poster preprosthetic surgery

1
การทาศัลยกรรมตกแต่งสันเหงือกให้เหมาะสมแก่การใส่ฟ นเทียมเป็ นสิ่งจาเป็ น เพื่อให้ ผู ้ป่ วยสามารถใส่ฟ นเทียมได้โดยไม่มีอาการเจ็บ สามารถใช้บดเคี ้ยวได ้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสันเหงือกที่ดีไม่ควรมีปุ ่ มกระดูกแหลมหรือปุ ่ มกระด ูกที่ยื่นออกมาด้านข้าง รวมถึงไม่มี เนื ้อยึดหรือส่วนของกล ้ามเนื ้อมาเกาะอยู ่บริเวณขอบของฟ นเทียม โดยสิ่งเหล่านี ้สามารถ แก้ไขได้โดยการทาศัลยกรรม ข้อบ่งชี เนื ้อยึดริมฝี ปากมีขนาดใหญ่หรือเกาะสูง ขัดขวางต่อการใส่ฟ นเทียม เนื ้อยึดริมฝี ปากขัดขวางการเคลื่อนไหวริมฝี ปากและลิ ้น ทาให ้พูดไม่ชัด มีช่องว่างระหว่างฟ นหน้า เนื่องจากมีการเกาะสูงของเนื ้อยึดริมฝี ปาก เนื ้อยึดริมฝี ปากเกาะสูงมายังสันเหงือกยึด ทาให ้เกิดการทาลายอวัยวะปริทันต์ วิธีการทา ฉีดยาชาและใช้กรรไกรหรือมีดตัดบริเวณเนื ้อยึด (ดังภาพที่ ๑ และ ๒) จากนั้นจึงเย็บ ( ดังภาพที่ ๓ ) และใช้ผ้าก๊อซม้วนเป็ นแท่งสอดไว้ ๑-๒ ชั่วโมง ( ดังภาพที่ ๔ ) ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒ ภาพที่ ๓ ภาพที่ ๔ หลังทาการรักษา ๑ สัปดาห์ทันตแพทย์จะนัดให้มาตัดไหมและประมาณ ๒ สัปดาห์ แผลจะสามารถหายเองได้ตามปกติ การตกแต่งกระดูกสันเหงือกเป็ นการทาให้กระดูกสันเหงือกมีรูปร่างเหมาะสมที่จะ เป็ นฐานรองฟ นเทียมเพื่อลดความเจ็บปวดต่าง ๆ ในการใส่ฟ น อาจทาทันทีหลังการถอน นหรือทาการผ่าตัดแก้ไขภายหลังก็ได้ วิธีการทา ๑. ฉีดยาชาแล้วเปิ ดแผ่นเหงือกออก ๒. ใช้คีมขลิบกระดูกที่ยื่นออกมา แล้วตะไบแต่งกระดูกให้เรียบ ๓. ใช้น้าเกลือล ้างเศษกระดูกออกให้หมด ๔. นาแผ่นเหงือกกลับคืนที่เดิม โดยเย็บแผ่นเหงือกเข้าหากัน ภาพที่ ๕ แสดงกระดูกเบ้าฟ นที่มีส่วนยื่นที่ไม่ต้องการ การกรอลดส่วนยื่นทาได้ และหลังจากกรอตัดกระดูกแล้วยังมีความกว้างของสันเหงือกเพียงพอ ภาพที่ ๖ ซ้าย: แสดงกระดูกเบ้าฟ นที่มีส่วนยื่นที่ไม่ต้องการ กลาง: แสดงขั้นตอนการผ่าตัด ขวา: แสดงแผลที่หายดีแล้ว การทาศัลยกรรมเพื่อใส ่ฟ นเทียม กระดูกงอก มักเกิดจากกรรมพันธุ ์ โตช้า อาจเป็ นก้อนเดี่ยวหรือหลายก้อนติดกัน มักเกิดบริเวณกลางเพดานปากและด้านลิ ้นของขากรรไกรล่าง ข้อบ่งชี . มีขนาดใหญ่มากจนพูดไม่ชัด . เศษอาหารติดง่ายและทาความสะอาดยาก . กลืนลาบาก . ขัดขวางการใส่ฟ นเทียมชนิดถอดได้ . เยื่อบุเป็ นแผลง่ายและมักหายยากเนื่องจากมีหลอดเลือดเลี ้ยงน ้อย วิธีการตัดกระดูก . ส่วนใหญ่มักฉีดยาชาเฉพาะที่และทาการตัดในคลินิกทันตกรรม แต่มีบางกรณีที่ตัดภายใต้ยาสลบ . ทาการเปิ ดแผ่นเยื่อบุ ( ภาพที่ ๗,๘ ) . ทาการตัดกระดูกโดยใช้หัวกรอ หรือสิ่วทางทันตกรรม . เย็บปิ ดแผ่นเยื่อบุ ( ภาพที่ ๙ ) . ทันตแพทย์อาจให้ใส่เครื่องมือปิ ดแผล และมาตัดไหมหลังจากเย็บไปประมาณ ๗-๑๐ วัน ๖. แผ่นเยื่อบุจะเชื่อมกันภายใน ๗-๑๐ วัน (ภาพที่ ๑๐)และจะค่อยๆหายเป็ นปกติ ( ภาพที่ ๑๑) ภาพที่ ๗ ภาพที่ ๙ ภาพที่ ๑๐ ภาพที่ ๘ ภาพที่ ๑๑ ๑. กัดผ้าให้แน่นในบริเวณที่ทา ๑ ชั่วโมง หากยังมีเลือดออกมาอีกให้กัดผ้าใหม่ต่ออีก ๒ ชั่วโมง ๒. กลืนน้าลายให ้แห้ง อย่าบ้วนน้าหรือน้าลายระหว่างที่กัดผ้าอยู ๓. หลังทาการผ่าตัดผู ้ป่ วยจะมีความรู ้สึกชาหรือหนา บริเวณแก้ม ลิ ้นและริมฝี ปาก ต ้อง ระวังไม่กัด เกา หรือหยิกบริเวณที่ชา มิฉะนั้นจะเกิดแผลขึ ้นภายหลัง ๔. ห้ามอมน้าแข็ง บ ้วนน้าหรือน้ายาใดๆ ในวันแรก วันต่อไปใช ้น้าเกลือ (เกลือแกง ๑ ช ้อนชา ผสมน้า ๑ แก ้ว) อมและกลั้วปากเบาๆ นาน ๑ นาที แล ้วบ้วนหลังรับประทานอาหาร ๕. แปรงฟ นทาความสะอาดตามปกติ และควรแปรงหลังจากเลือดหยุดแล้ว แปรงได้จนถึง บริเวณไหมที่เย็บ ถ้าแปรงแผลแล้วเลือดออกเล็กน้อย เลือดจะหยุดได้เอง ๖. รับประทานยาตามแพทย์และเภสัชกรสั่งให้ครบ ๗. ห้ามเอานิ ้วมือ ไม ้จิ ้มฟ น แคะ เขี่ยบริเวณแผลและห้ามดูดแผลเล่น ๘. ทางานประจาวันได้ แต่อย่าออกกาลังกายเกินควร ๙. งดดื่มสุรา บุหรี่ อาหารรสจัด ภายหลังการผ่าตัด ๑๐. ให้กลับมาตัดไหมหลังเย็บ ๗ วันหรือตามที่ทันตแพทย์นัดหมาย ๑๑.หากมีการบวมให้ใช้ผ้าห่อถ ุงเจลหรือขวดน้าเย็นประคบนอกปากบริเวณที่ผ่านาน ๒๐ นาที หลังจากวันแรกแล้วให้เปลี่ยนเป็ นประคบบริเวณเดิมด้วยผ้าชุบน้าอ ุ ่นหรือกระเป๋ า ้าอ ุ ่นจนกว่าจะรู ้สึกปกติ ๑๒.การใส่เครื่องมือปิ ดแผล ในกรณีที่ตัดปุ ่ มกระดูกเพดานบนหรือปุ ่ มกระดูกใต้ลิ ้น ที่มีขนาดใหญ่ใส่เครื่องมือปิ ดแผลเป็ นเวลา ๒๔-๗๒ ชั่วโมง หลังผ่าตัดเพื่อช่วยห้ามเลือด ป้ องกันการเกิดก้อนลิ่มเลือดคั่ง อยู ่ใต้เยื่อเมือก และใส่ต่ออีกเป็ นระยะเวลาอย่างน้อย ๗ วัน เพื่อป้ องกันการระคายเคืองบริเวณแผลผ่าตัดที่เกิดในระหว่าง การรับประทานอาหาร หรือทาความสะอาดช่องปาก จัดทาโดย นักศึกษาทันตแพทย์ รัตติยา หทัยเดชะดุษฎี, นักศึกษาทันตแพทย์ เกศกาญจน์ ภิญโญ นักศึกษาทันตแพทย์ สุป ญญา นัยวิกุล , นักศึกษาทันตแพทย์ สลิลภร เหล่าชูวงศ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ที่ปรีกษา อาจารย์ทันตแพทย์หญิง สิริพร ตั้งศรีสก ุล กล ุ ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี การตัดเนื้อยึดริมฝีปาก การตกแต่งกระดูกสันเหงือก การดูแลภายหลังการผ่าตัดสาหรับผู้ป่ วยที ่ได้รับ การทาศัลยกรรมตัดแต่งกระดูก การตัดกระดูกงอกบริเวณเพดานปากและขากรรไกรล่างด้านลิ้น

Upload: dentyomaraj

Post on 18-May-2015

1.003 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

จัดทำโดย นักศึกษาทันตแพทย์ รัตติยา หทัยเดชะดุษฎี, นักศึกษาทันตแพทย์ เกศกาญจน์ ภิญโญ นักศึกษาทันตแพทย์ สุปัญญา นัยวิกุล , นักศึกษาทันตแพทย์ สลิลภร เหล่าชูวงศ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ที่ปรีกษา อาจารย์ทันตแพทย์หญิง สิริพร ตั้งศรีสกุล กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี

TRANSCRIPT

Page 1: Poster preprosthetic surgery

การท าศลัยกรรมตกแต่งสนัเหงือกใหเ้หมาะสมแกก่ารใสฟั่นเทียมเป็นส่ิงจ าเป็น เพ่ือให้

ผ ูป่้วยสามารถใสฟั่นเทียมไดโ้ดยไม่มีอาการเจ็บ สามารถใชบ้ดเค้ียวไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ

ซ่ึงสนัเหงือกท่ีดีไม่ควรมีปุ่ มกระดกูแหลมหรือปุ่ มกระดกูท่ียื่นออกมาดา้นขา้ง รวมถึงไม่มี

เน้ือยึดหรือสว่นของกลา้มเน้ือมาเกาะอย ูบ่ริเวณขอบของฟันเทียม โดยสิ่งเหลา่น้ีสามารถ

แกไ้ขไดโ้ดยการท าศลัยกรรม

ขอ้บ่งช้ี

• เน้ือยึดริมฝีปากมีขนาดใหญ่หรอืเกาะสงู ขดัขวางต่อการใสฟั่นเทียม

• เน้ือยึดริมฝีปากขดัขวางการเคลื่อนไหวริมฝีปากและลิ้น ท าใหพ้ดูไม่ชดั

• มีช่องว่างระหว่างฟันหนา้ เน่ืองจากมีการเกาะสงูของเน้ือยึดริมฝีปาก

• เน้ือยึดริมฝีปากเกาะสงูมายงัสนัเหงือกยึด ท าใหเ้กิดการท าลายอวยัวะปริทนัต์

วิธีการท า

ฉีดยาชาและใชก้รรไกรหรือมีดตดับริเวณเน้ือยึด (ดงัภาพท่ี ๑ และ ๒) จากนัน้จึงเย็บ

( ดงัภาพท่ี ๓ ) และใชผ้า้กอ๊ซมว้นเป็นแท่งสอดไว ้๑-๒ ชัว่โมง ( ดงัภาพท่ี ๔ )

ภาพท่ี ๑ ภาพท่ี ๒ ภาพท่ี ๓ ภาพท่ี ๔

หลงัท าการรกัษา ๑ สปัดาหท์นัตแพทยจ์ะนดัใหม้าตดัไหมและประมาณ ๒ สปัดาห์

แผลจะสามารถหายเองไดต้ามปกติ

การตกแต่งกระดกูสนัเหงือกเป็นการท าใหก้ระดกูสนัเหงือกมีรปูรา่งเหมาะสมท่ีจะ

เป็นฐานรองฟันเทียมเพ่ือลดความเจ็บปวดต่าง ๆ ในการใสฟั่น อาจท าทนัทีหลงัการถอน

ฟันหรือท าการผา่ตดัแกไ้ขภายหลงัก็ได ้

วิธีการท า

๑. ฉีดยาชาแลว้เปิดแผ่นเหงือกออก

๒. ใชคี้มขลิบกระดกูท่ียื่นออกมา แลว้ตะไบแต่งกระดกูใหเ้รยีบ

๓. ใชน้ ้าเกลือลา้งเศษกระดกูออกใหห้มด

๔. น าแผน่เหงือกกลบัคืนท่ีเดิม โดยเย็บแผน่เหงือกเขา้หากนั

ภาพท่ี ๕ แสดงกระดกูเบา้ฟันท่ีมีสว่นยื่นท่ีไม่ตอ้งการ การกรอลดสว่นยื่นท าได้

และหลงัจากกรอตดักระดกูแลว้ยงัมีความกวา้งของสนัเหงือกเพียงพอ

ภาพท่ี ๖ ซา้ย: แสดงกระดกูเบา้ฟันท่ีมีสว่นยื่นท่ีไม่ตอ้งการ

กลาง: แสดงขัน้ตอนการผา่ตดั ขวา: แสดงแผลท่ีหายดีแลว้

การท าศลัยกรรมเพ่ือใสฟั่นเทียม

กระดกูงอก มกัเกิดจากกรรมพนัธ ุ ์โตชา้ อาจเป็นกอ้นเด่ียวหรือหลายกอ้นติดกนั

มกัเกิดบริเวณกลางเพดานปากและดา้นลิ้นของขากรรไกรลา่ง

ขอ้บ่งช้ี

๑. มีขนาดใหญ่มากจนพดูไมช่ดั

๒. เศษอาหารติดง่ายและท าความสะอาดยาก

๓. กลืนล าบาก

๔. ขดัขวางการใสฟั่นเทียมชนิดถอดได้

๕. เยื่อบเุป็นแผลง่ายและมกัหายยากเน่ืองจากมีหลอดเลือดเลี้ยงนอ้ย

วิธีการตดักระดกู

๑. สว่นใหญ่มกัฉีดยาชาเฉพาะท่ีและท าการตดัในคลินิกทนัตกรรม

แต่มีบางกรณีท่ีตดัภายใตย้าสลบ

๒. ท าการเปิดแผ่นเยื่อบ ุ( ภาพท่ี ๗,๘ )

๓. ท าการตดักระดกูโดยใชห้วักรอ หรือส่ิวทางทนัตกรรม

๔. เย็บปิดแผ่นเยือ่บ ุ( ภาพท่ี ๙ )

๕. ทนัตแพทยอ์าจใหใ้สเ่ครื่องมือปิดแผล และมาตดัไหมหลงัจากเยบ็ไปประมาณ ๗-๑๐ วนั

๖. แผน่เยื่อบจุะเช่ือมกนัภายใน ๗-๑๐ วนั (ภาพท่ี ๑๐)และจะค่อยๆหายเป็นปกติ ( ภาพท่ี ๑๑)

ภาพท่ี ๗ ภาพท่ี ๙ ภาพท่ี ๑๐

ภาพท่ี ๘ ภาพท่ี ๑๑

๑. กดัผา้ใหแ้น่นในบริเวณท่ีท า ๑ ชัว่โมง หากยงัมีเลือดออกมาอีกใหก้ดัผา้ใหม่ต่ออีก ๒

ชัว่โมง

๒. กลืนน ้าลายใหแ้หง้ อยา่บว้นน ้าหรอืน ้าลายระหว่างท่ีกดัผา้อย ู่

๓. หลงัท าการผา่ตดัผ ูป่้วยจะมีความร ูส้ึกชาหรือหนา บริเวณแกม้ ลิ้นและริมฝีปาก ตอ้ง

ระวงัไม่กดั เกา หรือหยิกบริเวณท่ีชา มิฉะนัน้จะเกดิแผลข้ึนภายหลงั

๔. หา้มอมน ้าแข็ง บว้นน ้าหรือน ้ายาใดๆ ในวนัแรก วนัต่อไปใชน้ ้าเกลือ (เกลือแกง ๑ ชอ้นชา

ผสมน ้า ๑ แกว้) อมและกลัว้ปากเบาๆ นาน ๑ นาที แลว้บว้นหลงัรบัประทานอาหาร

๕. แปรงฟันท าความสะอาดตามปกติ และควรแปรงหลงัจากเลือดหยดุแลว้ แปรงไดจ้นถึง

บริเวณไหมท่ีเย็บ ถา้แปรงแผลแลว้เลือดออกเล็กนอ้ย เลือดจะหยดุไดเ้อง

๖. รบัประทานยาตามแพทยแ์ละเภสชักรสัง่ใหค้รบ

๗. หา้มเอาน้ิวมือ ไมจ้ิ้มฟัน แคะ เข่ียบริเวณแผลและหา้มดดูแผลเลน่

๘. ท างานประจ าวนัได ้แต่อยา่ออกก าลงักายเกินควร

๙. งดด่ืมสรุา บหุรี่ อาหารรสจดั ภายหลงัการผา่ตดั

๑๐. ใหก้ลบัมาตดัไหมหลงัเย็บ ๗ วนัหรือตามท่ีทนัตแพทยน์ดัหมาย

๑๑.หากมีการบวมใหใ้ชผ้า้ห่อถงุเจลหรือขวดน ้าเย็นประคบนอกปากบริเวณท่ีผา่นาน ๒๐

นาที หลงัจากวนัแรกแลว้ใหเ้ปลี่ยนเป็นประคบบริเวณเดิมดว้ยผา้ชบุน ้าอ ุ่นหรือกระเป๋า

น ้าอ ุ่นจนกว่าจะร ูส้ึกปกติ

๑๒.การใสเ่ครื่องมือปิดแผล

ในกรณีท่ีตดัปุ่ มกระดกูเพดานบนหรือปุ่ มกระดกูใตล้ิ้น

ท่ีมีขนาดใหญ่ใสเ่ครื่องมือปิดแผลเป็นเวลา ๒๔-๗๒ ชัว่โมง

หลงัผ่าตดัเพ่ือช่วยหา้มเลือด ป้องกนัการเกิดกอ้นลิ่มเลือดคัง่

อย ูใ่ตเ้ยื่อเมือก และใสต่่ออีกเป็นระยะเวลาอยา่งนอ้ย ๗ วนั

เพ่ือป้องกนัการระคายเคืองบริเวณแผลผา่ตดัท่ีเกดิในระหว่าง

การรบัประทานอาหาร หรือท าความสะอาดช่องปาก

จดัท าโดย นกัศึกษาทนัตแพทย ์รตัติยา หทยัเดชะดษุฎี, นกัศึกษาทนัตแพทย ์ เกศกาญจน ์ ภิญโญ

นกัศึกษาทนัตแพทย ์สปัุญญา นยัวิกลุ , นกัศึกษาทนัตแพทย ์ สลิลภร เหลา่ชวูงศ์

คณะทนัตแพทยศาสตร ์มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์

อาจารยท่ี์ปรกีษา อาจารยท์นัตแพทยห์ญิง สิรพิร ตัง้ศรสีกลุ

กล ุม่งานทนัตกรรม โรงพยาบาลเจา้พระยายมราช

จงัหวดัสพุรรณบรุี

การตดัเนือ้ยึดริมฝีปาก

การตกแตง่กระดกูสนัเหงอืก

การดแูลภายหลงัการผ่าตดัส าหรบัผูป่้วยท่ีไดร้บั

การท าศลัยกรรมตดัแต่งกระดกู

การตดักระดกูงอกบริเวณเพดานปากและขากรรไกรลา่งดา้นลิน้