mechanics of materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · mechanics of materials...

63
กลศาสตรวัสดุ Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1

Upload: trandieu

Post on 20-Apr-2018

315 views

Category:

Documents


16 download

TRANSCRIPT

Page 1: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

กลศาสตรวัสดุMechanics of Materials

รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน กาญจโนมัยภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

1

Page 2: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

2

เป้าหมาย

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ศึกษาความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียดในการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบอิลาสติก

• ศึกษาปญหาในกรณีโครงสรางรับแรงในแนวแกน โครงสรางรับแรงบิด โครงสรางรับโมเมนตดัด และโครงสรางรับภาระผสม

• วิเคราะหหาตำแหนง ขนาด และทิศทางของ ความเคนตั้งฉากสูงสุดและความเคนเฉือนสูงสุด

• วิเคราะหความเสียหายแบบการครากและการแตกหัก

• ศึกษาการวัดความเคนและความเครียด

Page 3: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

3

เอกสารประกอบ

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ชาวสวน กาญจโนมัย, กลศาสตรของแข็ง 2, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548

• J.M. Gere and S.P. Timoshenko, Mechanics of Materials, Chapman & Hall, London, 1994.

• F.P. Beer and E.R. Johnston, JR., Mechanics of Materials, McGraw-Hill, UK, 1992.

• R.C. Hibbeler, Mechanics of Materials, Maxwell Macmillan International Publishing Co., 1994

Page 4: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

4

สัปดาหที่ เนื้อหา เอกสาร (หนา)

1 นิยามและหลักการเบื้องตนของความเคนและความเครียด 1 - 14

2 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงตามแนวแกน 1 15 - 28

3 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงตามแนวแกน 2 29 - 48

4 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 1 49 - 78

5 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 2 49 - 78

6 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับแรงบิด 3 49 - 78

7 สอบกลางภาค

แผนการบรรยาย

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 5: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

5

สัปดาหที่ เนื้อหา เอกสาร (หนา)

8 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับโมเมนตดัด 1 1 - 14

9 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับโมเมนตดัด 2 15 - 28

10 ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับโมเมนตดัด 3 29 - 48

11ความเคนและความเครียดของโครงสรางรับภาระผสม การวิเคราะหตำแหนงวิกฤติ

49 - 78

12การวิเคราะหขนาดและทิศทางของความเคนตั้งฉากสูงสุดและความเคนเฉือนสูงสุด

49 - 78

13 ทฤษฎีความเสียหายเบื้องตน 49 - 78

14 การวัดความเคนและความเครียด 49 - 78

15 สอบปลายภาค

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 6: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

6

เขาเรียน 10 คะแนน

การบาน 15 คะแนน

สอบกลางภาค 35 คะแนน

สอบปลายภาค 40 คะแนน

รวม 100 คะแนน

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การวัดผล

Page 7: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

7

นิยามและหลักการเบื้องตนของความเคนและความเครียด

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 8: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

8

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 9: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

9

1.1 ความเค้นตั้งฉาก (normal stress)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โครงสรางมีลักษณะตรง

• มีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว (prismatic bar)

Page 10: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

10

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• สมบัติของวัสดุที่เปนสวนประกอบคงที่ในทุก ๆ ตำแหนงและทิศทางของโครงสราง (homogeneous and isotropic)

• มีการกระจายของวัสดุอยางตอเนื่อง โดยไมมีชองวางใดๆ เกิดขึ้น

• มีแรงกระทำผานจุดศูนยกลางมวล (centroid) ของพื้นที่หนาตัด โดยอยูในทิศทางเดียวกับแกนหลัก (longitudinal axis) ของโครงสราง

Page 11: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

11

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเข็มขนของแรง (P) ที่ตั้งฉากบนพื้นที่หนาตัด m-n เปนความเคนตั้งฉาก (normal stress, σ) ดังความสัมพันธตอไปน้ี

• σ จะมีการกระจายแบบสม่ำเสมอ (uniform) ก็ตอเมื่อพิจารณาพื้นที่หนาตัด m-n ที่มีระยะ d จากตำแหนงที่แรง P มากระทำ

Page 12: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

12

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่ตองการคำนวณ σ บนจุด Q ใด ๆ ที่อยูบนพื้นที่หนาตัด m-n หรือ σQ

• โดย ΔA คือพื้นที่เล็กๆ รอบจุด Q และ σ คือความเคนตั้งฉากที่เกิดจากแรง P

• ถาแรง P ทำใหเกิดการหดตัวของโครงสราง (compression), σ มีเครื่องหมายลบ (-)

• ถาแรง P ทำใหเกิดการยึดตัวของโครงสราง (tension) จะใชเครื่องหมายบวก (+)

• ความเคนตั้งฉากนี้มีหนวยเปนนิวตันตอตารางเมตร (N/m2) หรือพาสคาล (Pa)

σQ

Page 13: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

13

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตัวอยางที่ 1.1 จงแสดงวาแรง P ที่ทำใหเกิดความเคน (σ) ที่กระจายตัวอยางสม่ำเสมอในคานที่มีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว (prismatic bar) จะตองกระทำที่จุดจุดศูนยกลางมวลของพื้นที่หนาตัด

• ถาแรง P ทำใหเกิดความเคนที่กระจายตัวอยางสมํ่าเสมอบนพื้นที่หนาตัดของคานแลว โมเมนต (moment หรือ M) จากแรง P จะตองเทากับโมเมนตจากความเคน (σ)

Page 14: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

14

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาโมเมนตจากแรง P โดยในกรณีความเคน (σ) กระจายตัวอยางสม่ำเสมอ (P =σA) ดังนั้น

และ

และ A

Page 15: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

15

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาโมเมนตจากความเคน (σ) ของพื้นที่ยอย (dA)

และ B

Page 16: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

16

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถาแรง P ทำใหเกิดความเคนที่กระจายตัวอยางสมํ่าเสมอบนพื้นที่หนาตัดของคานแลว โมเมนต (moment หรือ M) จากแรง P จะตองเทากับโมเมนตจากความเคน (σ) ดังนั้น สมการ A = สมการ B

โมเมนตรอบแกน yโมเมนตรอบแกน x

Page 17: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

17

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โดยพบวา xp และ yp คือ จุดจุดศูนยกลางมวลของพื้นที่หนาตัด

Page 18: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

18

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 19: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

19

1.2 ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคน (σ) ในโครงสรางทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาด (deformation หรือ ) อาจเปนบวก (ยึดตัว) หรือลบ (หดตัว) ไดตามลักษณะของความเคนที่กระทำ

Page 20: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

20

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain หรือ ) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงขนาดตอความยาวหนึ่งหนวย (elongation per unit length)

• ความเครียดแรงดึง (tensile strain) จะเกิดเมื่อวัตถุยึดตัว และความเครียดแรงอัด (compressive strain) เกิดเมื่อวัตถุเกิดการหดตัว

• ความเครียดตั้งฉากเปนปริมาณที่ไมมีหนวย (dimensionless)

Page 21: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

21

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่ตองการคำนวณความเครียด (Q) ของสวนเล็กๆ ที่จุด Q

• โดย Δx คือความยาวของสวนเล็กๆ ที่จุด Q

Q

Page 22: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

22

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 23: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

23

1.3 แผนภูมิความเค้น-ความเครียด (stress-strain diagrams)

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความสัมพันธระหวางความเคน () กับความเครียด () ของวัสดุตางๆ ไดจากการทดสอบการดึง (tension test) หรือการทดสอบการอัด (compression test)

• มีความเครียด () เปนแกนนอนและความเคน () เปนแกนตั้ง

Page 24: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

24

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• สวนแรกของแผนภูมิความเคนกับความเครียดแสดงความสัมพันธแบบอิลาสติกเชิงเสน (linear-elastic behavior) ตามกฎของฮุก (Hooke’s law)

• โดย E คือ โมดูลัสของยังส (Young’s modulus) หรือโมดูลัสของอิลาสติกซิตี (modulus of elasticity)

Page 25: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

25

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เมื่อความเคนสูงกวาความเคนคราก (yield stress หรือ Y ) วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบถาวร หรือ การเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติก (plastic deformation) หรือ การคราก (yielding)

• การเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกจะเพิ่มสูงขึ้นตามความเคน โดยเมื่อถึงความเคนดึงสูงสุด (ultimate tensile stress หรือ u) พื้นที่รับแรงจะลดขนาดลง (neckling) สงผลใหภาระที่ใชในการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกลดลง และความเคนที่คำนวณจากพื้นที่รับแรงเริ่มตนลดลงไปดวย

Page 26: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

26

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนที่เกิดการแยกออกจากกัน (breaking stress หรือ b)

• ความเครียดที่ทำใหเกิดการแยกออกจากกัน (fracture strain หรือ f ) หรือความเหนียว (ductility หรือ D) คำนวณไดจากรอยละของการเปลี่ยนแปลงขนาดในแนวแรง หรืออาจคำนวณไดจากรอยละของการเปลี่ยนแปลงขนาดของพื้นที่รับแรง

Page 27: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

27

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุที่แสดงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกอยางชัดเจน

กอนเกิดการแยกออกจากกัน เรียกวา วัสดุเหนียว (ductile material) เชน

เหล็กกลาคารบอนต่ำ ทองแดง โพลิเมอร

Page 28: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

28

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุที่ไมแสดงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกอยางชัดเจน

กอนเกิดการแยกออกจากกัน เรียกวา วัสดุเปราะ (brittle material) เชน

เหล็กกลาคารบอนสูง เซรามิก

Page 29: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

29

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

C. Kanchanomai and W. Limtrakarn. Effect of residual stress on fatigue failure of carbonitrided low-carbon steel. Journal of Materials Engineering and Performance, 17(6):879–887, 2008.

• วัสดุเหนียวสามารถเปลี่ยนใหเปน

วัสดุเปราะไดดวยวิธีการทางเคมี

ทางกล และความรอน เชน

พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงขนาด

ของเหล็กกลาคารบอนต่ำกอน

กระบวนการชุบแข็งแบบคารโบไน-

ตรายดิ่งและหลังกระบวนการชุบแข็ง

แบบคารโบไนตรายดิ่ง

Page 30: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

30

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 31: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

31

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.4 อัตราส่วนปัวซอง (Poisson’s ratio)

• โครงสรางที่เปลี่ยนแปลงขนาด เกิดความเครียดในแนวแรง (axial strain) ถาโครงสรางยืดตัวออก พื้นที่หนาตัด (cross-section area) ของโครงสรางจะลดลง เรียกการเปลี่ยนแปลงนี้วา ความเครียดในแนวขวาง (lateral strain) ซึ่งมีทิศทางตั้งฉากกับแรงที่มากระทำ

• อัตราสวนระหวางความเครียดในแนวขวาง (lateral strain) และความเครียดใน

แนวแรง (axial strain) คือ อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio, )

Page 32: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

32

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ผลกระทบปวซอง (Poisson’s effect) สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตร (volume change)

• กำหนดให Vo คือปริมาตรเริ่มตน (original volume) และ Vf คือ ปริมาตรสุดทาย (final volume)

Page 33: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

33

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 34: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

34

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

~0 ~0 ~0

Page 35: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

35

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาตรตอปริมาตรหนึ่งหนวย (unit volume change) หรือ dilatation (e) สามารถคำนวณไดโดย

Page 36: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

36

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตัวอยางที่ 1.2 โครงสรางมีลักษณะตรง มีพื้นที่หนาตัดคงที่ตลอดความยาว (prismatic bar) มีพื้นที่หนาตัดเปนวงกลมมี เสนผาศูนยกลาง 30 มม. ยาว 3 เมตร ยังโมดูลัส 70 GPa อัตราสวนปวซอง 1/3 ถูกดึงดวยแรง 85 kN จงหา δ, Δd, และ ΔV

Page 37: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

37

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ความเคนตั้งฉาก: ความเครียดตั้งฉาก:

Page 38: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

38

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ความเครียดในแนวขวาง:

Page 39: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

39

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเปลี่ยนแปลงขนาด: การเปลี่ยนแปลงขนาดเสนผาศูนยกลาง:

Page 40: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

40

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การเปลี่ยนแปลงปริมาตร :

Page 41: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

41

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 42: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

42

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.5 ความเค้นเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• อัตราสวนระหวางความเขมขนของแรงเฉือนที่เกิดบนรอยตัด m-n ตอพื้นที่

หนาตัด m-n คือ คาเฉลี่ยของความเคนเฉือน (average shearing stress, )

Page 43: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

43

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ทิศทางของความเคนเฉือนสามารถแสดงไดดวย ชิ้นสวนความเคน (stress element) แบบ 3 มิติ

• ความเคนเฉือนของหนาตรงขามของลูกบาศกมีขนาดเทากันแตมีทิศทางตรงขามกัน

• ความเคนเฉือนของหนาที่ตั้งฉากกันของลูกบาศกจะมีขนาดเทากัน โดยมีทิศทางพุงเขาหากันหรือพุงออกจากกัน

Page 44: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

44

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนเปนบวกถูกนิยามจาก ความเคนเฉือนที่อยูบนหนาบวก (positive face) และมีทิศทางไปในทิศบวก (positive direction) หรือ ความเคนเฉือนที่อยูบนหนาลบ (negative face) และมีทิศทางไปในทิศลบ (negative direction)

• ความเคนเฉือนเปนลบถูกนิยามจาก ความเคนเฉือนที่อยูบนหนาบวก (positive face) แตมีทิศทางไปในทิศลบ (negative direction) หรือ ความเคนเฉือนที่อยูบนหนาลบ (negative face) แตมีทิศทางไปในทิศบวก (positive direction)

ความเคนเฉือนเปนบวก

Page 45: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

45

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความเคนเฉือนทำใหโครงสรางเปลี่ยนแปลงรูปราง (distortion) หรือเกิดความเครียดเฉือน (shear strain หรือ ) โดยไมเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาด หรือ ความเคนเฉือนไมทำใหเกิดผลกระทบปวซอง (Poisson’s effect)

• ความเครียดเฉือนเปนบวกเมื่อมุมระหวางหนาบวก (positive face) หรือมุมระหวางหนาลบ (negative face) ลดลง และ ความเครียดเฉือนเปนลบเกิดเมื่อมุมระหวางหนาบวก (positive face) หรือมุมระหวางหนาลบ (negative face) เพิ่มขึ้น

ความเครียดเฉือนเปนบวก

Page 46: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

46

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความสัมพันธระหวางความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน หรือกฎของฮุกสำหรับการเฉือน (Hooke’s law in shear) แสดงโดย:

• โดย G คือ โมดูลัสของอิลาสติกซิตีสำหรับการเฉือน (shear modulus of elasticity) หรือโมดูลัสของความแข็งแกรง (modulus of rigidity) ซึ่งความสัมพันธระหวาง โมดูลัสของอิลาสติกซิตีสำหรับการเฉือนและโมดูลัสของอิลาสติกซิตี แสดงโดย:

Page 47: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

47

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Page 48: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

48

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1.6 แรงและความเค้นที่ยอมให้เกิดขึ้นในโครงสร้าง (allowable stresses and allowable loads)

• ความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable strength, all) ต่ำกวาความแข็งแรงของวัสดุ (actual strength, y) เสมอ

• อัตราสวนระหวางความแข็งแรงของวัสดุ (actual strength, y) ตอความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable strength, all) คือ ปจจัยความปลอดภัย (factor of safety, n)

Page 49: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

49

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุที่แสดงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกอยางชัดเจน

กอนเกิดการแยกออกจากกัน เรียกวา วัสดุเหนียว (ductile material)

Page 50: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

50

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุที่ไมแสดงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงขนาดแบบพลาสติกอยางชัดเจน

กอนเกิดการแยกออกจากกัน เรียกวา วัสดุเปราะ (brittle material)

Page 51: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

51

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การดามกระดูกที่แตกหักดวย LCP และ แตกหักของ LCP ของผูปวยชายอายุ 47 ป ภายหลังการผาตัด 6 เดือน

C. Kanchanomai, P. Muanjan, and V. Phiphobmongkol, “Stiffness and endurance of a locking compression plate fixed on fractured femur”, Journal of Applied Biomechanics, Volume 26, Issue 1, 2010, Pages 10-16.

Page 52: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

52

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

รอยราวจากการลาบนเหล็กดามกระดูก

C. Kanchanomai, V. Phiphobmongkol, and P. Muanjan. Fatigue failure of an orthopedic implant - A locking compression plate. Engineering Failure Analysis, 15(5):521–530, 2008.

Page 53: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

53

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พื้นผิวแตกหักของเหล็กดามกระดูก

C. Kanchanomai, V. Phiphobmongkol, and P. Muanjan. Fatigue failure of an orthopedic implant - A locking compression plate. Engineering Failure Analysis, 15(5):521–530, 2008.

Page 54: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

54

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การลาที่เกิดขึ้นกับลอรถยนต

P.R. Raju et al. Evaluation of fatigue life of aluminum alloy wheels under radial loads. Engineering Failure Analysis, 14:791–800, 2007.

Page 55: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

55

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การลาที่เกิดขึ้นกับกระบอกสูบของเครื่องยนต

F.S. Silva. Fatigue on engine pistons – A compendium of case studies. Engineering Failure Analysis, 13:480–492, 2006.

Page 56: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

• ความเคนตั้งฉาก (normal stress)

• ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)

• แผนภูมิความเคน-ความเครียด (stress-strain diagrams)

• อัตราสวนปวซอง (Poisson’s ratio)

• ความเคนเฉือนและความเครียดเฉือน (shear stress and shear strain)

• แรงและความเคนที่ยอมใหเกิดขึ้นในโครงสราง (allowable stresses and

allowable loads)

56

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สรุปการบรรยาย

Page 57: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

1) จงคำนวณความเคนอัดที่เกิดในกานสูบเสนผาศูนยกลาง 5 มม เมื่อมีแรง

P ขนาด 36 นิวตันมากระทำที่แปนเบรค โดยแรงนี้มีทิศทางขนานกับกานสูบ

57

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 1

Page 58: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

2) ทอทรงกระบอกยาว 0.5 ม มีรัศมีภายในและภายนอกเปน 25 มม และ

30 มม ตามลำดับ ถูกกระทำดวยแรงอัด P จงคำนวณ (a) ความยาวของ

ทอที่ลดลง เมื่อเกจวัดความเครียด (strain gage) ที่ติดไวดังรูป อานคาได

= 900x10-6 และ (b) แรง P ที่กระทำ ถาความเคนของทอเปน 60 MPa

58

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 59: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

7) ทอเหล็กยาว 2 เมตร มีเสนผาศูนยกลาง

ภายนอก 110 มม. และหนา 8 มม. รับแรงอัด

ตามแนวแกน 160 นิวตัน ถา E = 200 GPa

และ ν = 0.3 จงหา (a) ระยะที่หดสั้นลงของทอ

(b) ขนาดที่เพิ่มขึ้นของเสนผาศูนยกลาง

ภายนอก และ (c) ขนาดที่เพิ่มขึ้นของความหนา

59

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 60: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

8) จงสรางสมการการเพิ่มขึ้นปริมาตร (ΔV) ของคานยาว L หนัก W ซึ่งถูก

แขวนลงในแนวดิ่ง กำหนดใหการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของลูกบาศกหนึ่ง

หนวย,

60

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การบาน 2

Page 61: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

9) รอยตอซึ่งประกอบดวยแผนยางหนา 10 มม. วางเชื่อมกับแผนเหล็กดังรูป

ถายางมี G = 800 kPa จงหา (a) ความเคนเฉือนเฉลี่ยในแผนยางเนื่องจาก

แรง P = 15 kN และ (b) ระยะยืดในแนวระดับเนื่องจากแรง P

61

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 62: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

10) ถาเพลา (shaft) มีเสนผาศูนยกลาง d

และสลัก (key) มีพื้นที่หนาตัด bxb และยาว

c โดยกำหนดใหครึ่งหนึ่งของสลัก (b/2) ยึด

อยูในเพลา จงหาความเคนเฉือนเฉลี่ยที่เกิด

ในสลักเมื่อมีแรง P มากระทำดังรูป กำหนด

ใหแรงดันระหวางเพลาและกานหมุน

(lever) มีการกระจายอยางสม่ำเสมอ

62

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 63: Mechanics of Materials - chaosuan.me.engr.tu.ac.th · Mechanics of Materials รองศาสตราจารย์ ดร. ชาวสวน

จบการบรรยาย

63

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร