research (2)

62
บทที่ 1 บทนํ ความเปนมาและความสํ าคัญของปญหา ระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในความรับผิดชอบของ กระทรวงสาธารณสุข ไดเริ่มมีการจัดรูปแบบและขอบขายของงานอยางเปนระบบ เพื่อจัดหาขอมูลและ ขาวสารใหแกหนวยงานตาง ใชในการวางแผน การควบคุม กํ ากับและการประเมินผลงาน โดยเริ ่มจาก การรวบรวมสถิติตัวเลขตาง ของกองวิชาการกรมตาง ในกระทรวงสาธารณสุข กอนที่จะมีการจัด ตั้งระบบนี้ขึ้น ขอมูลตาง ที่รวบรวมจากระดับจังหวัดและสงไปยังกองที่เกี่ยวของ และรับผิดชอบตอ งานนั ้น โดยตรงเพื ่อรวบรวมเปนตัวเลขสถิติระดับประเทศและผู บริหารก็จะสอบถามขอมูลเฉพาะ เรื ่องนั ้น ไดจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั ้น จังหวัดจึงยากที่จะนํ าขอมูลเหลานั้นไปใชใหเกิด ประโยชนแกจังหวัดเองได ประกอบกับในสมัยนั้นการกํ าหนดแนวทางการปฏิบัติงานและการบริหาร งาน ตลอดจนการติดตามประเมินผล จะกระทํ าโดยกองและกรมในสวนกลางเสียเปนสวนใหญ และอาจ จะมีการปอนขอมูลกลับไปจังหวัดเพื่อทราบในบางหนวยงาน และบางประเภทเทานั้น ในแผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที่ 4 (..2520-2524) คณะบริหารงานสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ไดเล็งเห็นความจํ าเปนที่จะใหสวนราชการที่รับผิดชอบในสวนภูมิภาคและใน กรุงเทพมหานคร นาจะไดนํ าขอมูลไปใชวางแผนงาน การควบคุมกํ ากับงาน และประเมินผลงานของตน เองไดแลว เนื ่องจากประชากรในประเทศไทยมีแนวโนมที ่จะเพิ ่มขึ ้นเรื ่อย ถายังใชระบบเดิมอยู เกรง วาจะไมสามารถติดตามผลการปฏิบัติงานบริการสาธารณสุขไดครอบคลุมทั้งประเทศ และจะเปนการ สูญเสียทรัพยากรโดยไมคุ มคา ดังนั ้น ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 จึงไดมีการเตรียมการพัฒนาบุคลากรทุก ระดับใหมีความรู ความสามารถในการวางแผนงาน กํ าหนดขั ้นตอนการปฏิบัติงาน วิเคราะหปญหาการ ปฏิบัติงาน และศึกษาแนวทางในการแกปญหา โดยมีการนํ าขอมูลไปใชประโยชนใหไดทุกขั้นตอน จากการติดตามผลการฝกอบรม ปรากฏวาผู รับผิดชอบในการบริหารงานหนวยงานระดับตาง สวนใหญยอมรับวา ในการปฏิบัติจัดทํ าแผนและบริหารงานตาง ตลอดจนการควบคุมกํ ากับงานและ ประเมินผลของงานใด นั ้น มีความจํ าเปนตองอาศัยขอมูลสถิติอยู เปนอันมาก เพื่อเปนหลักเกณฑใน การตัดสินใจ บริหารงานสาธารณสุขทุกขั้นตอนโดยเริ่มตั้งแตการวางแผนงานสาธารณสุข การควบคุม กํ ากับงาน และประเมินผลงานสาธารณสุขทุกประเภท แตขอมูลเหลานี้การที่จะไดมาซึ่งขอมูลตาง เปนสิ่งที่ยากตอการปฏิบัติ เพราะขอมูลอยูกระจัดกระจายตามหนวยงานตาง และมีขอบกพรองหลาย อยาง เชน ไมอาจบงชี้ถึงสภาพความเปนจริง หรือไมอาจเชื ่อถือได เพราะมีความไมครบถวนไมถูกตอง และการรวบรวมสงก็ไมสมํ่ าเสมอ และบางทีก็ลาชาไมทันตอเหตุการณ กระทรวงสาธารณสุขจึงเห็น ความสํ าคัญในการที่จะปรับปรุงและจัดระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข รวมทั้งกํ าหนดรูปแบบ และวิธี

Upload: redzack

Post on 29-Nov-2014

82 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: Research (2)

บทที่ 1บทนํ า

ความเปนมาและความสํ าคัญของปญหาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในความรับผิดชอบของ

กระทรวงสาธารณสุข ไดเริ่มมีการจัดรูปแบบและขอบขายของงานอยางเปนระบบ เพื่อจัดหาขอมูลและขาวสารใหแกหนวยงานตาง ๆ ใชในการวางแผน การควบคุม กํ ากับและการประเมินผลงาน โดยเร่ิมจากการรวบรวมสถิติตัวเลขตาง ๆ ของกองวิชาการกรมตาง ๆ ในกระทรวงสาธารณสุข กอนที่จะมีการจัดตั้งระบบนี้ขึ้น ขอมูลตาง ๆ ที่รวบรวมจากระดับจังหวัดและสงไปยังกองที่เกี่ยวของ และรับผิดชอบตองานน้ัน ๆ โดยตรงเพ่ือรวบรวมเปนตัวเลขสถิติระดับประเทศและผูบริหารก็จะสอบถามขอมูลเฉพาะเร่ืองน้ัน ๆ ไดจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังน้ัน จังหวัดจึงยากที่จะนํ าขอมูลเหลานั้นไปใชใหเกิดประโยชนแกจังหวัดเองได ประกอบกับในสมัยนั้นการกํ าหนดแนวทางการปฏิบัติงานและการบริหารงาน ตลอดจนการติดตามประเมินผล จะกระทํ าโดยกองและกรมในสวนกลางเสียเปนสวนใหญ และอาจจะมีการปอนขอมูลกลับไปจังหวัดเพื่อทราบในบางหนวยงาน และบางประเภทเทานั้น

ในแผนพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) คณะบริหารงานสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข ไดเล็งเห็นความจํ าเปนที่จะใหสวนราชการที่รับผิดชอบในสวนภูมิภาคและในกรุงเทพมหานคร นาจะไดนํ าขอมูลไปใชวางแผนงาน การควบคุมกํ ากับงาน และประเมินผลงานของตนเองไดแลว เน่ืองจากประชากรในประเทศไทยมีแนวโนมท่ีจะเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ถายังใชระบบเดิมอยู เกรงวาจะไมสามารถติดตามผลการปฏิบัติงานบริการสาธารณสุขไดครอบคลุมทั ้งประเทศ และจะเปนการสูญเสียทรัพยากรโดยไมคุมคา ดังน้ัน ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 จึงไดมีการเตรียมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรู ความสามารถในการวางแผนงาน กํ าหนดข้ันตอนการปฏิบัติงาน วิเคราะหปญหาการปฏิบัติงาน และศึกษาแนวทางในการแกปญหา โดยมกีารนํ าขอมูลไปใชประโยชนใหไดทุกขั้นตอน

จากการติดตามผลการฝกอบรม ปรากฏวาผูรับผิดชอบในการบริหารงานหนวยงานระดับตาง ๆสวนใหญยอมรับวา ในการปฏิบัติจัดทํ าแผนและบริหารงานตาง ๆ ตลอดจนการควบคุมกํ ากับงานและประเมินผลของงานใด ๆ น้ัน มีความจํ าเปนตองอาศัยขอมูลสถิติอยูเปนอันมาก เพื่อเปนหลักเกณฑในการตัดสินใจ บริหารงานสาธารณสุขทุกขั้นตอนโดยเริ่มตั้งแตการวางแผนงานสาธารณสุข การควบคุมกํ ากับงาน และประเมินผลงานสาธารณสุขทุกประเภท แตขอมูลเหลานี้การที่จะไดมาซึ่งขอมูลตาง ๆเปนสิ่งที่ยากตอการปฏิบัติ เพราะขอมูลอยูกระจัดกระจายตามหนวยงานตาง ๆ และมีขอบกพรองหลายอยาง เชน ไมอาจบงชี้ถึงสภาพความเปนจริง หรือไมอาจเช่ือถือได เพราะมีความไมครบถวนไมถูกตองและการรวบรวมสงก็ไมสมํ่ าเสมอ และบางทีก็ลาชาไมทันตอเหตุการณ กระทรวงสาธารณสุขจึงเห็นความสํ าคัญในการที่จะปรับปรุงและจัดระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข รวมทั้งกํ าหนดรูปแบบ และวิธี

Page 2: Research (2)

2

ปฏิบัติในดานขอมูลขาวสารสาธารณสุขโดยมีการพัฒนาในเร่ืองการวางแผนจัดระบบบริหารขอมูล ขาวสารสาธารณสุข ซึ่งไดทํ าเสร็จสิ้นไปแลว แตความตองการขอมูลขาวสารสาธารณสุขเพื่อสนองความตองการดังกลาวไดเพิ่มพูนขึ้นตลอดเวลา สวนใหญเปนขอมูลที่สํ าคัญในการกํ าหนดปญหาสาธารณสุขของประเทศในปจจุบันทั้งสิ้น จากการพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร รายงานที่ดํ าเนินการสวนใหญเปนรายงานกิจกรรมการใหบริการสาธารณสุขในสถานพยาบาลของรัฐเทานั้น มิไดบอกถึงสถานะสุขภาพของประชาชนวาดีขึ้นอยางไร และมีปญหาอยูที่ไหนจะแกปญหาอยางไร อันเปนสวนสํ าคัญที่ทํ าใหแนวนโยบายสาธารณสุขประสบอุปสรรคสํ าคัญ ยากที่จะบรรลุอุดมการณ “สุขภาพดีถวนหนาในป 2543” ถาไมสามารถคลี่คลายและปรับเปลี่ยนระบบขอมูลขาวสารใหตอบสนองตอการดํ าเนินการดังกลาวไดระบบการจัดการขอมูลขาวสารไมสามารถสนองตอความตองการของระดับจังหวัดได แตปรากฏวาเจาหนาที่สาธารณสุขในระดับจังหวัดลงไปทุกระดับ กลับตองมีภาระในการทํ ารายงานมากมาย ดังจะเห็นไดจากผลการศึกษาของนายแพทยปรีชา ดีสวัสด์ิ และคณะ ไดวิเคราะหระบบงานของเจาหนาที่สาธารณสุขระดับตํ าบล พบวาภาระในการจัดทํ ารายงานของเจาหนาที่สาธารณสุขระดับตํ าบลตองเสียเวลาถึง ปละ 84.7 วัน ซึ่งเปนเวลาที่ใชในการทํ างานเร็วกวาระดับเฉลี่ยที่เจาหนาที่สถานีอนามัยระดับตํ าบลทุกคนในสถานีอนามัยหน่ึงแหง และใชเวลาถึง 252 วัน ในการทํ างานชากวาระดับเฉลี่ย ท่ีเจาหนาท่ีประจํ าสถานีอนามัยระดับตํ าบลทุกคนในสถานีอนามัยหนึ่งแหง จะเห็นไดวา เจาหนาที่ตองสูญเสียเวลาไปเกือบครึ่งปในการทํ ารายงาน ซึ่งเปนภาระที่หนักเกินไปสํ าหรับหนวยงานในระดับภูมิภาค และยังสงผลใหขาดกํ าลังคน ในการจัดบริการสาธารณสุขในพื้นที่ที่รับผิดชอบและจากการศึกษา เร่ือง การพัฒนาระบบขอมูลขาวสารในงานสาธารณสุขมูลฐานเพือ่การบริหารจัดการของจังหวัดศรีษะเกษ (นพ.นรังสันต พีรกิจ) พบวาเจาหนาท่ีแตละระดับมีการจัดทํ าระเบียนรายงาน ดังน้ี ระดับตํ าบล เจาหนาที่สาธารณสุขของทุกสถานีอนามัย ตองจัดทํ าระเบียนและรายงานโดยเฉลี่ย70-90 ฉบับตอเดือน ซ่ึงเปนภาระหนัก โดยเฉพาะสถานีอนามัยที่มีเจาหนาที่สาธารณสุขเพียง 1 คน ระดับอํ าเภอ ภาระการจัดทํ าระเบียนรายงานในระดับอํ าเภอจะนอยกวาสถานีอนามัย แตจะมีภาระในการจัดทํ า และรวบรวมรายงานมากกวาระดับจังหวัด โดยมีการรวบรวมและจัดสงรายงานเดือนละประมาณ 29 - 34 ฉบับ ระดับจงัหวัด มีการรวบรวมรายงานทั้งสิ้น 23 ฉบับ โดยแยกเปนรายงานท่ีตองสงทุกเดือน 12ฉบับ และอีกสวนหนึ่งตองสงทุก 3 หรือ 4 หรือ 6 เดือน ผูใชขอมูลในระดับจังหวัด สวนใหญคือ ผูบริหารและหัวหนาฝาย สวนหัวหนางานไดใชประโยชนของขอมูลขาวสารนอย การใชประโยชนในระดับจังหวัดยังมีขอจํ ากัด เพราะขอมูลขาวสารที่มีอยู ยังไมสามารถบงชี้สถานะสุขภาพของประชาชนอยางครอบคลุม นอกจากนี้ขอมูลบางประการยังมีขอจํ ากัดดานความนาเชื่อถือ จึงมีการนํ ามาใชนอย จากระบบรายงานกิจกรรมของกระทรวงสาธารณสุข (รง.4) ซึ่งรายงานการใหบริการของสถานบริการ

Page 3: Research (2)

3

เทาน้ัน แตผลงานสวนหนึ่ง มีประชากรในพ้ืนท่ีรับผิดชอบไปรับบริการจากสถานบริการแหงอ่ืนหรือภาคเอกชน ไมไดนับเปนผลงาน จึงไมสามารถประเมินสถานการณไดจริง การจัดบริการสาธารณสุขในเขตเมืองยังไมสามารถทราบประชากรเปาหมายที่ชัดเจน และมีการเคลื่อนยายของประชากรที่รวดเร็วระบบระเบียนที่มีอยูไมตอบสนองตอการประเมินสภาพงานสาธารณสุขในพืน้ท่ีรับผิดชอบได

การดํ าเนินงานพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง เร่ิมดํ าเนินการพัฒนาระบบขอมูลใชสํ าหรับจังหวัดตรัง อยางชัดเจนต้ังแตป 2530 เปนตนมา ดวยความตองการประเมินผลความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน สถานะสุขภาพตามตัวชี้วัด การดํ าเนินงานเพ่ือบรรลุจุดหมายสุขภาพดีถวนหนาโดยใหมีการจัดทํ าบัญชีทะเบียนกลุมเปาหมายที่สํ าคัญ 5-6 ชนิด เชน ทะเบียนเด็ก 0-6 ป ทะเบียนอนามัยมารดา ทะเบียนคูสมรสวัยเจริญพันธุ, ทะเบียนสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดลอม, ทะเบียนอาสาสมัครสาธารณสุข และบัญชีสรุปผลการดํ าเนินงานของสถานบริการ ทะเบียนตาง ๆใชบันทึกประชากรกลุมเปาหมายและกิจกรรมที่กลุมเปาหมายจะตองไดรับทั้งที่รับบริการจากภาครัฐและเอกชน เพื่อใหเห็นภาพการไดรับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน และสถานะสุขภาพของประชากรในเขตรับผิดชอบได จากการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารที่ผานมา เปนระยะเวลา 7 ป ยังไมประสบผลสํ าเร็จเทาท่ีควรเนื่องจากพัฒนาเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับตัวระเบียนเปนหลัก ขาดการพัฒนาทักษะของคนจัดเก็บและผูใชขอมูลขาดการตรวจสอบ วิเคราะหและนํ ามาใชอยางจริงจัง และปญหาอีกอยางหนึ่ง สวนกลางยังมีความจํ าเปนท่ีตองใหรายงานกิจกรรมตามความตองการของสวนกลาง โดยไมไดมีการวางแผนรวมกันวาในพื้นที่จะใชประโยชนไดหรือไมทํ าใหการจัดทํ าขอมูลของจังหวัดตรัง แบงออกเปน 2 ชุด คือ ชุดที่หน่ึง เพ่ือจัดสงใหกรม กองและศูนยวิชาการตาง ๆ และอีกชุดหนึ่งเปนขอมูลที่ใชในการบริหารจัดการพัฒนางานสาธารณสุขภายในจังหวัด จะเห็นวาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง มีความซํ้ าซอนอยูมากและจากการประเมินระบบขอมูลขาวสาร โดยคณะพัฒนาระบบขอมูลขาวสารของสวนกลาง โดย นายแพทยมงคล ณ สงขลา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขและคณะ ไดไปสังเกตการณประเมินระบบขอมูลขาวสารของจังหวัดตรัง ระหวางวันท่ี 21-22 มกราคม 2538 ไดใหความเห็นตอลักษณะระบบขอมูล ดังน้ี

1. การเฝาระวังทางระบาดวิทยายังตอบสนองตออุบัติการณโรคไดไมพอ 2. ขาดขอมูลเชิงเปรียบเทียบซึ่งจํ าเปนสํ าหรับการบริหาร

3. ขาดกลไกปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน สุมสํ ารวจพบความคลาดเคลื่อนระหวางขอมูลในทะเบียนและสถานการณในพื้นที่

4. ไมสามารถใชขอมูลเปนเครื่องมือเพื่อใหบริการแกกลุมเปาหมายไดเทาท่ีควร5. บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)จากการสุมถามชาวบานยังรับรูบทบาท/คํ าแนะนํ า

Page 4: Research (2)

4

จาก อสม.ไมมากนัก แตจากการสัมภาษณ อสม.หมูบานหนึ่งนับวาสวนใหญมีศักยภาพ กระตือรือรนหากแตบทบาทท่ีไดรับอาจยังไมชัดเจนหรือไมมีเคร่ืองมือชวยใหดํ าเนินบทบาทนั้นไดเทาที่ควร จากสภาพปญหาดังกลาว สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง มีความตระหนัก ที่จะพัฒนาระบบขอมูลขาวสารอยางตอเน่ือง จึงไดศึกษาการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข โดยการศึกษารูปแบบที่เหมาะสมกับจังหวัดตรังขึ้นซึ่งใหความสํ าคัญ 4 สวน ไดแก บุคลากร ระบบทะเบียน การใชไมโครคอมพิวเตอร และการบริหารระบบขอมูล โดยใชการบริหารจัดการภายในระดับจังหวัดลงไปประกอบกับการกระจายอํ านาจทางดานการจัดการขอมูลขาวสาร จึงสามารถลดความซํ้ าซอนการจัดทํ าระเบียบรายงานของสถานบริการลงไดระบบขอมูลขาวสารในแตละระดับใหมีเทาที่จํ าเปนท่ีตองใชของหนวยงานน้ัน ๆ เปนหลัก สวนความตองการขอมูลขาวสารอยางอ่ืนน้ัน จะดํ าเนินการในลักษณะของการสํ ารวจหรือการวิจัยแทน

วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อใหหนวยงานและองคกรทางสาธารณสุขในระดับตาง ๆ ของจังหวัดตรัง มีระบบขอมูลขาวสารท่ีใชในการวางแผน บริหารจัดการ ติดตาม ควบคุมกํ ากับ และประเมินผลการพัฒนาสถานะสุขภาพของประชาชน ไดอยางเหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยูอยางจํ ากัด

วัตถุประสงคเฉพาะ1. พัฒนาระบบทะเบียนรายงาน1.1 เพื่อปรับปรุงคุณภาพขอมูลในเขตพื้นที่เขตชนบทใหตรงกับสภาพความเปนจริงเปน

ปจจุบันครบถวน และความครอบคลุมแจกแจงเชิงเปรียบเทียบได โดยประเมินเทียบผลกับการสุมสํ ารวจท้ังน้ีโดยยึดถือทะเบียนปจจุบันของจังหวัดตรัง เปนหลัก 1.2 เพื่อพัฒนาระบบทะเบียน การสํ ารวจ หรือระบบอ่ืนสํ าหรับใชประโยชนในการติดตามประเมินผล สงเสริมการใหบริการแกกลุมประชากรที่ขาดบริการสาธารณสุขกรณีเขตชุมชนเมือง และสามารถเชื่อมโยงไดกับระบบทะเบียนเขตชนบท

1.3 เพื่อพัฒนาระบบสํ ารวจ (community base survey) เพ่ือจัดเก็บขอมูลท่ีจํ าเปนและเพื่อการควบคุมคุณภาพขอมูลจากระบบทะเบียน

1.4 เพื่อพัฒนาระบบสงตอ-ประสานขอมูลจาก registry อาทิ งานเวชระเบียนของโรงพยาบาลทะเบียนจากสูติบัตร มรณะบัตรเพ่ือปรับขอมูลใหเปนปจจุบัน และทันการณสํ าหรับใหบริการแกกลุมเปาหมายในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

Page 5: Research (2)

5

2. พัฒนาและปรับบทบาทของบุคลากร2.1 เพ่ือพัฒนาความรู ทักษะการวิเคราะห แปลผล นํ าเสนอขอมูลแกเจาหนาท่ีระดับ

จังหวัด ระดับอํ าเภอ และระดับตํ าบลจนสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตองและสมํ่ าเสมอ3. พัฒนาการใช micro computer การพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ3.1 เพ่ือนํ าระบบ micro computer เขามาประยุกตใชจัดการขอมูลระดับจังหวัด3.2 เพ่ือทดลองนํ าระบบ micro computer เขามาประยุกตใชจัดการขอมูลระดับอํ าเภอโดยเนน

หนักดานคุณภาพและประเภทการใชประโยชน3.3 เพื่อก ําหนดรูปแบบที่เหมาะสม ไดแก ลักษณะงาน ขีดความสามารถ จํ านวนการกระจาย

ระบบบริหารการใช micro computer ใชจัดการขอมูลระดับอํ าเภอ4. พัฒนาการบริหารระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข

4.1 เพ่ือเสนอรูปแบบขอมูลขาวสารในการตัดสินใจ วางแผน การบริหารจัดการ การควบคุมกํ ากับ และการประเมินผลงานสาธารณสุข ในระดับตํ าบล ระดับอํ าเภอ และระดับจังหวัด

สมมติฐานถามีบุคลากรเขาใจความสํ าคัญของขอมูล มีเคร่ืองมือการจัดเก็บท่ีดี และใชเทคโนโลยีสาร

สนเทศเขาชวย รวมทั้งการบริหารระบบขอมูลขาวสารที่มีประสิทธิภาพ ก็จะทํ าใหมีการใชระบบขอมูลขาวสารเพื่อการตัดสินใจในการพัฒนาสถานะสุขภาพของประชาชน ไดอยางเหมาะสม

กรอบแนวคิดในการวิจัย

บุคลากร

เทคโนโลยสีารสนเทศ

การใชขอมูลขาวสารเพ่ือการตัดสินใจ

การบริหารระบบขอมูล

ทะเบียน/รายงาน

Page 6: Research (2)

6

ขอบเขตของการวิจัยการวิจัยคร้ังน้ี เปนการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร โดยเนนหนักในพ้ืนท่ีในเขตเมือง

1 อํ าเภอ คือ อํ าเภอกันตัง เขตชนบท 2 อํ าเภอ คือ อํ าเภอปะเหลียนและอํ าเภอวังวิเศษ สํ าหรับในระดับตํ าบล ครอบคลุมพื้นที่ทุกสถานบริการในอํ าเภอดังกลาว เวลาในการศึกษา 16 เดือน โดยมีการพัฒนาระบบขอมูลของงานอนามัยแมและเด็ก เปนรูปแบบในการประเมินความสํ าเร็จของโครงการ ทั้งนี้การศึกษาไดใหความสํ าคัญ 3 สวน คือผูวิจัย (researchers) ผูถูกพัฒนา (actors) และผูบริหาร(administrators) ทั้งในระดับจังหวัด อํ าเภอ และตํ าบล ตัวแปรในการศึกษาประกอบดวยบุคลากร ระบบทะเบียนและรายงาน เทคโนโลยสีารสนเทศ การบริหารระบบขอมูล และการใชขอมูลขาวสารสาธารณสุขเพื่อการตัดสินใจในการวางแผนบริหารจัดการ การควบคุมกํ ากับ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาสถานะสุขภาพของประชาชนตอไป

ผลท่ีคาดวาจะไดรับระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรังทุกระดับสามารถตอบสนองตอการวางแผน ติดตาม

กํ ากับ ประเมินผล และการบริการสาธารณสุขที่รวดเร็ว ทุกตอง ทันเวลา ลดข้ันตอนในการจัดทํ าระเบียนรายงานของเจาหนาท่ี อันจะสงผลใหการพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดตรัง มีความกาวหนาและพัฒนาอยางถูกทิศทางตอไป

ขอตกลงเบื้องตนการศึกษาโครงการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง เปนการศึกษาวิจัยเชิง

ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยศึกษาในพ้ืนท่ีท่ีมีความเปนเมือง (เขตเทศบาล) และพ้ืนท่ีท่ีมีความเปนชนบท (ไมมีเขตเทศบาล) ของจังหวัดตรัง โดยไมทํ าการศึกษาในอํ าเภอเมืองตรัง เน่ืองจากในเขตเทศบาลเมืองตรัง มีการเคล่ือนยายของประชากรสูง และการจัดบริการสาธารณสุขยังไมสามารถประสานงานเก่ียวกับระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขไดดีเทาท่ีควร อยางไรก็ตาม เม่ือไดรูปแบบการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารของจังหวัดตรังแลว จะนํ าไปทดลองใชในเขตเมืองดวย

Page 7: Research (2)

7

นิยามศัพทเฉพาะ การบริหารระบบขอมูล หมายถึง การนํ าขอมูลมาใชในการตัดสินใจ เพ่ือวางแผน ควบคุมกํ ากับ และประเมินผลงานสาธารณสุข

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม หมายถึง การวิจัยซึ่งมีการรวมประสานกันระหวางผูที่ประสบปญหา กับ ผูวิจัย โดยมีสวนรวมกันในกระบวนการวิจัย ทํ าใหผูประสบปญหาในงานวิจัย ไดเรียนรูและนํ าประโยชนจากการศึกษา มาใชในการพัฒนากิจกรรมตอไปในการวินิจฉัยและแกปญหาการดํ าเนินงานรวมกัน

บุคลากร หมายถึง เจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการวิจัยระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรังประกอบดวย 1. ผูวิจัย (Reserchers) คือคณะทํ างานพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง ซึ่งประกอบดวยตัวแทนของนักวิชาการฝายตาง ๆในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ตัวแทนของนักวิชาการในสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ โรงพยาบาลชุมชน และตัวแทนของเจาหนาท่ีประจํ าสถานีอนามัย 2. ผูถูกพัฒนา (Actors) คือบุคลากรที่เกี่ยวของกับระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ต้ังแตการจัดเกบ็ การรวบรวม การตรวจสอบ การประมวล การวิเคราะห และการนํ าเสนอเพ่ือประกอบการตัดสินใจ

ระดับจังหวัด คือ หัวหนางานของฝายตาง ๆในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ระดับอํ าเภอ คือ หัวหนางานในสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ หัวหนาฝายของ

โรงพยาบาลชุมชน ระดับตํ าบล คือ เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบงานขอมูลขาวสารประจํ าสถานีอนามัย

3. ผูบริหาร (administrators) ผูที่มีบทบาทในการนํ าขอมูลไปใชประกอบการตัดสินใจโดยตรงระดับจังหวัด คือ นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด ผูเชี่ยวชาญ และหัวหนาฝายตาง ๆ ในสํ านัก

งานสาธารณสุขจังหวัด ระดับอํ าเภอ คือ สาธารณสุขอํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอ ผูอํ านวยการโรงพยาบาลชุมชน ระดับตํ าบล คือ หัวหนาสถานีอนามัย เทคโนโลยสีารสนเทศ หมายถึง การนํ าระบบคอมพิวเตอรมาใชในการบันทึก ตรวจสอบประมวลผล วิเคราะห และนํ าเสนอขอมูลขาวสาร เพ่ือการตัดสินใจในการบริหารจัดการ ควบคุม กํ ากับและประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข

การใชขอมูลเพื่อการตัดสินใจ หมายถึง การนํ าขอมูลที่ผานการวิเคราะหและแปรผลมาใชเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ ควบคุมกํ ากับ และประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข

ระบบระเบียนและรายงาน หมายถึง ระบบระเบียนและรายงานที่ตองใชในการดํ าเนินงานพัฒนาสาธารณสุขของจังหวัดตรัง แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

Page 8: Research (2)

8

1. ระบบทะเบียนและรายงานที่มีอยูเดิม หมายถึงทะเบียนและรายงาน บัตรอนามัยครอบครัวแบบบัญชี ตรัง 1-6 ไดแก

- แบบตรัง 1 หมายถึง ระเบียนการใหบริการเด็ก 0-6 ป- แบบตรัง 2 หมายถึง ระเบียนอนามัยมารดา- แบบตรัง 3 หมายถึง ระเบียนสมรสวัยเจริญพันธุที่อยูกินกับสามี (15-44 ป )- แบบตรัง 4 หมายถึง ระเบียนงานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดลอม- แบบตรัง 5 หมายถึง ระเบียนการประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุขประจํ าป- แบบตรัง 6 หมายถึง ระเบียนอาสาสมัครสาธารณสุข2. ระบบทะเบียนและรายงานใหม หมายถึง ทะเบียนรายงานที่ไดจากการพัฒนาปรับปรุง

ทะเบียนรายงานเดิมที่มีความซํ้ าซอน และทะเบียนที่จะตองเพิ่มเติมในสิ่งที่จํ าเปน เพ่ือการพัฒนาสถานะสุขภาพของประชาชน

Page 9: Research (2)

บทที่ 2ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การใหบริการสาธารณสุขแกประชาชนในทุกเรื่อง จํ าเปนที่จะตองกระทํ าอยางตอเน่ือง หรือตองมีขอมูลประวัติของผูรับบริการ สํ าหรับบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ประกอบการวินิจฉัยอยูเสมอ นอกจากน้ันในการบริหารงานสาธารณสุข เร่ิมต้ังแตการวิเคราะหสภาพปญหา การวางแผนตามลํ าดับ ไปจนถึงการประเมินผล ขอมูลขาวสารสาธารณสุข นับวามีบทบาทสํ าคัญทุกข้ันตอน (สํ านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 1:2539)

1. วิวัฒนาการของงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขวิวัฒนาการของงานขอมูลขาวสาร เปนวิวัฒนาการเพื่อใหไดขอมูลขาวสารสาธารณสุข ที่สนอง

ความตองการของผูใชในขณะนั้นไดการปฏิบัติงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขในยุคแรก คือกอนแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (กอน พ.ศ.2520)เปนการจัดทํ าขอมูลที่หนวยงานระดับกอง ขอใหหนวยงานบริการสาธารณสุขรายงานโดยตรง

ยังไมมีโครงสรางขององคกรผูรับผิดชอบงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขในระดับตาง ๆ เชน กองสุขภาพขอขอมูลโดยตรงมายังสถานีอนามัยชั้นสอง สํ านักงานผดุงครรภ เปนตน ทํ าใหหนวยงานสาธารณสุขในสวนภูมิภาคไดรับคํ ารองขอจากสวนกลางหลายหนวยงาน

ระยะแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524)กระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงปญหาการดํ าเนินงานขอมูลขาวสารสาธารณสุข จึงไดจัดต้ัง

ศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขกลางขึ้นในสํ านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปนการภายในประกอบดวย กองระบาดวิทยา กองแผนงานสาธารณสุข และกองสถิติสาธารณสุข รวมกันรับผิดชอบงานของศูนย

ศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขกลาง ทํ าหนาที่เปนสื่อกลางสงผานขอมูลขาวสารระหวางสวนกลางกับสวนภูมิภาค เม่ือกรม กอง หรือหนวยงานใดตองการขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่มีแหลงขอมูลอยูในสวนภูมิภาค หนวยงานนั้นถูกขอรองใหติดตอกับศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขกลางโดยตรงศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขกลางไมมีขอมูลดังกลาว หนวยงานที่ตองการขอมูลขาวสารสาธารณสุขก็จะติดตอไปยังสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งมีฝายแผนงานและประเมินผลทํ าหนาที่เปนศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัด เพื่อเก็บขอมูลยังแหลงขอมูลปฐมภูมิตามลํ าดับ แลวสงใหศูนยขอมูลขาวสารสาธารณสุขกลางเพื่อดํ าเนินการตอไป

Page 10: Research (2)

10

ในชวงของแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) ประเทศไทยไดรับการยกยองจากองคการอนามัยโลกวา มีการวางแผนงานสาธารณสุขไดสมบูรณแบบที่สุด ในชวงน้ีเองท่ีแผนงาน/โครงการสาธารณสขุมีจํ านวนเพิ่มมากกวาชวงใด ๆ ที่ผานมา การจัดเก็บขอมูลขาวสารเปลี่ยนโฉมหนาไป จากการจัดเก็บขอมูลเพียงบางรายการในงานสาธารณสุขหนึ่ง ๆ ทวีรายการเพ่ิมข้ึนตามจํ านวนแผนงานโครงการที่กลาวไวในเปาหมาย งานขอมูลขาวสารจึงมีปริมาณเพิ่มขึ้นดวย และกลับกลายเปนปญหาอีกรูปแบบหนึ่ง กลาวคือ

1) ความเชื่อถือของขอมูลลดลง (unrecliable Data) เม่ือมีการสงขอมูลเร่ืองเดียวกันหลาย ๆ คร้ัง แตตางกรรมวิธี ตางวาระ เชน ผูดํ าเนินการตาง

บุคคล สงขอมูลตางเวลา ขอมูลท่ีหนวยงานท่ีขอไดรับจะเปนตัวเลขท่ีอาจคลาดเคล่ือนได คร้ันเม่ือตัวเลขเหลานั้นไปปรากฏพรอมกันในโอกาสใดโอกาสหนึ่ง จะเกิดความโตแยงกันในความถูกตองของขอมูล

2) ภาระของเจาหนาท่ีเพ่ิมข้ึน (abandon Worklood) ไดมีการวิเคราะหถึงภาระของเจาหนาที่สาธารณสุข ในระดับตํ าบล เชน สถานีอนามัย (เม่ือ

ประมาณ พ.ศ.2530) ซึ่งมีอัตรากํ าลังเฉลี่ยทั้งประเทศแหงละประมาณ 20 คน เจาหนาที่จะตองใชเวลาทั้งหมดในการกรอก รวบรวม และรายงานขอมูล รอยละ 60 ของเวลาราชการทั้งหมด หมายความวาตองใชเจาหนาท่ี 1 คน เพ่ือทํ างานดานขอมูลขาวสารสาธารณสุข อยางไรก็ตามตองถือวาเปนความจํ าเปนเพราะการบันทึกบริการที่ใหแกประชาชน เปนข้ันตอนหน่ึงในการใหบริการแกประชาชน ซ่ึงเม่ือรวมเวลาท่ีตองจัดทํ ารายงานซํ้ าซอนแลว ภาระเจาหนาที่ในสวนนี้นับวามากเกินสมควร

ระยะแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529)ปริมาณงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่เกิดขึ้นปลายชวงแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4

(พ.ศ.2520-2524) กระทบโดยตรงตอการบริหารจัดการขอมูลขาวสารสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขไดเห็นชอบกับขอเสนอของที่ปรึกษาระยะสั้นขององคการอนามัยโลก ที่จะนํ าเอาหลักการ “ขอมูลขาวสารเพือ่การบริหารงานสาธารณสุข” หรือ “Health Management Information System” (HMIS) เขามาแกปญหา

ขอมูลขาวสารเพือ่การบริหาร อาศัยหลักปรัชญาวา ผูบริหารที่มีระดับตางกันยอมมีบทบาทในการวินิจฉัยสั่งการแตกตางกัน โดยเหตุน้ีขอมูลขาวสารของผูบริหารระดับตน จึงตองมีรายละเอียดมากและขอมูลขาวสารเหลานั้นจะถูกเปลี่ยนรูปใหมีลักษณะรวบยอด เปนขอมูลขาวสารสรุป (executivesummary) ที่ผูบริหารระดับถัดมาตามลํ าดับ นํ าไปใชไดทันที

เนื่องจากงานสาธารณสุขเปนงานที่มีผลตอประชาชน จึงไดแบงผูบริหารออกเปน 4 ระดับแตละระดับไดรับขอมูลขาวสารลักษณะแตกตางกัน ดังน้ี

Page 11: Research (2)

11

แผนภาพแนวคดิขอมูลขาวสารเพือ่การบริหารงานสาธารณสุข

1) ระดับตํ าบล จะไดรับขอมูลขาวสารที่แสดงถึงกิจกรรม (activity) หรือกระบวนการปฏิบัติ(performance) เพราะผูบริหารระดับตนจะตองใชขอมูลติดตามการใหบริการใหครบตามหลักวิชาการเชน การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การใหวัคซีนคอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก 3 เข็ม หางกันตามกํ าหนดผูบริหารระดับน้ีจึงตองมีขอมูลวา ผูใดไดรับวัคซีนเข็มใดไปเมื่อวันที่เทาใด และใชขอมูลนั้นติดตามจนครบ 3 เข็ม ครอบคลุมกลุมเปาหมาย

2) ระดับอํ าเภอ จะไดรับขอมูลขาวสารที่แสดงถึงความครอบคลุม (coverage) เพ่ือบริหารจัดการใหบรรลุตามแผนปฏิบัติการ เชน การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคครอบคลุมกลุมเปาหมายที่วางไว ถาไมครอบคลุมสามารถทราบไดวามีอีกเทาไรและอยูที่ไหน

3) ระดับจังหวัด จะไดรับขอมูลขาวสารที่แสดงถึงการลดลงของปญหา (problem reduction)กรณีการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค จังหวัดควรจะมีขอมูลจํ านวนผูปวยตายดวยโรคคอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก

4) ระดับสวนกลาง จะไดรับขอมูลขาวสารแสดงถึงผลกระทบ (impact) หรือ ผลลัพธ (effect)ของการปฏิบัติงาน เพื่อทราบผลสัมฤทธิ์ขั้นสุดทายของงานสาธารณสุขทั้งมวล

ระยะแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534)ยุคนี้เปนยุคที่คอมพิวเตอรเขามาแพรหลายในประเทศไทยมากขึ้น และราคาตํ่ าลง ทํ าใหหนวย

งานสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงพยาบาล สามารถใชเงินบํ ารุงจัดหาคอมพิวเตอรขนาดเล็ก (microcomputer) เองได นอกจากน้ันกระทรวงสาธารณสุขก็ไดจัดต้ังงบประมาณจัดหาคอมพิวเตอรสํ าหรับพัฒนาระบบงานใหม ๆ ในโรงพยาบาล เชน LAN (Local Area Network)

การจัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะหขอมูล ไดกาวเขาสูการทํ างานกับเทคโนโลยี คือ คอมพิวเตอรการสรุปขอมูล และการเปลี่ยนรูปขาวสาร เพื่อจัดเตรียมขอมูลใหสอดคลองกับบทบาทของผูบริหารหรือขอมูลขาวสารสาธารณสุขเพื่อการบริหาร ซึ่งไดรับการพัฒนาเปนลํ าดับ

ปริมาณขอมูล

สวนกลางจังหวัดอํ าเภอตํ าบล

ผลกระทบการลดลงของปญหาความครอบคลุมกิจกรรม

Page 12: Research (2)

12

ระยะแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539)ความตองการใชขอมูลขาวสารระดับพื้นที่มีมากขึ้นตามลํ าดับ และแตกตางไปตามสภาพ

แวดลอมและสภาพการบริหารจัดการของแตละจังหวัด รูปแบบมาตรฐานของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่ถูกกํ าหนดโดยสวนกลางแตเดิมมา เร่ิมมีปญหาในการใชประโยชนของพ้ืนท่ี งานขอมูลขาวสารสาธารณสุขจึงไดรับการปรับกลยุทธไปสูการกระจายอํ านาจการบริหารจัดการจากสวนกลางใหสวนภูมิภาค ในลักษณะคอยเปนคอยไป และคาดวาคงจะกระจายอํ านาจไดเต็มท่ีเม่ือส้ินแผนฯ

แมวาจะมีการกระจายอํ านาจการบริหารจัดการขอมูลขาวสารอยางเปนขั้นตอนแลวก็ตาม การบริหารแผนงานโครงการของสวนกลางยงัคงมีอยู ดังน้ันการกระจายอํ านาจจึงควรมีเง่ือนไขบางประการดังน้ี

1. ขอมูลตามความตองการของสวนกลาง ความจํ าเปนของการบริหารงานแผนงานโครงการของสวนกลางยังคงมีอยู ดังน้ัน จังหวัดยังตองรายงานขอมูลขาวสารเทาท่ีจํ าเปน ใหสวนกลางไดทราบเพ่ือบริหารงานระดับชาติ

2. จังหวัดตองวางระบบขอมูลขาวสารท่ีตอเน่ือง ตั้งแตระดับลางสุดจนถึงระดับจังหวัด ซึ่งแสดงใหเห็นวา การจัดเก็บขอมูลขาวสารของจังหวัดไดดํ าเนินการอยางเปนเหตุและผล

3. จังหวัดตองใชคํ านิยามขอมูลขาวสารที่กํ าหนดโดยสวนกลาง เพื่อใหการจัดเก็บขอมูลอยูในมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ

2. ความหมายของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขเพ่ือความเขาใจตรงกันในประเด็นท่ีกํ าลังศึกษา กอนท่ีจะเรียนรูถึงรายละเอียดของระบบขอมูล

ขาวสารสาธารณสุข ไดใหความหมายของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่ใชดังนี้ระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข แยกพิจารณาได 3 กลุมคํ าคือ ระบบ ขอมูลขาวสาร และ

สาธารณสุขระบบ หมายถึง ความสัมพันธขององคประกอบตั้งแต 2 องคประกอบข้ึนไป และความสัมพันธ

น้ันตองแนนอน ชัดเจน ขยายความของความหมายนี้ก็คือ ความแนนอนของความสัมพันธจะตองมีอยางนอยก็ระยะหนึ่งที่ควรจะเปน เชน 1 ป 5 ป (ตามแผนพัฒนา) แลวจึงอนุญาตใหเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ ทั้งนี้เพื่อลดความสับสนของเจาหนาที่ผูปฏิบัติซึ่งมีจํ านวนมาก นอกจากนั้นความสัมพันธจะตองชัดเจนในขนาดท่ีบุคคลท่ีเก่ียวของจะรับรูและนํ าไปปฏิบัติได

ขอมูล (data) หมายถึง ปริมาณท่ีแจงนับได เพื่อประโยชนในการวิเคราะหและประมวลผล แมบางอยางจะมีลักษณะที่แจงนับไมไดอาจตองสรางมาตราพิเศษออกมาใชวัด

Page 13: Research (2)

13

ขาวสาร (Information) หมายถึง ขอมูลที่แปลความแลว โดยนับเปนอัตราหรือเช่ือมโยงกับส่ิงท่ีเราสนใจ เชน จํ านวนผูปวยใน 100 คน เปนขอมูล แตจํ านวนผูปวยใน 100 คน ตอผูปวยนอก 1,000 คนหรือผูปวยใน รอยละ 10 ของผูปวยนอกเปนขาวสาร ผูจัดบริการสาธารณสุขใชในการเตรียมการใหบริการได

อน่ึง ยังมีบางคํ าที่อาจใชในงานขอมูล คือ สารสนเทศหรือสารนิเทศ เปนการสื่อสารที่มีคุณภาพสูงกวาขาวสาร จึงควรหมายถึงขาวสารที่ใชประโยชนไดในทันทีทางใดทางหนึ่ง เชน ผูปวยในรอยละ10 ของผูปวยนอก เปนอัตราท่ีสูงท่ีสุดในรอบ 5 ป ของสถานพยาบาลแหงนี้ ในชวงเวลาเดียวกนั ซึ่งผูบริการควรจะวิเคราะหไดวา การบริการผูปวยนอกไมมีประสิทธิภาพ หรือผูปวยเปนโรครุนแรงมากผิดปกติ เปนตน

สาธารณสุข หมายถึง การสงเสริมสุขภาพ การปองกนัโรค การรักษาพยาบาล และการฟนฟูสภาพ

จากความหมายของคํ าที่ประกอบกันเปนระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข อาจใหความหมายที่สรุปไดวา หมายถึงการบริหารงานขอมูลขาวสารดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาลและฟนฟูสภาพ ที่กํ าหนดหลักเกณฑ วิธีการ ตั้งแตการจัดเก็บจนถึงผูใชอยางประสานสัมพันธเปนเหตุเปนผล และชัดเจน

จากการที่ไดดํ าเนินการขอมูลขาวสารอยางเปนระบบน้ีเอง ทํ าใหการประสานการปฏิบัติกับผูจัดเก็บและผูใชขอมูล เปนไปอยางมีรูปธรรมมากขึ้นกวาเดิม ซึ่งใชประสบการณและความเขาใจของแตละบุคคลเปนหลักในการปฏิบัติงาน

3. องคประกอบของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข ไดพัฒนาอยางเปนระบบและยอมรับ

ในระหวางผูเกี่ยวของ เน่ืองจากเม่ือเร่ิมตนจัดระบบงานขอมูลขาวสารสาธารณสุข ในแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) การปฏิบัติงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขอาศัยความเขาใจของแตละคนตีความเจตนารมณของระบบ ทํ าใหขอสรุปของแตละคนที่ไดแตกตางกัน และเปนความขัดแยงในการปฏิบัติงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขในที่สุด

เพื่อใหระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ในความนึกคิดของผูเกี่ยวของที่เปนนามธรรมใหเปนรูปธรรมมากขึน้ จึงไดมีความคิดที่จะรวบรวมความเปนระบบของขอมูลขาวสารสาธารณสุข แลวจัดทํ าเปนลายลักษณอักษร ภายใตขอตกลงรวมกันของหนวยงานเกี่ยวของ และจากความพยายามดังกลาวพบวาองคประกอบของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขมี 3 เร่ือง คือ ขอมูลขาวสารที่ตองการ การไหลเวียนของขอมูลขาวสาร และระเบียนรายงาน

Page 14: Research (2)

14

ประกอบกับองค 3 ของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ซึ่งสามารถเทียบไดกับความเปนสามมิติ จึงเปนนิมิตที่ดีวาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข เปนรูปธรรมหรือวัตถุ (สามมิติ) ท่ีจับตองได

องคประกอบของขอมูลขาวสารสาธารณสุข

3.1 ขอมูลขาวสารที่ตองการขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่ตองการ เปนองคประกอบที่สํ าคัญ ทั้งตอผูใชขอมูลจากระบบและ

ผูจัดเก็บรวบรวมขอมูล ผูใชมีแนวโนมที่จะไดรับขอมูลใหมาก ๆ ละเอียด เพ่ือสนองความอยากรูอยากเห็นของตนท่ีไรขอบเขต ในขณะที่ผูจัดเก็บขอมูลตองรับภาระในการบันทึกและรายงานขอมูล จนกระทั่งกระทบกระเทือนแกการจัดบริการสาธารณสุขแกประชาชน จนเกิดความรูสึกที่ผิด ๆ วางานขอมูลขาวสารสาธารณสุขเปนงานหลัก งานบริการสาธารณสุขเปนงานรอง

ดังน้ัน การตัดสินใจวา จะจัดเก็บขอมูลขาวสารสาธารณสุขใดหรือไม ควรพจิารณาโดยรอบคอบวา ขอมูลที่จะจัดเก็บนั้นมีคุณคาเพียงพอแกการจัดเก็บ รวมท้ังไดวางแนวทางในการวิเคราะหและใชประโยชนเมื่อไดรับขอมูลนั้นมา ขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่อยูในระบบจึงเปนขอมูลขาวสารที่ตองการเทาน้ัน

เพื่อสะดวกในการศึกษาและเขาถึงขอมูลขาวสาร จึงไดแบงประเภทของขอมูลขาวสารทั้งหมดออกเปน 5 ประเภท ตามลกัษณะของขอมูล คือ ขอมูลสถานะสุขภาพ (health status) ขอมูลทรัพยากรสาธารณสุข (health resources) ขอมูลกิจกรรมสาธารณสุข (health activities) และขอมูลสภาวะเศรษฐกิจและสังคม (socio-economic) ผลกระทบของการดํ าเนินงาน (health impact) ขอมูลประสิทธิผลและผลกระทบ

การไหลเวียนของขอมูลขาวสารรบ.รง.

ขอมูลขาวสารที่ตองการ

Page 15: Research (2)

15

3.1.1 ขอมูลสถานะสุขภาพ (health status)ขอมูลที่เกี่ยวกับลักษณะของประชากร ไดแก

(1) สถิติชีพ ไดแก การเกิด การเกิดมีชีพ เด็กตาย และมารดาตาย เปนตน(2) การตาย ไดแก สาเหตุการตาย(3) การปวย ไดแก ขอมูลการเฝาระวัง และสาเหตุการปวย เปนตน3.1.2 ขอมูลทรัพยากรสาธารณสุข (health resources)

ขอมูลที่เกี่ยวกับปจจัยนํ าเขาในงานสาธารณสุข (3’M) คือ คน เงิน และสิ่งของ รายละเอียดของขอมูลที่จัดเก็บ ไดแก

(1) กํ าลังคน ไดแก บุคลากรจํ าแนกตามประเภทและการกระจาย เปนตน(2) สิ่งกอสราง ไดแก สถาบันการผลิตบุคลากร สถานบริการสาธารณสุข และการกอ

สราง เปนตน(3) อุปกรณและเคร่ืองมือ ไดแก การผลิต กระจายยาและเวชภัณฑ และเครื่องมือแพทย

เปนตน(4) การใชจายเงิน ไดแก งบประมาณแผนดิน เงินนอกงบประมาณ และคาใชจายเงิน

ของภาคเอกชนทางดานสาธารณสุข เปนตน3.1.3 ขอมูลกิจกรรมสาธารณสุข (health activities)

ขอมูลที่เกี่ยวกับบริการสาธารณสุขแกประชาชน โดยทั่วไปแบงเปน 4 ประเภทคือ สงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพ รายละเอียดของขอมูลที่จัดเก็บไดแก

(1) การรักษาพยาบาล ไดแก ผูปวยนอก ผูปวยใน หนวยบริการเคล่ือนท่ี รักษาพยาบาลทางวิทยุ และการชันสูตรทางหองปฏิบัติการ เปนตน

(2) การปองกนัโรค ไดแก การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค(3) การสงเสริมสุขภาพ ไดแก อนามัยแมและเด็ก วางแผนครอบครัว โภชนาการ

อนามัยโรงเรียน สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม และสุขศึกษา เปนตนอนึ่งขอมูลกิจกรรมสาธารณสุข มีลักษณะคลายคลึงกับขอมูลสถานะสุขภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง

การรักษาพยาบาล เพราะเมื่อบริการรักษาพยาบาลผูปวย ยอมไดขอมูลการเจ็บปวยของประชาชนไปในคราวเดียวกัน จนอาจเขาใจไดวาเปนขอมูลอยางเดียวกัน แตการใชประโยชนขอมูลทั้งสองประเภทไมเหมือนกัน ขอมูลบริการสาธารณสุข เปนการปฏิบัติในการแกปญหาสาธารณสุข แตขอมูลสถานะสุขภาพ คือปญหาสาธารณสุขที่มีอยู ซึ่งจัดเก็บไดจากการสํ ารวจ การใหบริการสาธารณสุขเปนกลยทุธปญหาสุขภาพคือเปาหมาย ขอมูลทั้งสองจึงมีความสัมพันธในการตรวจสอบซึ่งกันและกัน

Page 16: Research (2)

16

3.1.4 ขอมูลสภาวะเศรษฐกิจและสังคมขอมูลพื้นฐานที่ใชประกอบการวางแผนและประเมินผลงานสาธารณสุข รายละเอียดของขอมูล

ที่จัดเก็บไดแกขอมูลทางภูมิศาสตร สถานะเศรษฐกิจ ผลิตผลมวลรวมแหงชาติ (GNP) การพฒันาประชากรและชุมชน อาชีพ สังคม ขนบธรรมเนียม และการศึกษา เปนตน

3.2 การไหลเวียนของขอมูลขาวสารในระบบขอมูลที่เกี่ยวของกับหนวยงานและระดับ เชน ในสวนภูมิภาคมี หมูบาน ตํ าบล อํ าเภอ

และจังหวัด และในหนวยงานแตละระดับยังมีองคกรภายในที่เกี่ยวของกับงานขอมูลขาวสารอีกหลายหนวยงาน การถายเทขอมูลจากแหลงปฐมภูมิหรือแหลงขอมูล ขึ้นไปยังหนวยเหนือตามลํ าดับ จํ าเปนตองกํ าหนดใหชัดเจน เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวาผูใชขอมูลจะไดรับขอมูลขาวสารตามกํ าหนด และเพิ่มความเช่ือม่ันของขอมูลท่ีได เนื่องจากหนวยงานที่อยูในลํ าดับถัดมาไดบรรณาธิกรขอมูลกอนสงขอมูลดังกลาวไปยังหนวยงานในระดับที่สูงขึ้นอีก การไหลเวียนของขอมูลขาวสารสาธารณสุขหนวยเหนือไปยังผูปฏิบัติตามลํ าดับ เพื่อใหผูบริหารหรือผูปฏิบัติระดับลางไดทราบผลการปฏิบัติงานในรูปแบบตาง ๆเชน การบรรลุผลของงาน ตลอดจนใหผูปฏิบัติไดตรวจสอบขอมูลที่สงขึ้นไปในครั้งกอน เรียกวาขอมูลปอนกลับ (feedback)

3.2.1 ชองทางการไหลเวียน (channel)เม่ือหนวยงานใดไดรวบรวมขอมูลตามท่ีกํ าหนดแลวจํ าเปนตองสงไปยังหนวยเหนือ เชน จาก

สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอไปยังสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อทราบถึงผลงานความกาวหนาในชวงเวลาที่กํ าหนด รวมทั้งสงขอมูลดังกลาวใหกับหนวยงานขางเคียงคือ โรงพยาบาลชุมชนที่ตั้งอยูในอํ าเภอน้ัน เพื่อการประสานการปฏิบัติงานสาธารณสุขในระดับอํ าเภอใหเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน

การไหลเวียนของขอมูลขาวสารในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใชสายการบังคับบัญชา(hierachy of command) เปนทิศทาง กลาวคือ ขอมูลจากหมูบานถูกสงไปยังสถานีอนามัยในระดับตํ าบลสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอในระดับอํ าเภอ สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดในระดับจังหวัด และกระทรวงสาธารณสุขในระดับสวนกลาง ตามลํ าดับ การไหลเวียนที่ผิดไปจากนี้ จะตองไดรับการตกลงกันระหวางผูใชและผูจัดเก็บขอมูลเสียกอน เพ่ือปองกันปญหาความเขาใจผิดและความเช่ือถือในขอมูลขาวสารนั้น

3.2.2 ความถี่ (frequency)ความบอยของการสงขอมูลขาวสารจากหนวยงานระดับลางไปยังหนวยงานระดับสูงกวา ข้ึนอยู

กับความไวตอการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมหรือขอมูลที่ตองการ และขึ้นอยูกับนโยบายในการบริหารสํ าหรับงานขอมูลขาวสารในราชการบริหารสวนภูมิภาค ขอมูลกิจกรรมไหลเวียนจากหมูบานจนถึงจังหวัดเดือนละคร้ัง และจากจังหวัดไปสวนกลาง 4 เดือนตอคร้ัง จะเห็นวาจังหวัดซ่ึงเปนผูรับผิดชอบงานในพื้นที่ยอมตองใกลชิดกับการปฏิบัติงาน เพื่อสามารถแกปญหาอุปสรรคไดทันทวงที แตสวนกลาง

Page 17: Research (2)

17

ตองการขอมูลวางแผนติดตามประเมินผล ความถี่ในการไดรับรายงานจึงทอดออกไปเปน 4 เดือนตอคร้ังเชนเดียวกับงวดงบประมาณ เนื่องจากตองใชขอมูลรายงานผลความกาวหนา และวางแผนงานขอใชเงินงบประมาณในงวดถัดไป

3.2.3 การแลกเปล่ียนขอมูล (data exchange)กระทรวงสาธารณสุขเปนกระทรวงท่ีรับผิดชอบงานสาธารณสุขของประเทศ แตบริการสาธารณสุข

ท่ีประชาชนไดรับไมไดมาจากกระทรวงสาธารณสุขเทาน้ัน กระทรวง ทบวงอ่ืนท่ีมีกิจกรรมทางดานสาธารณสุขอยูดวย ไดทํ าหนาท่ีใหบริการสาธารณสุขแกประชาชนอีกสวนหน่ึง เชน โรงพยาบาลพระมงกุฏเกลาและโรงพยาบาลทหารของกระทรวงกลาโหม โรงพยาบาลวชิระ โรงพยาบาลตากสิน ของกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ของทบวงมหาวิทยาลัย เปนตน โรงพยาบาลของรัฐวิสาหกิจและโรงพยาบาลเอกชน ก็มีอีกจํ านวนมากท่ีทํ าหนาท่ีใหบริการสาธารณสุขอีกเชนกัน ขอมูลขาวสารสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางย่ิงทางดานกิจกรรมสาธารณสุขของประเทศ จึงตองครอบคลุมถึงกิจกรรมของหนวยงานเหลาน้ันท่ีปฏิบัติท้ังหมด ดวยการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารกับกระทรวงสาธารณสุข

การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน ควรทํ าความตกลงในเร่ืองขอช้ีแจงในการจัดเก็บขอมูลโดยหนวยงานผูไดรับขอมูล คือ กระทรวงสาธารณสุขจะตองกํ าหนดคํ านิยาม (term of reference) ใหหนวยงานที่สงขอมูลเพื่อใหขอมูลในภาพรวมมีความสมบูรณ (meaning full) นอกจากน้ันรายการขอมูลที่แลกเปลี่ยนควรจะเปนเฉพาะเรื่องที่สํ าคัญ เชน สถานะสุขภาพของประชาชน เปนตน

3.3 ระเบียนรายงาน (forms)สื่อกลางในการจัดเก็บและสงผานขอมูลมีหลายประเภท ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ แผน

ดิสต หรือเทปท่ีใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถเก็บขอมูลไดจํ านวนมาก และสะดวกในการประมวลผลแตสภาวะเศรษฐกิจของประเทศยังไมพรอมที่จะนํ าคอมพิวเตอรมาใชไดครอบคลุมท้ังประเทศ สื่อกลางจัดเก็บขอมูลหลักจึงเปนเอกสาร ซึ่งรูจักกันโดยทั่วไปวาระเบียนรายงาน

ระเบียนรายงาน เปนองคประกอบของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขที่ซับซอน จนอาจสบัสนแกการใชงาน จึงไดจัดระเบียนและรายงานใหเปนระบบยอย (sub-system) โดยอาศัยหนาท่ีของแบบพิมพเปนหลัก ดังน้ี

3.3.1 ระเบียน (records) หรือแบบบันทึก (registration) ขอมูลเบ้ืองตน (primary data)เปนรายหนวยนับ เชน รายบุคคล รายกจิกรรม ใชและเก็บภายในหนวยงานนั้น รหัส “รบ.” แบงเปน3 กลุม คือ

(1) ระเบียนผูปวยนอกและผูรับบริการอยางอื่น เปนกลุมระเบียนที่ใชในแผนก หรือฝายผูปวยของโรงพยาบาล และในสถานีอนามัย รหัส “รบ.1” แบบพิมพ “รบ.1” ยังแบงออกเปน 2 สวนคือ แบบพิมพที่ใชบันทึกขอมูลเฉพาะรายบุคคล เรียกกลุมระเบียนนี้วา บัตรบันทึกประจํ าตัว รหัส

Page 18: Research (2)

18

“รบ.1ต” เชน บัตรตรวจโรค (บัตรบันทึกผูรับบริการ) รหัส “รบ.1ต 02” และแบบพิมพที่ใชจัดทํ าทะเบียนผูรับบริการและบันทึกกิจกรรมแตละเรื่อง รหัส “รบ.1ก” เชน ทะเบียนผูปวยนอกและผูรับบริการอยางอ่ืน (ทะเบียนผูรับบริหารภายนอก) รหัส “รบ.1ก01”

(2) ระเบียนผูปวยใน เปนกลุมระเบียนที่ใชในแผนก หรือฝายผูปวยในของโรงพยาบาลเทาน้ัน ใชรหัส “รบ.2” และแบงออกเปน 2 สวนเชนเดียวกับระเบียนผูปวยนอกและผูรับบริการอยางอื่นคือ บัตรบันทึกประจํ าตัว รหัส “รบ.2ต” เชน บันทึกการผาตัด รหัส “รบ.2ต.05” และทะเบียนผูปวยในและบันทึกกิจกรรม รหัส “รบ.2ก” เชน ทะเบียนผูปวยและคลอดภายใน รหัส “รบ.2ก.01”

(3) ระเบียนอุปกรณและกลุมงาน เปนกลุมระเบียนที่ใชสนับสนุนการใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน มีรหัส “รบ.3” เชน บัตรจายของและเวชภัณฑไมคิดมูลคา รหัส “รบ.302” เปนตน

3.3.2 รายงาน (report) คือ แบบพิมพหรือแบบบันทึกท่ีรวบรวมขอมูลท่ีตองการจากระเบียนในชวงเวลาที่กํ าหนด (secondary data) อาจจะเปนชวง 1 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 1 ป หรือ 5 ปเปนตน ตามความตองการของผูใชขอมูล แลวสงใหหนวยเหนือหรือหนวยงานขางเคียง มีรหัส “รง.”แบงออกเปน 3 กลุมคือ

(1) รายงานรวม เปนรายงานรวมกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับแผนงานโครงการพัฒนาสาธารณสุขตาง ๆ โดยประสงคที่จะออกแบบพิมพที่จะใหทุกหนวยงานใชแบบรายงานนี้เพียงฉบับเดียวเพือ่ลดภาระการรายงานซํ้ าซอนลง มีรหัส “รง.4” เชน รายงานการปฏิบัติงานประจํ าเดือน/งวด รหัส“รง.401/402” เปนตน

(2) รายงานที่แยก เปนรายงานท่ีรวบรวมกจิกรรมท่ีไมอาจบรรจุไวในรายงานรวมตาม(1) ได เนื่องจากความถี่ไมตรงกัน หรือเปนรายงานของโครงการพิเศษ ซ่ึงตองการรายละเอียดของขอมูลมากหรือเปนความลับ เปนตน มีรหัส “รง.5” เชน บัตรรายงานผูปวยดวยโรคท่ีตองเฝาระวัง รหัส“รง.506” เปนตน

(3) รายงานทรัพยากรรายป เปนรายงานสถานการณ ดานบุคลากร อาคาร สิ่งกอสรางอุปกรณการแพทย และเงิน มีรหัส “รง.6” เชน “รง.6/1” เปนตน

3.3.3 ใบนํ าสงและใบติดตอ (refer of communicated sheet) คือแบบพิมพหรือแบบบันทึกที่ใชสื่อความหมายระหวางกระบวนการใหบริการ มีรหัส “บส.” เชน สมุดสงผูปวยไปรับการตรวจหรือรักษาตอ รหัส “บส.08” เปนตน

ปจจุบัน แบบระเบียนและรายงานที่ออกแบบเปนมาตรฐานโดยสวนกลาง ที่กลาวมาแลวขางตนทั้งหมดมีอยูรวมกวา 120 ชนิด หนวยงานประเภทตาง ๆ จะเลือกใชแบบพิมพเหลานั้นตามบทบาทหนาท่ีของหนวยงานน้ัน ๆ เชน สถานีอนามัยใชไมเกิน 36 ชนิด โรงพยาบาลชุมชนใชไมเกิน 78 ชนิด สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอใชไมเกิน 7 ชนิด เปนตน ไมมีหนวยงานใดเลยที่ใชแบบพิมพทั้ง 120 กวาชนิด

Page 19: Research (2)

19

รหัสแบบพิมพ ยึดถือตามแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) นอกจากจะกํ าหนดเปนระบบและรหัสดังไดกลาวขางตน ยังมีรายละเอียดเพิ่มเติมอีก ซึ่งจะอธิบายโดยยกตัวอยางประกอบดังน้ี

รหัสพิมพระเบียนผูรับบริการทันตกรรมและบันทึกกิจกรรมประจํ าวัน (06 รง.1ก) 06 คือ รหัสของโครงการทันตสาธารณสุข ในกรณีที่เปนเลขชุด 4 ตัว ตัวท่ี 3 และ 4 คือรหัสงานในโครงการน้ันสํ าหรับโครงการทันตสาธารณสุขไมไดแยกงานยอย จึงมีรหัสเพียง 2 ตัว

รบ. คือ รหัสของเอกสารท่ีทํ าหนาที่เปนระเบียน1 คือ เลขประจํ ากลุมเอกสาร เลข 1 คือ เอกสารท่ีใชในแผนกหรือฝายผูปวยนอกก. คือ แบบพิมพที่ใชเปนรายกิจกรรม แตในแบบพิมพบางชนิดแยกกิจกรรมเปนลักษณะยอยอีก

เชน การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคข้ันพ้ืนฐาน (0119 รบ.1ก/1) และขั้นเสริม (0119 รบ.1ก/2)รหัสของแบบพิมพ จะชวยใหการจัดเก็บขอมูลขาวสารเพ่ือการบริหารจัดการไดตรงตามแผน

งานโครงการยิง่ข้ึน เนื่องจากแผนงานโครงการที่พัฒนาโดยผสมผสานงานสาธารณสุขจึงมีลักษณะงานเดียวกันแฝงอยูหลายโครงการ

3.4 ความสัมพันธขององคประกอบขอมูลขาวสารที่ตองการ จะไดรับการเรียบเรียงและออกแบบเปนระเบียนและรายงานประเภท

และชนิดที่สอดคลองกับกลุมของแบบพิมพที่กํ าหนดไว ตลอดจนไหลเวียนจากแหลงขอมูลจนถึงผูใชตามความถี่และทิศทางที่เหมาะสม ซึ่งความสัมพันธดังกลาวทั้งหมด ไดจัดทํ าเปนเอกสารเผยแพรยังผูเก่ียวของ เพื่อการประสานงานและใหเกิดความชัดเจนแกผูปฏิบัติ

4. ปญหาในการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขระบบขอมูลขาวสารที่ดํ าเนินอยูมีองคประกอบทั้งภายในและภายนอกระบบ ที่จะมีสวนเสริม

สรางใหระบบของงานดํ าเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกัน ถาข้ันตอนตาง ๆ ของระบบมีอุปสรรคก็จะนํ ามาซึ่งปญหาทํ าใหระบบขอมูลขาวสารไมสามารถที่จะดํ าเนินไปดวยดีได ดังน้ันเม่ือไดวิเคราะหถึงปญหาของระบบ การบริหารงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขทั้งระบบจะพบปญหาในแตละองคประกอบทั้งภายในและภายนอกระบบเอง ดังน้ี

4.1 ปญหาในสวนของปจจัยนํ าเขา (input)ขอมูลขาวสารสาธารณสุขมีการเก็บรวบรวม โดยระบบการรายงานเปนสวนใหญ ซึ่งเปนขอมูล

ที่ไดจากการปฏิบัติงานประจํ าของเจาหนาที่สาธารณสุข ขอมูลจะถูกเก็บรวบรวมมาจากระดับหมูบานโดย ผสส. อสม. สวนในระดับตํ าบลเก็บรวบรวมโดยเจาหนาที่สาธารณสุข แลวรวบรวมสงไปยังระดับอํ าเภอและจังหวัด จากนั้นจังหวัดจะรวบรวมเสนอไปยังสวนกลาง เพ่ือทํ าการวิเคราะหประมวลผลเพื่อการนํ าไปใช ปญหาที่พบจากปจจัยนํ าเขาสามารถจํ าแนกไดดังนี้

Page 20: Research (2)

20

4.1.1 แบบฟอรมระเบียนรายงาน(1) ความซํ้ าซอนของขอมูลที่ตองการ

มีผูกลาวอยูเสมอวา ขอมูลที่ไดจากระบบระเบียนรายงานในปจจุบัน ยังไมเพียงพอ แมวาจะมีแบบฟอรมการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขในขณะน้ีถงึ 108 รายงานก็ตาม เจาหนาท่ีระดับตํ าบลตองใชเวลาในการทํ ารายงานดังกลาว แทนที่จะใชเวลาสวนใหญในการใหบริการแกชุมชนที่ตนรับผิดชอบ ความซํ้ าซอนของรายงาน เชน งานสรางเสริมภูมิคุมกันโร รบ.1ต06 กับ 0119 รบ.1ก

(2) แบบฟอรมรายงานไมเหมาะสม มีการเปลี่ยนแปลงบอย ๆ เชน รง.400(3) แบบฟอรมคลุมเครือ ทํ าใหเจาหนาที่สับสน ทํ ารายงานบกพรอง(4) รายละเอียดในรายงานมีไมครบหรือมากเกินไป ไมตรงกับกิจกรรมที่ปฏิบัติ(5) ขาดขอมูลจํ าเปนท่ีจะใชในการบริการและการวางแผน ในขณะเดียวกันขอมูลที่เก็บ

รวบรวมมา ไมไดใชประโยชน จึงเปนการเพิ่มภาระแกผูปฏิบัติ4.1.2 เจาหนาที่สาธารณสุข

ผสส./อสม. ที่มีสวนชวยในการเก็บขอมูลในระดับหมูบาน ไมไดเล็งเห็นถึงความสํ าคัญและประโยชนของขอมูลท่ีเก็บรวบรวม แมกระทั่งเจาหนาที่สาธารณสุขระดับตํ าบล อํ าเภอ และจังหวัด ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวของในการทํ ารายงานไมไดเล็งเปนประโยชน หรือไมไดใชประโยชน หรือไดประโยชนจากขอมูลรายงานที่ตนกระทํ าอยูนอย มุงเพียงจัดสงหนวยเหนือใหทันเวลา ไมไดเล็งเห็นถึงความสํ าคัญและคุณภาพของขอมูลที่ได รวมทั้งเจาหนาที่โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับลาง (สถานีอนามัย) มีอยูเพียง 1-3คน ตองทํ างานบริการทั้งในและนอกสถานีอนามัย ทํ าใหไมมีเวลาในการทํ ารายงาน บางครั้งอาจจะไมไดทํ าหรือทํ าไมทัน

ปญหาที่พบจากฝายเจาหนาที่พอจํ าแนกไดดังตอไปน้ี(1) ขาดความรูความเขาใจในระบบขอมูลขาวสาร ทํ าใหไมเห็นถึงความสํ าคัญในการ

จัดทํ าขอมูล บันทึกรายงานตาง ๆ ใหถูกตองครบถวนและทันตามเวลาที่กํ าหนด(2) ขาดความรูในการบันทึก การเขียนรายงาน และการจัดเก็บรวบรวม(3) มีทัศนคติท่ีไมดีตอการจัดเก็บรวบรวมขอมูล มุงเพียงสงใหทันเวลา(4) ผูจัดทํ าไมไดใชประโยชนจากขอมูลที่ตนเก็บรวบรวมมา ในการพิจารณา ตัดสนิใจ

เกี่ยวกับการดํ าเนินงานการปฏิบัติงานประจํ าวัน อีกทั้งการที่ระดับนโยบายไมสามารถกํ าหนดชนิดของขอมูลขาวสารท่ีตองการไดแนนอน หรือจากความไมเขาใจในลักษณะงานตาง ๆ อยางแทจริง รวมถึงขอจํ ากัดหรือขอบเขตหนาท่ีรับผิดชอบของบุคลากรระดับปลาย จึงเปนผลใหงานที่สั่งลงมาสรางความซํ้ าซอนสับสนใหแกเจาหนาที่ระดับปลาย

ปญหาจากเจาหนาท่ีในระดับตํ าบล อํ าเภอ และจังหวัด ที่ขาดความรูความเขาใจในการเก็บขอมูลเบ้ืองตนน้ี ไดมีรายงานวิจัยของ รํ าไพ สุขสวัสดิ์ ณ อยธุยา ทดลองใชบทเรียนโมดูล ในการบันทึก

Page 21: Research (2)

21

และวิเคราะหขอมูลสาธารณสุข มีวัตถุประสงคประการหนึ่งที่จะพัฒนาคุณภาพการเก็บขอมูลของเจาหนาท่ีในระดับตํ าบล อํ าเภอและจังหวัดใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยทํ าการศึกษาจากเจาหนาที่เก่ียวของท้ังหมดของจังหวัดสุพรรณบุรี จํ านวน 100 คน ในป พ.ศ.2528 เปนการวิจัยแบบทดลองปฏิบัติงานตามระบบบริหารงานสาธารณสุขปกติของจังหวัดสุพรรณบุรี ใชโมดูลท่ีสรางข้ึนเปนเคร่ืองมือในการเก็บขอมูลตาง ๆ ใหแกเจาหนาที่ ผลปรากฏวาบทเรียนโมดูลมีผลในการเปลี่ยนแปลงความรูของเจาหนาที่ในการเก็บวิเคราะหืขอมุลอยางมีนัยสํ าคัญ อยางไรก็ตามเจาหนาที่เหลานั้นประมาณรอยละ 76 ใหความเห็นวา การเก็บและวิเคราะหขอมูลเปนเรื่องยุงยาก อีกทั้งความสํ าเร็จของการเก็บและวิเคราะหขอมูลของเจาหนาท่ีระดับตํ าบลนั้น สิ่งที่สํ าคัญขึ้นอยูกับการควบคุมและนิเทศงานจากเจาหนาที่ระดับอํ าเภอ

เปนที่ทราบกันดีในกลุมผูบริหารของกระทรวงสาธารณสุข ถึงความซํ้ าซอนของรายงาน ในปจจุบันมีโครงการวิจัยเพ่ือแกปญหาไมมากนัก กองอนามัยครอบครัวไดศึกษาวิจัยเร่ือง ระบบรายงานและการประเมินผลงานวางแผนครอบครัว ทั้งนี้เพื่อกระจายระบบรายงาน และการประเมินผลงานวางแผนครอบครัวลงสูระดับจังหวัด อํ าเภอ และตํ าบล โดยปรับปรุงระบบรายงานระดับตํ าบล เพ่ือใหเจาหนาท่ีระดับตํ าบลสามารถทราบผลงานของตนและสามารถวางแผนการปฏิบัติงานของตนได ปรับปรุงระบบงานระดับอํ าเภอและระดับจังหวัด เพ่ือใหเจาหนาท่ีระดับอํ าเภอละจังหวัดทราบผลงานในความรับผิดชอบ และวางแผนงานในงานประเมินผล โดยใชเจาหนาท่ีระดับจังหวัด อํ าเภอ และนักวิชาการจํ านวน 20 คน แลวนํ ารูปแบบไปทดลองใน 2 จังหวัด เปนเวลา 8 เดือน โครงการนี้ไดพยายามที่จะลดแบบรายงานจาก 7 แบบ ใหเหลือเปน 2 แบบ โดยสํ ารวจอัตราใชวิธีการวางแผนครอบครัว เนนท่ีผูรับบริการรายใหม ผลการศึกษาพบวาเปนการยากที่จะมีเปลี่ยนแปลงระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขเจาหนาที่สาธารณสุขยินดีที่มีการลดแบบฟอรมการรายงาน ในขณะที่เจาหนาที่ระดับจังหวัดยังมีความตองการแบบเดิม และเจาหนาท่ีอํ าเภอปฏิเสธที่จะทํ าการสํ ารวจอัตราการคงใช และผูรับบริการรายใหม2 รอบ

ผลจากโครงการน้ีทํ าใหมีการศึกษานํ ารอง ดํ าเนินการทดลองอยูในอีก 2 อํ าเภอในภาคกลางเพื่อจะศึกษาถึงรูปแบบการรายงานและการประเมินผลการดํ าเนินารวางแผนครอบครัว งานอนามัยแมและเด็ก การใหภูมิคุมกัน และโภชนาการ โครงการนํ ารองน้ีพบอุปสรรคในอันท่ีจะหาขอตกลกระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหลดความซํ้ าซอนของแบบฟอรมการรายงาน ในการประเมินผลในปแรกของการดํ าเนินงาน

4.2 ปญหาการประมวลผลขอมูลเม่ือทํ าการเก็บรวบรวมขอมูลในระดับหมูบานท้ังโดย ผสส./อสม. และ/หรือเจาหนาท่ีสาธารณ

สุข การประมวลผลในเบ้ืองแรกจัดทํ าดวยมือ ซึ่งก็ขาดเครื่องมือที่จะชวยในการประมวลผลในระดับนี้ตลอดท้ังแบบฟอรมการรายงานมีจํ านวนมากและซํ้ าซอน ดังน้ันจึงควรพิจารณาวางแผนปรับปรุง

Page 22: Research (2)

22

แบบฟอรมการรายงาน โดยพิจารณาถึงขอมูลที่ตองการที่จะนํ าไปใชประโยชนเทานั้น เคร่ืองมือท่ีชวยในการเก็บรวบรวมขอมูลและประมวลผล เชน คอมพิวเตอร ควรจะจัดใหมีในระดับตํ าบลและอํ าเภอและจัดอบรมเจาหนาท่ีใหมีความรูความสามารถในการใชเคร่ืองมือดังกลาว ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลขาวสารที่นาเชื่อถือ เปนปจจุบัน อันจะเปนประโยชนตอการบริหารและวางแผน โดยสรุปปญหาในการประมวลผลขอมูล พอจะจํ าแนกไดดังตอไปน้ี

4.2.1 ขาดอุปกรณเคร่ืองมือท่ีทันสมัยในการประมวลผล ทํ าใหไดผลลาชา ไมถูกตองแมนยํ า

4.2.2 ผูประมวลขาดความรูเกี่ยวกับระบบงานตาง ๆ ท่ีตองการนํ าผลขอมูลไปใช จึงทํ าใหการจัดหาขอมุลขาวสารหรือแนวทางการวิเคราะหไมสอดคลองตรงความตองการของผูใช รวมท้ังความทันตอเหตุการณ นอกจากน้ีการท่ีผูบริหารมีอํ านาจในการตัดสินใจไมเขาใจถึงเทคนิควิธีการประมวลผล จึงไมสนใจที่จะนํ าผูเช่ียวชาญเฉพาะดานคอมพิวเตอร มาออกแบบและดํ าเนินงาน เปนใหกระบวนการประมวลผลขาดประสิทธิภาพ

4.2.3 ขาดการพัฒนาความรูความสามารถของเจาหนาท่ี ท่ีรับผิดชอบในดานการประมวลผล ใหมีความสามารถใชเทคโนโลยีใหม ๆ มาชวยในการประมวลผล

4.2.4 ขาดการประสานสัมพันธระหวางผูผลิต ผูใช และผูใหขอมูล ทํ าใหขอมูลขาวสารที่ไดรับไมเปนไปตามวัตถุประสงคของผูใช หรือเพ่ิมภาระแกผูใหขอมูล โดยที่ขอมูลนั้นไมไดนํ ามาใชประโยชนเทาที่ควร

4.2.5 ขาดการกระจายทรัพยากรทางสถิติ ทํ าใหขาดผูที่จะชี้แนะแนวทางการประมวลผล วิธีการท่ีจะประมวลผล หรือวิเคราะหขอมูลขาวสารในระดับข้ันตอนตาง ๆ ของหนวยงาน ใหสามารถนํ าผลการวิเคราะหน้ันมาใชพิจารณาตัดสินใจในการปฏิบัติงานภายในหนวยงานของตนเองไดบาง ปญหาในการประมวลผลขอมูลนั้น จากผลการวิจัยของ รํ าไพ สุขสวัสดิ์ ณ อยธุยา และคณะฯ ไดพบวา เจาหนาที่สาธารณสุข ซึ่งเปนตัวอยางประชากรประมาณรอยละ 72 ไดใหความเห็นวาผูทํ างานดานขอมูล ควรมีความรูสถิติ จะชวยใหสามารถที่จะทํ าการวิเคราะหขอมูลท่ีไดรับ รวมถึงสามารถนํ าเอาขอมูลดังกลาวไปใชประโยชนได

4.3 ปญหาผลลัพธ คือ ขอมูลขาวสาร (Information)4.3.1 ขอมูลขาวสารสาธารณสุขยังขาดความถูกตอง ครบถวน ลาชา ไมทันเหตุการณ

เชื่อถือไดนอย เปนผลให(1) ไมทราบปญหาสาธารณสุขของประเทศชาติอยางจริงจัง(2) ระดับของปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ท่ีจะตองดํ าเนินการแกไขโดยเรงดวนตามลํ าดับ

จะคลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริง เมื่อมีการผิดพลาดของขอมูลขาวสารที่มีอยูตลอดจนความลาชาไมทันเวลา

Page 23: Research (2)

23

(3) รัฐไมสามารถที่จะวางแผนแกปญหาและดํ าเนินงานสาธารณสุขของประเทศไดสอดคลองตรงตามความจํ าเปนและความตองการของสังคมประเทศชาติ

4.3.2 ผูใชขอมูลขาวสาร ไมสามารถระบุความตองการขอมูลขาวสารที่จํ าเปน และตองการใชพิจารณาตัดสินใจ จึงไดขอมูลที่ไมสามารถนํ ามาตัดสินใจได ขอมูลขาวสารที่ตองการก็ไมไดรับ แตนํ าขอมูลที่มีอยูไมตรงตามวัตถุประสงคในการกํ าหนดหาขอมูลมาใช ทํ าใหมีการแปรผลผิดพลาด

4.3.3 ผูใชขอมูลไมสามารถที่จะใชขอมูลที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด ท้ังน้ีเพราะขาดทักษะในการวิเคราะหขอมูล รวมถึงไมมีการประสานสัมพันธระหวางผูประมวลและผูใชขอมูล จึงทํ าใหมีความเขาใจขอมูลขาวสารที่มีอยูผิดพลาดคลาดเคลื่อน ไมไดแปรขอมูลเปนสารสนเทศ สํ าหรับการวางแผน ติดตาม กํ ากับและประเมินผล

4.3.4 การนํ าขอมูลขาวสารไปประยุกตในหนวยงานภายนอก โดยปราศจากการพิจารณาถึงเทคนิคและวิธีการปฏิบัติที่แตกตางกันออกไป

นอกจากนี้ยังมีวิทยานิพนธ เร่ือง การศึกษาคุณภาพขอมูลการรายงานโรคที่ตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา ณ ศูนยระบาดวิทยาภาคกลาง ซึ่งมีวัตถุประสงคที่จะพิจารณาความครบถวน ความถูกตองของบัตรรายงานตาง ๆ รวมทั้งระยะเวลาที่ใชในการสงบัตรจากศูนยระบาดวิทยาและจังหวัดตาง ๆ 3จังหวัด พบวาอัตราความถูกตองมีเพียงรอยละ 42.65 ในโรงพยาบาลระดับอํ าเภอ สํ าหรับโรงพยาบาลระดับจังหวัดและโรงพยาบาลศูนยมีรอยละ 58.44 ระดับความครบถวนในระดับตํ าบล ระดับอํ าเภอ และระดับจังหวัด มีเทากับรอยละ 56.8, 60.2 และ 75.4 ตามลํ าดับ สวนในเรื่องทันเวลาพบวาลาชาเกือบทุกจังหวัด

Page 24: Research (2)

24

ระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ของจังหวัดตรังสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดเร่ิมดํ าเนินการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ต้ัง

แตป 2532 เปนตนมา พยายามปรับปรุงระเบียนรายงานบางอยางที่สวนกลางขอมายังจังหวัด แลวเกิดความซํ้ าซอน โดยนํ าเขาเปนรายงานชุดเดียวกัน ทั้งนี้จะยึดระยะเวลาการสงเปนสํ าคัญ เชน รายงานประจํ าเดือน รายงานประจํ างวด เพ่ือลดปริมาณจํ านวนชุดของรายงาน และจัดประชุมช้ีแจงผูรับผิดชอบในการจัดทํ าระเบียนรายงาน เปนประจํ าทุกป แตสวนใหญยังไมตอบสนองตอการใชขอมูลใหตรงกับความตองการจริง ๆ ได

ในป 2538 นโยบายการดํ าเนินงานขอมูลขาวสารสาธารณสุข ไดมีความชัดเจนข้ึน โดยนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดประกาศใหงานขอมูลขาวสารสาธารณสุข เปนงานนโยบายเรงรัดประจํ าป โดยมคีณะทํ างานพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขระดับจังหวัด ซึ่งมีตัวแทนจากหนวยงานระดับตาง ๆ เขามารวมเปนคณะทํ างาน รวมคิดรูปแบบทั้งในสวนขอมูลขาวสาร และการติดตามกํ ากับและประเมิน เพื่อพัฒนาระบบขอมูลขาวสารใหสามารถนํ ามาใชประโยชนไดทุกระดับ และสามารถทราบสถานะสุขภาพของประชาชนได

Page 25: Research (2)

บทที่ 3วิธีดํ าเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข มีขั้นตอนและวิธีดํ าเนินการวิจัยดังตอไปน้ี

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เครื่องมือในการศึกษา3. ข้ันตอนการศึกษา4. การเก็บรวบรวมขอมูล5. การวิเคราะหขอมูล

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

ระดับ จํ านวนหนวยงาน Researchers Actors Administrators รวมระดับจังหวัด สสจ.10 ฝาย 19 42 14 75ระดับอํ าเภอ 10 สสอ./8 รพช. 2 78 18 98ระดับตํ าบล 120 สอ. 3 120 117 240

รวม 24 240 149 413

2. เคร่ืองมือในการศึกษาทะเบียนและรายงาน ของสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ท่ีไดจัดเก็บตามระบบเดิม ไดแก

บัญชีตรัง 1-6 รายงาน 120 ชนิด และที่จังหวัดไดจัดทํ าหรือปรับปรุงข้ึนใหม รวมทั้งแบบสัมภาษณผูเก่ียวของ แบบประเมินผลการพัฒนาขอมูลใหสมบูรณ ในการพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร ทั้งในระดับจังหวัด อํ าเภอ และตํ าบล

3. ขั้นตอนการวิจัยแบงออกเปน 3 ระยะคือ

1 .ระยะเตรียมการ (preliminary phase)ประกอบดวยกิจกรรมหลักที่ดํ าเนินงาน 2 กิจกรรม คือ1.1 ทบทวนวรรณกรรม (Review literature) เปนการทบทวนเอกสารการวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

กับการจัดระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขและการศึกษาจากพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร จังหวัดตาง ๆ ที่

Page 26: Research (2)

26

มีผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร เชน จังหวัดพิจิตร จังหวัดลํ าปาง จังหวัดเชียงรายจังหวัดนครราชสมีา จังหวัดสมุทรปราการ ประชุมชี้แจงแนวความคิด ในการบริหารจัดการขอมูลขาวสารทุกระดับตั้งแตระดับสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ และสถานีอนามัย โดยนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด นพ.ศุภกร บัวสาย นพ.ยงยุทธ ขจรธรรมสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หัวหนาฝายแผนงานและประเมินผล จังหวัดพิจิตร ผศ.มานพ จิตตภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี เพื่อปรับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร เพือ่การบริหารจัดการ คัดเลือกตัวแทนของแตละฝาย ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ตัวแทนนักวิชาการของสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ 1 คน ตัวแทนนักวิชาการของโรงพยาบาลชุมชน 1 คน และตัวแทนของหัวหนาสถานีอนามัย 3 คน เปนคณะทํ างานฯ รวมคณะทํ างาน รวม 24 คนโดยมีหัวหนาฝายแผนงานและประเมินผลเปนประธาน หัวหนาฝายสุขศึกษาและประชาสัมพันธ รองประธาน หัวหนางานศูนยขอมูลขาวสาร สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด เปนเลขานุการ

เรียนเชิญผูเช่ียวชาญ เพ่ือใหคํ าแนะนํ าในการดํ าเนินงานโครงการฯ รวมถงึการอบรมพฒันาเจาหนาที่ทางดานวิชาการและการฝกปฏิบัติการตลอดโครงการฯ คือ ผศ.มานพ จิตตภูษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

1.2 การวิเคราะหสถานการณ (situation analysis) เปนการวิเคราะหสถานการณของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรังทั้งในดานองคกร และบทบาทหนาที่ขององคกรที่จัดการเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร และพิจารณาถึงเน้ือหาของขอมูล วิธีการจัดเก็บ รวมท้ังการนํ าขอมูลไปใชประโยชนในการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ และสามารถนํ าขอมูลมาใชประโยชนไดอยางครบวงจร อยางมีประสิทธิภาพ

1.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ (work shop) คณะทํ างานพัฒนาระบบขอมูลขาวสาร วิเคราะหระบบขอมูลขาวสารของจังหวัด โดยการระดมความคิดหา Parameter ของงาน/กิจกรรมตาง ๆ ในรูปแบบตาง ๆ เชน รูปแบบงานระบาดวิทยา, รูปแบบงานอนามัยแมเด็ก, รูปแบบการบริหารงานบุคคล เปนตนโดยเร่ิมตนจากการทดลองนํ าขอมูลขาวสารที่มีอยูมาทดลองนํ าเสนอ และใชประโยชนแลวพิจารณาสวนขาดของระบบขอมูล และลดความซํ้ าซอนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด

2. ระยะการดํ าเนินงานวิจัย2.1 การพัฒนาระบบทะเบียนและรายงาน1. แตงตั้งคณะทํ างานพัฒนาระบบขอมูลขาวสาธารณสุขระดับจังหวัด ซึ่งประกอบดวยตัวแทน

จากทุกระดับ ท้ังระดับตํ าบล อํ าเภอและ ฝายตาง ๆ ภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด

Page 27: Research (2)

27

2. ประชุมปฏิบัติการคณะทํ างานฯ เพ่ือปรับปรุงระบบระเบียนรายงาน ในระดับตาง ๆ ใหมีความสัมพันธกันและตอบสนองตอการใชงานของผูปฏิบัติงานเปนหลัก และทดลองใชพรอมท้ังกับการประเมินผลโดยการรับฟงขอคิดเห็นจากเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน

- ยกเลิกรายงานเดิม 16 รายการ- จัดทํ าแบบระเบียนรายงานทดแทน 8 รายการ

3. การประชุมปฏิบัติการเพื่อชี้แจงระบบทะเบียนใหมแกเจาหนาที่ในทุกระดับ

บัญชีทะเบียน/รายงานของ สถานีอนามัย จังหวัดตรัง

รายงาน ทะเบียน บตัรประจํ าตัว- รง.ประจํ าเดือน- 505-505- ผูปวยสุขภาพจิต (สจ.สสม.01/1)- สรุปการใหบริการทางการแพทย- บริการนักเรียนประถมฯ- คัดกรองผูปวย BP สูง- ภาวะโภชนาการ รง.102- ติดตามเด็กขาดสารอาหารระดับ 2,3

รง.102/1- แบบเฝาระวังงานทันตฯ- รง.สุขาภิบาล (08 รบ.3)- แบบเฝาระวังการเจริญเติบโตนักเรียน

กอนประถมฯ, มัธยม- รง.บัตรประกันสุขภาพ- รง.กิจกรรมประจํ าเดือนสํ าหรับ สอ.

(วด.03/3)- วด. 06/5 (รับ-จาย)- ตรัง 5

- รบ.1ต.03- รบ.1ต.05- รบ.1ต.06- รบ.1ก.01/1- รบ.1ก01/2- รบ.1ก01/3- รบ.1ก01/4- ตรัง 1- ตรัง 2- ตรัง 3- ตรัง 4- ตรัง 5- ตรัง 6- ภ.101

- รบ.1ต.01- บัตรตรวจโรค รบ.1ต.02- สมุดบันทึกสุขภาพแมและ

เด็ก- แบบสงตัว บส.08

Page 28: Research (2)

28

แผนภูมิแสดง ระบบการไหลเวียนของขอมูลขาวสาธารณสุข ระดับตํ าบล

ระเบียนบัตรอนามัยครอบครัว(รบ ตรัง 00)

รายงานการเปล่ียนแปลงขอมูลประจํ าเดือน

ระเบียนแบงเขตรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุข

ระเบียนเด็กอายุตํ่ ากวา 6 ปและการรับบริการสารงเสริมภูมิคุมกันโรค

(รบ ตรัง 1)

ระเบียนอนามัยมารดา

(รบ ตรัง 2)

ระเบียนคูสมรสวัยเจริญพันธ(รบ ตรัง 3)

ระเบียนสุขาภิบาลฯ(รบ ตรัง 4)

ระเบียนประเมินผลการดํ าเนินงาน(รบ ตรัง 5)

รายงานผลการดํ าเนินงานรายงวด

(รง ตรัง 5)

Page 29: Research (2)

29

ผลการปรับปรุงระบบระเบียนรายงาน

งาน/รายงาน ผลการปรับปรุง สิ่งทดแทน เหตุผล1. บันทึกกิจกรรมประจํ าวัน (รบ.1ก02/รง.400)

ยกเลิก - แบบรายงานประเมินผลการปฏิบัติงานรายงวด (รง.ตรัง 5)

1. เพื่อใหสามารถรายงานความครอบคลุมและสถานสุขภาพของประชากรในพื้นที่ได

2. รง.9 สร ยกเลิก - รายงานประจํ าเดือน 1. ใหมีเฉพาะรายงานการใหบริการเฉพาะที่สถานบริการในงานหลัก ๆ เทานั้น

3. รง.สรางเสริมภูมิคุมกันโรค- 0110 รบ.1ก01/9- 0110 รบ.9/2- 0110 รบ.9/3

ยกเลิกยกเลิกยกเลิก

- รบ.ตรัง 1- รบ.ตรัง 1- รบ.ตรัง 1

1. เพื่อยกเลิกในการบันทึกขอมูลซํ้ า จํ านวน 4 รายการ ในการใหบริการแตละครั้ง คือ ชื่อ ,วันเดือนปเกิด,ที่อยูและชื่อผูปกครอง

2. เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการติดตามการรับวัคซีนเปนรายบุคคล

- รบ.1ต.03 (บัตรสีชมพู) ยกเลิก - สมุดบันทึกสุขภาพเด็ก 1. เพื่อใชสมุดเลมเดียวในการติดตามบันทึกสุขภาพเด็กทุกกิจกรรม

- รายงานทั้งหมด ตํ าบล 70-90 รายงาน อํ าเภอ 29-34 รายงาน จังหวัด 23 รายงาน

- ตํ าบล คงเหลือ 15 รายงาน- อํ าเภอ คงเหลือ 15 รายงาน- ตํ าบล คงเหลือ 15 รายงาน

Page 30: Research (2)

30

งาน/รายงาน ผลการปรับปรุง สิ่งทดแทน เหตุผล4. งานเฝาระวังทางระบาดวิทยา E1- E7 (ในระดับตํ าบล)

ยกเลิก - ใชผลการวิเคราะหขอมูลในระดับอํ าเภอโดยจํ าแนกเปนรายตํ าบล รายหมูบานและรายโรค ซึ่งจะดํ าเนินการเปนประจํ าทุกเดือน

1. อํ าเภอมีระบบคอมพิวเตอรครบทุกแหงขอมูลมีความครอบคลุมครบถวนมากกวาเพราะ เปนขอมูลรวมทั้งจังหวัด ไมวาประชากรในพื้นที่รับผิดชอบจะเขารับการรักษาพยาบาลที่ใด ก็จะถูกรวบรวมและยอนกลับใหเห็นสภาพการปวยที่แทจริง

5. งานสุขศึกษา- แบบ 0119 รบ.1ก.01 (ทะเบียน

การใหสุขศึกษา)

ยกเลิก - รบ.ตรัง 5 และสรุปผลการจัดกระบวนการสุขศึกษา

1. เพื่อใหมีการจัดกระบวนการสุขศึกษาไดครอบคลุมทุกขั้นตอนและรายงานเพียงครั้งเดียว

6. รายงานสรุปกิจกรรมกลาง ยกเลกิ - รบ.ตรัง 5

7. รายงานผลการพฒันาสาธารณสุข ประจํ าครึ่งป/ประจํ าป

ยกเลิก - รบ.ตรัง 5

1. ลดภาระในการจัดทํ ารายงานในระดับอํ าเภอและตํ าบล

2. มีขอมูลครอบคลุมแลวในรง.ตรัง 5

Page 31: Research (2)

31

2.2 การพฒันาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ1. การจัดหา Hard ware

การจัดหาคอมพิวเตอรของหนวยงานระดับตาง ๆ

จํ านวนคอมพิวเตอรหนวยงานกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ

แหลงงบประมาณ

สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ

โรงพยาบาลชุมชน - Stand alone - LANสถานีอนามัย

3 ชุด-

-

-

21 ชุด10 แหง

8 แหง4 แหง5 แหง

เงินบํ ารุงงานพัฒนาจังหวัดตามขอเสนอของ สส.เงินบํ ารุงเงินบํ ารุงเงินบํ ารุงบริจาค 1งบ สส. 4 แหง

2. การพัฒนาบุคลากร2.1 การจัดอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรูคอมพิวเตอรใหกับบุคลากร

การจัดการอบรมหลักสูตรตาง ๆ เก่ียวกับระบบงานคอมพิวเตอร

ชื่อหลักสูตร กลุมเปาหมาย จํ านวน

1. หลักสูตรพื้นฐานทั่วไป CW, SW และMicrosoft word, Microsoft excel, Microsoftpowerpoint

2. ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับคอมพิวเตอร3. การวิเคราะหขอมูลดวย Epi Info สํ าหรับนักวิจัย

- เจาหนาท่ีของ สสจ.

- นักวิชาการระดับจังหวัดและอํ าเภอ

45 คน

40 คน

Page 32: Research (2)

32

ชื่อหลักสูตร กลุมเปาหมาย จํ านวน

4. การวิเคราะหขอมูลดวย SPSS/PC+

5. โปรแกรมเวชระเบียนของโรงพยาบาล (Stat 2)

6. โปรแกรมเฝาระวังการบาดเจ็บ (TraumaRegistry)

7. โปรแกรมระบาดวิทยา (TPN)

8. โปรแกรมประกันสขุภาพ (OHI)

9. โปรแกรมประเมินการดํ าเนินงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง (ตรัง 5)

- นักวิชาการระดับจังหวัดและอํ าเภอ

- เจาหนาท่ีเวชระเบียนของโรงพยาบาล

- พยาบาลงานอุบัติเหตุและหัวหนาฝายการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน

- ผูรับผิดชอบงานระบาดวิทยาของ สสอ. และ รพช.ทุกแหง

- ผูรับผิดชอบงานประกันสุขภาพของ สสอ.และ รพช.

ทุกแหง- หัวหนางานในระดับจังหวัด

และระดับอํ าเภอ

40 คน

25 คน

25 คน

40 คน

40คน

45 คน

2.2 จัดการศึกษาดูงานการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอรกลุมเปาหมาย

- ผูรับผิดชอบงานเวชระเบียนของโรงพยาบาล ตัวแทนกลุมผูอํ านวยการ และ หัวหนาฝายบริหารโรงพยาบาลชุมชน จํ านวน 15 คน

สถานที่ศึกษาดูงาน1. โรงพยาบาลโพธาราม จังหวัดราชบุรี2. โรงพยาบาลมักกะรักษ จังหวัดกาญจนบุรี3. โรงพยาบาลฉะเชิงเทรา

Page 33: Research (2)

33

3. การพัฒนาและจัดหา Soft ware3.1 ขอรับการสนับสนุนโปรกรมจากสวนกลาง

- โปรแกรมเวชระเบียนของโรงพยาบาล (Stat 2)- โปรแกรมเฝาระวังทางระบาดวิทยา (TPN)- โปรแกรมเฝาระวังการบาดเจ็บ (Trauma Registry)- โปรแกรมประกันสขุภาพ (OHI)

3.2 พัฒนา Soft ware- ฐานขอมูลสถานีอนามัย- ประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข ระดับอํ าเภอ- ประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข ระดับจังหวัด

2.3 การพัฒนาบุคลากร1. จัดการอบรมและการจัดประชุมปฏิบัติการ

ชื่อหลักสูตร กลุมเปาหมาย จํ านวน

1. การวิจัยปฏิบัติการวัตถุประสงค เพ่ือใหเกิดแนวคิดในการวางแผนจัดเก็บขอมูลการกํ าหนดตัวแปร การสรางเคร่ืองมือในการกํ ากับงาน การตรวจสอบขอมูล การวิเคราะหและแปรผลการนํ าเสนอขอมูล

นักวิชาการประจํ า- สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด- สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ-โรงพยาบาลชุมชน- สถานีอนามัย

12 คน10 คน10 คน5 คน

2. การวิจัยประเมินผลวัตถุประสงค เพ่ือใหเกิดแนวคิดในการกํ าหนดตัวช้ีวัดในการประเมินผล นํ ามาสูการกํ ากับ และติดตามประเมินผลและการวิเคราะหแผนงาน/โครงการท่ีรับผิดชอบ

นักวิชาการประจํ า- สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด- สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ-โรงพยาบาลชุมชน

20 คน10 คน10 คน

Page 34: Research (2)

34

ชื่อหลักสูตร กลุมเปาหมาย จํ านวน3. การประชุมปฏิบัติการ “การจัดทํ าแผนพัฒนาสาธารณสุขและการ ประเมินผล”วัตถุประสงค เพ่ือใหการจัดทํ าแผนพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดตรัง ถูกตองตามสภาพปญหา และสามารถติดตามประเมินผลได

- หัวหนางานในระดับจังหวัด อํ าเภอ- ตัวแทนของกลุมผูบริหาร - ผูอํ านวยการโรงพยาบาลชุมชน - หัวหนาฝาย - สาธารณสุขอํ าเภอ

30 คน

10 คน

4. ประชมุวิชาการประจํ าเดือนของนักวิชาการ- เพ่ือใหเปนเวทีของนักวิชาการในการนํ าเสนอขอมูลวิชาการ และสภาพปญหาอุปสรรคในการดํ าเนินงานเพ่ือเสนอผูบริหารตอไป

นักวิชาการใน- สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด- สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ- โรงพยาบาล- สถานีอนามัย

ไมจํ ากัดทุกวันที่20 ของเดือน

5. ประชุมปฏิบัติการคณะอนุกรรมการวางแผนและประเมินผล- เพ่ือใหคณะอนุกรรมการวางแผนและประเมินผลไดฝกทักษะในการวิเคราะหและจัดลํ าดับความสํ าคัญของโครงการกอนเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ซึ่งทํ าใหการพิจารณาโครงการไดศึกษาขอมูลที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น

- คณะอนุกรรมการวางแผนและ ประเมินผล

32 คน

Page 35: Research (2)

35

ชื่อหลักสูตร กลุมเปาหมาย จํ านวน

6. การแกปญหาสุขภาพ โดยทีมพัฒนาสาธารณสุขระดับอํ าเภอ (Distric Team Problem Solving)- เพ่ือใหระดับอํ าเภอสามารถเสนอโครงการแกปญหาสาธารณสุขถูกตอง ตามข้ันตอนของการจัดทํ าโครงการ เชน การจัดลํ าดับความสํ าคัญของปญหา การกํ าหนดตัวช้ีวัดและการประเมินผลโครงการ

- ทีมแกปญหาสุขภาพระดับ อํ าเภอ ประกอบดวย - แพทย พยาบาล นักวิชาการ ทีมละ 7-9 คน

10 อํ าเภอ

7. การจัดระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข - กลุมหัวหนาสถานีอนามัย- อาสาสมัครสาธารณสุข

120 คน7667 คน

Page 36: Research (2)

36

ผลการพัฒนา Soft ware

1. โปรแกรมฐานขอมูลของสถานีอนามัยศักยภาพของโปรแกรม1. บันทึกขอมูลพ้ืนฐานในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

1. หมูบาน2. หลังคาเรือน3. ประชากร4. อาสาสมัครสาธารณสุข

2. บันทึกงานบริการสาธารณสุข ทั้งคนในเขต/นอกเขต1. งานรักษาพยาบาล2. การคลอด3. การดูแลกอนคลอด4. การดูแลหลังคลอด5. การดูแลทารกหลังคลอด6. การวางแผนครอบครัว7. การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค8. การจายเวชภัณฑ

3. บันทึกงานในชุมชน1. งานสุขาภิบาล2. การนัดการรับบริการ

- สรางเสริมภูมิคุมกันโรค- งานการดูแลกอนคลอด/ดูแลหลังคลอด- งานวางแผนครอบครัว

4. จัดทํ ารายงาน1. รายงานสุขาภิบาล2. รายงานการจายเวชภัณฑ3. รายงานผูปวยรายกลุมโรค (รง.504)4. รายงานโครงสรางประชากร จํ าแนกตามกลุมอายุ5. รายงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา (รง.506)

Page 37: Research (2)

37

6. รายงานสงเคราะหผูมีหลักประกันสุขภาพ- 11 รง.5/2- สป.002

7. สรุปกิจกรรมการใหบริการ5. คนหาขอมูลผูขาดการรับบริการและการสาธารณสุขพื้นฐาน

1. งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค2. งานอนามัยแมและเด็ก3. งานวางแผนครอบครัว4. หลังคาเรือนที่ยังไมผานเกณฑการสุขาภิบาล

หมายเหตุ โปรแกรมของสถานีอนามัย เปนแบบ Relational Database ซึ่งทํ าใหขอมูลไมมีความซํ้ าซอนในการบันทึก และประหยัดเน้ือท่ีในการจัดเก็บ พัฒนาโดยโปรแกรม MicrosoftAccess

2. โปรแกรมประเมินผลงานสาธารณสุขระดับอํ าเภอศักยภาพของโปรแกรม1. บันทึกขอมูลรายงานผลการดํ าเนินงานรายงวดของรายสถานบริการในระดับอํ าเภอ2. ประมวลผล การประเมินผลการพัฒนาตามตัวช้ีวัด (รง.ตรัง 5) โดยจํ าแนกตาม

1. รายสถานบริการ ในแตละงวด2. รายตํ าบล ในแตละงวด3. รายงวด ของแตละหนวย เชน ตํ าบลหรือสถานบริการ

3. สามารถพิมพรายงานเพื่อแจกจายใหกับผูเกี่ยวของ ในระดับอํ าเภอ เชน สาธารณสุขอํ าเภอ หัวหนา งาน นักวิชาการ และสงกลับใหกับสถานีอนามัย4. สามารถสงขอมูลดวย Disskette มายังสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด

3. โปรแกรมประเมินงานสาธารณสุขระดับจงัหวัดศักยภาพของโปรแกรม1. สามารถใชในระบบเครือขาย (LAN) ภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดได โดยที่ฝายตาง ๆ

สามารถปรับปรุง (Update) และจัดทํ ารายงานที่ฝายรับผิดชอบได2. สามารถประมวลผลขอมูลไดตั้งแตระดับสถานีอนามัย ตํ าบล อํ าเภอ และภาพรวมทั้งจังหวัด เปน

รายงวดและรายป

Page 38: Research (2)

38

3. สามรถรับขอมูลดวย Diskette ท่ีรายงานโดยหนวยงานในระดับอํ าเภอได4. มีขอมูลครอบคลุมตัวชี้วัดที่กํ าหนดตามความตองการของคณะทํ างานวิจัยพัฒนาระบบขอมูล

ขาวสาร ทั้งหมด 12 งาน คือ1. งานควบคุมโรคไมติดตอ2. งานอนามัยแมและเด็ก3. งานอนามัยโรงเรียน4. งานโภชนาการ5. งานทันตสาธารณสุข6. งานคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข7. งานสุขศึกษา8. งานควบคุมโรคติดตอ9. งานสาธารณสุขมูลฐาน10. งานสุขาภิบาล11. งานประกันสุขภาพ12. งานโครงการสุขภาพดีถวนหนา

ปญหาอุปสรรคของระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การจัดองคกร- หนวยงานยังไมไดวิเคราะหกรอบและแนวทางการพัฒนาเพื่อนํ าระบบคอมพิวเตอรมาใชในหนวย

งานอยางเปนระบบ โดยเฉพาะการออกแบบฐานขอมูลเพือ่การบริหารจัดการขององคการ- ผูรับผ่ิดชอบงานคอมพิวเตอรของหนวยงานไมทราบบทบาทท่ีชัดเจนและเปลี่ยนงานบอย2. Hard ware- ตัวแทนจํ าหนาย บริการหลังการขายไมดีพอ การสงซอมบํ ารุงใชเวลานาน ไมมีเคร่ืองทดแทนใหกับ

หนวยงาน ทํ าใหระบบงานเกิดความลาชา- สถานีอนามัยสวนใหญ ไมมีเงินบํ ารุงเพียงพอในการจัดหาคอมพิวเตอร3. Soft ware- Soft ware ที่ไดรับการสนับสนุนจากสวนกลาง มักมีปญหาแลวผูรับผิดชอบในระดับจังหวัดแกไข

ไมได

Page 39: Research (2)

39

- Soft ware ที่พัฒนาโดยสวนกลาง วิเคราะหฐานขอมูลแยกสวน ทํ าใหเจาหนาที่ตองบันทึกขอมูลซํ้ าซอน เชน โปรแกรม Stat2 กับ โปรแกรมระบาดวิทยา (TPN, Epidem) และโปรแกรมเฝาระวังการบาดเจ็บ (Trauma Registry) ซึ่งควรดึงฐานขอมูลจาก Stat2 เพ่ือจัดทํ ารายงานโดยไมตองบันทึกขอมูลใหม

4. ระบบการสํ ารองขอมูล- Soft ware บางสวน ไมไดเขียนโปรแกรมใหผูใช ใชเมนูในการสํ ารองขอมูล ซึ่งจะทํ าใหขอมูล

สูญหายได เชน โปรแกรม Stat2 โปรแกรม Trauma Registry

การบริหารจดัการ1. สํ านักงานสาธารณสุขังหวัดตรัง โดยคณะทํ างานพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง

จัดประชุมชี้แจงระบบขอมูลขาวสารที่ปรับปรุงแลวใหกับเจาหนาทีใ่นระดับอํ าเภและตํ าบลทุกแหง2. ฝายตาง ๆ ของสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ไดติดตามนิเทศการดํ าเนินงานขอมูลขาวสารควบคูกับ

การนิเทศงานปกติของฝาย3. จัดทํ าเกณฑการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของสถานีอนามัย (ตามผนวก 6) โดยมุงเนน

การปรับขอมูลใหเปนปจจุบันภายใน 1 เดือนเกณฑการประเมิน แบงออกเปน 3 ระดับ คือ

ระดับ A คือ สถานีอนามัยที่มีผลการพัฒนาผานเกณฑโดยกรรมการะดับอํ าเภอเปนผูประเมิน และกรรมการระดับจังหวัดจะเปนผูประเมินรับรองหากจังหวัดรับรองแลวไมผานเกณฑ จะตองตกไปอยูในกลุม B

ระดับ B คือ สถานีอนามัยที่มีผลการพัฒนายังไมผานเกณฑโดยการประเมินของคณะกรรมการระดับอํ าเภอ แตคณะทํ างานระดับอํ าเภอคาดวาสามารถเรงรัดการดํ าเนินงานใหผานเกณฑไดภายในระยะเวลาอันสมควร

ระดับ C คือ สถานีอนามัยที่มีผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารลาหลังเกินกํ าลังความสามารถของคณะทํ างานระดับอํ าเภอท่ีจะเรงรัดใหผานเกณฑไดซึ่งเปนกลุมเปาหมายของคณะทํ างานระดับจังหวัดที่จะลงไปติดตามใหการสนับสนุนและศึกษาหาปญหาในการดํ าเนินงานตอไป

4. การจัดทํ า Rapid survey ประจํ าป โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือตรวจสอบขอมูลจากระบบบัญชีตรัง00-ตรัง06 และสํ ารวจขอมูลเพ่ิมเติมท่ีอยูนอกเหนือจากท่ีมีอยูในระบบ

Page 40: Research (2)

40

3. ระยะการนํ าเสนอรูปแบบ โดยการนํ ารูปแบบซึ่งไดผานกระบวนการพัฒนาตามลํ าดับลงไปใชปฏิบัติงานในพื้นที่ แตละระดับ และปรับเปลี่ยนกลยุทธในการพัฒนาตอไป โดยการใชเวทีสาธารณะใหแตละกลุม รวมตัดสนิใจในการวางระบบขอมูลในแตละระดับ

4. การเก็บรวบรวมขอมูลโดยคณะเจาหนาที่สาธารณสุขจังหวัด ซึ่งไดรับการชี้แจงในการจัดทํ าระเบียนรายงาน ที่จัดทํ า/

ปรับปรุงใหม จํ านวน 413 คน

5. การวิเคราะหขอมูลสถิติที่ใชในการศึกษาวิจัยไดแก ความถี่ รอยละ และอัตรา

Page 41: Research (2)

บทที่ 4ผลการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ี เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participation Action Research)โดยดํ าเนินการตามกรอบแนวคิดของการวิจัย ซึ่งแบงออกเปน 4 ดาน ดวยกันคือ

1. การพฒันาระบบระเบียนรายงาน2. การพัฒนาบุคลากร3. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ4. การพฒันาการบริหารระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข

Page 42: Research (2)

42

1. การพัฒนาระบบทะเบียน/รายงาน

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษาระดับตํ าบล1. การลดลงของ

รายงาน

2. การใชประโยชน

3. ความเปนปจจุบันของขอมูล

- จํ านวน 25 รายงาน 33ทะเบียน

มีเฉพาะขอมูลผูท่ีมารับบริการท่ีสถานบริการเทาน้ัน แตไมทราบกลุมเปาหมายท้ังหมดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบทํ าให- ไมทราบประชากรกลุม

เปาหมายการรับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

- ไมสามารถติดตามผูขาดการรับบริการสาธารณสุขพื้นฐานในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

- จากการสํ ารวจขอมูลปละ 1 ครั้ง (30 มิ.ย.)

- คงเหลือ 17 รายงาน 18ทะเบียน

มีฐานขอมูลของประชากรและหลังคาเรือนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบไดครบถวน ทํ าใหสามารถ- วางแผนการใหบริการได

ตรงกับความเปนจริง และขอเบิกวัสดุและเวชภัณฑไดเหมาะสม ทํ าใหประหยัด ลดการสูญเสียเชน วัคซีน

- สามารถติดตามผูขาดการรับบริการสาธารณสุขขั้นพ้ืนฐานหรือผูท่ีมีปญหาทางดานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีรับผ่ิดชอบไดครบถวน

- ภายใน 1 เดือน

- จากการสํ ารวจในระดับสถานีอนามัย

- การสัมภาษณเจาะลึก เจาหนาท่ีประจํ าสถานีอนามัยในการประเมินการพัฒนาสถานีอนามัย 120แหง

- การประเมินผลตามเกณฑการประเมินผล

Page 43: Research (2)

43

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษาระดับอํ าเภอ1. การใช

ประโยชน

2. ความซํ้ าซอนของรายงาน

- ระดับอํ าเภอไมสามารถวิเคราะหความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขและสถานสุขภาพของประชากรในเขตรับผิดชอบจํ าแนกรายอํ าเภอและสถานีอนามัยได สงผลใหไมสามารถติดตามกํ ากับและประเมินผลการดํ าเนินงานของสถานีอนามัยไดเปนรูปธรรม หากมีการใชขอมูลการใหบริการประเมินผล

- เจาหนาท่ีระดับอํ าเภอตองรวบรวมรายงานหลาย ๆ รายงาน ซึ่งขอมูลมีความขัดแยงกันและไมสามารถตรวจสอบแหลงท่ีมาไดชัดเจน

- ระดับอํ าเภอสามารถวิเคราะหขอมูลความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขและสถานสุขภาพของประชากรในเขตรับผิดชอบ จํ าแนกรายตํ าบลและรายสถานีอนามัยได สงผลใหสามารถติดตามกํ ากับและประเมินผลการดํ าเนินงานของสถานีอนามัยไดชัดเจน โดยผูถูกประเมินสามารถยอมรบัผลการประเมินได

- แบบรายงานไมมีขอมูลท่ีขัดแยงกันและสามารถตรวจสอบจากผลการวิเคราะห

- จากการสัมภาษณเจาะลึกนักวิชาการประจํ าสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอทุกแหง

- จากการสัมภาษณเจาะลึกนักวิชาการประจํ าสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอทุกแหง

Page 44: Research (2)

44

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษาระดับจังหวัด1. การใชประโยชน - ระหวางฝายเสนอขอมูล

ท่ีมีความขัดแยงกัน เชนเด็กอายุต่ํ ากวา 1 ป ฝายสงเสริมและฝายควบคุมโรค มีขอมูลท่ีแตกตางกันมาก

- ไมสามารถนํ าขอมูลมาใชในการวางแผน ติดตามกํ ากับและประเมินผลการดํ าเนินงานจํ าแนกรายอํ าเภอไดเน่ืองจากมีขอมูลรายงานการใหบริการเทาน้ัน ซ่ึงมีการรับบริการขามเขต

- สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถจัดทํ าคลังขอมูลขาวสารสาธารณสุข และรายงานประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข (รง.ตรัง5) เปนรายงานกลางท่ีทุกฝายสามารถใชรวมกัน

- สามารถนํ าขอมูลมาใชในการวางแผน ติดตามกํ ากับ และประเมินผลการดํ าเนินงานจํ าแนกรายอํ าเภอ ตํ าบลและสถานบริการ โดย

1. ใหอํ าเภอเสนอโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพ้ืนท่ีอยางนอยอํ าเภอละ 1 โครงการ

2. ฝายสามารถวิเคราะหปญหากอนออกติดตามนิเทศ ทํ าใหการนิเทศงานมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน

3. ฝายสามารถใชขอมูลในการประเมินผลเปรียบเทียบขอมูลรายอํ าเภอและความกาวหนาไดในแตละงวด

- จากการสัมภาษณเจาะลึกนักวิชาการหัวหนางานในฝายตาง ๆ ของสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด จํ านวน15 คน

Page 45: Research (2)

45

ปญหาอปุสรรค1. ระบบการ Update ขอมูล ยังเปนการกระทํ าดวยคน (Manual) ทํ าใหยุงยากและเสียเวลา หรือเจาหนา

ที่ไมเพียงพอ เชน กรณีมีการโยกยาย ลาศึกษาตอ จะทํ าใหระบบไมตอเน่ือง

ขอเสนอแนะ1. นโยบายของนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด จะตองประกาศเปนนโยบาย ที่ทุกหนวยงานจะ

ตองพัฒนาระบบขอมูลขาวสารตอเน่ืองเปนปจจุบันตลอดไป เพราะเปนหัวใจของการบริหารจัดการเพ่ือใหเปนปจจุบัน ซึ่งจะสงผลตองานอื่น ๆ

2. หนวยงานทุกระดับตองมีการอํ านวยการและจัดการในกระบวนการขอมูลใหครบวงจร ต้ังแตการจัดเก็บ วิเคราะห แปรผล และเสนอเพื่อประกอบการตัดสินใจ

3. สงเสริมใหสถานีอนามัย และฝายสงเสริมสุขภาพ ฝายสุขาภิบาล โรงพยาบาลชุมชน จัดหาคอมพิวเตอร เพ่ือนํ ามาใชในการจัดทํ าระบบฐานขอมูล

2. ยังมีการขอขอมูลจากศูนยวิชาการที่ไมมีการวางแผนลวงหนา จังหวัดไมสามารถใหขอมูลได เชนการขอขอมูลผูรับบริการวัคซีน แยกเพศชายหญิง จํ านวนของการพยายามฆาตัวตาย รายคร้ัง จนกวาสํ าเร็จ

ขอเสนอแนะ1. ยกเลิกการสงขอมูลใหศูนยวิชาการ2. หากศูนยวิชาการมีความจํ าเปนตองใชขอมูล ควรใชวิธีการสํ ารวจ (Rapid survey)

Page 46: Research (2)

46

2. การพัฒนาบุคลากร

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา1. ความสามารถใน

การทํ าวิจัย- บุคลากรในสํ านักงาน

สาธารณสุขจังหวัดตรังมีความสามารถในการทํ าวิจัย ประมาณ 5-7คน

- บุคลากรในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังมีความสามารถในการทํ าวิจัยประมาณ 30 คน

- จากการสํ ารวจเอกสารผลงานวิจัยท่ีปรากฎ

2. ความสามารถในการกํ าหนดตัวชี้วัดผลการดํ าเนินงาน

- หัวหนางานภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดไมไดกํ าหนดตัวช้ีวัดในการดํ าเนินงานนอกเหนือจากท่ีเปนการกํ าหนดโดยสวนกลาง

- ทุกงานภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถกํ าหนดตัวช้ีวัดไดครอบคลุมในกระบวนการบริหารจัดการ (InputProcess Outcom)

- จากการสัมภาษณเจาะลึกหัวหนางานภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด

3. ความสามารถในการวิเคราะหความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขขั้นพ้ืนฐาน

- เจาหนาท่ีในระดับอํ าเภอและตํ าบลจะนํ าเสนอผลการดํ าเนินงานการจัดบริการสาธารณสุขข้ันพ้ืนฐานเปรียบเทียบกับเปาหมาย ซึ่งไมใชขอมูลท่ีบงช้ีสถานการณท่ีแทจริง

- เจาหนาท่ีในระดับอํ าเภอและตํ าบลทุกแหง มีความสามารถในการนํ าเสนอผลการดํ าเนินงานการจัดบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานเปรียบเทียบกับประชากรเปาหมายท้ังหมด ซ่ึงเปนขอบงช้ีสถานการณท่ีแทจริง และสามารถเปรียบเทียบระหวางพ้ืนท่ีได

- จากการติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารระดับอํ าเภอและสถานีอนามัยทุกแหง

Page 47: Research (2)

47

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา4. ความสามารถใน

การจัดทํ าโครงการ

- การเสนอโครงการไมมีแนวทางท่ีชัดเจน

- การเสนอโครงการไมมีการตรวจสอบรูปแบบของการประเมินผล ทํ าใหการดํ าเนินงานของโครงการไมสามารถประเมินผลได

- การนํ าเสนอโครงการนอกเหนือจากระบบกชช. จะตองมีการลํ าดับความสํ าคัญของปญหาใหเห็นชัดเจน

- การนํ าเสนอโครงการฯตองนํ าเสนอรูปแบบของการประเมินผลท่ีชัดเจนและสอดคลองกับสภาพปญหา

- ในป 2540 มีโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพ้ืนท่ีโดยใชงบประมาณจากการบริหารจัดการงบดํ าเนินการของสํ านักงานสาธาณณสุขจังหวัดโดยไมตองของบเพ่ิมเติมจากสวนกลาง

- การประชุมปฏิบัติการของคณะอนุกรรมการวางแผนและประเมินผล ซึ่งเปนคณะทํ างานพิจารณาโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพ้ืนท่ี

Page 48: Research (2)

48

ปญหาอปุสรรค1. การจัดการภายในกลุมงาน (หรือฝาย) ยังมีขอจํ ากัด กลาวคือ การดํ าเนินการภายในสํ านักงาน

สาธารณสุขจังหวัดมักจะไมเปนทางการ ทํ าใหการพัฒนาบุคลากรไดเฉพาะกลุมสนใจเปนหลัก ซึ่งการมอบหมายภารกิจในการทํ างานจะผานผูท่ีรับผิดชอบ เพียง 1-2 คนของแตละฝายเทานั้น ทํ าใหงานบางงานของฝายไมสามารถวิเคราะหขอมูลที่ลึกซึ้ง อีกทั้งการรวมในการจัดทํ าแผนขาดคนที่มีความรูลึกซึ้งชัดเจนในงานน้ัน ๆ

2. การกํ าหนดบทบาทของบุคลากรทางดานวิชาการ เพื่อสนับสนุนการดํ าเนินงานสาธารณสุขยังไมชัดเจน ทั้งที่หนวยงานสาธารณสุขไดกํ าหนดใหมีตํ าแหนงทางวิชาการในทุกระดับ แตเน่ืองจากความขาดแคลนบุคลากร ผูทํ างานวิชาการ ก็จะตองทํ างานผสมผสานระหวางการใหบริการกับการทํ างานวิชาการ ฉะนั้นบทบาททางดานการตรวจสอบ วิเคราะหวิจัยและแปรผลขอมูล ไมสามารถดํ าเนินการไดเต็มท่ี

3. ขาดการพัฒนาผูรับผิดชอบงานอ่ืน ๆ ที่ไมใชนักวิชาการในระดับสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ ในดานขอมูลขาวสาร ทํ าใหขอมูลไหลเวียนไปสูการตรวจสอบและนํ าไปใชไมดีพอ

Page 49: Research (2)

49

3. การพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา1. การลดลงของ

ข้ันตอนและรวบรวมรายงาน

- ระดับตํ าบล- ระดับอํ าเภอ- ระดับจังหวัด

4 ข้ันตอน3 ข้ันตอน3 ข้ันตอน

3 ข้ันตอน1 ข้ันตอน1 ข้ันตอน

- การประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข 10 อํ าเภอ 120สถานีอนามัย

2. จํ านวนวันทํ างาน

- ระดับอํ าเภอ(1 คนทํ างาน)

- ระดับจังหวัด(1 คน ทํ างาน)

160 ช่ัวโมง/3 เดือน

40 ช่ัวโมง/3 เดือน

40 ช่ัวโมง/3 เดือน

8 ช่ัวโมง/3 เดือน

- การสัมภาษณผูรับผิดชอบในการจัดทํ ารายงาน

3. การจัดทํ าสํ าเนารายงานเพื่อสงใหกับสวนกลาง

- ระดับตํ าบล- ระดับอํ าเภอ- ระดับจังหวัด

3 ชุด2 ชุด1 ชุด

2 ชุด1 ชุด1 ชุด

- การประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข

4. ความรวดเร็วในการสรุปขอมูลในการจัดทํ ารายงานเสนอการตรวจราชการของกระทรวงสาธารณสุข

15 วัน 5 วัน - การสัมภาษณผูรับผิดชอบ

Page 50: Research (2)

50

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา5. ความสามารถใน

การเขาถึงขอมูลในระดับจังหวัด

- ในระดับจังหวัดไมสามารถวิเคราะหขอมูลในระดับตํ าบลได

- ฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถวิเคราะหขอมูลไดถึงระดับสถานีอนามัยจากโปรแกรมประเมินผลการดํ าเนินงานจากคอมพิวเตอรในระบบLAN

-

6. ความรวดเร็วในการจัดทํ ารายงานของโรงพยาบาลชุมชน

- โรงพยาบาลชุมชนทุกแหง ไมไดใชโปรแกรม Stat2ทํ าใหการรวบรวมรายงานลาชา และเกิด ความผิดพลาดในการทํ ารายงานบอย

- เวลาในการทํ ารายงาน 5 วัน

- โรงพยาบาลชุมชน 7 แหง(ท้ังหมด 8 แหง) ไดใชโปรแกรม Stat2 ทํ าใหเวลาในการจัดทํ ารายงานคงเหลือ 2 วัน

- ลดความผิดพลาดในการจัดทํ ารายงาน

- สามารถเรียกดูขอมูลจากงานเวชระเบียนไดภายใน3-5 นาที เชน- ขอมูลผูปวยรายบุคคล- รายงานการเจ็บปวย

ตามเง่ือนไข- จนท.เวชระเบียนของ

รพช.ทุกแหงมีความพึงพอใจมากในการใชโปรแกรมเวชระเบียน

- จากการประเมินผลการพัฒนาระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาลชุมชน

Page 51: Research (2)

51

ปญหาอปุสรรค 1. ดานงบประมาณในการจัดหาและบํ ารุงรักษา Hard Ware มีจํ านวนจํ ากัด ประกอบกับการขาด

สภาพคลองทางดานงบประมาณประจํ าป 25412. ดานบุคลากร ตามกรอบอัตรากํ าลัง ยังไมมีผูรับผิดชอบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งใน

ระดับจังหวัดและอํ าเภอ จึงเปนการยากที่จะพัฒนาใหบุคคลเกิดความเชี่ยวชาญ และรับผิดชอบงานอยางตอเน่ืองได รวมทั้งขาดผูชํ านาญการท่ีจบการศึกษาดานน้ีโดยตรง ทํ าใหเสียเวลาในการคนควาและพัฒนา

3. นโยบายจากสวนกลางยังไมชัดเจน ในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับระดับภูมิภาค

Page 52: Research (2)

52

4. การบริหารจดัการ4.1 การประเมินผลการพฒันาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของสถานีอนามัย

จํ านวนและรอยละของสถานีอนามัย จํ าแนกตามระดับของการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข ป 2538-2541

ป 2538 ป 2539 ป 2540ผลการพัฒนาจํ านวน รอยละ จํ านวน รอยละ จํ านวน รอยละ

ระดับ Aระดับ Bระดับ C

664012

55.8833.7810.34

92253

77.9721.182.54

95241

79.1720.000.83

รวมท้ังหมด (N) 118 100.00 120 100.00 120 100.00

จากตาราง พบวาระดับการพัฒนาที่ผานเกณฑระดับ A ในป 2538-2540 มีแนวโนมสูงขึ้นกลาวคือ รอยละ 55.88, 77.97 และ 79.17 ตามลํ าดับ

4.2 ผลของการพัฒนาระบบบริหารจัดการ

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา1. การมีสวน

รวมของอาสาสมัครสาธารณสุข

- อาสาสมัครไมมีบทบาทท่ีชัดเจน ในการมีสวนรวมตอการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน และการติดตามการเขาถึงหรือการรับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานของคนในละแวกบาน

- อาสาสมัครมีระบบการรายงานขอมูลการเปล่ียนแปลงในเขตละแวกบานท่ีรับผิดชอบให เจาหนาท่ีสาธารณสุขไดปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันทุกเดือน

- เจาหนาที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขไดมีการแลกเปล่ียนขอมูลและชวยกันติดตามการรับบริการสาธารณสุขใหมีความครบถวนภายใน 1-2 เดือน สํ าหรับผูขาดการรับบริการสาธารณสุขข้ันพ้ืนฐาน

- การประเมินผลการพัฒนาสถานีอนามัย 120แหง

Page 53: Research (2)

53

ตัวช้ีวัด สภาพกอนดํ าเนินการ หลังดํ าเนินการ วิธีการศึกษา2. บทบาทของ

อํ าเภอตอการควบคุมมาตรฐานของขอมูลขาวสาร

- ระดับอํ าเภอสวนใหญไมไดตรวจสอบมาตรฐานของระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของสถานีอนามัย

- ระดับอํ าเภอมีเกณฑในการประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารของสถานีอนามัยและมีสวนรวมในการประเมินผลสงใหจังหวัดเปนระยะ ๆทุก 4 เดือน

- วิธีการดํ าเนินงานประเมินผลระบบขอมูลขาวสาร

3. บทบาทของฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ตอการนิเทศงานระบบขอมูลขาวสาร

- ฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดไมทราบมาตรฐาน, เกณฑและแนวทางการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขในระดับอํ าเภอและตํ าบลท่ีชัดเจน ซึ่งไมสามารถนิเทศงานขอมูลขาวสารท่ีเปนระบบได และมักจะมีการช้ีแจงงานใหตํ าบลขัดแยงกันระหวางฝาย จนทํ าใหเจาหนาท่ีในระดับตํ าบลสับสน

- ฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดใชเกณฑมาตรฐานและแนวทางเดียวกันในการนิเทศงานขอมูลขาวสารสาธาณณสุขในระดับอํ าเภอและตํ าบลรวมกันการนิเทศงานปกติของฝายดวย

- จากการสมัภาษณนักวิชาการประจํ าฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดและเจาหนาท่ีประจํ าสถานีอนามัย 120แหง

Page 54: Research (2)

54

4.3 ผลการ Rapid Survey ขอมูล ป 2540

ตัวชี้วัด จากทะเบียน จาก Survey รอยละความถูกตอง ตรงกัน

1. การจัดทํ าบัตรอนามัยครอบครัวเพื่อขึ้นทะเบียนประชากรในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ- จํ านวนประชากร

2. จํ านวนเด็ก 0-5 ป- รับบริการวัคซีนครบ

ตามเกณฑ

3. หญิงวัยเจริญพันธุอยูกินกับสามี วางแผนครอบครัว

4. งานสุขาภิบาล

358 หลังคาเรือน

1,948 คน

179 คน185 คน

171 คน

357 หลังคาเรือน

386 หลังคาเรือน

2,013 คน

200 คน185 คน

200 คน

386 หลังคาเรือน

92.75

96.77

89.50100

85.50

92.49

จากผลการ Rapid Survey เพ่ือตรวจสอบความครอบคลุมของขอมูลระหวางสภาพความเปนจริงในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสถานบริการกับการข้ึนทะเบียนไวท่ีสถานบริการ พบวาทุกตัวช้ีวัดมีความถูกตองตรงกัน รอยละ 85 ข้ึนไป ซ่ึงเปนขอมูลท่ีมีคุณภาพเช่ือถือและยอมรับได

Page 55: Research (2)

55

ปญหาอปุสรรค1. การดํ าเนินการตรวจสอบและวิเคราะหขอมูลของงานตาง ๆ ในฝาย เพ่ือเสนอใหหัวหนาฝายรับ

ทราบสถานการณอยางเปนระบบ ตามข้ันตอนของการบริหาร เพ่ือจะไดวางแผนติดตามเรงรัดงานเปนระยะ ๆ ในการติดตามนิเทศงานผสมผสาน ยังไมเปนระบบเทาที่ควร

ขอเสนอแนะ1. ควรกํ าหนดเวลาในการนํ าเสนอท่ีชัดเจน เชน หลังจากสิ้นงวดภายใน 15 วัน ผูรับผิดชอบงาน

ตองเสนอขอมูลในรูปของสารสนเทศใหกับหัวหนางาน2. หัวหนางานตรวจสอบและหาแนวทางแกไข และสรุปสถานการณเพื่อรายงานใหผูเชี่ยวชาญ

และนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดรับทราบ หรือพิจารณาในแนวทางการบริหารจัดตอไป2. การไหลเวียนขอมูลคอนขางลาชา โดยเฉพาะรายงานที่อํ าเภอสงใหจังหวัดมีความลาชาประมาณ

1 เดือน โดยมีสภาพปญหาดังนี้2.1 ปญหาการจัดสงรายงานของระดับตํ าบลลาชา ซึ่งสวนใหญเกิดจากการที่เจาหนาที่ประจํ า

สถานีอนามัย ติดภาระกิจเรงดวน หรือ ปวย หรือมีคํ าสั่งยาย ระดับสถานีอนามัยไมมีระบบรองรับที่ดี2.2 การจัดการของระดับอํ าเภอ/จังหวัด- ผูรับผิดชอบงานในระดับอํ าเภอ ลา หรือยาย ทํ าใหงานขาดตอน ไมไดมีผูรับผิดชอบ

สํ ารองไวอยางชัดเจน- ระบบคอมพิวเตอร หากเคร่ืองคอมพิวเตอรของสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอเสีย จังหวัดไมมี

เคร่ืองสํ ารองใหอํ าเภอไปใชเปนการช่ัวคราว หรืออํ าเภอเองไมยอมประสานเพ่ือมาใชเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีจังหวัดหรืออํ าเภอใกลเคียง 2.3 ปญหาระบบเครือขายคอมพิวเตอร ยังไมสามารถดํ าเนินการส่ือสารได ทั้งภายในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด และกับหนวยงานยอย คือ โรงพยาบาลและสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ - ขาดผูรับผิดชอบโดยตรง หรือการจัดองคกรรับผิดชอบ ท้ังน้ีไมมีกรอบอัตรากํ าลังรองรับพรอมทั้งการมอบหมายภาระกิจของหนวยงาน ยังไมชัดเจน ไมมีแผนการดํ าเนินงาน - ขาดงบประมาณในการซอมบํ ารุง และวางระบบเครือขาย - ขาดการพัฒนาบุคลากร เพ่ือรองรับการพัฒนาระบบเครือขายคอมพิวเตอร - ขาดผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับภูมิภาค ไมมีแหลงสนับสนุนทางดานวิชาการ

Page 56: Research (2)

56

3. การติดตามเขาถึงประชากรที่ยังขาดการรับบริการสาธารณสุขหรือสวนที ่เปนปญหาสาธารณสุข ฝายที่เกี่ยวของนาจะใชฐานขอมูลที่มีอยู เพ่ือศึกษาสวนท่ีเปนปญหาอยูอยางจริงจัง เชน หลังคาเรือนท่ียังไมมีสวม เด็กที่ยังขาดการรับวัคซีน แมที่ยังไมฝากครรภ ฝายวิชาการ สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดควรจะทํ าหนาที่ในการศึกษาสภาพปญหาเปนผลงานทางวิชาการ ควบคูกับการติดตามเรงรัดในระดับอํ าเภอและตํ าบล

4. การกํ าหนดมาตรการทางดานขอมูลขาวสารที่สํ าคัญ เชน การดํ าเนินการกับผูที่รายงานเท็จหนวยงานที่จัดสงรายงานลาชาโดยไมมีสาเหตุที่เพียงพอ

ขอเสนอแนะ1. ผูบริหารควรกํ าหนดมาตรการการลงโทษท่ีชัดเจน2. การใชขอมูลของผลการดํ าเนินงานขอมูลขาวสารประกอบการพิจารณาความดีความชอบ

หรือการแตงต้ังข้ึนดํ ารงตํ าแหนงที่สูงขึ้น

Page 57: Research (2)

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาโครงการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง เปนการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยมีสมมติฐานวา ถาบุคลากรเขาใจความสํ าคัญของระบบขอมูล มีเคร่ืองมือการจัดเก็บท่ีดี และใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขาชวย รวมทั้งการบริหารระบบขอมูลขาวสารที่มีประสิทธิภาพ ก็จะทํ าใหมีการใชระบบขอมูลขาวสารเพื่อการตัดสินใจในการพัฒนาสถานะสุขภาพของประชาชนไดอยางเหมาะสม

สรุปผลการศึกษาการพฒันาระบบทะเบียนรายงาน

คณะทํ างานวิจัยพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไปประชุมปฏิบัติการผูที่เกี่ยวของทุกระดับ เพื่อศึกษาและปรับปรุงแบบทะเบียนและรายงาน สามารถลดทะเบียนไดจํ านวน 15รายการ และลดรายงานได 8 รายการ ทํ าใหแบบทะเบียนและรายงานยังคงใชในระดับตํ าบลจํ านวน 18และ 17 รายการ ตามลํ าดับ

จากการปรับปรุงระบบทะเบียนรายงาน ทํ าใหในระดับตํ าบล มีฐานขอมูลในการวางแผนการใหบริการไดตรงกับความเปนจริงมากยิ่งขึ้น ลดการสูญเสียวัสดุ เวชภัณฑ เชน การลดการสูญเสียวัคซีนและสามารถติดตามผูที่ขาดการรับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน หรือผูที่มีปญหาทางดานสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบไดครบถวน รวมทั้งขอมูลจะมีการปรับปรุง (Update) ใหเปนปจจุบันภายใน 1 เดือน

ระดับอํ าเภอ สามารถวิเคราะหความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขและสถานะสขุภาพของประชากรในเขตรับผิดชอบ จํ าแนกรายตํ าบลและรายสถานีอนามัยได สงผลใหสามารถติดตามกํ ากับและประเมินผลการดํ าเนินงานของสถานีอนามัยไดชัดเจน โดยผูถูกประเมินสามารถยอมรับผลการประเมินได เพราะฐานขอมูล คือ ทุกคน หรือหลังคาเรือนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ และทั้งนี้สามารถลดความขัดแยงกันระหวางงานตาง ๆ ที่ฐานขอมูลมีที่มาแตกตางกัน งายตอการตรวจสอบ

สํ าหรับระดับจังหวัด สามารถจัดทํ าคลังขอมูลขาวสารสาธารณสุขประจํ าปและรายงานประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุข (รง.ตรัง 5) เปนรายงานผลการดํ าเนินงานรายอํ าเภอ ตํ าบล และรายสถานบริการในแตละงวด (3 เดือน) สามารถจัดลํ าดับและพิจารณาโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพื้นที่ โดยมีฐานขอมูลที่สามารถตรวจสอบได และฝายสามารถวิเคราะหปญหากอนออกติดตามนิเทศทํ าใหการนิเทศงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งฝายสามารถประเมินผลเปรียบเทียบขอมูลรายอํ าเภอและติดตามความกาวหนาไดในแตละงวดงาน

Page 58: Research (2)

58

การพัฒนาบุคลากรคณะทํ างานฯ ไดรางหลักสตูรและรูปแบบของการประชุมปฏิบัติการตาง ๆ เพื่อพัฒนาบุคลากร

สงผลใหบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดตรังมีความรูความสามารถในการเตรียมขอมูล ตรวจสอบ วิเคราะหและนํ าเสนอขอมูลที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น กลาวคือ มีผูที่สามารถจัดทํ าวิจัยหรือวิเคราะหเปนรายงานเอกสารประมาณ 30 คน หัวหนางานและผูรับผิดชอบงานในระดับจังหวัดสามารถกํ าหนดตัวช้ีวัดไดครอบคลมุในกระบวนการบริหารจัดการท้ังดาน Input Process และ Outcome ในการวิเคราะหและนํ าเสนอในรูปของความครอบคลุม กลาวคือ การวิเคราะหผลการดํ าเนินงานการจัดบริการสาธารณสุขขั้นพ้ืนฐาน เปรียบเทียบกับประชากรเปาหมายทั้งหมด ซึ่งเปนขอบงชี้สถานการณที่แทจริง และสามารถเปรียบเทียบระหวางพื้นที่ได

บุคลากรทั้งในระดับจังหวัดและระดับอํ าเภอ มีความรูความสามารถในการนํ าขอมูลมาใชในการลํ าดับความสํ าคัญของปญหา และนํ าเสนอโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพื้นที่ใหสามารถติดตามกํ ากับและประเมินผลที่ชัดเจน โดยในป 2540 สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง โดยคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลไดพิจารณาอนุมัติโครงการแกปญหาสาธารณสุขเฉพาะพื้นที่ โดยใชเปนงบดํ าเนินการของสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดเอง ไมตองขอรับการสนับสนุนจากสวนกลาง

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศคณะทํ างานฯ ไดมีแนวคิดในการพัฒนาและออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร เพื่อลดคนและ

ข้ันตอนในการทํ างานและอํ านวยความสะดวกในการเรียกใชขอมูล โดยข้ันตนไดเสนอแนวทางใหฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดมีระบบคอมพิวเตอรครบทุกฝาย และเปนระบบเครือขาย (LAN)โรงพยาบาลชุมชน สํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอ/ก่ิงอํ าเภอทุกแหง มีคอมพิวเตอรใชอยางนอยเปนระบบStand alone1 ชุด

และคณะทํ างานฯ ไดออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จํ านวน 3 โปรแกรม คือ1. โปรแกรมฐานขอมูลของสถานีอนามัย2. โปรแกรมประเมินผลการดํ าเนินงานสาธารณสุขระดับอํ าเภอ3. โปรแกรมประเมินผลการดํ าเนินงานระดับจังหวัด

ซึง่โปรแกรม 2.,3. ไดใชเต็มพื้นที่ สํ าหรับโปรแกรมฐานขอมูลของสถานีอนามัยกํ าลังทดลองใชกับสถานีอนามัยจํ านวน 5 แหง นอกจากนั้นไดขอรับการสนับสนุนโปรแกรมจากสวนกลาง เชน โปรแกรมStat2 โปรแกรมระบาดวิทยา โปรแกรมประกันสขุภาพ เปนตน

Page 59: Research (2)

59

ผลการใชระบบงานคอมพวิเตอร ที่พัฒนาโดยคณะทํ างานวิจัยฯ พบวาสามารถลดขั้นตอนการทํ างาน ลดชั่วโมงการทํ างานในระดับอํ าเภอและจังหวัด โดยระดับอํ าเภอบันทึกขอมูลและประมวลผลตรวจสอบและแจกจายใหผูเกี่ยวของ กอนสงขอมูลดวย Diskette ใหกับสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดโดยงานคอมพิวเตอร ฝายแผนงานและประเมินผล รับขอมูลมาแลว Restore ในระบบ LAN ใหฝายตางๆ ไดตรวจสอบ แกไข และใชในการวิเคราะหผลการดํ าเนินงาน ซึ่งสามารถเรียกดูขอมูลไดถึงระดับสถานีอนามัย นอกจากน้ัน สามารถสรุปขอมูลในการจัดทํ าบรรยายสรุป และรายงานประจํ าปไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยเรียกใชฐานขอมูลจากระบบ LAN ไดทันที โดยเปนขอตกลงรวมกันกับฝายท่ีรับผิดชอบงานท่ีมีหนาท่ีตรวจสอบขอมูล ฝายที่เกี่ยวของสามารถเรียกใชไดทันที หลังจากใหเวลาแกไข 15 วันหลังจากสิ้นงวด

สํ าหรับโปรแกรมอ่ืน ๆ ที่ขอรับการสนับสนุนจากสวนกลาง ก็ไดอํ านวยความสะดวก ลดเวลาการทํ างานของเจาหนาท่ีไดเชนเดียวกัน เชน โปรแกรมเวชระเบียน (Stat2) ลดระยะเวลาการทํ างานจาก5 วัน เหลือ 2 วัน และสามารถเรียกดูขอมูลผูปวยหรือขอมูลรายงานไดภายใน 3-5 นาที เทาน้ัน

ฐานขอมูลท่ีใชระบบงานคอมพิวเตอร ไดชวยลดระยะเวลาการทํ างานและความผิดพลาดของขอมูลไดระดับหนึ่ง สงผลใหเกิดความสะดวกตอการนํ าขอมูลมาใช และมีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

การบริหารจดัการคณะทํ างานวิจัยฯ ไดจัดทํ าเกณฑการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขระดับสถานีอนามัย

ซึ่งเปนแหลงที่มาของขอมูลที่สํ าคัญที่สุด และใหผูเกี่ยวของในระดับตาง ๆ ไดเขามามีสวนรวมในการกํ าหนดเกณฑ รูปแบบ การติดตาม กํ ากับ และนิเทศงานใหเปนแนวทางเดียวกัน

จากการติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุขของสถานีอนามัย ใหไดตามเกณฑ คือ ถูกตอง ครบถวน เปนปจจุบัน ภายใน 1 เดือน และนํ ามาใชในการวางแผนติดตาม กํ ากับการดํ าเนินงาน พบวา ในป 2538-2540 สถานีอนามัยสามารถพัฒนาระบบขอมูลขาวสารใหไดตามเกณฑมีแนวโนมสูงขึ้น กลาวคือ รอยละ 55.88, 77.97 และ 79.17 ตามลํ าดับ

อาสาสมัครสาธารณสุขไดเขามามีสวนรวมในการรายงานขอมูลการเปลี่ยนแปลงในเขตละแวกบานที่รับผิดชอบใหเจาหนาที่สาธารณสุขไดปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจบันทุกเดือน และเจาหนาที่สาธารณสุขกับอาสาสมัครสาธารณสุข ไดมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลซึ่งกันและกัน ในการชวยติดตามการรับบริการสาธารณสุข ใหมีความครบถวนไดภายในระยะเวลา 1-2 เดือน สํ าหรับผูขาดการรับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

ระดับอํ าเภอมีเกณฑและแนวทางในการประเมินผลการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารของสถานีอนามัย และมีสวนรวมในการประเมินผล สงใหจังหวัดเปนระยะ ๆ ทุก 4 เดือน เพ่ือรักษามาตรฐานของระบบขอมูลขาวสารใหมีความตอเน่ืองตลอดไป

Page 60: Research (2)

60

ทั้งนี้ฝายตาง ๆ ในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด ใชเกณฑมาตรฐานและแนวทางเดียวกันในการนิเทศงานขอมูลขาวสารสาธารณสุขในระดับอํ าเภอและตํ าบล รวมกับการนิเทศงานปกติของฝายดวย

จากผลการ Rapid Survey เพ่ือตรวจสอบความครอบคลุมของขอมูลระหวางสภาพความเปนจริงในพื้นที่รับผิดชอบของสถานบริการกับการขึ้นทะเบียนไวที่สถานบริการ ผลปรากฎวาทุกตัวชี้วัด ความถูกตอง ตรงกัน รอยละ 85 ขึ้นไป ซึ่งเปนขอมูลที่มีคุณภาพเชื่อถือและยอมรับได

อภิปรายผลจากผลการวิจัยในคร้ังน้ี สงผลตอรูปแบบการทํ างานที่สํ าคัญ กลาวคือ ต้ังแตในระดับหมูบาน

อาสาสมัครสาธารณสุขมีสวนรวมในการแกปญหาสาธารณสุขอยางเปนระบบและตอเน่ือง โดยเม่ือพบประชากรกลุมเปาหมายใหม เชน คูสมรส หญิงมีครรภ และเด็กคลอดใหม จะตองรายงานใหเจาหนาท่ีสาธารณสุขทราบภายใน 1 เดือน ตามแบบบันทึกขอมูลของ อสม. และเมื่อเจาหนาที่สาธารณสุขประมวลผลขอมูลหลังจากการใหบริการแตละเดือน แลวพบวาผูขาดการรับบริการอยูในละแวกใด ก็จะแจงใหอาสาสมัครสาธารณสุขชวยติดตามใหรับบริการตามกํ าหนด ในระดับตํ าบลเจาหนาที่สามารถประเมินผลความครอบคลุมของบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน และสถานะสุขภาพของประชากรเปนรายบุคคลและรายหลังคาเรือน สามารถคนหาผูขาดบริการไดอยางรวดเร็ว และมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น ในระดับอํ าเภอสามารถวิเคราะหและแปลผลเพื่อใหไดสภาพปญหาในการวางแผนติดตาม กํ ากับ สวนในระดับจังหวัด ลดข้ันตอนในการบันทึกขอมูล เน่ืองจากอํ าเภอสามารถสงรายงานดวย Diskette เจาหนาท่ีในระดับจังหวัดเพียงตรวจสอบและตีความ เพื่อประเมินผลความครอบคลุมของบริการสาธารณสุข และสถานะสุขภาพของประชากร สามารถติดตาม กํ ากับ ไดในเวลารวดเร็ว

และการพัฒนาบุคลากรในการนํ าขอมูลมาใช นอกจากการติดตาม กํ ากับ และประเมินผลแลวเจาหนาที่ในระดับะอํ าเภอสามารถนํ าขอมูลมาใชในการวิเคราะหและเรียงลํ าดับความสํ าคัญของปญหา เพ่ือจัดทํ าโครงการแกปญหาสุขภาพประชาชนเฉพาะพื้นที่ได สวนในระดับจังหวัดสามารถกํ าหนดเปนโครงการยุทธศาสตรพัฒนาเพ่ือแกปญหาในภาพรวมของจังหวัดเองได

สํ าหรับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงจากระบบบัญชี เปนระบบงานคอมพิวเตอร โดยการพัฒนา Soft ware ขึ้นมาใชนั้น มีปญหาอุปสรรค กลาวคือ ขาดบุคลากรที่จะเปนผูวิเคราะหและพัฒนาโปรแกรม จะใชวิธีการจางบุคลจากภายนอก มีปญหาในการวิเคราะหความตองการและระบบงาน และระบบงานจะตองมีการ Update อยางตอเน่ือง เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงวิธีการทํ างานขององคกร ในการวิจัยครั้งนี้ตองขอสนับสนุนจากวิทยาลัยเทคนิคตรัง และสํ านักเทคโนโลยีกระทรวงสาธารณสุข และใหเจาหนาท่ีของจังหวัดเปนผูเรียนรูในการพัฒนา ซึ่งเสียเวลาคอนขางมากเพราะเจาหนาที่ดังกลาวมีงานประจํ ารับผิดชอบอยู ทํ าใหผลการดํ าเนินงานลาชากวากํ าหนด

Page 61: Research (2)

61

ปญหาอปุสรรค1. การขอขอมูลจากสวนกลาง ยังมีมากเกินกวาระบบขอมูลขาวสารจะตอบสนองได ซึ่งสวน

กลางมักจะอางวาเพื่อใชของบประมาณ2. การจัดหาคอมพิวเตอรใหกับสถานีอนามัย เพื่อเปลี่ยนวิธีการทํ างานจากระบบบัญชี เปน

ระบบงานคอมพิวเตอร3. ขาดองคกรท่ีรองรับในการพัฒนาและดูแลระบบงานคอมพิวเตอร

ขอเสนอแนะ1. ควรเลิกการขอขอมูลจากสวนกลาง ยกเวนขอมูลที่ผานศูนยขอมูลกลาง สํ านักงานปลัด

กระทรวง หากศูนยฯ จํ าเปนตองใชขอมูล ควรใชผลงานวิจัย หรือการ Survey เปนคร้ังคราว2. สนับสนุนใหสถานีอนามัยใชเงินบํ ารุงในการจัดหาคอมพิวเตอร หรือการขอรับการ

สนับสนุนจากองคการบริหารสวนตํ าบล โดยฐานขอมูลสวนหนึ่งสถานีอนามัยสามารถใหบริการกับสวนราชการที่เกี่ยวของได

3. ควรจัดต้ังงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ขึ้นในสํ านักงานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือรับผิดชอบในการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร และดูแลระบบงานคอมพิวเตอรใหกับสํ านักงานสาธารณสุขอํ าเภอโรงพยาบาล และสถานีอนามัย รวมท้ังการพฒันาบุคลากรดานคอมพิวเตอร ใหกับหนวยงานยอย

Page 62: Research (2)

62

บรรณานุกรม

กาญจนา กาญจนสินิทธ และคณะ. โครงการปรับปรุงระบบขอมูลขาวสารสาธารณสุข. มปท., 2533.ปรีชา ดีสวัสด์ิ และคณะ. การวิเคราะหระบบงานของเจาหนาที่สาธารณสุขระดับตํ าบล.นพรัตน เหลืองวิทิตกลุ และคณะ. ระบบขอมูลขาวสารทางการแพทย และสาธารณสุข. ฝายการศึกษา

โครงการศึกษาตอเน่ือง มหาวิทยาลัยมหิดล, 2537.นรังสันต พีรกิจ. การพัฒนาระบบขอมูลขาวสารในงานสาธารณสุขมูลฐานเพื่อการบริหารจัดการ.สํ านักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ. รายงานการสัมมนาการวิเคราะหและพัฒนาระบบขอมูล

จังหวัดสมุทรปราการ. มปท., 2536.สํ านักนโยบายและแผนสาธารณสุข, กระทรวงสาธารณสุข. แผนแมบทการดํ าเนินงานการจัดทํ า

คลังขอมูลขาวสารสาธารณสุขระดับชาติ. มปท., 2539.