qad iii - มหาวิทยาลัยนเรศวรหน า 0 จ ดท าโดย...

46
QAD III กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 9/3/2013 คู ่มือการใช้งานระบบสารสนเทศด้านการประกัน คุณภาพภายใน สาหรับคณะวิชาและสถาบัน

Upload: others

Post on 05-Feb-2021

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • หน้า 0

    จัดท าโดย กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลยันเรศวร

    QAD III

    กองพฒันาคณุภาพการศึกษา

    มหาวิทยาลยันเรศวร

    9/3/2013

    คูมื่อการใช้งานระบบสารสนเทศด้านการประกนัคณุภาพภายใน ส าหรับคณะวิชาและสถาบนั

  • สารบัญ การเข้าใช้งานระบบ QAD Service ............................................................................................................ 1

    ค าอธิบายภาพรวมของระบบสารสนเทศ ...................................................................................................... 3

    การอธิบายสิทธิการใช้งาน ........................................................................................................................... 5

    การสร้างและแก้ไขผู้ใช้งานระบบ................................................................................................................. 6

    การตั้งปีการศึกษา ..................................................................................................................................... 14

    การใช้งาน Knowledge Asset ................................................................................................................ 15

    การใช้งาน Dashboard ............................................................................................................................ 18

    การใช้งาน Business Intelligent ............................................................................................................ 21

    การใช้งาน KPI Monitoring ..................................................................................................................... 24

    การบันทึก ส่วนน า..................................................................................................................................... 29

    การตรวจสอบความถูกต้อง Common Data Set .................................................................................... 31

    การบันทึก Common Data Set .............................................................................................................. 32

    การบันทึก Platform Document ........................................................................................................... 35

    การใช้งาน Storage Asset ....................................................................................................................... 39

    การใช้บริการ NU-NET Account ............................................................................................................. 41

    ติดต่อสอบถาม .......................................................................................................................................... 43

  • หน้า 1

    การเข้าใช้งานระบบ QAD Service

    1. ท าการเปิด Web browser ที่ท่านรู้จัก เช่น Internet Explorer หรือ Google Chrome หรือ Firefox แล้ว

    พิมพ์ URL ชื่อว่า http://www.qs.nu.ac.th จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างดังรูปด้านล่างนี้ และให้เลือกเมนูชื่อว่า

    QAD Service III ด้านขวามือสุด

  • หน้า 2

    2. หลังจากที่กดปุ่ม QAD Service III แล้ว จะปรากฏหน้าจอดังรูปด้านล่าง หรือ ท่านที่สะดวกในการเข้าใช้งาน

    โดยตรง สามารถเข้าใช้งานผ่าน Website http://www.qs.nu.ac.th/qad3 ได้ด้วยเช่นกัน

    วิ้ีการใช้งาน ผู้ใช้งานภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย จะสามารถเข้าใช้งานระบบได้นั้น จะต้องมี ชื่อ

    ผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน หรือเรียกว่า Username และ Password ด้วย จึงจะสามารถเข้าใจงานได้

    http://www.qs.nu.ac.th/qad3

  • หน้า 3

    ค าอธิบายภาพรวมของระบบสารสนเทศ

    1. เมื่อท าการ Login เรียบร้อยแล้ว จะปรากฏหน้าต่างหลักของระบบ QAD ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

    Knowledge Asset หมายถึงการใช้งานคลังความรู้ที่ประกอบอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของระบบ QAD เพ่ือรองรับ ความรู้

    ที่บรรจุในระบบ

    Dashboard หมายถึง รายงานภาพรวมและสรุปภาพรวมทั้งหมดของผู้บริหาร ซึ่งประกอบไปด้วยผลการประเมิน

    ในแต่ละปี และมุมมองการบริหารและการจัดการต่าง ๆ

    Business Intelligent หมายถึง กระบวนการวางแผนงานด้านการประกันคุณภาพและวิเคราะห์ถึงความเชื่อมโยง

    ในบริบทขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ต่าง ๆ

    KPI Monitoring หมายถึง การรายงานความก้าวหน้าของการท างานทั้งระดับคณะวิชาและระดับมหาวิทยา เพ่ือ

    ทราบถึงความก้าวหน้าและการแบ่งปันความรู้ต่าง ๆ

    ยืนยัน Common Data Set หมายถึง การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในการยืนยันข้อมูลจากคณะวิชาและ

    มหาวิทยาลัย เพ่ือความเที่ยงตรงของข้อมูลก่อนการประเมิน

    ข้อมูลส่วนน า หมายถึง ข้อมูลที่ท าการรายงานข้อมูลเบื้องต้นให้กับผู้ประเมินทราบ ซึ่ง ประกอบไปด้วย ชื่ อ สถาน

    ที่ตั้ง โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหาร และข้อมูลอื่น ๆ โดยสังเขป

    ข้อมูลพื้นฐาน Common Data Set หมายถึง รายการข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ ที่คณะและมหาวิทยาลัยจะต้องรายงาน

    ข้อมูลให้กับ สกอ .เพ่ือเป นข้อมูลประกอบการประเมินด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ในทุก ๆ ปี

    Platform Document หมายถึง การรายงานข้อมูลภายใต้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ต่าง ๆ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง

    คุณภาพ โดยที่มี เอกสาร Guideline เพ่ืออ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานทั้งระดับคณะวิชาและมหาวิทยาลัย

  • หน้า 4

    Storage Asset หมายถึง เอกสารประกอบการรายงานผลต่าง ๆ ของคณะวิชาและมหาวิทยาลัย

  • หน้า 5

    การอธิบายสิทธิการใช้งาน

    สิท้ิการใช้งานระบบ QAD Service นั้น จะถูกแบ่งหน้าที่ต่าง ๆ ออกจากกันดังต่อไปนี้

    assessors หน้าที่ เข้ามากรอกผลการตรวจประเมินตามความคิดเห็นของคณะกรรมการ ข้อเด่น ข้อที่ควร

    ปรับปรุง /ข้อเสนอแนะ และ รายงานตามมุมมองต่าง ๆ ของผู้ตรวจ

    editors หน้าที่ กรอกข้อมูลพื้นฐานในระดับคณะ และ ระดับมหาวิทยาลัย (กรณีที่เป นผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ )กรอก

    รายงานการประเมินตนเอง และ เอกสารอ้างอิง ในตัวบ่งชี้ที่ได้รับมอบหมาย

    presidents หน้าที่ เข้ามาเรียกดูรายงานต่าง ๆ ส าหรับผู้บริหารหน่วยงาน

    adminfacultys หน้าที่ เลือกองค์ประกอบตัวบ่งชี้ที่ใช้ส าหรับการประเมิน เพิ่ม /แก้ไขผู้ใช้งานระดับคณะ ก าหนด

    ผู้รับผิดชอบตามตัวบ่งชี้ระดับคณะ

    headofassessors หน้าที่ เข้ามากรอกผลการตรวจประเมินตามความคิดเห็นของคณะกรรมการ ข้อเด่น ข้อที่ควร

    ปรับปรุง /ข้อเสนอแนะ และ รายงานตามมุมมองต่าง ๆ ของผู้ตรวจ และยืนยันความถูกต้องของข้อมูลในการตรวจ

    ประเมิน

  • หน้า 6

    การสร้างและแก้ไขผู้ใช้งานระบบ

    เข้าเมนู Admin Tools เลือกเมนู เพ่ิมแก้ไขผู้ใช้งานระบบ/

    จะแสดงหน้าจอดังรูป

  • หน้า 7

    การเพ่ิมผู้ใช้งานระบบ 1. เลือก--ระดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย-- กรณีต้องการก าหนดผู้รับผิดชอบการกรอกข้อมูลระบบสถาบัน/

    มหาวิทยาลัย หรือ --คณะ-- กรณีต้องการก าหนดผู้รับผิดชอบการกรอกข้อมูลระบบระดับคณะ 2. เลือกแท็บ รายชื่อ User

    3. คลิกปุ่ม จะแสดงหน้าจอดังนี้

    4. กรอกข้อมูลผู้ใช้งานระบบตามที่ระบุ ให้ครบ 5. เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จ คลิกปุ่มบันทึก เพ่ือบันทึกข้อมูลผู้ใช้งานระบบ หรือยกเลิกการเพ่ิมข้อมูลผู้ใช้งาน

    ระบบให้คลิกปุ่มยกเลิก เพื่อยกเลิกการบันทึกข้อมูล ระบบจะกลับเข้าสู่หน้าจอหลัก แสดงรายชื่อผู้ใช้งาน

  • หน้า 8

    การดูรายชื่อผู้ใช้งานระบบทั้งหมด

    1. เลือก-ระดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย- หรือ –คณะ- ที่ต้องการดูรายชื่อผู้ใช้งาน

    2. คลิกปุ่ม จะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานทั้งหมดดังนี้

    การแก้ไขข้อมูลผู้ใช้งานระบบ

    1. เลือก-ระดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย- หรือ –คณะ- ที่ต้องการแก้ไข ระบบจะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานที่ตารางด้านขวา (กรณีท่ีมีการสร้างผู้ใช้งานแล้ว ) สามารถเลือกอักษรที่ต้องการ เพ่ือดูรายชื่อผู้ใช้งานระบบได้ จะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานที่ขึ้นต้น ด้วยอักษรที่เลือกที่ตารางด้านบน

    2. เมื่อต้องการแก้ไขข้อมูลให้ คลิกปุ่ม แก้ไข จะแสดงหน้าจอดังรูป

  • หน้า 9

    3. ด าเนินการแก้ไขข้อมูลที่ต้องการ 4. คลิกปุ่มบันทึกเพ่ือบันทึกข้อมูลที่แก้ไข ระบบจะกลับเข้าสู่หน้าจอหลัก แสดงรายชื่อผู้ใช้งานหรือยกเลิก

    การแก้ไขข้อมูลโดยคลิกปุ่มยกเลิก ระบบจะกลับเข้าสู่หน้าจอหลัก แสดงรายชื่อผู้ใช้งาน

    การลบข้อมูลผูใ้ช้งานระบบ 1. คลิกปุ่ม เมื่อต้องการลบข้อมูล จะแสดงกล่องข้อความ ว่าต้องการ ลบข้อมูล User 2. คลิกปุ่ม Ok เพ่ือลบข้อมูล คลิกปุ่ม Cancel

  • หน้า 10

    การแก้ไขรหัสผ่าน (Password)

    กรณีไม่ต้องการก าหนดเอง ให้ ระบบก าหนด Password ให้ เป็น “123456 “

    1. เลือก-ระดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย- หรือ –คณะ- ที่ต้องการแก้ไข จะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานของมหาวิทยาลัยนั้น

    2. เลือกอักษร Username ที่ต้องการ 3. คลิกปุ่ม Reset รหัสผ่าน เพ่ือ reset รหัสผ่านใหม่ จะแสดงหน้าจอดังรูป

    4. ถ้าคลิกปุ่ม ใช่ จะแสดงหน้าจอดังรูป

  • หน้า 11

    5. คลิกปุ่ม รับทราบ เพื่อท าการ Reset รหัสผ่าน โดยที่รหัสผ่านจะถูก Reset เป น 123456 ทุกครั้งที่กดปุ่ม

    กรณีต้องการก าหนด รหัสผ่านเอง เข้าเมนู Admin Tools เลือก Reset Password

    1. กรอกชื่อผู้ใช้งาน ( Username) ที่ต้องการเปลี่ยน Password รหัสผ่านใหม่ ยืนยันรหสัผ่านใหม่

  • หน้า 12

    - ถ้ากรอกข้อมูลยืนยันรหัสผ่านใหม่ ไม่เหมือนเดิม จะข้ึนข้อความเตือน

    2. คลิกปุ่ม หรือ คลิกปุ่ม เมื่อไม่ต้องการเปลี่ยน password

    การก าหนดสิทธิ์การใช้งานระบบ

  • หน้า 13

    1. เลือก-ระดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย- หรือ –คณะ- ที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานของระบบ 2. คลิกปุ่ม แก้ไขสิท้ิ์ เพ่ือก าหนดสิท้ิ์การใช้งาน จะแสดงหน้าจอดังรูป

    3. เลือกสิท้ิ์ที่ต้องการ ระบบจะท าการบันทึกสิท้ิใหม่ให้ทันที และหากต้องการกลับไปหน้าจอบริหาร

    จัดการผู้ใช้งานอีกครั้งให้ท าการ คลิกปุ่ม

  • หน้า 14

    การตั้งปีการศึกษา

    เมื่อเข้าสู่หน้าจอหลักของ Admin Tools แล้วจะปรากฏเมนูชื่อว่า “ตั้งปีการศึกษาตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ”ให้

    เลือกรายการนี้

    เมื่อเลือกรายการเรียบร้อยแล้ว จะปรากฏหน้าต่างการตั้งปีการศึกษา และการแก้ไขปีการศึกษา

    ข้อควรระวัง เนื่องจากการตั้งปีจะท าได้โดยก าหนดตั้งแต่ต้นปี และเป นการตั้งครั้งเดียวในแต่ละปี โดยที่ระบบจะ

    ท าการคัดลอกข้อมูลที่จ าเป น ในการประเมินตามปีที่ตั้งไว้ โดยจะลบข้อมูลเดิมที่เคยตั้งไว้จดหมด จึงต้องท า

    ขั้นตอนนี้อย่างระมัดระวัง

    ในหน้าจอของการตั้งปีการศึกษา จะปรากฏ ข้อมูล ปีการศึกษา และ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ขึ้นมา ให้ท าการเลือก

    เมนู “เพ่ิม ”เพ่ือเป นการตั้งปีการศ ึกษานั้น ๆ

    เมื่อกดปุ่มเพ่ิม จะปรากฏหน้าต่างดังต่อไปนี้ คือ มีกล่องข้อความให้บันทึกว่าต้องการตั้งปีการศึกษา ว่าอะไร โดยที่

    ระบบจะรองรับเฉพาะตัวเลขอารบิค เช่น 2556

    จากนั้นกดปุ่มบันทึก รูปดิสเกท เพื่อเป นการตั้งปีการศึกษา

  • หน้า 15

    การใช้งาน Knowledge Asset

    การใช้งาน Knowledge Asset ท่านสามารถเข้าใช้งานได้โดยผ่านเมนูด้านบน จะมีเมนูชื่อ “Knowledge Asset ”

    ให้ท าการคลิ๊ก เมนู Knowledge Asset จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างรายการกลุ่ม Knowledge ขึ้นมา ทั้งจะท่าน

    สามารถเลือกใช้ กลุ่ม ส าหรับทดสอบการใช้งาน เพ่ือทดสอบการใช้งานของระบบต่าง ๆ ได้ ส่วนกลุ่มของ

    “แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพภายใน” จะเป นกลุ่มที่ระบบรวบรวม “KA ”ของระบบทั้งหมดไว้ที่

    เดียวกัน

    เมื่อเลือกกลุ่มรายการแล้วจะปรากฏหน้าต่างดังต่อไปนี้

  • หน้า 16

    หากเป นหัวข้อที่ท่านสนใจ ท่านสามารถกด ลิงค์ ของรายการนั้น ๆ เพ่ือศึกษาข้อมูลได้ทันที

    หมายเหตุ กรณีท่ีมีเมนูชื่อ ขึ้นมา จะหมายถึงเจ้าหน้าที่ ที่มีสิท้ิในการบริหารจัดการ หรือ ลบ ”ลบรายการ“

    รายการที่ไม่เก่ียวข้องออกจากระบบได้

  • หน้า 17

    ท่านสามารถตอบข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเป นการบันทึกรายการ Knowledge ให้กับระบบได้โดยผ่าน “รายละเอียด ”

    ค าตอบ จากนั้นกดปุ่ม “ตอบค าถาม ”เพ่ือให้ระบบบันทึกข้อมูลได้ทันที

  • หน้า 18

    การใช้งาน Dashboard

    การใช้งาน Dashboard ท่านสามารถเข้าใช้งานได้โดยผ่าน เมนูด้านบน แล้วเลืก “Dashboard” โดยเมนูนี้ จะ

    อ้ิบายถึงภาพรวมของหน่วยงานเป นอย่างดี ว่าด้วย การแสดงผลการด าเนิน ที่เป นภาพรวม และมีการ

    เปรียบเทียบในเชิงข้อมูลเป นปีปัจจุบันรวมถึงย้อนหลังและ มีการเรียกดูข้อมูลด้านการบริหารจัดการภายในของ

    หน่วยงานเอง

    เมื่อกดปุ่มเมนู “Dashboard ”แล้วจะปรากฏเมนูย่อย ๆ ดังต่อไปนี้

    รายงานผลด าเนินการ หมายถึง การเรียกดูข้อมูลภายรวมทั้งหมดของกลุ่มคณะวิชา และรวมไปถึง เรียกดูภาพรวม

    ผลการประเมิน ตามมาตรฐานอุดมศึกษา และ มุมมองด้านบริหารจัดการ

    รายงานการติดตามผลเปรียบเทียบการประเมิน หมายถึง การเรียกดูข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ เช่น ข้อมูลย้อยหลัง

    สามปี หรือ ข้อมูลรายตัวบ่งชี้ย้อนหลังสามปี

    รายงานสรุป สมศ หมายถึง รายงานต่าง ๆ ที่ต้องเป นข้อมูลตั้งต้นพร้อมส าหรับการประเมิน ด้วยหน่วยงาน สมศ.

  • หน้า 19

    ในกลุ่มของรายงานผลด าเนินการ มีดังต่อไปนี้

    เรียกดูคณะวิชาเลือกตัวบ่งชี้ส าหรับประเมิน หมายถึง ภาพรวมส าหรับการเรียกดูคณะวิชาในแต่ละปีการศึกษา ว่า

    มีคณะต่าง ๆ นั้น ประเมินกี่ตัวบ่งชี้ อะไรบ้าง และมีการยกเลิกตัวบ่งชี้อะไรบ้าง

    ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา หมายถึง การแสดงภาพรวม ผลการประเมินในมุมมองของ มาตรฐาน

    การอุดมศึกษา

    ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ หมายถึง การแสดงภาพรวม ผลการประเมินในมุมมองของ การ

    บริหารจัดการ

  • หน้า 20

  • หน้า 21

    การใช้งาน Business Intelligent

    “Business Intelligence” เป นการเพิ่มความสามารถของระบบ QAD Service เก่ียวกับการรายงานแผนพัฒนาการศึกษา (Improvement Plan )ส าหรับผู้บริหาร เพื่อทราบถึงทิศทางในการพัฒนาการด าเนินงานรอบปีการศึกษาถัดไป หรือเพื่อวิเคราะห์สถานภาพด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยในภาพรวม

    รูปภาพ 1 ความสามารถใหม่ BI ของระบบ QAD Service

  • หน้า 22 ภาพรวมการท างาน

    รูปภาพ 2 ภาพรวมของการท างาน และการรายงานผลของ “Business Intelligence” หน้ารายงานจะประกอบด้วย 1. ผลการด าเนินงานรอบปีการศึกษาที่ได้รับการประเมินจากคณะกรรมการแล้ว จ าแนกรายมาตรฐาน ดังนี้

    1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 2ก มาตรฐานด้าน้รรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา 2ข มาตรฐานด้านพัน้กิจของการบริหารการอุดมศึกษา 3 มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้

    2. ก าหนดคะแนนเป้าหมายปีถัดไป (โดยผู้รับผิดชอบแต่ละองค์ประกอบ/ตัวบ่งช ี้) 3. แนวทาง /แผนพัฒนาคุณภาพของรอบปีการศึกษาถัดไป (โดยผู้รับผิดชอบแต่ละองค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้)

    1 2

    3

    4 5

    6

    7

  • หน้า 23

    ค าอธิบายส่วนประกอบของหน้ารายงาน

    หมายเลข 1 แสดงหน่วยงานเจ้าของข้อมูล หมายเลข 2 แสดงผลการด าเนินงาน/คะแนนการประเมินจากคณะกรรมการทั้ง 9 องค์ประกอบ จ าแนกตาม

    มาตรฐานทั้ง 4 )มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต, มาตรฐานด้าน้รรมาภิบาลของการบริหารการ อุดมศึกษา, มาตรฐานด้านพัน้กิจของการบริหารการอุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและ พัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้(

    หมายเลข 3 แสดงผลการด าเนินงาน/คะแนนการประเมินจากคณะกรรมการทั้ง 9 องค์ประกอบ ในมิติปัจจัยน าเข้า กระบวนการ และผลลัพ้์ )Input, Process, Output/Outcome(

    หมายเลข 4 แสดงคะแนนเป้าหมายในภาพรวมของแต่ละมาตรฐาน หมายเลข 5 แสดงแนวทาง/ทิศทางการพัฒนาการด าเนินงานในรอบปีถัดไป เพ่ือให้ไปสู่เป้าหมายตามที่ก าหนดใน

    หมายเลข 4 หมายเลข 6 แสดงรายละเอียดโครงการ/กิจกรรม/ข้อเสนออื่นๆ เพื่อให้บรรลุตามแนวทาง/ทิศทางการพัฒนาฯ ท่ีได้

    ก าหนดในหมายเลข 5 หมายเลข 7 แสดงแผนภูมิ/รูปภาพ/แผนผังการท างาน หรืออ่ืนๆ ท่ีแสดงถึงระบบการได้มาของข้อมูลทั้งหมดเพื่อ

    สนับสนุนให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

  • หน้า 24

    การใช้งาน KPI Monitoring

    การใช้งาน KPI Monitoring ท่านสามารถเข้าใช้งานผ่าน เมนูบาร์ ด้านบนชื่อว่า KPI Monitoring

    เมื่อเลือกเมนูที่ต้องการแล้ว จะปรากฏหน้าจอ ดังต่อไปนี้

    การปรับแต่งมุมมองรายงาน ส าหรับการปรับแต่งมุมมองรายงานนี้ จะหมายถึง มุมมอง ที่ผู้ใช้งานระบบ ต้องการ

    สร้างไว้เป นแม่แบบ(Template) ส าหรับการเรียกดูรายงานนอกเหนือจากที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้ โดยมีมุมมองต่าง

    ๆ แบ่งออกดังนี้ คือ

    มุมมองส่วนตัว หมายถึง หากต้องการเรียกดูรายงานเป นของส่วนตัว หรือดูเฉพาะผู้ใช้งานนั้น ๆ ได้คนเดียวจะสาม

    รถบันทึกผ่าน มุมมองนี้ได้

    มุมมองคณะวิชา/หน่วยงานต้นสังกัด หมายถึง เป นการแชร์รายงานให้กับหน่วยงานต้นสังกัดได้ เช่น หากต้องการ

    สร้าง มุมมองส่วนตัวและแชร์ให้กับคณะวิชา ท่านสามารถเลือกบันทึกผ่าน คณะวิชา/หน่วยงานต้นสังกัด ดังนั้น

    ผู้ใช้งานที่อยู่ในสังกัดเดียวกัน (คณะวิชา เดียวกัน )สามารถเข้ามาดูรายงานต่าง ๆ ที่ผู้ใช้งานแชร์ไว้ได้โดยตรง

    มุมมองภาพรวมมหาวิทยาลัย หมายถึง การแชร์ในระดับองค์กร หรือมหาวิทยาลัย ซึ่งจะหมายถึงผู้ใช้งานทั้งหมด

    สามารถเรียกดูรายงานตามที่ผู้ใช้งานได้ท าการสร้างรายงานนั้น ๆ ได้

  • หน้า 25

    เมนูส าหรับการปรับแต่งมุมมองรายงานนั้น จะมี 3 รูปแบบด้วยกันคือ

    ดูมุมมองที่เลือก หมายถึง การแสดงรายงานตามที่เราเลือกในรายการด้านซ้ายมือ

    แก้ไข หมายถึง เมื่อดูรายการนั้น ๆ แล้ว มีรายการที่แสดงอยู่ในไม่สมบูรณ์หรือไม่ถูกต้องสามารถ ปรับแก้ แล้วกด

    ปุ่มบันทึกเพ่ือแก้ไขรายงานนั้น ๆ ได้

    เพ่ิมใหม่ หมายถึง เมื่อดูมุมมองใหม่ที่ไม่เคยมีอยู่ในรายการ ให้ท าการกดปุ่ม เพ่ิมใหม่ ระบบจะมีกล่องข้อความ

    ส าหรับการบันทึกมุมมมองรายงานใหม่ทันที

    ส าหรับเมนู KPI Monitoring นั้นจะมี เมนูย่อย ส าหรับการเรียกดูข้อมูลทั้งหมดได้โดยแบ่งออกเป นเมนูต่าง ๆ

    ดังนี้คือ

    EXCEL EXPORT DATA หมายถึง หน้าจอที่แสดงรายงานนั้น ๆ สามารถ Export เป นรูปบบ Excel Format ได้

    เพ่ือน าไปใช้เป นรูปแบบรายงานอื่น ๆ ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ

    เรียกดูข้อมูลระดับคณะวิชา หมายถึง ต้องการดู KPI Monitoring ส าหรับ คณะวิชา เพื่อให้ดูภาพรวมในแต่ละ

    คณะวิชา รวมทั้งคะแนนและผลการประเมิน(SAR และ CAR) 3 ปีย้อนหลัง

    เรียกดูข้อมูลระดับคณะวิชารายข้อ หมายถึง เรียกดูข้อมูลระดับข้อ เพื่อเปรียบเทียบคณะวิชาว่ามีผลด าเนินการข้อ

    ไหนบ้าง เทียบระหว่างคณะวิชา

    เรียกดูข้อมูลระดับคณะวิชารายข้อ (รายละเอียด )หมายถึง การเรียกดูข้อมูลผลการด าเนินงานและรายการหลักฐาน

    ในรายข้อ เพ่ือเป นรูปแบบรายละเอียดแต่ละข้อ ทั้งหมด ทุก ๆ เมนูนั้นผู้ใช้งานระบบสามารถปรับแต่ง รูปแบบ

    รายงานได้ทุกรายการ เพ่ือให้สะดวกต่อการใช้งานของระบบสารสนเทศ

  • หน้า 26

    ทั้งนี้ เพื่อเรียกดูผลคะแนน ระบบจะมีค าอ้ิบายในรูปแบบสัญลักษณ์ในแต่ละระดับเพ่ือให้ผู้ใช้งานเข้าใจได้ง่าย ดัง

    รูปภาพด้านล่าง

    ส าหรับรายงานต่าง ๆ จะมีรูปแบบที่สามารถปรับแต่งได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้ จะมีรูปแบบ ที่สามารถปรับแต่งได้นั้นจะ

    มีรายระเอียดดังต่อไปนี้คือ

    Filters Area หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่สามารถน ามาจัดท ารายงานได้

    Values Area หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่สามารถแสดงถึงค่าหรือจ านวนต่าง ๆ ในรายงานได้ ซึ่งจะปรากฏค่าข้อมูล

    ผ่านหน้าจอว่าง ๆ ขวามือล่างซึ่งเป นพ้ืนที่ที่แสดงมากที่สุด

    Columns Area หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่แสดงผลผ่านคอลัมภ์ ซึ่งจะแสดงถึงมิติที่ผู้ใช้งานต้องการแสดงข้อมูลว่า

    อยากดูมิติอะไรบ้าง

    Rows Area หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่แสดงผ่านแถว ซึ่งจะหมายถึงรายการอะไรบ้างที่ผู้ใช้งานระบบแสดง

    รายละเอียดของข้อมูล

  • หน้า 27

    Filters Area

    Values Area

    Rows Area

    Columns Area

  • หน้า 28

    การเรียกดูข้อมูลระดับคณะวิชารายข้อ ผู้ใช้งานระบบสามารถเรียกดูคณะวิชาต่าง ๆ เพ่ือเทียบรายข้อว่ามีคณะ

    ใดบ้างมีการรายงานข้อมูลโดยแยกเป นส่วนขององค์ประกอบ และ ตัวบ่งชี้

    การเรียกดูข้อมูลระดับคณะวิชารายข้อ (รายละเอียด )ในรายการนี้ จะหมายถึงนอกจากมีการแสดงรายข้อแล้ว

    ระบบยังสามารถรองรับการแสดงรายละเอียดทั้งส่วนของ ผลการด าเนินงาน และ รายการหลักฐาน เทียบกับคณะ

    วิชารวมไปถึงมหาวิทยา โดยสามารถเทียบในลักษณะรายข้อได้ ดังรูปภาพด้านล่าง

  • หน้า 29

    การบันทึก ส่วนน า

    เมื่อผู้ใช้งานระบบได้ท าการ Login เข้าสู่ระบบเรียบร้อยแล้ว เพื่อท าการบันทึกข้อมูลส่วนน าของสถาบันสู่ระบบ QAD Service มีข้ันตอนในการบันทึกข้อมูลดังนี้

    1. Login ด้วย User และ Password เข้าระบบ QAD Service 2. ไปที่เมนู ดังภาพตัวอย่าง โดยเลือกท่ี Introduction

    3. ท าการเลือกข้อมูลส่วนน าที่ต้องการบันทึกข้อมูบ โดยเลือก แก้ไข 4. เมื่อกรอกข้อมูลเป นที่เรียบร้อยแล้ว ให้เลือก บันทึก เพ่ือยืนยันข้อมูลลงในระบบ

  • หน้า 30

  • หน้า 31

    การตรวจสอบความถูกต้อง Common Data Set

    ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล Common Data Set นั้น ท่านสามารถเทียบข้อมูลระหว่างหน่วยงาน

    กลางและส่วนการยืนยันข้อมูลส าหรับการประเมินตนเองของคณะวิชาได้ ผ่านเมนูด้านบนชื่อว่า ยืนยัน

    CommonDataSet

    เมื่อเลือกเมนูแล้ว จะแสดงผลรายการ Common Data Set โดยแยกส่วนการเลือกดูรายการ ผ่าน องค์ประกอบ

    และคณะวิชา/มหาวิทยาลัย ทั้งนี้การแสดงรายการเปรียบเทียบจะดูจาก ส่วนกลางบันทึก Common Data Set

    และการยืนยันของคณะวิชา/มหาวิทยาลัย

  • หน้า 32

    การบันทึก Common Data Set

    การบันทึกข้อมูลพื้นฐาน Common Data Set นั้นสามารถเข้าใช้งานได้ผ่านเมนูด้านบน ชื่อ “ข้อมูลพื้นฐาน

    Common Data Set ”

    การบันทึก Common Data Set นั้นจะมีการแสดงบนรายการองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ อยู่ด้านซ้ายมือ ท่าน

    สามารถเลือกตัวบ่งชี้ก่อนการบันทึกรายการ Common Data Set และข้อมูลด้านขวามือคือรายการ Common

    Data Set ทั้งหมด ทั้งนี้จะมีสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้คือ

    ค าอ้ิบายสี หมายถึง สถานะการบันทึกข้อมูล เช่น เขียวคือบันทึกข้อมูลแล้ว เหลืองคือการบันทึกข้อมูลแล้วเป น –

    และแดงหมายถึงยังไม่ได้บันทึกข้อมูล ซึ่งจ าเป นจะต้องบันทึกข้อมูลให้ครบ

    สัญลักษณ์แจ้งสถานะผลด าเนินงาน หมายถึง การติดตามความก้าวหน้าของผู้ใช้งานระบบ ซึ่งมีผลกระทบกับการ

    รายงานการติกดามความก้าวหน้าในที่ประชุมของแต่ละรอบการรายงาน

    ระดับการบันทึก หมายถึง ในแต่ละ Common Data Set จะถูกแบ่งออกเป นรายการต่าง ๆ ที่มีผู้รับผิดชอบ

    ชัดเจน คือ ส่วนกลาง และ คณะวิชา เพื่อการอ านวยความสะดวกให้แก่คณะวิชา โดยไม่จ าเป นต้องบันทึกข้อมูล

    เป นจ านวนมาก

    ปีในการบันทึก หมายถึง ข้อมูลต่าง ๆ ของ Common Data Set นั้นจะมีการระบุถึงปีต่าง ๆ ส าหรับการบันทึก

    ด้วยเช่น ปีงบประมาณ ปีปัจจุบัน ปีการศึกษา เพื่ออ านวยความสะดวกแก่ผู้บันทึกว่า จะมีการนับจ านวนอย่างไร

    KA หมายถึง ป้ายแสดงถึง Knowledge Asset เพ่ือให้ผู้ใช้งานสามารถคลิ๊กเพ่ือการเรียกดูข้อมูลที่ผู้ใช้งานสงสัย ว่า

    หมายถึงอะไร มีการบันทึกอย่างไร หรือมีวิ้ีการนับอย่างไรได้

  • หน้า 33

    และเม่ือเลือกรายการใดรายการหนึ่งของ Common Data Set แล้วระบบจะตรวจสอบว่า เป นเรื่องของกลุ่มสาขา

    หรือไม่ ซึ่งถ้าหากเป นเรื่องของกลุ่มสาขา ระบบจะท าการแสดงรายการข้อมูลเฉพาะ คณะวิชาที่อยู่ภายใต้กลุ่ม

    สาขา นั้น ๆ มาเพ่ือป้องกันความสับสนแก่ผู้ใช้งานระบบ ในการบันทึกข้อมูลของส่วนกลาง

  • หน้า 34

    หากต้องการบันทึกข้อมูล ท่านสามารถกดปุ่มแก้ไข แล้วบันทึกตัวเลขได้ ทั้งนี้ ท่านสามารถเลือกบันทึกได้สองวิ้ีคือ

    การบันทึกเป นจ านวนตัวเลข และ หากมีข้อมูลนั้นแต่เป น 0 ให้ท าการระบุ 0 ได้เลย แต่หากไม่มีข้อมูลหรือไม่ได้

    ด านเนินการ ต้องระบุเป น – เท่านั้น และเมื่อระบุตัวเลขแล้ว สามารถกดปุ่ม “บันทึก ”เพ่ือบันทึกข้อมูลล่าสุดได้

    ทันที

  • หน้า 35

    การบันทึก Platform Document

    การบันทึก Platform Document นั้น ท่านสามารถเข้าใช้งานได้ผ่านเมนูด้านบนชื่อว่า Platform Document

    ขั้นตอนการรายงานผลการด าเนินงานจะอยู่ในส่วนของ Platform Document เพ่ือเป นการรายงานผลการด าเนินงานพร้องเอกสารหลักฐานสนับสนุน โดยมีวิ้ีการดังนี้

    1. เลือกเมนู Platform Document 2. เลือก บันทึก เพ่ือเข้าสู่การบันทึกข้อมูลระดับตัวบ่งชี้

    หากผู้ใช้งานต้องการบันทึกข้อสรุปภาพรวมขององค์ประกอบนั้น ๆ ท่านจะเข้าใช้งานผ่านเมนูชื่อว่า “ข้อสรุปราย

    องค์ประกอบ” และเมื่อท่านคลิ๊กแล้วจะปรากฏภาพเช่น ด้านล่างดังนี้ ซึ่งหากท่านต้องการบันทึก ให้ท่าเข้าไปใช้

    งานในเมนู

  • หน้า 36

    3. ท าการเลือก บันทึกผลการด าเนินงาน หากท่านต้องการดู Platform หรือ เอกสารคู่มือตัวอย่างการรายงานผล ก่อนการบันทึกผลการด าเนินงาน นั้น ท่านสามารถเรียกดูข้อมูลผ่าน เมนู Platform ได้ทันที หรือผู้ใช้งานต้องการบันทึกเป้าหมายก่อนการบันทึกผลการด าเนินงาน ท่านก็สามารถใช้งานผ่านเมนู บันทึกเป้าหมาย

    (ภาพตัวอย่าง platform)

  • หน้า 37

    (หน้าจอการบันทึกเป้าหมาย)

    4. ท าการบันทึก การรายงานผลด าเนินงาน ไปทีเ่มนู แก้ไข ดังภาพ

    เมื่อท่านเข้าคลิ๊กปุ่ม แก้ไข ในแต่ละข้อท่านจะเห็นหน้าจอส าหรับการบันทึกข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยจะมีรายละเอียด

    ดังนี้

    น าผลด าเนินงานและรายการหลักฐานปีที่แล้วมาใช้ หมายถึง เมื่อท่านเห็นว่าผลด าเนินการในปีที่แล้วมีความ

    สอดคล้องกับปีนี้ ท่านไม่จ าเป นต้องรายงานใหม่ทั้งนี้ ท่านสามารถคลิ๊กปุ่มนี้ เพ่ือการน าผลด าเนินงานและรายการ

    หลักฐานปีที่แล้วมาใช้ได้ทันที

  • หน้า 38

    PLATFORM หมายถึง เอกสารตัวอย่างการรายงานผลและหลักฐานต่าง ๆ ที่สามารถน ามาประกอบการรายงานข้อ

    ที่เลือกได้ ซึ่งจะอยู่ในเมนูด้านขวามือสุด

    เมื่อท่านต้องการน าผลด าเนินการและรายการหลักฐานปีที่แล้วมาใช้งาน ท่านคลิ๊กปุ่มนี้ แล้วระบบจะแจ้งให้ทราบ

    ว่าต้องการน ารายการนั้น ๆ มาหรือไม่ ซึ่งถ้าท่านต้องการ สามารถตอบ OK ระบบจะท าการดึงข้อมูลปีที่แล้วมาให้

    ทันที

    หากน าข้อมูลมาแล้วท่านสามารถแก้ไขข้อมูลให้เป นปัจจุบัน และท าการบันทึก เพ่ือปรับปรุงรายการให้เป นล่าสุด

  • หน้า 39

    การใช้งาน Storage Asset

    การใช้งาน Storage Asset นั้นสามารถเข้าใช้งานได้ผ่านเมนูด้านบนชื่อว่า Storage Asset

    เมื่อกดเมนูดังกล่าวแล้ว ท่านจะเห็นรายการดังภาพด้านล่าง โดยที่จะแสดง Folder ด้านซ้ายมือ และรายการไฟล์

    ต่าง ๆ ทั้งที่เป นหลักฐานและรูปภาพ จะอยู่ด้านขวามือ ซึ่งเป นรายการที่พร้อมจะใช้งานในระบบนี้ หากต้องการ

    อัพโหลดเอกสารใหม่ ท่านสามารถคลิ๊กปุ่มชื่อ อัพโหลดไฟล์

    และเม่ือคลิ๊กปุ่ม อัพโหลดไฟล์แล้ว จะปรากฏดหน้าต่างด้านล่าง เพ่ือพร้อมส าหรับการเลือกไฟล์ที่อยู่ในเครื่องของ

    ผู้ใช้งาน ในการอัพโหลดแต่ละครั้ง

    ทั้งนี้ เมื่อท่านกดปุ่ม Choose File จะปรากฏหน้าต่าง เลือกไฟล์ ตามตัวอย่างด้านล่าง

  • หน้า 40

    เมื่อท่านเลือกไฟล์เรียบร้อยแล้ว สามารถกดปุ่ม Open และ อัพโหลดไฟล์ ตามล าดับ

  • หน้า 41

    การใช้บริการ NU-NET Account

    เมื่อเข้าสู่ระบบคร้ังแรก ระบบจะท าการตรวจสอบว่า Account นี้มีการเช่ือมต่อกับระบบ NU-

    NET แล้วหรือยัง ซึ่งหากยังไม่มีการเชื่อมต่อ ท่านสามารถท าการเช่ือมต่อเพ่ือให้ใช้ Username และ

    Password เดียวกับการใช้งานผ่าน NU-NET ได้ โดยเลือก “เช่ือมต่อระบบ NU-NET Account” ดัง

    รูปด้านล่างนี้

    จากนั้น จะปรากฏหน้าจอตามด้านล่างนี้อีกครั้ง

    หน้าจอจะแสดงรายละเอียดข้อมูลผู้ใช้งาน และแสดง Username ปัจจุบันท่ีใช้งานว่า ชื่ออะไร และ

    ท่านสามารถระบุ Username ท่ีท่านใช้งานจริงในระบบ NU-NET ผ่านกล่องข้อความ NU\

    ซึ่งในตัวอย่างระบุ Username ว่า “chanachain” จากนั้นให้ท าการ กดปุ่ม “ลงทะเบียนใช้งาน”

  • หน้า 42

    และ เมื่อกดปุ่ม จะปรากฏหน้าต่างให้ยืนยันการตัดสินใจ

    จากนั้นให้ท่านเลือก “OK” เพ่ือการยืนยันอีกคร้ัง หลังจากกดปุ่ม “OK” ระบบจะท าหน้าท่ีเช่ือมต่อ

    NU-NET Account ของท่าน หากเช่ือมต่อเรียบร้อย จะปรากฏหน้าต่างด้านล่าง ดังนี้

    **แตถ่้าหาก ไม่เกิดหน้าต่างนี้ จะเป นไปได้ว่ามีการระบุ Username ท่ีไม่ถูกตอ้ง หรือมีข้อผิดพลาด

    อื่น ๆ หากมีข้อมูลผิดพลาดอื่น ๆ สามารถติดต่อมายังผู้ดูแลระบบ หรือ แจ้งผ่านกองพัฒนาคุณภาพ

    การศึกษา เพ่ือแก้ปัญหาต่อไป

  • หน้า 43

    ติดต่อสอบถาม

    ติดต่อสอบถาม 1( วิ้ีการแจ้งปัญหาหรือสอบถามการใช้งาน 1.1( # ข้อมูลที่ติดต่อทางโทรศัพท์

    งานวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศและพัฒนายุท้ศาสตร์ด้านคุณภาพ

    กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา

    มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

    หมายเลขโทรศัพท์ 0 55961444 – 6

    1.2( # ข้อมูลที่ติดต่อทาง e-mail E-mail: [email protected]

    mailto:[email protected]