี 3 การบริการนักศึกษา

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 3.1 ระบบสารสนเทศเพ่ือใหบริการนักศึกษาผาน เครือขายอินเทอรเน็ต

1. มีการสรางระบบสารสนเทศเพ่ือบริการนักศึกษา ผานเครือขาย อินเทอรเน็ต 2. มี (1) และมีการปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยอยูตลอดเวลา 3. มี (2) และมีการรวบรวมสถิติการเขามาใชงานในแตละ กิจกรรม 4. มี (3) และมีการประเมินระบบสารสนเทศ 4B5. มี (4)และมีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

องคประกอบท่ี 4 การบริการวิชาการ/วิชาชีพแกสังคม

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 4.1 งานบริการตรวจกระดาษคําตอบและประมวลผล สอบแกหนวยงานภายนอก

1. มีการสรางและปรับปรุงโปรแกรมตรวจกระดาษคําตอบและ โปรแกรมประมวลผลการสอบ 2. มี(1) และมีการมอบหมายผูที่รับผิดชอบการปฏิบัติงาน เพ่ือใหบริการตรวจกระดาษคําตอบและประมวลผลที่ชัดเจน 3. มี(2)และมีการกําหนดขั้นตอนในการปฏิบัติงานการใหบริการ การตรวจกระดาษคําตอบ ประมวลผลและจัดทํารายงาน ผลสอบ 4. มี(3) และมีการรายงานผลการปฏิบัติงานตอผูบังคับบัญชา 5B5. มี (4) และมีการประเมินผลความพึงพอใจของผูขอใชบริการ 6 Bเพ่ือนํามาปรับปรุงการปฏิบัติงาน

Page 22: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 22 สํานักคอมพิวเตอร

องคประกอบท่ี 8 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 8.1 แผนกลยุทธที่มีความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร มหาวิทยาลัย

(1) มีแผนกลยุทธเปนลายลักษณอักษร (2) มี (1) และมีความชัดเจนและเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรของ มหาวิทยาลัย (3) มี (2) และมีการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ (4) มี (3) และมีการประเมินแผนกลยุทธ 7B(5) มี (4) และมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกลยุทธ

8.2 การบริหารและการจัดการที่เนนการมีสวนรวม โปรงใส และตรวจสอบได

(1) มีระบบการบริหาร การจัดการ ที่เนนการมีสวนรวม

(2) มี (1) และมีการรับฟงความคิดเห็นของบุคลากร

ในหนวยงาน

(3) มี (2) และมีการนําขอเสนอแนะที่เปนประโยชนไปใช

เปนขอมูลประกอบการบริหารและการจัดการ

(4) มี (3) และมีการติดตามผลและประเมินผลการบริหาร

และการจัดการหนวยงาน

(5) มี (4) และมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการ

ดําเนินงาน

8.3 ระบบการควบคุมภายในที่ชวยสนับสนุนการบริหาร และการจัดการ

(1) มีแผนการควบคุมภายในดานแผนการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการ ดานการเงิน และดานการพัสดุ

(2) มี (1) และมีระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริหารและ

การควบคุมภายใน

(3) มี (2) และมีการดําเนินการควบคุมภายในของหนวยงาน

อยางตอเนื่อง

(4) มี (3) และมีการติดตามและประเมินระบบการควบคุม-

ภายใน

(5) มี (4) และนําผลการติดตามและประเมินผลมาพัฒนา

ปรับปรุงการดําเนินงานดานการควบคุมภายใน

Page 23: manul49 · 1.2 ประวัติความเป นมาของส ํานักคอมพ ิวเตอร 4 1.3 ... ชั้น 5 เป นที่ทําการของฝ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา 23 สํานักคอมพิวเตอร

องคประกอบท่ี 9 การประกันคุณภาพ

ตัวบงชี ้ เกณฑการประเมิน 9.1 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพศึกษาภายใน ที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพอยางตอเน่ือง

8B(1) มีคณะบุคคลรับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา (2) มี (1) และมีตัวบงช้ีและเกณฑที่สอดคลองกับ องคประกอบ ตัวบงช้ีของมหาวิทยาลัย (3) มี (2) และมีการ Uพัฒนาและตรวจติดตาม U จัดทําคูมือและ เอกสารเพ่ือการประกันคุณภาพภายใน Uอยางตอเน่ืองทุกป (4) มี (3) และมีการประเมินตนเองอยางตอเน่ืองทุกป (5) มี (4) และมีการเผยแพรผลการประเมินใหบุคลากร ในหนวยงานและในมหาวิทยาลัยทราบ

9.2 ประสิทธิภาพของการประกันคุณภาพภายใน 9B(1) มีกิจกรรมการสรางความเขาใจเก่ียวกับการประกันคุณภาพ ภายใน หรือระบบสารสนเทศเพ่ือการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน (2) มี (1) และบุคลากรมีสวนรวมในการประกันคุณภาพ การศึกษาของหนวยงาน (3) มี (2) และมีการประเมินคุณภาพภายในและจัดทํารายงาน การประเมินตนเองของหนวยงานเปนประจําทุกป (4) มี (3) และไดรับการประเมินคุณภาพภายในจาก มหาวิทยาลัยเปนประจําทุกป (5) มี (4) และนําผลการประเมินคุณภาพภายในไปพัฒนา หนวยงานในรูปของโครงการหรือกิจกรรมที่ชัดเจน