thai cac anti-corruption 71 checklist for large companies ...€¦ · 1 rev. 5/8/63...

25
แนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย Thai Private Sector Collective Action Against Corruption (CAC) ฉบับปรับปรุง 4.0 แบบประเมินตนเองเพื่อพัฒนาระบบต่อต้านคอร์รัปชัน แบบประเมินตนเองหรือ Checklist 71 ข้อนี ใช้สําหรับบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องการพัฒนา ระบบต่อต้านคอร์รัปชันที่มีมาตรฐาน และเข้าขอรับรองจาก CAC 10 กรกฎาคม 2563

Upload: others

Post on 19-Oct-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • แนวร่วมต่อตา้นคอรร์ัปชันของภาคเอกชนไทย Thai Private Sector Collective Action Against Corruption (CAC)

    ฉบบัปรบัปรุง 4.0

    แบบประเมินตนเองเพื่อพฒันาระบบตอ่ตา้นคอรร์ปัชนั

    แบบประเมินตนเองหรือ Checklist 71 ขอ้น้ี ใชส้าํหรบับริษัทขนาดใหญ่ท่ีตอ้งการพฒันา

    ระบบต่อตา้นคอรร์ปัชนัท่ีมีมาตรฐาน และเขา้ขอรบัรองจาก CAC

    10 กรกฎาคม 2563

  • 1 Rev. 5/8/63

    แบบประเมนิตนเองเกีย่วกบัมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนัฉบบัปรบัปรุง 4.0 น้ี จดัทาํขึน้ในปี 2563 โดยแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption หรอื CAC) ภายใตก้ารสนับสนุนของสมาคมสง่เสรมิสถาบนักรรมการบรษิทัไทย (Thai Institute of Directors หรอื IOD) โดยไดป้รบัปรงุจากแบบประเมนิตนเองฉบบั 2.1 ซึง่อา้งองิจากแบบประเมนิตนเอง 241 ขอ้ของ Transparency International และนํามาปรบัปรงุใหเ้หมาะสมกบัภาคเอกชนไทยเพือ่ใชใ้นการประเมนิองคก์รเกีย่วกบัระบบต่อตา้นการคอรร์ปัชนั

    แบบประเมนิน้ีมวีตัถุประสงคเ์พือ่ใหบ้รษิทัสามารถเสรมิสรา้งระบบและตรวจสอบ นโยบาย การประเมนิความเสีย่ง มาตรการควบคุม บุคลากร การสือ่สาร ชอ่งทางการรอ้งเรยีน และการปรบัปรงุระบบ เพือ่นําไปสูก่ารสรา้งภมูคิุม้กนัต่อภยัคอรร์ปัชนัและสรา้งความโปรง่ใสใหก้บัองคก์ร

    แบบประเมนิตนเองฉบบัปรบัปรุง 4.0 น้ี มสีิง่ทีเ่หมอืนและแตกต่างจากแบบประเมนิตนเองฉบบั 2.1 ดงันี้ 1. จาํนวนขอ้ประเมนิยงัคงอยูท่ี ่71 ขอ้2. บรษิทัตอ้งตอบ “มแีลว้” ทุกขอ้ ถงึจะไดร้บัการพจิารณา ซึง่ในแบบประเมนิตนเอง 2.1 มภีาคบงัคบัและไมบ่งัคบั3. บรษิทัสามารถใชต้ารางประเมนิความเสีย่งของ CAC ได ้ซึง่มคีวามชดัเจนกวา่ของเดมิในแบบประเมนิ 2.14. มกีารปรบัลดขอ้ประเมนิจากแบบประเมนิ 2.1 จาํนวน 17 ขอ้และทดแทนดว้ยการประเมนิทีเ่กีย่วกบั

    o การจ่ายค่าอาํนวยความสะดวก (Facilitation Payment)o การสนบัสนุนพรรคการเมอืง (Political Contribution)o การจา้งพนักงานรฐั (Revolving Door)o การขดัแยง้ทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest)o การตดิตาม และการทบทวน

    เพือ่ใหก้ารปรบัปรุงแบบประเมนิน้ี เป็นไปอยา่งสมบรูณ์ ทางแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย ขอขอบคณุองคก์รดงัต่อไปน้ี ทีไ่ดม้สีว่นรว่มในการใหข้อ้คดิเหน็และปรบัปรุงแบบประเมนิตนเองฉบบั 4.0 น้ี

    บทนํา

    แบบประเมนิตนเองเพ ื�อพ ัฒนาระบบต ่อต ้านคอร์รปัชัน

  • 2 Rev. 5/8/63

    เกี�ยวกับ CAC

    แนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption หรอื CAC) เป็นความรเิริม่ของภาคเอกชนไทย ในการทีจ่ะเขา้มามสีว่นรว่มในการแกไ้ขปัญหาการคอรร์ปัชนั โดยมุง่สรา้งและขยายแนวรว่มในภาคเอกชน เพือ่สรา้งกระแสการตอ่ตา้นการคอรร์ปัชนั ดว้ยการสง่เสรมิใหบ้รษิทัต่าง ๆ กาํหนดนโยบายและแนวปฏบิตัใินการทีจ่ะปฏเิสธการเรยีกรบัและใหส้นิบน รวมถงึการคอรร์ปัชนัระหว่างองคก์รเอกชน

    CAC จดัตัง้ขึน้มาตัง้แต่ พ.ศ. 2553 โดยความสนบัสนุนของ 8 องคก์รธุรกจิชัน้นําของประเทศ ประกอบดว้ยหอการคา้ไทย หอการคา้รว่มต่างประเทศในประเทศไทย (JFCCT) สมาคมบรษิทัจดทะเบยีนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกจิตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแหง่ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมการทอ่งเทีย่วแหง่ประเทศไทย และสมาคมสง่เสรมิสถาบนักรรมการบรษิทัไทย (IOD) ซึง่ทาํหน้าทีเ่ป็นเลขานุการและรบับทนําในการสนบัสนุนการขบัเคลือ่นแนวรว่มฯ ประกอบกบัการทีร่ฐับาลไทยไดม้กีารลงนามรบัรอง ในอนุสญัญาสหประชาชาตวิ่าดว้ยการตอ่ตา้นทุจรติ ตัง้แต่พ.ศ. 2546 ดงันัน้ การรเิริม่ CAC จงึสอดคลอ้งกบัยทุธศาสตรช์าตวิ่าดว้ยการป้องกนัและปราบปรามการทุจรติ ทีจ่ดัทาํโดยสาํนักงานคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามการทุจรติแหง่ชาต ิ(ป.ป.ช.) ซึง่ทาํใหท้ัง้รฐับาลและ ป.ป.ช. สนบัสนุนแนวรว่มฯ มาตัง้แต่ตน้ โดยมกีารจดัประชุมระหวา่งภาครฐัและเอกชนครัง้แรก เมือ่วนัที ่29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพือ่วางแผนกลยทุธใ์นการดาํเนินแนวรว่มฯ

    CAC ไดร้บัการสนบัสนุนทางดา้นเงนิทนุจาก Prosperity Fund จากสหราชอาณาจกัร และ ศนูยพ์ฒันาวสิาหกจิเอกชนระหว่างประเทศ (Center for International Private Enterprise หรอื CIPE) แหง่หอการคา้สหรฐัอเมรกิา กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (Thai CG Funds) และบรษิทัเอกชนในประเทศไทย

    แนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (CAC) สมาคมสง่เสรมิสถาบนักรรมการบรษิทัไทย 2/9 หมู ่4 อาคารสถาบนัวทิยาการตลาดทุน อาคาร 2 ชัน้ 3 โครงการนอรธ์ปารค์ แขวงทุง่สองหอ้ง เขตหลกัสี ่กรุงเทพฯ 10210 โทรศพัท ์0-2955-1155 โทรสาร 0-2955- 1156-7 อเีมล [email protected]

  • 3 Rev. 5/8/63

    เกี�ยวกับการแบบประเมินตนเอง

    แบบประเมนิตนเองเกี่ยวกบัมาตรการต่อต้านการคอร์รปัชนัของแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (CAC) น้ี จดัทาํขึน้เพือ่สนบัสนุนการเขา้ CAC แบบสมัครใจ โดยมาตรการนี้ ได้จัดทํามาจากบางส่วนของ Business Principles for Countering Bribery ซึ่ ง Transparency International เ ป็นผู้จ ัดทํ าและเผยแพรค่รัง้แรกในปี 2545 และไดร้บัการทบทวนต่อมาในปี 2552

    ในการจัดทํา Business Principles for Countering Bribery นั ้น ทาง Transparency International ไดห้ารอืกบัผู้มสี่วนไดเ้สยี อนัประกอบดว้ย ตวัแทนบรษิทัต่างๆ จาก สมาคมธุรกจิ องคก์รพฒันาเอกชน และสมาคมการคา้ ทีป่รกึษาต่างๆ แลว้ ดงันัน้ CAC จงึขอสนับสนุนใหบ้รษิทันํามาตรการน้ีไปใชเ้ป็นจุดเริม่ตน้ในการพัฒนามาตรการต่อต้านการคอร์ร ัปชันของตนเอง หรือเป็นเครื่องมือเปรยีบเทยีบกบัสิง่ทีบ่รษิทัปฏบิตัอิยูใ่นปัจจุบนัเชน่กนั

    ส่ิงที่ทางแนวร่วมต่อต้านคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย ให้ความสาํคญัในการพิจารณาแบบประเมินเพื่อรบัรอง

    1. บรษิทัไดจ้ดัทาํแบบประเมนิและตอบ “มีแล ้ว” ทุกขอ้2. ความชดัเจนของเอกสารอา้งองิ ซึง่จะบอกถงึความครบถว้น

    สมบรูณ์ของสิง่ทีบ่รษิทัไดจ้ดัทาํ3. การสนับสนุนอยา่งเป็นทางการจากผูบ้รหิารระดบัสงู อนัไดแ้ก่

    ประธานกรรมการ กรรมการ และประธานฝ่ายบรหิาร4. การนํามาตรการต่างๆ เชน่ มาตรการ นโยบาย ขอ้ปฏบิตั ิการ

    อบรม การสือ่สาร ไปปฏบิตัจิรงิทัง้ภายในและภายนอกองคก์รสอดคลอ้งกบับรบิทและระดบัความเสีย่งดา้นคอรร์ปัชนัขององคก์ร

    5. การมรีะบบตรวจสอบระบบภายในทีใ่ชต้รวจสอบและการดาษทาํการ (สาํหรบับรษิทัทีผ่า่นรบัรอง 3 ครัง้ เป็นตน้ไป)

    ทัง้น้ี บรษิทัควรจดัเตรยีมและสง่เอกสารอา้งองิ เฉพาะที่เกี่ยวข้องกบัส่ิงที่ต ้องประเมินในประเดน็เกี่ยวข้องกบัด้านคอรร์ปัชนัเท่านัน้ ตวัอยา่งเชน่ นโยบาย คูม่อื แผนงาน รายงานการประชุม ประกาศ เฉพาะทีเ่กีย่วขอ้งกบั "สิง่ทีต่อ้งประเมนิ" ในประเดน็การต่อตา้นคอรร์ปัชนัและการใหส้นิบน ไม่จาํเป็นตอ้งสง่เอกสารทีไ่มเ่กีย่วกบักจิกรรมหรอืมาตรการต่อตา้นคอรร์ปัชนัมาใหท้าง CAC

    แนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย ไมร่บัผดิชอบต่อความเสยีหายทุกประเภทอนัเกดิจากการใชแ้บบประเมนิตนเองน้ี โดยบรษิทัเป็นผูร้บัผดิชอบต่อความแมน่ยาํความถกูตอ้ง ความครบถว้น และความเหมาะสมของขอ้มลูทีใ่หม้าในแบบประเมนิตนเอง ดงันัน้ ผูใ้ช้แบบประเมนิตนเองน้ีควรตอ้งมคีวามชาํนาญและไดร้บัคาํแนะนําที่เหมาะสมในการนําไปใชง้าน

    อนึ่ง แนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย จะไมเ่ปิดเผยหรอืเผยแพรข่อ้มลูในแบบประเมนิตนเองทีบ่รษิทัไดจ้ดัทาํขึน้ เวน้แต่จะไดร้บัความยนิยอมเป็นลายลกัษณ์อกัษรจากบรษิทั

    เงื่อนไขการใช้แบบประเมินตนเอง

  • 4 Rev. 5/8/63

    ขั �นตอนการยื�นขอร ับรอง

    ภายหลงัจากทีบ่รษิทัลงนามประกาศเจตนารมณ์เขา้แนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (CAC) แลว้ บรษิทัจะมเีวลา 18 เด ือน ในการเตรยีมยืน่ขอรบัรองนับจากวนัทีป่ระธานกรรมการลงนามในเอกสารประกาศเจตนารมณ์ โดยเมือ่บรษิทัพรอ้มทีจ่ะยืน่รบัรองแลว้ บรษิทัควรดาํเนินการตามขัน้ตอนดงัต่อไปน้ี

    1. ใหค้ณะกรรมการตรวจสอบสอบทานขอ้มลูทัง้หมดในแบบประเมนิตนเอง และใหป้ระธานคณะกรรมการตรวจสอบลงนามรบัรอง หรือ ในกรณีที่บริษทัไม่ม ีประธานกรรมการตรวจสอบ;

    1.1 ใหผู้ส้อบบญัชขีองบรษิทัทาํการประเมนิแบบประเมนิตนเอง และออกรายงานเพือ่นําสง่ประธานคณะกรรมการบรษิทั หรือ ;

    1.2 แต่งตัง้ผูส้อบบญัชอีืน่ทาํการประเมนิแบบประเมนิตนเอง และออกรายงานเพื่อนําสง่ประธานคณะกรรมการบรษิทั ทัง้นี้ ผูส้อบบญัชทีีแ่ต่งตัง้น้ี ตอ้งเป็นผูท้ีไ่ดร้บัการขึน้ทะเบยีนจากสาํนักงานคณะกรรมการกํากบัหลกัทรพัยแ์ละตลาดหลกัทรพัย ์

    2. ใหป้ระธานคณะกรรมการบรษิทัและประธานฝ่ายบรหิาร (CEO) ลงนามในแบบประเมนิตนเอง

    3. นําสง่เอกสารแบบประเมนิในภาคผนวกน้ีฉบบัจรงิ รวมถงึเอกสารแบบประเมนิ เอกสารอา้งองิแบบประเมนิแต่ละขอ้ ที่เป็นไฟล ์Adobe PDF และตารางความเสีย่งในรปูแบบไฟล ์Microsoft Excel ใสใ่น Flash Drive รวมถงึรายงานของผูส้อบบญัช ี(ถา้ม)ี ให ้CAC ที ่

    สมาคมสง่เสรมิสถาบนักรรมการบรษิทัไทย CAC Certification 2/9 หมู ่4 อาคารสถาบนัวทิยาการตลาดทุน อาคาร 2 ชัน้ 3 โครงการนอรธ์ปารค์ แขวงทุง่สองหอ้ง เขตหลกัสี ่กรุงเทพฯ 10210 โทรศพัท ์0-2955-1155

    4. ทาง CAC จะปิดรบัเอกสารทุกวนัสดุทา้ยของแต่ละไตรมาส (31 มนีาคม, 30 มถุินายน, 30 กนัยายน และ 31 ธนัวาคม)เพือ่รวบรวมเอกสารของบรษิทัทีข่อรบัการรบัรองในไตรมาสนัน้ๆ และนําเสนอคณะกรรมการ CAC เพือ่พจิารณา โดยCAC จะประกาศผลในวนัสุดทา้ยของไตรมาสถดัไป

    5. หากบรษิทัไมผ่า่นการรบัรอง ในกรณีทีเ่ป็นการยืน่ขอรบัรองครัง้แรกของบรษิทั บรษิทัสามารถแกไ้ขเอกสารไดแ้ละยืน่กลบัภายใน 6 เด ือน หลงัวนัทีค่รบกาํหนด 18 เดอืน สาํหรบัในกรณีทีบ่รษิทักาํลงัยืน่ขอต่ออายกุารรบัรอง บรษิทัจะควรยืน่ต่ออายกุารรบัรอง 6 เดือน กอ่นวนัหมดอายุการรบัรอง

    6. คณะกรรมการ CAC จะขอสงวนสทิธใินการเชญิบรษิทัมาพบเพือ่ตอบขอ้ซกัถามเพิม่เตมิและ/หรอืปฏเิสธการให้ประกาศนียบตัรรบัรอง ตามหลกัการของแนวร่วมฯ ทีไ่ดจ้ดัทาํไวแ้ละสามารถ download ไดท้ี่ www.thai-cac.com/resource_post/cac-principals-thai-version/

  • 5 Rev. 5/8/63

    ภาคผนวก

    Checklist ก่อนส่งเอกสารให้ CAC

    ทางบรษิทัไดต้ดิต่อ CAC เพือ่ขอใบแจง้หนี้คา่รบัรอง (8,000 บาท)

    บรษิทัไดช้าํระเงนิและอเีมล pay-in สลปิใหท้าง [email protected]

    บรษิทัไดจ้ดัเตรยีมสง่สิง่ต่อไปนี้ใหก้บั CAC

    เอกสารตวัจรงิในภาคผนวกนี้ทุกหน้า (หน้า 6 - หน้า 22) พรอ้มการลงนาม

    เอกสารแบบประเมนิในภาคผนวกนี้และเอกสารอา้งองิแบบประเมนิในแต่ละขอ้ ที ่ เป็นไฟล ์Adobe PDF ตารางความเสีย่งในรปูแบบไฟล ์Microsoft Excel ใสใ่น

    Flash Drive (กรุณาอยา่สง่เอกสารอา้งองิแบบประเมนิทีเ่ป็นกระดาษ)

    รายงานของผูส้อบบญัช ี(ถา้ม)ี

    ทีอ่ยูใ่นการสง่

    สมาคมสง่เสรมิสถาบนักรรมการบรษิทัไทย CAC Certification 2/9 หมู ่4 อาคารสถาบนัวทิยาการตลาดทุน อาคาร 2 ชัน้ 3 โครงการนอรธ์ปารค์ แขวงทุ่งสองหอ้ง เขตหลกัสี ่กรงุเทพฯ 10210 โทรศพัท ์0-2955-1155

    หมายเหต ุทาง CAC ขอสงวนสทิธใินการปฏเิสธการรบัเอกสารอา้งองิแบบประเมนิทีเ่ป็นกระดาษ

  • 6 Rev. 5/8/63

    การอนุมติัการจัดส ่งแบบประเมินตนเอง

    เรยีน คณะกรรมการแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย

    คณะกรรมการบรษิทัไดพ้จิารณาและมมีตใิหบ้รษิทัจดัสง่ขอ้มลูเกีย่วกบัแบบประเมนิตนเองใหค้ณะกรรมการแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (CAC) เพือ่วตัถุประสงคใ์นการเขา้สูก่ระบวนการรบัรอง และรบัทราบว่าคณะกรรมการแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย (CAC Council) มสีทิธเิปลีย่นแปลงสถานะของนิตบิุคคลทีเ่ขา้ CAC ได ้ ทัง้ทีอ่ยูใ่นสถานะประกาศเจตนารมณ์และสถานะทีผ่่านการรบัรองการเป็นสมาชกิแลว้ ทัง้น้ี การเปลีย่นแปลงสถานะของนิตบิุคคลจะมผีลผกูพนักบัสทิธกิารใชต้ราสญัลกัษณ์ของ CAC รวมถงึการแสดงขอ้มลูของสถานะผา่นชอ่งทางต่างๆ และในการแสดงและปรบัสถานะของนิตบุิคคลทัง้สองประเภท และอาจมผีลต่อการเปลีย่นแปลงสถานะอื่น ๆ ของนิตบิุคคลทีจ่ดัทาํขึน้โดยหน่วยงานอื่น ที่อาศยัสถานะของนิตบิุคคลของ CAC ในการจดัและพจิารณาสถานะนัน้ดว้ย

    ชื่อบริษทั

    ชื่อประธานคณะกรรมการบริษทั

    ลายมอืชื่อ

    ชื่อประธานฝ่ายบริหาร (CEO)

    ลายมอืชื่อ

    วนัที่อนุมติัแบบประเมินตนเอง

  • 7 Rev. 5/8/63

    การสอบทานแบบประเมินตนเอง

    ในการสอบทานความสมบรูณ์และถกูตอ้งของแบบประเมนิตนเองและเอกสารอา้งองิทัง้หมด ทางบรษิทัได้มอบหมายใหผู้ส้อบทานคอื (กรุณาทาํเครือ่งหมาย 1 ขอ้เทา่นัน้)

    ก. ใหผู้ส้อบบญัชขีองบรษิทัเป็นผูส้อบทาน (กรณุานําส่งรายงานของผ ู้สอบบญัชีให้แก่ CAC พร้อมแบบประเมินตนเองด้วย)

    ข. ใหผู้ส้อบบญัชอีืน่เป็นผูส้อบทาน โดยเป็นผูส้อบบญัชทีีไ่ดร้บัการขึน้ทะเบยีนจากสาํนกังานคณะกรรมการ กํากบัหลกัทรพัยแ์ละตลาดหลกัทรพัย ์(กรณุานําส่งรายงานของผ ูส้อบบญัชีให้แก่ CAC พร้อมแบบประเมินตนเองด้วย)

    ค. ใหค้ณะกรรมการตรวจสอบของบรษิทัเป็นผูส้อบทาน (กรณุาให้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบลงนามตามที่ปรากฏด้านล่างของหน้าน้ี) 1

    เรยีน คณะกรรมการแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย

    คณะกรรมการตรวจสอบไดจ้ดัใหม้กีารดาํเนินการตามวธิทีีเ่หมาะสมและเพยีงพอ เพือ่สอบทานความเหมาะสมของการปฏบิตัติามแบบประเมนิตนเองเกีย่วกบัมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนัแลว้ และขอรายงานวา่ขอ้มลูในแบบประเมนิตนเองนี้มคีวามถกูตอ้งและเพยีงพอต่อการจดัสง่ใหค้ณะกรรมการแนวรว่มต่อตา้นคอรร์ปัชนัของภาคเอกชนไทย เพือ่วตัถุประสงคใ์นการเขา้สูก่ระบวนการรบัรอง

    ชื่อบริษทั

    ชื่อประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

    ลายมอืชื่อ

    วนัที่สอบทานแบบประเมินตนเอง

    1 ในกรณเีป็นบรษิทัจดทะเบยีนในตลาดหลกัทรพัยแ์หง่ประเทศไทย กรรมการตรวจสอบ มคีวามหมายตามขอ้กาํหนดของสาํนกังานคณะกรรมการกาํกบัหลกัทรพัยแ์ละตลาดหลกัทรพัย ์เลขที ่กลต.ก.(ว.) 32/2551 ซึง่ระบุวา่กรรมการตรวจสอบตอ้งมสีมาชกิอยา่งน้อย 3 คน โดยทุกคนตอ้งเป็นกรรมการอสิระ กรณทีีบ่รษิทัไม่ไดจ้ดทะเบยีนในตลาดหลกัทรพัยแ์หง่ประเทศไทย ผูล้งนามการสอบทานแบบประเมนิตนเองแทนกรรมการตรวจสอบ ตอ้งเป็นกรรมการที่ไมเ่ป็นผูบ้รหิารของบรษิทั (Non-Executive Director: NED)

  • 8 Rev. 5/8/63

    รายละเอียดเกี�ยวกบับรษิทั

    ชื่อบริษทัที่ทาํการประเมิน

    ลกัษณะธรุกิจ

    บรษิทัจดทะเบยีนใน SET บรษิทัจดทะเบยีนใน MAI อื่นๆ

    อกัษรยอ่ ___________________ (ตาม SET หรอื MAI)

    SECTOR ________________________ (ตาม SET หรอื MAI)

    ชื่อผ ูป้ระสานงานหากมีข้อสงสยั (1)

    ตาํแหน่ง

    ทีอ่ยู ่

    อเีมล

    หมายเลขโทรศพัท ์

    หมายเลขโทรศพัทม์อืถอื

    ชื่อผ ูป้ระสานงานหากมีข้อสงสยั (2)

    ตาํแหน่ง

    ทีอ่ยู ่

    อเีมล

    หมายเลขโทรศพัท ์

    หมายเลขโทรศพัทม์อืถอื

  • 9 Rev. 5/8/63

    แบบประเมนิตนเองเพ ื�อสร ้างระบบต ่อต้านคอร์รปัชนั

    ฉบบัปรบัปรงุ 4.0

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า)

    หมวดที� 1 - การประเมินความเสี�ยง (Corruption Risk Assessment)

    1 บรษิทัจดัใหม้กีารประเมนิความเสีย่งทีเ่กีย่วกบัทุจรติคอรร์ปัชนั ในกรณีทีบ่รษิทัเป็น Holding Company นอกจากจะมกีารประเมนิความเสีย่งทีเ่กีย่วกบัทจุรติคอรร์ปัชนัสาํหรบัของบรษิทั Holding เองแลว้ ควรมกีารประเมนิความเสีย่งฯ ของบรษิทัยอ่ยทีท่าํธุรกจิหลกัของกลุ่ม เพิม่เตมิอยา่งน้อย 1 บรษิทัดว้ย

    หมวดที� 2 - มาตรการป้องกันความเสี�ยงด้านคอร์รปัชนั (Internal Control for Corruption Risks) 2 ระบบการควบคุมภายในของบรษิทั ม ีOperational Control ที่

    สามารถใชป้้องกนัความเสีย่งในแต่ละขอ้ทีร่ะบุในแบบประเมนิความเสีย่ง

    3 ระบบการควบคุมภายในของบริษัท มี Control Environment ที�สามารถใชป้้องกนัความเสีย่งในแต่ละขอ้ได ้ใหส้อดคลอ้งกบัความเสีย่งทีร่ะบุในแบบประเมนิความเสีย่ง

  • 10 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า)

    หมวดที� 2.1 - มาตรการควบคุมภายในด้านการเงิน การบันทึกบัญชี และการเก็บรักษาเอกสาร (Financial Controls) 4 ระบบการควบคุมภายในของบรษิทั ม ีFinancial Control ทีส่ามารถ

    ใชป้้องกนัความเสีย่งดา้นคอรร์ปัชนัไดอ้ยา่งเพยีงพอ เหมาะสม

    5 บรษิทัมขี ัน้ตอนการปฏบิตัเิพือ่ใหม้ัน่ใจว่ารายการทางการเงนิใดๆ ไดร้บัการบนัทกึในสมุดบญัชอีย่างครบถว้น ไมม่รีายการใดทีไ่มไ่ดร้บัการบนัทกึ หรอืไม่มรีายการใดทีไ่มส่ามารถอธบิายได ้หรอืเป็นรายการทีเ่ป็นเทจ็

    6 บรษิทัมขี ัน้ตอนในการเกบ็รกัษาเอกสารและบนัทกึต่างๆใหพ้รอ้มต่อการตรวจสอบเพือ่ยนืยนัความถกูตอ้งและเหมาะสมของรายการทางการเงนิ

    7 บรษิทัมคีวามมัน่ใจว่าไดจ้ดัใหม้กีารแบ่งแยกหน้าทีง่านอยา่งเหมาะสม

    หมวดที� 2.2 - มาตรการควบคุมในการกํากับดูแลและการตรวจสอบ (Monitoring and Auditing) 8 บรษิทัมคีณะกรรมการตรวจสอบ หรอืคณะกรรมการอื่น ทีก่าํกบัดแูล

    ความเสีย่งและการควบคุมภายในทีเ่กีย่วขอ้งกบัเรือ่งการต่อตา้นคอร์รปัชนั และมหีน้าทีจ่ดัทาํรายงานผลการตรวจสอบใหค้ณะกรรมการบรษิทัรบัทราบอยา่งสมํ่าเสมอ

  • 11 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 9 บรษิทัมกีารตรวจสอบ เพือ่ใหเ้กดิความมัน่ใจว่าขัน้ตอนการบนัทกึ

    รายการทางการเงนิมรีะบบการควบคุมภายในทีด่ ีและมเีอกสารหลกัฐานเพือ่ใชใ้นการตรวจสอบอย่างเพยีงพอ

    10 บรษิทัมกีารตรวจสอบภายใน เพือ่ใหเ้กดิความมัน่ใจว่ากระบวนการทาํบญัชแีละการเกบ็รกัษาขอ้มลูของบรษิทัมรีะบบการควบคุมภายใน และมคีวามรดักุมเพยีงพอ

    11 ฝ่ายตรวจสอบภายใน หรอืผูท้ีม่หีน้าทีค่วามรบัผดิชอบดา้นการออกแบบระบบการควบคุมภายใน และปรบัปรงุแกไ้ขระบบการควบคุมภายในของบรษิทั มกีารขอความเหน็ หรอืมกีารประชุมภายใน ในเรือ่งระบบการควบคุมภายในหรอืขัน้ตอนในการปฏบิตังิานสาํหรบักจิกรรมทีม่คีวามเสีย่งดา้นคอรร์ปัชนั กบัฝ่ายทีเ่ป็น Risk Owner หรอืฝ่ายทีเ่กีย่วขอ้งกบักจิกรรมทีม่คีวามเสีย่งดา้นคอรร์ปัชนันัน้ๆ

    12 บรษิทัมขี ัน้ตอนการรายงานประเดน็ทีพ่บจากการตรวจสอบภายในอยา่งเรง่ดว่น ต่อผูบ้รหิารระดบัสงูและคณะกรรมการบรษิทั

    หมวดที� 2.3 - มาตรการควบคุมฝ่ายสนับสนุน (Support Functions)

    13 บรษิทัมกีารตรวจสอบภายใน ในเรือ่งกระบวนการของงานขาย และการตลาด ในสว่นทีม่คีวามเสีย่งต่อการเกดิคอรร์ปัชนัอยา่งสมํ่าเสมอ รวมถงึจดัใหม้วีธิกีารแกไ้ขขอ้ผดิพลาดอยา่งเหมาะสม

  • 12 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 14 บรษิทัมกีารตรวจสอบภายใน งานจดัซือ้และการทาํสญัญา

    โดยเฉพาะกจิกรรมเกีย่วกบัความเสีย่งต่อการเกดิคอรร์ปัชนั รวมถงึการจดัใหม้วีธิกีารแกไ้ขทีเ่หมาะสม

    15 บรษิทัมกีารแต่งตัง้หน่วยงาน หรอืบุคลากรทีม่คีวามเหมาะสม ในการดแูล และตดิตามการนํามาตรการต่อตา้นคอรร์ปัชนัของบรษิทัไปปฏบิตั ิ

    หมวดที� 3 นโยบายและข้อปฏิบตัิ (Anti-Corruption Principle & Policy)

    หมวดที� 3.1 - นโยบายต ่อต้านการคอร์รปัชนั

    16 บรษิทัมนีโยบายต่อตา้นการคอรร์ปัชนั ทีเ่ป็นลายลกัษณ์อกัษร ลงนามโดยประธานกรรมการบรษิทั หรอืผูบ้รหิารระดบัสงู และมเีนื้อหาทีล่ะเอยีดเพยีงพอ ในการนําไปสู่การปฏบิตัอิยา่งมปีระสทิธภิาพ

    17 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการคอรร์ปัชนั ซึง่คาํนิยามได้ครอบคลุมการคอรร์ปัชนัในรปูแบบต่างๆ ซึง่ทาํใหเ้กดิการใชอ้ํานาจอยา่งไมถ่กูตอ้ง เชน่ การใหข้องขวญัหรอืบรกิาร การใหเ้งนิสดหรอืสิง่ของแทนเงนิสด การใหส้นิบนเจา้หน้าทีข่องรฐัและการคอรร์ปัชนัระหว่างหน่วยงานเอกชน

    18 บรษิทักําหนดใหทุ้กคนในบรษิทั รวมถงึกรรมการบรษิทั ตอ้งปฏบิตัิตามนโยบาย โดยไมม่ขีอ้ยกเวน้ และมขีอ้กาํหนดหา้มผูบ้รหิารและพนักงานไมใ่หเ้รยีกรอ้ง ดาํเนินการ หรอื ยอมรบัการคอรร์ปัชนั เพือ่ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครวั เพือ่น และคนรูจ้กั

  • 13 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 19 การจดัทาํนโยบายฯ หรอืการทบทวนนโยบายต่อตา้นการคอรร์ปัชนั

    ไดร้บัการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบรษิทัอยา่งเป็นทางการ

    20 บรษิทัมกีารแต่งตัง้ใหค้ณะกรรมการบรษิทั หรอืคณะอนุกรรมการ ที่แต่งตัง้โดยคณะกรรมการบรษิทั เป็นผูก้าํกบัดแูลการปฏบิตัติามมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนันี้อยา่งเป็นทางการ

    21 บรษิทัมกีารระบุหน้าที ่ความรบัผดิชอบใหก้รรมการบรษิทัและผูบ้รหิารระดบัสงูนํามาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนันี้ไปปฏบิตัภิายในองคก์ร

    22 บรษิทัมกีารระบุบทลงโทษ สาํหรบักรรมการบรษิทัในกรณีทีไ่มป่ฏบิตัิตามมาตรการต ่อต้านการคอร์รัปชัน ซึ �งมาตรการการลงโทษนั้น ต้อง เป็นไปด้วยความยุติธรรม เม ื�อเปรียบเทียบกับบทลงโทษสําหรับ พนักงาน

    หมวด 3.2 – การจัดทําข้อปฏิบตัิเพื�อสนับสนนุนโยบาย (Procedures to Support the Policy) 23 บรษิทัมแีนวปฏบิตั ิ(Code of Conduct) หรอืนโยบายลกัษณะ

    เดยีวกนั ทีร่ะบุแนวปฏบิตัเิพือ่ต่อตา้นการคอรร์ปัชนัอยา่งชดัเจน

  • 14 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 24 บรษิทัมกีารจดัทาํแนวทาง/ขัน้ตอนในการปฏบิตัสิาํหรบัรายการทีม่ี

    ความเสีย่งต่อการเกดิคอรร์ปัชนั อาท ิเชน่ การช่วยเหลอืทางการเมอืง การบรจิาคเพือ่การกุศล การใหเ้งนิสนบัสนุน คา่ของขวญั คา่บรกิารตอ้นรบั และคา่ใชจ้่ายอื่นๆ ใหส้อดคลอ้งกบันโยบายต่อตา้นการคอรร์ปัชนั โดยแนวทาง/ขัน้ตอนดงักล่าวมรีะบบการควบคุมภายในทีด่ ีมหีลกัฐานทีเ่พยีงพอ และมกีารจดัเกบ็เอกสารอยา่งเหมาะสม

    25 นโยบาย และขัน้ตอนการปฏบิตัติ่างๆ เพือ่สนับสนุนนโยบายต่อตา้นการคอรร์ปัชนัไดร้บัการอนุมตัโิดยคณะกรรมการบรษิทั หรอืบุคคลที่ไดร้บัมอบหมายจากคณะกรรมการบรษิทั

    หมวด 3.3 – การให้หรือรับของขวญั การเล ี�ยงรบัรอง (Gift and Hospitality) 26 บรษิทัมกีารกาํหนดนโยบายทีเ่ป็นลายลกัษณ์อกัษรเกีย่วกบัการให้

    และรบัของขวญั การเลีย้งรบัรอง และการบรกิารตอ้นรบั ทีม่หีลกัการทีส่อดคลอ้งกบันโยบายต่อตา้นการคอรร์ปัชนั

    27 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการใหแ้ละรบัของขวญั การเลีย้งรบัรอง และการบรกิารตอ้นรบั

    28 บรษิทัมขี ัน้ตอนและมาตรการการควบคุม รวมถงึขัน้ตอนการรายงาน เพือ่ใหม้ ัน่ใจว่ามกีารถอืปฏบิตั ิตามนโยบายการใหแ้ละรบัของขวญั การเลีย้งรบัรอง และการบรกิารตอ้นรบั ทีก่ําหนดไวอ้ยา่งเครง่ครดั

  • 15 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 29 บรษิทัมกีารตรวจสอบเพือ่ใหม้ัน่ใจว่า บรษิทัไมไ่ดใ้ชก้ารใหแ้ละรบั

    ของขวญั การเลีย้งรบัรอง การบรกิารตอ้นรบั เป็นชอ่งทางในการคอร์รปัชนั

    หมวด 3.4 - การให้ความสนับสนนุ (Sponsorship) 30 บรษิทัมนีโยบายทีเ่ป็นลายลกัษณ์อกัษรเกีย่วกบัการใหแ้ละรบัการ

    สนบัสนุนทัง้ในทีเ่ป็นเงนิ สิง่ของ หรอืรปูแบบอื่นใด

    31 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการใหแ้ละรบัการสนบัสนุน

    32 บรษิทัมขี ัน้ตอนและมาตรการการควบคุม รวมถงึขัน้ตอนการรายงาน เพือ่ใหม้ ัน่ใจว่ามกีารถอืปฏบิตั ิตามนโยบายการให/้รบัการสนับสนุน ทีไ่ดก้าํหนดไวอ้ยา่งเครง่ครดั

    33 บรษิทัมกีารตรวจสอบเพือ่ใหม้ัน่ใจว่า บรษิทัไมไ่ดใ้ชก้ารใหห้รอืรบัการสนบัสนุน เป็นช่องทางในการคอรร์ปัชนั

    หมวดที� 3.5 - การบริจาค (Donations) 34 บรษิทัมนีโยบายทีเ่ป็นลายลกัษณ์อกัษรทีค่รอบคลุมการบรจิาคเพือ่

    การกุศล

  • 16 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 35 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการให/้รบัการบรจิาค และคาํอื่นๆ ที่

    เกีย่วขอ้ง

    36 บรษิทัมขี ัน้ตอนและมาตรการการควบคุม รวมถงึขัน้ตอนการรายงาน เพือ่ใหม้ ัน่ใจว่ามกีารถอืปฏบิตั ิตามนโยบายการใหแ้ละรบัการบรจิาค ทีไ่ดก้าํหนดไวอ้ยา่งเครง่ครดั

    37 บรษิทัมกีารตรวจสอบเพือ่ใหม้ัน่ใจว่า บรษิทัไมไ่ดใ้ชก้ารใหห้รอืรบัการบรจิาค เป็นชอ่งทางในการคอรร์ปัชนั

    หมวดที� 3.6 - การสนับสนนุทางการเมือง (Political Contributions) 38 บรษิทัมนีโยบายเป็นลายลกัษณ์อกัษรทีค่รอบคลุมเกีย่วกบัการ

    ชว่ยเหลอืทางการเมอืงไมว่่าโดยทางตรงหรอืทางออ้ม

    39 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการชว่ยเหลอืทางการเมอืง

    40 บรษิทัมขี ัน้ตอนและมาตรการการควบคุม รวมถงึขัน้ตอนการรายงาน เพือ่ใหม้ ัน่ใจว่ามกีารถอืปฏบิตั ิตามนโยบายการชว่ยเหลอืทางการเมอืง ทีไ่ดก้าํหนดไวอ้ยา่งเครง่ครดั

  • 17 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 41 บรษิทัมกีารตรวจสอบเพือ่ใหม้ัน่ใจว่า บรษิทัไมไ่ดใ้ชก้ารช่วยเหลอื

    ทางการเมอืง เป็นชอ่งทางในการคอรร์ปัชนั

    หมวดที� 3.7 - การขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) 42 บรษิทัมนีโยบายเป็นลายลกัษณ์อกัษรทีค่รอบคลุมเกีย่วกบัการ

    ขดัแยง้ทางผลประโยชน์ ไมว่่าโดยทางตรงหรอืทางออ้ม

    43 บรษิทัไดก้ําหนดคาํนิยามของการขดัแยง้ทางผลประโยชน์

    44 บรษิทัมขี ัน้ตอนและมาตรการการควบคุม รวมถงึขัน้ตอนการรายงาน เพือ่ใหม้ ัน่ใจว่ามกีารถอืปฏบิตั ิตามนโยบายการป้องกนัรายการขดัแยง้ทางผลประโยชน์ ทีไ่ดก้ําหนดไวอ้ยา่งเครง่ครดั

    45 บรษิทัมกีารตรวจสอบเพือ่ใหม้ัน่ใจว่า ไมม่รีายการขดัแยง้ทางผลประโยชน์เกดิขึน้ในบรษิทั

    หมวดที� 3.8 - การจ ่ายค ่าอํานวยความสะดวก (Facilitation Payment) 46 มกีารกําหนดคาํนิยามของ การจ่ายคา่อาํนวยความสะดวก

    (Facilitation Payment) ไวเ้ป็นลายลกัษณ์อกัษร และเป็นคาํนิยามทีม่ีความชดัเจน

  • 18 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า)

    หมวดที� 3.9 - การจ้างพนักงานรัฐ (Revolving Door) 47 บรษิทัมกีารจดัทาํนโยบายเกีย่วกบัการจดัจา้งพนักงานรฐัไวอ้ยา่ง

    เหมาะสม ชดัเจน เพือ่ไมใ่หใ้ชก้ารกระทาํดงักลา่ว เป็นการตอบแทนการไดม้าซึง่ผลประโยชน์ใดๆ โดยนโยบายดงักลา่วไดร้บัการอนุมตัิจากคณะกรรมการบรษิทั

    48 บรษิทัมมีาตรการการเปิดเผยขอ้มลูเกีย่วกบัการจดัจา้งพนักงานรฐั ใหส้าธารณชนไดร้บัทราบ เพือ่ความโปรง่ใส ตรวจสอบได ้

    หมวดที� 3.10 - นโยบายกับบริษัทในเครือ ตวัแทนธุรกิจ และค ู่ค้า (Affiliates, Subsidiaries, Agents and Third-parties) 49 การนํานโยบายต่อตา้นคอรร์ปัชนัไปถอืปฏบิตั ิใหค้รอบคลุมถงึบรษิทั

    ยอ่ย บรษิทัรว่ม บรษิทัอืน่ทีบ่รษิทัมอีาํนาจในการควบคุม รวมถงึตวัแทนทางธุรกจิ

    50 บรษิทัมนีโยบายและขัน้ตอนทีช่ดัเจนในการสือ่สารใหบ้รษิทัย่อย บรษิทัรว่ม บรษิทัอื่นทีบ่รษิทัมอีาํนาจในการควบคุม และตวัแทนทางธุรกจิ นํานโยบายนี้ไปปฎบิตั ิ

    51 บรษิทัมกีารสือ่สารมาตรการการตอ่ตา้นคอรร์ปัชนัในรปูแบบต่างๆ ใหก้บัคูค่า้ เชน่ ใหค้าํอธบิายเกีย่วกบัมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนัผ่าน จดหมายชีแ้จง้นโยบาย จดัอเีวน้ท ์และ/หรอืงานสมัมนา

  • 19 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า)

    หมวดที� 4 - การบริหารบุคลากร (Human Resources) 52 มนีโยบายบรหิารบุคลากร ซึง่รวมถงึการคดัเลอืก การประเมนิผลงาน

    การใหผ้ลตอบแทน ตลอดจนการเลือ่นตาํแหน่งของพนักงาน ที่สะทอ้นถงึความมุง่มัน่ของบรษิทัต่อมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนั

    53 บรษิทัมนีโยบายทีจ่ะไมล่ดตาํแหน่ง ลงโทษ หรอืใหผ้ลทางลบต่อพนักงานทีป่ฏเิสธการคอรร์ปัชนั แมว้่าการกระทาํนัน้จะทาํใหบ้รษิทัสญูเสยีโอกาสทางธุรกจิ

    54 บรษิทัมกีารสือ่สารนโยบายทีจ่ะไมล่ดตาํแหน่ง ลงโทษ หรอืใหผ้ลทางลบต่อพนักงานทีป่ฏเิสธการคอรร์ปัชนั แมว้่าการกระทาํนัน้จะทาํให้บรษิทัสญูเสยีโอกาสทางธุรกจิ ดว้ยวธิกีารทีท่าํใหพ้นักงานไดร้บัทราบอยา่งทัว่ถงึ

    55 บรษิทัมมีาตรการทีจ่ะนํานโยบายไม่ลดตําแหน่ง ลงโทษ หรอืใหผ้ลทางลบตอ่พนักงานทีป่ฏเิสธการคอรร์ปัชนั ไปใชใ้นการปฏบิตัจิรงิ แมว้่าการกระทาํนัน้จะทําใหบ้รษิทัสญูเสยีโอกาสทางธุรกจิ

    56 บรษิทัมีกระบวนการนํานโยบายใหพ้นักงานปฏบิตัติามมาตรการตอ่ตา้นการคอรร์ปัชนั

    57 บรษิทัมกีารสือ่สารอยา่งชดัเจนใหพ้นักงานทราบเกีย่วกบับทลงโทษ หากพนักงานไม่ปฏบิตัติามมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนัอย่างน้อยสองช่องทาง

  • 20 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 58 บรษิทัมมีาตรการทีเ่หมาะสมในการลงโทษพนกังานทีไ่มป่ฏบิตัติาม

    มาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนั ซึง่การลงโทษนี้รวมถงึการเลกิจา้งงาน ในกรณีทีบ่รษิทัเหน็ว่าจาํเป็น

    59 บรษิทัมกีารปฐมนิเทศใหแ้ก่พนกังานใหม ่โดยในกระบวนการดงักล่าว ไดร้วมถงึ การทาํความเขา้ใจเกีย่วกบัมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนั ความคาดหวงัของบรษิทั และบทลงโทษกรณทีีพ่นักงานไมป่ฏบิตัติามมาตรการดงักลา่ว

    60 บรษิทัมกีารฝึกอบรมแก่คณะกรรมการ ผูบ้รหิาร และพนักงาน เพือ่ใหเ้กดิความเขา้ใจอยา่งแทจ้รงิ เกีย่วกบัมาตรการต่อตา้นการคอร์รปัชนั ความคาดหวงัของบรษิทั และรูถ้งึบทลงโทษหากไมป่ฏบิตัติามมาตรการนี้

    61 บรษิทัมนีโยบายฝึกอบรมมาตรการ และความรูเ้กีย่วกบัการต่อตา้นคอรร์ปัชนั อยา่งต่อเนื่อง ใหพ้นกังานทุกระดบั รวมถงึกรรมการบรษิทั และผูบ้รหิาร โดยเฉพาะพนักงานทีเ่กีย่วขอ้งกบัรายการทีม่ีความเสีย่งกบัการคอรร์ปัชนั

    หมวด 5 - การสื�อสาร (Communication) 62 บรษิทัมกีารสือ่สารมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนั ใหพ้นักงานเขา้ถงึ

    ไดทุ้กคน

    63 บรษิทัมกีารเปิดเผยมาตรการการตอ่ตา้นคอรร์ปัชนั ต่อสาธารณชน

  • 21 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 64 บรษิทัมกีารสือ่สารนโยบาย และขัน้ตอนของกจิกรรมดงัต่อไปนี้ ใน

    เชงิรกุ ให้พนักงานไดร้บัทราบ และเขา้ถงึไดทุ้กคน - การใหแ้ละรบัของขวญั การเลีย้งรบัรองการบรกิารตอ้นรบั - การสนับสนุน - การบรจิาค - การชว่ยเหลอืทางการเมอืง - การขดัแยง้ทางผลประโยชน์

    65 บรษิทัมกีารสือ่สารนโยบาย และขัน้ตอนต่อไปนี้ ในเชงิรุกให้ค ู่ค ้าได้รบัทราบ - การให้ /รบัของขวญั การเลีย้งรบัรอง การบรกิารตอ้นรบั - การสนับสนุน - การบรจิาค - การชว่ยเหลอืทางการเมอืง - การขดัแยง้ทางผลประโยชน์

    หมวด 6 - การแจ้งเบาะแสและขอคําแนะนํา (Raising Concerns and Seeking Guidance) 66 บรษิทัมกีารจดัทาํนโยบายการแจง้เบาะแสการคอรร์ปัชนัเป็นลาย

    ลกัษณ์อกัษร โดยมขีัน้ตอนการรบัเรือ่งรอ้งเรยีน ผูท้าํหน้าทีส่อบสวน ขัน้ตอนการพจิารณา ระยะเวลาในการพจิารณา และการสือ่สารแก่ผูท้ี่เกีย่วขอ้ง

    67 นโยบายการแจง้เบาะแสฯ ได้ถกูสื่อสาร และมกีารประกาศให้พนักงาน และผูท้ีเ่กีย่วขอ้งอื่นๆ ทราบอยา่งชดัเจนในเรือ่งชอ่งทางนัน้ๆ

  • 22 Rev. 5/8/63

    ลาํดบั สิ่งที่ต้องประเมิน ยงัไม่มี กาํลงัจดัทาํ

    มีแล ้ว เอกสารอ้างอิง

    (ชื่อเอกสาร/หน้า) 68 ชอ่งทางการแจง้เบาะแสตามทีร่ะบุในนโยบายนัน้ เป็นชอ่งทางที่

    ปลอดภยั และสามารถใหพ้นกังานเขา้ถงึไดอ้ยา่งมัน่ใจ โดยปราศจากความเสีย่งต่อผูแ้จง้ในภายหลงั

    69 บรษิทัมชีอ่งทางทีเ่หมาะสม และปลอดภยัสาํหรบัพนักงาน กรณีที่พนักงานนัน้ๆ ตอ้งการสอบถาม ขอคาํปรกึษา /คาํแนะนํา ในการปฏบิตัติามมาตรการต่อตา้นการคอรร์ปัชนั

    70 บรษิทัมกีารเกบ็ รวบรวมสถติขิอ้มลูเบาะแส ที่เกี่ยวกบัคอรร์ปัชนั (ระหว่างบริษัทกบัหน่วยงานรัฐหร ือระหว ่างบริษัทดว้ยกันเอง) และนําเสนอให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างสม่ําเสมอ

    หมวด 7 - การทบทวน ตรวจสอบ และปรับปรงุ (Review, Assess and Improve) 71 บรษิทัมกีารทบทวน ตรวจสอบ ปรบัปรงุมาตรการตอ่ตา้นการคอรร์ปั

    ชนัและรายงานต่อกรรมการเป็นประจาํทุกปี เพือ่เป็นการวดัประสทิธผิล ปรบัปรงุ และพฒันามาตรการใหม้คีวามสอดคลอ้งกบัความเสีย่งทีอ่าจเปลีย่นไป

  • 23 Rev. 5/8/63

    รปูแบบตารางความเสี�ยงคอร์รปัชนัท ี� CAC แนะนํา (template)

    เพือ่ความครบถว้นในการใหข้อ้มลูเกีย่วกบัการประเมนิความเสีย่งดา้นคอรร์ปัชนั ทาง CAC ขอแนะนําใหบ้รษิทัพจิารณาใช ้template ดา้นลา่ง ทัง้น้ี ทางบรษิทัทีก่าํลงัจะยืน่รบัรอง สามารถใชต้ารางความเสีย่งทีเ่ผยแพรโ่ดย CAC หรอืใชข้องบรษิทัตนเองกไ็ด ้

    CAC Risk Assessment Template สามารถ download ไดท้ี ่

    www.thai-cac.com/resource_post/large-companies-risk-assessment-template/

  • 24 Rev. 5/8/63

    toggle_1: Offtoggle_2: Offtoggle_3: Offtoggle_4: Offtoggle_5: Offfill_1: fill_2: fill_4: fill_6: fill_2_2: fill_3_2: fill_5_2: fill_3_3: fill_4_3: fill_1_2: SECTOR: fill_5_3: fill_6_2: fill_7: fill_8: fill_9: fill_10: fill_11: fill_12: fill_13: fill_14: fill_15: fill_16: undefined_4: undefined_8: undefined_12: undefined_16: ้่่้่่undefined_20: undefined_24: undefined_28: undefined_32: fill_1_3: fill_2_3: fill_3_4: fill_4_4: undefined_48: fill_1_4: fill_2_4: undefined_58: undefined_62: undefined_66: fill_1_5: fill_2_5: fill_3_5: fill_4_5: undefined_82: fill_1_6: fill_2_6: undefined_92: undefined_96: undefined_100: fill_1_7: undefined_107: undefined_111: undefined_115: undefined_119: undefined_123: fill_1_8: fill_2_7: fill_3_6: undefined_136: undefined_140: undefined_144: fill_1_9: undefined_151: undefined_155: undefined_159: undefined_163: undefined_167: undefined_171: undefined_175: undefined_179: undefined_183: undefined_187: undefined_191: undefined_195: undefined_199: undefined_203: undefined_207: undefined_211: fill_1_10: fill_2_8: fill_3_7: fill_4_6: undefined_227: undefined_231: fill_1_11: fill_2_9: undefined_241: undefined_245: fill_1_12: fill_2_10: fill_3_8: ACoptions: OffListedtype: OffCheck Box5: OffCheck Box6: OffCheck Box7: OffCheck Box8: OffCheck Box9: OffCheck Box10: OffCheck Box11: OffCheck Box12: OffCheck Box13: OffCheck Box14: OffCheck Box15: OffCheck Box16: OffCheck Box17: OffCheck Box18: OffCheck Box19: OffCheck Box20: OffCheck Box21: OffCheck Box22: OffCheck Box23: OffCheck Box24: OffCheck Box25: OffCheck Box26: OffCheck Box27: OffCheck Box28: OffCheck Box29: OffCheck Box30: OffCheck Box31: OffCheck Box32: OffCheck Box33: OffCheck Box34: OffCheck Box35: OffCheck Box36: OffCheck Box37: OffCheck Box38: OffCheck Box39: OffCheck Box40: OffCheck Box41: OffCheck Box42: OffCheck Box43: OffCheck Box44: OffCheck Box45: OffCheck Box46: OffCheck Box47: OffCheck Box48: OffCheck Box49: OffCheck Box50: OffCheck Box51: OffCheck Box52: OffCheck Box53: OffCheck Box54: OffCheck Box55: OffCheck Box56: OffCheck Box57: OffCheck Box58: OffCheck Box59: OffCheck Box60: OffCheck Box61: OffCheck Box62: OffCheck Box63: OffCheck Box64: OffCheck Box65: OffCheck Box66: OffCheck Box67: OffCheck Box68: OffCheck Box69: OffCheck Box70: OffCheck Box71: OffCheck Box72: OffCheck Box73: OffCheck Box74: OffCheck Box75: OffCheck Box76: OffCheck Box77: OffCheck Box78: OffCheck Box79: OffCheck Box80: OffCheck Box81: OffCheck Box82: OffCheck Box83: OffCheck Box84: OffCheck Box85: OffCheck Box86: OffCheck Box87: OffCheck Box88: OffCheck Box89: OffCheck Box90: OffCheck Box91: OffCheck Box92: OffCheck Box93: OffCheck Box94: OffCheck Box95: OffCheck Box96: OffCheck Box97: OffCheck Box98: OffCheck Box99: OffCheck Box100: OffCheck Box101: OffCheck Box102: OffCheck Box103: OffCheck Box104: OffCheck Box105: OffCheck Box106: OffCheck Box107: OffCheck Box108: OffCheck Box109: OffCheck Box110: OffCheck Box111: OffCheck Box112: OffCheck Box113: OffCheck Box114: OffCheck Box115: OffCheck Box116: OffCheck Box117: OffCheck Box118: OffCheck Box119: OffCheck Box120: OffCheck Box121: OffCheck Box122: OffCheck Box123: OffCheck Box124: OffCheck Box125: OffCheck Box126: OffCheck Box127: OffCheck Box128: OffCheck Box129: OffCheck Box130: OffCheck Box131: OffCheck Box132: OffCheck Box133: OffCheck Box134: OffCheck Box135: OffCheck Box136: OffCheck Box137: OffCheck Box138: OffCheck Box139: OffCheck Box140: OffCheck Box141: OffCheck Box142: OffCheck Box143: OffCheck Box144: OffCheck Box145: OffCheck Box146: OffCheck Box147: OffCheck Box148: OffCheck Box149: OffCheck Box150: OffCheck Box151: OffCheck Box152: OffCheck Box153: OffCheck Box154: OffCheck Box155: OffCheck Box156: OffCheck Box157: OffCheck Box158: OffCheck Box159: OffCheck Box160: OffCheck Box161: OffCheck Box162: OffCheck Box163: OffCheck Box164: OffCheck Box165: OffCheck Box166: OffCheck Box167: OffCheck Box168: OffCheck Box169: OffCheck Box170: OffCheck Box171: OffCheck Box172: OffCheck Box173: OffCheck Box174: OffCheck Box175: OffCheck Box176: OffCheck Box177: OffCheck Box178: OffCheck Box179: OffCheck Box180: OffCheck Box181: OffCheck Box182: OffCheck Box183: OffCheck Box184: OffCheck Box185: OffCheck Box186: OffCheck Box187: OffCheck Box188: OffCheck Box189: OffCheck Box190: OffCheck Box191: OffCheck Box192: OffCheck Box193: OffCheck Box194: OffCheck Box195: OffCheck Box196: OffCheck Box197: OffCheck Box198: OffCheck Box199: OffCheck Box200: OffCheck Box201: OffCheck Box202: OffCheck Box203: OffCheck Box204: OffCheck Box205: OffCheck Box206: OffCheck Box207: OffCheck Box208: OffCheck Box209: OffCheck Box210: OffCheck Box211: OffCheck Box212: OffCheck Box213: OffCheck Box214: OffCheck Box215: OffCheck Box216: OffCheck Box217: OffText219: