the behavior of health belief model of sport drink...

46
เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภค เครื่องดื่มเกลื่อแร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน The Behavior of Health Belief Model of sport drink consumption of kasetsart university bangkhen นางสาวภิรมย์พร ใจหนักแน่น รหัสประจาตัว 5410600819 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

Upload: others

Post on 24-Oct-2019

28 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

The Behavior of Health Belief Model of sport drink consumption of kasetsart university bangkhen

นางสาวภิรมย์พร ใจหนักแน่น

รหัสประจ าตัว 5410600819

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาสุขศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

Page 2: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

กิตติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ภูเบศร์ นภัทรพิทยาธร อ.ดร.สมคิด ปราบภัย

อ.ดร. นันท์นภัส เกตน์โกศัลย์ และอาจารย์อัจฉริยะ เอนก ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ ที่ให้ค าปรึกษาในการเรียน การค้นคว้าวิจัย ตลอดจนการตรวจแก้ไขรายงานปัญหาพิเศษจนกระทั่งเสร็จสมบูรณ์

ขอกราบขอพระคุณอาจารย์สาขาวิชาสุขศึกษาทุกท่านที่ได้อบรมสั่งสอนและมอบความรู้อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการน าไปใช้ประโยชน์ต่อไปและขอขอบคุณ เพ่ือนๆ ทุกคนที่ได้ให้ความช่วยเหลือและให้ค าแนะน าต่างๆ

ด้วยความดีหรือประโยชน์อันใดเนื่องจากวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ขอมอบแด่คุณพ่อ คุณแม่ ที่ได้อบรมและให้ก าลังใจผู้วิจัยมาตลอดในทุกเรื่อง

ภิรมย์พร ใจหนักแน่น

พฤษภาคม 2558

Page 3: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

ภิรมย์พร ใจหนักแน่น.2557. การศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการ

บริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ภูเบศร์ นภัทรพิทยาธร. 41 หน้า.

บทคัดย่อ

การรายการศึกษานี้มีวัตถุปรางค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ

ของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นการศึกษาด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรจ านวน 100 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ข้อมูลเรียงล าดับจากค่าเฉลี่ยมากท่ีสุดไปถึงค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนี้ การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.69 , ปัจจัยร่วม มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.65 , สิ่งชักน าให้เกิดการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.53 , การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.51, การรับรู้ต่ออุปสรรค มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.49 และการรับรู้ความรุนแรงของโรค มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.42 ดังนั้นผลการศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นที่เกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับมาก จากผลวิเคราะห์พบว่าค่าเฉลี่ยของการตอบแบบสอบถามอยู่ที่ 3.55 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.48 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นที่ดีต่อพฤติกรรมตามการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตามทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)

จากผลการศึกษามหาวิทยาลัยควรส่งเสริมให้นิสิตที่ยังมีพฤติกรรมสุขอยู่ในระดับดีให้มีพฤติกรรมสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น ส่วนนิสิตที่มีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับดีมากอยู่แล้ว ควรด าเนินกิจกรรมกระตุ้นหรือส่งเสริมให้มีการรักษาระดับการมีพฤติกรรมสุขภาพนี้ต่อไป

Page 4: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ ก

บทคัดย่อ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง

บทที่ 1 บทน า 1.1 ความส าคัญและที่มาของปัญหา 1 1.2 ค าคามการวัยจัย 2 1.3 วัตถุประสงค์ 2 1.4 ขอบเขตการวิจัย 2 1.5 นิยามศัพท์ 3 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและรายงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง 2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ 4 2.2 เครื่องดื่มเกลื่อแร ่ 7 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11

บทที่ 3 วิธีด าเนินการศึกษา 3.1 รูปแบบการวิจัย 15 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง 15 3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 16 3.4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 17 3.5 วิธีการเก็บรวบรวมขอมลู 18 3.6 การวิเคราะหขอมูล 18 3.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 18

บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล 4.1 ข้อมูลทั่วไป 20 4.2 พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ 23 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา 30 5.2 ข้อเสนอแนะ 32 เอกสารอ้างอิง 33 ภาคผนวก 35

Page 5: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

สารบัญตาราง

ตารางท่ี 4.1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามเพศ 20 ตารางท่ี 4.2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามอายุ 21 ตารางท่ี 4.3 ระดับชั้นที่ก าลังศึกษา (ปริญญาตรี) 21 ตารางท่ี 4.4 คณะที่ก าลังศึกษา 22 ตารางท่ี 4.5 ความถี่ในการออกก าลังกาย 22 ตารางท่ี 4.6 การบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ 23 ตารางท่ี 4.7 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับพฤติกรรมตาม 23 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตารางท่ี 4.8 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการรับรู้โอกาสเสี่ยง 24 ของการเป็นโรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตารางท่ี 4.9 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ การรับรู้ความรุนแรงของโรค 25 จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตารางท่ี 4.10 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษา และป้องกันโรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ 26 ตารางท่ี 4.11 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการรับรู้อุปสรรค 27 จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตารางท่ี 4.12 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสิ่งชักน าให้เกิดการปฏิบัติ 28 จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตารางท่ี 4.13 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยร่วม จากพฤติกรรม 29 ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

Page 6: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

1

บทที่ 1

บทน ำ

1.1 ควำมส ำคัญและควำมเป็นมำของปัญหำ

การออกก่าลังกายเป็นสิ่งส่าคัญของมนุษย์ และควรท่าโดยสม่่าเสมอเป็นสิ่งจ่าเป็นต่อสุขภาพ เนื่องจากช่วยให้ระบบไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้มากขึ้น มีภูมิต้านทานโรคดีขึ้น ช่วยควบคุมน้่าหนักตัว ช่วยระบบขับถ่ายท่างานได้ดี ช่วยลดความเครียด และท่าให้การนอนหลับพักผ่อนดี (กาญจนศรี สิงห์ภู่ , 2011) การดื่มน้่าขณะออกก่าลังกาย เป็นสิ่งที่ส่าคัญที่ต้องใส่ใจ โดยน้่าที่ร่างกายต้องการประมาณ 2,500 มิลลิลิตรต่อวัน หรือประมาณ 6-8 แก้วต่อวัน เมื่อร่างกายขาดน้่าจะไปกระตุ้นการท่างานของสมองส่วนกลาง (Hypothalamus) ท่าให้เกิดความรู้สึกกระหายน้่า โดยเมื่อเราออกก่าลังกายร่างกายจะเสียน้่ามากขึ้นทั้งจากเหงื่อและกล้ามเนื้อ จึงท่าให้ต้องดื่มน้่ามากข้ึน (ธนภรณ์ ก้องเสียง, 2554)

การออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ร่างกายจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น การขับเหงื่อจะช่วยลดความร้อนของร่างกาย ท่าให้ไม่รู้สึกเหนื่อยเร็วเกินไป ส่วนประกอบของเหงื่อจะมีน้่าสูงถึง 99% ที่เหลือ 1% เป็นเกลือโซเดียมและคลอไรด์เป็นส่วนใหญ่ มีโปรแตสเซียม แมกนีเซียม โปรตีน เหล็ก สังกะสี บ้างเล็กน้อย ดังนั้นควรคิดถึงการชดเชยน้่าเป็นอันดับแรก เพราะการเสียเกลือแร่ออกไปจากการออกก่าลังกาย มีปริมาณค่อนข้างน้อย จึงไม่มีความจ่าเป็นมากนักที่จะต้องรีบชดเชยเกลือแร่เข้าไปขณะเล่นกีฬา หรือขณะออกก่าลังกาย ร่างกายคนเราจะได้เกลือแร่เข้าไปชดเชยจากอาหารที่รับประทานเข้าไปภายหลังจากออกก่าลังกายอยู่แล้ว นอกจากนี้ ในคนที่ออกก่าลังกายมากๆ หรือเล่นกีฬาในการแข่งขัน ซึ่งต้องการชดเชยน้่าอย่างรวดเร็ว การรับประทานเครื่องดื่มประเภทเกลือแร่ ซึ่งประกอบไปด้วยโซเดียม โปรแตสเซียม คลอไรด์และน้่าตาลกลูโคส 4-8 % จะขัดขวางการดูดซึมของน้่า ในทางเดินอาหารท่าให้ร่างกายได้รับน้่าชดเชยช้าไปกว่าการรับประทานน้่าธรรมดา (ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพมหานคร , 2557)

เกียรติคุณ ไกรพิบูลย์ (2556) ได้กล่าวว่าในระหว่างการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬาจะเกิดการสูญเสียเหงื่อออกค่อนข้างมาก ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิด ตลอดจนความหนักของการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา จึงท่าให้ร่างกายสูญเสียน้่าออกไปจากร่างกายนอกจากการสูญเสียน้่าท่าให้สมรรถภาพทางกายของบุคคลนั้นลดต่่าลง เกลือแร่เป็นสารจ่าเป็นอย่างหนึ่งในอาหาร และเป็นส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ที่ขาดไม่ได้ เมื่อเทียบกับสารอาหารอ่ืน ส่วนผสมของเครื่องดื่มเกลือแร่นั้นล้วนแต่มีความจ่าเป็นต่อร่างกายทั้งสิ้น ว่าจะเป็นก่อนออกก่าลังกาย ขณะออกก่าลังกายหรือหลังออกก่าลังกาย ร่างกายจ่าเป็นต้องมีสารละลายดังกล่าวในปริมาณที่เหมาะสม หากปริมาณที่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปการท่างานของระบบต่างๆของร่างกาย เช่น ระบบประสาท การหดตัวของกล้ามเนื้อ การท่างานของหัวใจ การไหลเวียนของโลหิต ตลอดจนการรักษาความสมดุลของน้่าในร่างกาย ด่าเนินไปอย่างขาดประสิทธิภาพในขณะออกก่าลังกายอาจสูญเสียสารต่างๆไปได้หลายชนิด การทดแทนสารต่างๆให้กับร่างกายจึงมีความจ่าเป็นอย่างยิ่ง กัลยา กิจบุญชู , (2551) ได้กล่าวว่าผู้ที่ออกก่าลังกายและเล่นกีฬาสามารถดื่มได้ทั้งก่อนออก

Page 7: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

2

ก่าลังกายขณะออกก่าลังกายหรือหลังออกก่าลังกาย เครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นเครื่องดื่มในการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปในระหว่างการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา แทนการดื่มน้่าธรรมดา

ผู้วิจัยได้เห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้ท่าการวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขต ปีการศึกษา 2557 โดยมีวัตถุประสงคเ์พ่ือศึกษาพฤติกรรมการรับรู้ถึงถึงประโยชน์และข้อควรระวังของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่มากน้อยเพียงใด

1.2 ค ำถำมกำรวิจัย

นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่ม

เกลื่อแร่ หลังการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬาในระดับใด

1.3 วัตถุประสงค์

เพ่ือศึกษาพฤติกรรมพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ของ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

1.4 ขอบเขตกำรวิจัย

ประชากร

ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้ งนี้ใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย (simple Random Sampling) ท่าการศึกษากับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 ทีม่ีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

เกณฑ์การคัดเข้าของกลุ่มตัวอย่าง

1. ผู้ที่ออกก่าลังกาย 3 ครั้ง/สัปดาห์

2. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์

3. ผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในการออกก่าลังกาย

ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล

ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 – 25 เมษายน 2558 เป็นเวลา 12 สัปดาห์

ตัวแปรที่ศึกษา

พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

Page 8: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

3

1.5 นิยำมศัพท ์

พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ คือ การกระท่าที่แสดงออกถึงพฤติกรรม ที่ต้องปฏิบัติตามค่าแนะน่าเพ่ือการป้องกันโรค จะต้องมีความรู้สึกกลัวต่อโรคหรือรู้สึกว่าโรคคุกคามตน และจะต้องรู้สึกว่าตนเองมีพลังที่จะต่อต้านโรคได้

เครื่องดื่มเกลือแร่ คือ เครื่องดื่มที่มีเกลือแร่เป็นส่วนประกอบหลัก มีสารเคมี สารอาหารและวิตามินบางประเภทที่มีผลต่อร่างกายเป็นส่วนผสม และหมายความรวมถึงเครื่องดื่มเกลือแร่ชนิดแห้งด้วย

1.6 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

ได้ทราบถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่

Page 9: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

4

บทที่ 2

เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่ม เกลื่อแร่ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขต โดยผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการศึกษา สรุปเป็นสาระส่าคัญตามหัวข้อดังนี้

2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ 2.2 เครื่องดื่มเกลื่อแร ่2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 ทฤษฏีพฤติกรรมตำมแบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพ (เบญจมาศ สุขศรีเพ็ง, 2550) 2.1.1 ควำมหมำยเกี่ยวกับพฤติกรรม

พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุกอย่างของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงหมายถึงปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่บุคคลแสดงออกทั้งภายในและภายนอกตัวบุคคล มีทั้งที่สังเกตได้และสังเกตไม่ได้ ทั้งสิ่งที่สมัครใจจะกระท่าหรือละเว้นการกระท่า ทั้งนี้พฤติกรรมของบุคคลย่อมแตกต่างกันไปตามสภาพสังคมวัฒนธรรม ซึ่งมักได้รับอิทธิพลจากความคาดหวังของบุคคลรอบข้าง สถานการณ์ขณะนั้น และประสบการณ์ในอดีต 2.1.2 ปัจจัยก ำหนดพฤติกรรม พฤติกรรมของบุคคลจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งสาเหตุการเปลี่ยนแปลงอาจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เช่น เปลี่ยนแปลงเองจากการเรียนรู้ตามวุฒิภาวะหรือระยะพัฒนาการ เปลี่ยนแปลงเพราะถูกบังคับหรืออิทธิพลระหว่างบุคคล เปลี่ยนแปลงเพราะการลอกเลียนแบบ และ เปลี่ยนแปลงเนื่องจากบุคคลยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ดีต่อตนเอง มีความเหมาะสมตรงกับค่านิยม และแนวคิดของตนเอง ซึ่งสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้น มีหลายปัจจัยเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างเช่น วุฒิภาวะหรือพัฒนาการ การเรียนรู้ ยาและสิ่งเสพติด พันธุกรรม เป็นต้น 2.1.3 แนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตำมแผน (Theory of Planned Behavior: TPB) (Ajzen, 1991) แนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior: TPB) เป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาสังคม (Social psychology) ที่พัฒนามาจากทฤษฎีการกระท่าด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action)ของ Ajzen and Fishbein (1975) ทฤษฎีนี่อธิบายว่า การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์จะเกิดจากการชี้น่าโดยความเชื่อ 3 ประการ ได้แก่ ความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม (Behavioral beliefs) ความเชื่อเกี่ยวกับกลุ่มอ้างอิง (Normative beliefs) และความเชื่อเกี่ยวกับความสามารถในการควบคุม (Control beliefs) ซึ่งความเชื่อแต่ละตัวจะส่งผลต่อตัวแปรต่างๆ (Ajzen , 1991)

Page 10: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

5

1. สาระพ้ืนฐานของทฤษฏี 1) พฤติกรรม (Behavior หรือ B) ส่วนมากของบุคคลอยู่ภายใต้การควบคุมของเจตนาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Intention หรอ I) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เจตนาเชิงพฤติกรรม ( I) ของเขาที่จะท่าหรือไม่ท่าพฤติกรรมนั้นๆ 2) เจตนาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Intention หรือ I) ได้รับอิทธิพลจากตัวก่าหนด 3 ตัว คือ เจตคติต่อพฤติกรรม (Attitude toward the Behavior หรอ AB) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (Subjective Norm หรอ SN) และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม (Perceived Behavioral Control หรือ PBC) 2.1) เจตคติต่อพฤติกรรม (Attitude toward the Behavior หรอ AB) เป็นการประเมินทางบวกหรือลบต่อการกระท่านั้นๆ จัดได้ว่า เจตคติต่อพฤติกรรม (AB) เป็นปัจจัยส่วนบุคคล(Personal Factors)ถ้าบุคคลมีความเชื่อว่าการท่าพฤติกรรมใดแล้วจะได้รับผลทางบวก ก็จะมีแนวโน้มที่จะมีทัศนคติที่ดีต่อพฤติกรรมนั้น ในทางตรงข้าม หากมีความเชื่อว่าการท่าพฤติกรรมนั้นแล้วจะได้รับผลในทางลบ ก็จะมีแนวโน้มที่จะมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อพฤติกรรมนั้น (Attitude toward the behavior) และเมื่อมีทัศนคติทางบวกก็จะเกิดเจตนาหรือตั้งใจ (Intention) ที่จะแสดงพฤติกรรมนั้น 2.2) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (Subjective Norm หรอ SN) เป็นการรับรู้ของบุคคลว่าคนอ่ืนๆ ที่มีความส่าคัญส่าหรับเขาต้องการหรือไม่ต้องการให้เขาท่าพฤติกรรมนั้นๆ ถ้าบุคคลได้รับรู้ว่าคนที่มีความส่าคัญต่อเขาได้ท่าพฤติกรรมนั้น หรือต้องการให้เขาท่าพฤติกรรมนั้น ก็จะมีแนวโน้มที่จะคล้อยตามและท่าตามด้วย 2.3) การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม (Perceived Behavioral Control หรอ PBC) เป็นการรับรู้ของบุคคลว่า เป็นการยากหรือง่ายที่จะท่าพฤติกรรมนั้นๆ ถ้าบุคคลเชื่อว่า มีความสามารถที่จะกระท่าพฤติกรรมในสภาพการณ์นั้นได้ และสามารถควบคุมให้เกิดผลดังตั้งใจ เขาก็มีแนวโน้มที่จะท่าพฤติกรรมนั้น (สุวรรณา วิริยะประยูร, 2548) 2. บทบาทความเชื่อท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรม ทฤษฎีนี้จ่าแนกความเชื่อเป็น 3 ประการ คือ 1) ความเชื่อเกี่ยวกับผลกรรมของการกระท่า (Behavioral Beliefs) ซึ่งมีอิทธิพลต่อเจตคติต่อพฤติกรรมเป็นความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับผลของการกระท่า หากบุคคลมีความเชื่อว่า การท่าพฤติกรรมนั้นจะน่าไปสู่ผลกรรมทางบวก เขาก็จะมีเจตคติที่ดีต่อพฤติกรรมนั้นขณะที่บุคคลซึ่งเชื่อว่าการท่าพฤติกรรมนั้นจะน่าไปสู่ผลกรรมทางลบ เขาก็จะมีเจตคติที่ไม่ดีต่อพฤติกรรมนั้น 2) ความเชื่อเกี่ยวกับกลุ่มอ้างอิง (Normative Beliefs) ซึ่งเป็นตัวก่าหนดการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเป็นความเชื่อที่ว่าบุคคลหรือกลุ่มคนเฉพาะคิดว่าเขาควรหรือไม่ควรท่าพฤติกรรมนั้น บุคคลก็มีแนวโน้มที่จะท่าพฤติกรรมนั้น ในทางตรงข้าม หากบุคคลเชื่อว่าคนอ่ืนที่มีความส่าคัญส่าหรับเขาคิดว่าเขาไม่ควรท่าพฤติกรรมนั้น เขาก็มีแนวโน้มที่จะไม่ท่าพฤติกรรมนั้น 3) ความเชื่อเกี่ยวกับปัจจัยควบคุม (Control Beliefs) ซึ่งเป็นพ้ืนฐานของการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมเป็นความเชื่อเก่ียวกับการมีหรือไม่มีทรัพยากร (ชาญวิทย์ ตั้งสุวรรณกุล, 2555)

Page 11: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

6

2.1.4 แบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพ (Health Belief Model) แนวคิดของทฤษฎีนี้เริ่มแรกสร้างขึ้นจากทฤษฎีเกี่ยวกับ“อวกาศของชีวิต” (Life Space) ซึ่งได้คิดขึ้นครั้งแรกโดยนักจิตวิทยา Kurt Lewin ซึ่งมีสมมติฐานว่าบุคคลจะหันเหตนเองไปสู่พ้ืนที่ที่บุคคลให้ค่านิยมเชิงบวกและขณะเดียวกันจะหลีกเลี่ยงจากพ้ืนที่ที่มีค่านิยมเชิงลบ อธิบายได้ว่า บุคคลจะแสวงหาแนวทางเพ่ือจะปฏิบัติตามค่าแนะน่าเพ่ือการป้องกันและฟ้ืนฟูสภาพตราบเท่าที่การปฏิบัติเพ่ือป้องกันโรคนั้นเป็นสิ่งที่มีค่าเชิงบวกมากกว่าความยากล่าบากท่ีจะเกิดขึ้น จากการปฏิบัติตามค่าแนะน่าดังกล่าวบุคคลจะต้องมีความรู้สึกกลัวต่อโรคหรือรู้สึกว่าโรคคุกคามตน และจะต้องมีความรู้สึกว่าตนเองมีพลังที่จะต่อต้านโรคได้ (ประภาเพ็ญ สุวรรณ และ สวิง สุวรรณ , 2536) ซึ่งต่อมา Rosenstock (1974) ได้สรุป องค์ประกอบพื้น ฐานของแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพไว้ คือ การรับรู้ของบุคคลและแรงจูงใจ การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรคจะต้องมีความเชื่อว่า เขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค โรคนั้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อการด่าเนินชีวิต รวมทั้งการปฏิบัตินั้นจะเกิดผลดีในการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือช่วยลดความรุนแรงของโรค โดยไม่ควรมีอุปสรรคด้านจิตวิทยามาเกี่ยวข้อง เช่น ค่าใช้จ่าย ความไม่สะดวกสบาย ความเจ็บป่วยและความอาย เป็นต้น และ Becker (1974) เป็นผู้ปรับปรุงแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพ่ือน่ามาใช้อธิบายและท่านายพฤติกรรมการป้องกันและพฤติกรรมอ่ืนๆ โดยเพ่ิมปัจจัยอ่ืนๆ นอกเหนือจากการรับรู้ของบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติในการป้องกันโรค ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ (เบญจมาศ สุขศรีเพ็ง, 2550) 1. กำรรับรู้โอกำสเสี่ยงของกำรเป็นโรค (Perceived Susceptibility) การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค หมายถึง ความเชื่อของบุคคลที่มีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติตามค่าแนะน่าด้านสุขภาพทั้งในภาวะปกติและภาวะเจ็บป่วย แต่ละบุคคลจะมีความเชื่อในระดับที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นบุคคลเหล่านี้จึงหลีกเลี่ยงต่อการเป็นโรคด้วยการปฏิบัติตามเพ่ือป้องกันและรักษาสุขภาพที่แตกต่างกันจึงเป็นความเชื่อของบุคคลต่อความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคของแพทย์ การคาดคะเนถึงโอกาสของการเกิดโรคซ้่าหรือการง่ายที่จะป่วยเป็นโรคต่างๆ มีรายงานการวิจัยหลายเรื่องที่ให้การสนับสนุนความเชื่อต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคว่ามีความสัมพันธ์ในทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบัติตามค่าแนะน่าของเจ้าหน้าที่ เช่นเมื่อบุคคลป่วยเป็นโรคใดโรคหนึ่ง ความรู้สึกของบุคคลที่ว่าตนเองจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคนั้นๆอีกจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ การปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคไม่ให้เกิดกับตนเองอีก 2. กำรรับรู้ควำมรุนแรงของโรค (Perceived Severity) เป็นการประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรค ปัญหาสุขภาพหรือผลกระทบจากการเกิดโรคซึ่งก่อให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิต การประเมินความรุนแรงนั้นอาศัยระดับต่างๆของการกระตุ้นเร้าของบุคคลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยนั้น ซึ่งอาจจะมองความรุนแรงของการเจ็บป่วยนั้นท่าให้เกิดความพิการหรือตายได้หรือไม่หรืออาจมีผลกระทบต่อหน้าที่การงาน เมื่อบุคคลเกิดการรับรู้ความรุนแรงของโรคหรือการเจ็บป่วยแล้วจะมีผลท่า ให้บุคคลปฏิบัติตามค่าแนะน่าเพ่ือการป้องกันโรค ซึ่ง จากผลการวิจัยจ่านวนมากพบว่า การรับรู้ความรุนแรงของโรคมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกันโรค เช่น การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

Page 12: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

7

3. กำรรับรู้ถึงประโยชน์ของกำรรักษำและป้องกันโรค (Perceived Benefits) การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค หมายถึง การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรคโดยการปฏิบัตินั้นต้องมีความเชื่อว่าเป็นการกระท่าที่ดีมีประโยชน์และเหมาะสมที่จะท่าให้หายหรือไม่เป็นโรคนั้นๆ ดังนั้นการตัดสินใจที่จะปฏิบัติตามค่าแนะน่าก็ขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบถึงข้อดีและข้อเสียของพฤติกรรมนั้นโดยเลือกปฏิบัติในสิ่งที่ก่อให้เกิดผลดีมากกว่าผลเสีย 4. กำรรับรู้ต่ออุปสรรค (Perceived Barriers) การรับรู้ต่ออุปสรรคของการปฏิบัติ หมายถึง การคาดการณ์ล่วงหน้าของบุคคลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของบุคคลในทางลบ ซึ่งอาจได้แก่ ค่าใช้จ่าย หรือผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกิจกรรมบางอย่าง เช่น การตรวจเลือดหรือการตรวจพิเศษท่าให้เกิดความไม่สุขสบาย การมารับบริการหรือพฤติกรรมอนามัยนั้นขัดกับอาชีพหรือการด่าเนินชีวิตประจ่าวัน ดังนั้นการรับรู้อุปสรรคเป็นปัจจัยส่าคัญต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค และพฤติกรรมของผู้ป่วยนี้สามารถใช้ท่านายพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการรักษาโรคได้ 5. สิ่งชักน ำให้เกิดกำรปฏิบัติ (Cues to Action) สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติเป็นเหตุการณ์หรือสิ่งที่มากระตุ้นบุคคลให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการออกมา ซึ่ง Becker and Maiman (1975) ได้กล่าวว่า เพ่ือให้แบบแผนความเชื่อมีความสมบูรณ์นั้นจะต้องพิจารณาถึงสิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติซึ่งมี 2 ด้าน คือ สิ่งชักน่าภายในหรือสิ่งกระตุ้นภายใน (Internal Cues)ได้แก่ การรับรู้สภาวะของร่างกายตนเอง เช่น อาการของโรคหรือ การเจ็บป่วย ส่วนสิ่งชักน่าภายนอกหรื อสิ่งกระตุ้นภายนอก (External Cues) ได้แก่ การให้ข่าวสารผ่านทางสื่อมวลชนหรือการเตือนจากบุคคลที่เป็นที่รักหรือนับถือ เช่น สามี ภรรยา บิดา มารดา เป็นต้น 6. ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) ปัจจัยร่วม เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และการปฏิบัติ ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านประชากร เช่น อายุ ระดับการศึกษา เป็นต้น 2) ปัจจัยทางด้านสังคมจิตวิทยา เช่น บุคลิกภาพ สถานภาพทางสังคม กลุ่มเพ่ือนกลุ่มอ้างอิง มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยมทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นพ้ืนฐานท่าให้เกิดการปฏิบัติเพ่ือป้องกันโรคที่แตกต่างกัน 2.2 เครื่องดื่มเกลือแร่

เครื่องดื่มเกลือแร่ หมายถึง เครื่องดื่มท่ีมีสารเคมี สารอาหารและวิตามินบางประเภทที่มีผลต่อร่างกายเป็นส่วนผสม มีจ่าหน่ายทั่วไปและมีปริมาณการขายอยู่ในระดับ 1 และ 2 ของตลาดการค้า (วันดี ขาวโอภาส , 2542)

2.2.1 เครื่องดื่มเกลือแร่ต้องมีคุณภำพหรือมำตรฐำนดังนี้ (กร ทัพพะรังสี, 2543)

เครื่องดื่มเกลือแร่ 1 ลิตร ประกอบด้วย

Page 13: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

8

- โซเดียม ไม่น้อยกว่า 460 มิลลิกรัม และไม่เกิน 920 มิลลิกรัม - น้่าตาลกลูโคสหรือฟรุคโตส ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของน้่าหนัก หรือซูโครสไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ของน้่าหนัก - โพแทสเซียม ไม่เกิน 195 มิลลิกรัม (ถ้ามี) - ไบคาร์บอเนต ไม่เกิน 793 มิลลิกรัม (ถ้ามี) - ซิเตรต ไม่เกิน 819 มิลลิกรัม (ถ้ามี) เครื่องดื่มเกลือแร่นอกจากจะต้องมีส่วนประกอบตาม โซเดียม ไม่น้อยกว่า 460 มิลลิกรัม และไม่เกิน

920 มิลลิกรัมและ น้่าตาลกลูโคสหรือฟรุคโตส ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของน้่าหนัก หรือซูโครสไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ของน้่าหนัก แล้วหากจะใช้เกลือแร่อื่นนอกจาก โพแทสเซียม ไม่เกิน 195 มิลลิกรัม (ถ้ามี)และ ไบคาร์บอเนต ไม่เกิน 793 มิลลิกรัม (ถ้ามี)หรือน้่าตาลอ่ืน ให้ใช้ได้ในปริมาณตามที่ได้รับความเห็นชอบจากส่านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

กลิ่นและรสตามลักษณะเฉพาะของเครื่องดื่มเกลือแร่นั้น ไม่มีตะกอน เว้นแต่ตะกอนที่เกิดจากการใช้สารปรุงแต่งกลิ่นรสบางชนิดอันเป็นส่วนประกอบของเครื่องดื่มเกลือแร่ น้่าที่ใช้ผลิตต้องเป็นน้่าที่มีคุณภาพหรือมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข น้่าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ไม่มีสารปนเปื้อน ไม่มีจุลินทรีย์ที่ท่าให้เกิดโรค ไม่มีสารเป็นพิษจากจุลินทรีย์หรือสารเป็นพิษอ่ืนในปริมาณที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่มีเชื้อรา ไม่มีสารปนเปื้อน ไม่ใช้วัตถุให้ความหวานแทนน้่าตาล ไม่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบ เว้นแต่แอลกอฮอล์ที่ใช้เป็นตัวท่าละลายสารปรุงแต่งบางชนิดที่ใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องดื่มเกลือแร่ ไม่มีแคฟเฟอีน (กระทรวงสาธารณสุข, 2543)

2.2.2 กำรดื่มน้ ำขณะออกก ำลังกำย สิ่งท่ีส ำคัญท่ีต้องใส่ใจ

โดยปกติร่างกายจะมีการสูญเสียน้่าประมาณวันละ 2,500 มิลลิลิตรต่อวัน โดยแบ่งออกเป็นการสูญเสียน้่าทางปัสสาวะ 1,500 มิลลิลิตรต่อวัน ทางเหงื่อ 500 มิลลิลิตรต่อวัน ทางละอองน้่าในลมหายใจ 300 มิลลิลิตรต่อวัน และอุจจาระ 200 มิลลิลิตรต่อวัน ดังนั้นร่างกายจึงต้องได้รับน้่า โดยน้่าที่ร่างกายต้องการประมาณ 2,500 มิลลิลิตรต่อวัน หรือประมาณ 6-8แก้วต่อวัน เมื่อร่างกายขาดน้่าจะไปกระตุ้นการท่างานของสมองส่วนกลาง (Hypothalamus) ท่าให้เกิดความรู้สึกกระหายน้่า โดยเมื่อเราออกก่าลังกายร่างกายจะเสียน้่ามากขึ้นทั้งจากเหงื่อและกล้ามเนื้อ จึงท่าให้ต้องดื่มน้่ามากขึ้น ปริมาณน้่าในร่างกายถ้าลดลงเพียง 2 % ร่างกายจะเริ่มท่างานสับสน ถ้าขาดน้่าถึง 5 % การท่างานของร่างกายจะบกพร่องผิดปกติไปถึง 30 % ถ้าเสียน้่ามากกว่านี้โดยไม่รีบแก้ไขจะท่าให้เกิดการเวียนศีรษะ หมดก่าลัง อาจหมดสติและเสียชีวิตได้ (ธนภรณ์ ก้องเสียง,2554) ในการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ร่างกายจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น การขับเหงื่อจะช่วยลดความร้อนของร่างกาย ท่าให้ไม่รู้สึกเหนื่อยเร็วเกินไป ส่วนประกอบของเหงื่อจะมีน้่าสูงถึง 99% ที่เหลือ 1% เป็นเกลือโซเดียมและคลอไรด์เป็นส่วนใหญ่ มีโปรแตสเซียม แมกนีเซียม โปรตีน เหล็ก สังกะสี บ้างเล็กน้อย ดังนั้นควรคิดถึงการชดเชยน้่าเป็นอันดับแรก เพราะการเสียเกลือแร่ออกไปจากการออกก่าลังกาย มีปริมาณค่อนข้างน้อย จึงไม่มีความจ่าเป็นมากนักที่จะต้องรีบชดเชยเกลือแร่เข้า

Page 14: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

9

ไปขณะเล่นกีฬา หรือขณะออกก่าลังกาย ร่างกายคนเราจะได้เกลือแร่เข้าไปชดเชยจากอาหารที่รับประทานเข้าไปภายหลังจากออกก่าลังกายอยู่แล้ว นอกจากนี้ ในคนที่ออกก่าลังกายมากๆ หรือเล่นกีฬาในการแข่งขัน ซึ่งต้องการชดเชยน้่าอย่างรวดเร็ว การรับประทานเครื่องดื่มประเภทเกลือแร่ ซึ่งประกอบไปด้วยโซเดียม โปรแตสเซียม คลอไรด์และน้่าตาลกลูโคส 4-8 % จะขัดขวางการดูดซึมของน้่า ในทางเดินอาหารท่าให้ร่างกายได้รับน้่าชดเชยช้าไปกว่าการรับประทานน้่าธรรมดา (ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพมหานคร, 2557)

การดื่มน้่านับว่ามีความส่าคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการออกก่าลังกายเพราะการออกก่าลังกายหนัก ร่างกายก็จะสูญเสียน้่าในปริมาณหนึ่ง สมรรถภาพทางกายจะลดต่่าลง เนื่องจากการระบายความร้อนของร่างกายท่าได้น้อย (องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย, 2525) ดังนั้นเพ่ือไม่ให้ร่างกายขาดน้่า ในกรณีที่ออกก่าลังกายน้อยกว่า 60 นาที ควรดื่มน้่าทุกๆ 15-20 นาที ครั้งละ 200 มิลลิลิตร( ½ ขวดกลาง) หรือใช้วิธีจิบน้อยๆ แต่บ่อยๆ ร่างกายจะส่งสัญญาณเตือนว่าก่าลังขาดน้่า เช่น คอแห้ง น้่าลายเหนียว ก็ควรพักดื่มน้่าสักหน่อยก่อนกลับไปออกก่าลังกายต่อ สัก 2-3 อึกก็ยังดี หรือถ้าออกก่าลังกายที่มีความหนักและสูญเสียเหงื่อมาก อาจดื่มน้่าเกลือแร่เสริม ได้ (กรณีออกมากกว่า 1 ชม.)เพ่ือเพ่ิมน้่าตาลในเลือด ป้องกันไม่ให้เหนื่อยอ่อนแรงและช็อค ซึ่งจะให้ดีเครื่องดื่มนั้นควรมีอุณหภูมิประมาณ 15-20 องศาเซลเซียส หรือเป็นน้่าในอุณหภูมิห้อง ก็ได้ เพ่ือเพ่ิมการดูดซึม (วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม, 2537)

แสงโสม สินะวัฒน์ (2545) ได้กล่าวว่า เวลาในการออกก่าลังกายที่ดี ควรออกก่าลังกายหลังมื้ออาหาร อย่างน้อย 3 ชั่วโมง เนื่องจากอาหารต้องใช้เวลาเคลื่อนผ่านกระเพาะอาหาร 2-3 ชั่วโมง ส่วนอาหารส่าหรับการออกก่าลังกาย ช่วงก่อนและหลังการออกก่าลังกาย เป็นอาหารทั่วๆ ไป คือ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ทุกวัน ให้ได้ทั้งปริมาณ และคุณภาพโดยไม่ต้องเสริมสารอาหารใดๆ หรือเครื่องดื่มเกลือแร่ ถึงแม้การออกก่าลังกายจะมีการเสียเหงื่อ เพราะเหงื่อประกอบด้วยน้่า 99% และที่เหลือเป็นเกลือแร่ เมื่อใดที่ร่างกายเสียเหงื่อ ก็จะเกิดการสูญเสียน้่าจากร่างกาย จะท่าให้ประสิทธิภาพการท่างานของร่างกายลดลง สิ่งที่จ่าเป็นต้องทดแทนเร่งด่วน คือ น้่า ส่วนเกลือแร่ทดแทนได้ด้วย การบริโภคอาหารปกติ หลังการออกก่าลังกาย ฉะนั้น เครื่องดื่มเกลือแร่ จึงไม่จ่าเป็น หากต้องการป้องกันไม่ให้เกิดการเสียน้่า ควรดื่มน้่าเป็นระยะๆ ไม่ควรปล่อยให้เกิดการกระหายน้่า แล้ว ค่อยดื่ม เพราะอาการกระหายน้่า แสดงว่า ร่างกายขาดน้่าไปแล้ว

2.2.3 ผลกระทบของกำรขำดน้ ำและเกลือแร่ ในขณะออกก ำลังกำย (วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม, 2537)

ระบบการไหลเวียนเลือดบกพร่อง เกิดผลกระทบโดยตรงต่อการล่าเลียงสารอาหารและออกซิเจนให้แก่เซลล์กล้ามเนื้อ ประสิทธิในการระบายของเสียและความร้อนออกจากเซลล์ลดลง

ประสิทธิภาพในการท่างานของเซลล์กล้ามเนื้อลดลง ถ้าเสียน้่าไปประมาณร้อยละ 2 ของน้่าหนักตัว (1-1.4 ลิตร) กล้ามเนื้อจะอ่อนล้าง่าย ไม่สามารถเล่นต่อเนื่องได้

และถ้าเสียน้่าไปมากกว่าร้อยละ 4 ของน้่าหนักตัว (2-2.8ลิตร) สมรรถภาพจะลดลงอย่างชัดเจน กล้ามเนื้อเป็นตะคริวง่าย กลไกการเกิดตะคริวยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าเป็นผลจากการที่ร่างกายขาดน้่าและ

เกลือแร่ร่วมกัน

Page 15: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

10

ความดันเลือดลดลง มึนงง และเป็นลม ขณะแข่งขันได้ง่าย ประสิทธิภาพในการระบายความร้อนออกจากร่างกายลดลง อุณหภูมิร่างกายขึ้นสูงจนเกิดการเจ็บป่วยได้ เพ่ือป้องกันอาการข้างต้นควรดื่มน้่าให้พอทั้งก่อน ระหว่าง และภายหลังการออกก่าลังกาย เพ่ือป้องกันการขาดน้่าซึ่งจะท่าให้สมรรถภาพในการออกก่าลังกายลดลง

2.2.4 ประโยชน์และโทษของกำรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

เครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นเครื่องดื่มที่ใช้ส่าหรับการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไป โดยเฉพาะระหว่างการออกก่าลังกาย เครื่องดื่มเกลือแร่นั้นเหมาะส่าหรับผู้ที่ร่างกายได้สูญเสียน้่าในปริมาณมากๆและสูญเสียอย่างต่อเนื่อง เช่น การวิ่งมาราธอน ขี่จักรยาน หรือว่ายน้่าระยะไกล (ออกก่าลังกายด้วยความหนักต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 20 นาที) การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ นั้นมีทั้งประโยชน์และโทษ ประโยชน์คือ ชดเชยเกลือแร่ที่ร่างกายสูญเสียไประหว่างการออกก่าลังกาย ถ้ารู้จักใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และความต้องการของร่างกาย ดื่มเพ่ือให้ความสดชื่น แก้กระหายเพราะในเครื่องดื่มเกลือแร่มีน้่าตาลกลูโคสหรือซูโครส หรือเด็กซ์ โทรสและโซเดียม โปแตสเซียม และคลอไรด์ อยู่ในสภาพอิเลคโทรไลค์ ในปริมาณท่ีพอเหมาะจะช่วยให้น้่าเข้าสู่เซลล์ร่างกายได้เร็วขึ้นหลังการออกก่าลังกาย เครื่องดื่มส่าหรับนักกีฬา ไม่ได้เป็นเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมและสารอาหารส่าคัญเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภา พให้กับนักกีฬามืออาชีพเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องดื่มส่าหรับคนรุ่นใหม่ที่รักในการออกก่าลังกายและต้องการเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับร่างกายของตนเองชั่วโมงนี้การมุ่งฝึกฝนในเรื่องของกีฬาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถตอบโจทย์ได้ทั้งหมดอีกต่อไป แต่การเลือกสรรอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ตลอดจนผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เหมาะสมจะมีส่วนช่วยในการเสริมประสิทธิภาพและช่วยดูแลร่างกายให้ดีขึ้น (วรพนิต ลิมปภาส , 2555)

ในปัจจุบันเครื่องดื่มเกลือแร่มีหลายยี่ห้อ หลายชนิดด้วยกัน กลุ่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น เกเตอเรด เอ็มสปอร์ต สปอนเซอร์ รอเยลดี เป็นต้น ส่าหรับเครื่องดื่มกลุ่มนี้ ผู้ออกก่าลังกายสามารถดื่มได้ทั้งก่อน หรือ ระหว่าง หรือ หลัง การออกก่าลังกาย แต่เพ่ือให้ได้ประโยชน์สูงสุด มีข้อสังเกตดังนี้ คือเครื่องดื่มเกลือแร่ในบ้านเราส่วนใหญ่มักมีความเข้มข้นของน้่าตาลสูงกว่าที่แนะน่า เช่น สปอนเซอร์ , เอ็มสปอร์ต ซึ่งจะส่งผลเสียต่อการออกก่าลังกายหากดื่มเครื่องดื่มดังกล่าวเพียงอย่างเดียว นักโภชนาการมีเทคนิคแนะน่าการดื่มให้ได้ประโยชน์ โดยดื่มพร้อมกับน้่าเปล่าเพ่ือเจือจางความเข้มข้นลงและเป็นการเพ่ิมการดื่มน้่า ซึ่งเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า ส่าหรับบางยี่ห้อที่ความเข้มข้นเหมาะสม เช่น เกเตอเรด สามารถดื่มแทนน้่าเปล่าได้เลย เพ่ือชดเชยน้่าและพลังงานที่เสียไป ส่าหรับเครื่องดื่มเกลือแร่ชนิดผง เช่น รอเยลดี ข้อดีของผู้ที่เลือกดื่มเครื่องดื่มประเภทนี้คือได้รับน้่าและเกลือแร่ทดแทนที่สูญเสียไป ส่าหรับการชดเชยพลังงานคงไม่เพียงพอต่อความต้องการในขณะออกก่าลังกาย นักโภชนาการมีข้อแนะน่าส่าหรับการดื่มเครื่องดื่มกลุ่มนี้ให้ได้ประโยชน์สูงสุด คือให้ใส่น้่าตาลทรายเพ่ิม 1 ช้อนโต๊ะ จะช่วยเพ่ิมพลังงานให้มากข้ึน (พฤกษชาติ มัณยัษเฐียร, 2554)

โทษคือ ส่าหรับเครื่องดื่มเกลือแร่ คือเรื่องปริมาณที่ดื่มเข้าไป ซึ่งหากร่างกายมีปริมาณของวิตามินและเกลือแร่ที่เพียงพออยู่แล้ว แต่ยังได้รับเพ่ิมเข้าไปอีก เกลือแร่หรือวิตามินบางชนิดจะถูกสะสมตกค้างในร่างกายและเปลี่ยนสภาพเป็นพิษ ท่าให้ระบบไตและหัวใจท่างานหนักมากขึ้นและเฉียบพลัน (Mark Wolves อ้างถึงใน

Page 16: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

11

ส่านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2552) กล่าวไว้ว่าคือ เครื่องดื่มในการชดเชยน้่าและเกลือแร่ที่ร่างกายเสียไปในระหว่างเล่นกีฬา โดยปรุงแต่งให้มีรสชาติที่ดีและน่าดื่ม โดยส่วนมากเครื่องดื่มเกลือแร่มัก มีส่วนผสมของน้่าตาล และส่วนประกอบของเกลือแร่ เป็นตัวการท่าให้ฟันผุ เนื่องจากมีส่วนผสมของน้่าตาล และกรดต่างๆที่ผสมจะไปกัดกร่อนสารเคลือบฟัน ถ้าดื่มมากเกินไปก็ไม่เหมาะสม เพราะที่จริงตามปกติได้รับเกลือแร่จากอาหารมากพออยู่แล้ว ถ้าคุณรู้แล้ว ก็ควรรู้จักควรดื่มในปริมาณท่ีเหมาะสมจะดีที่สุด

2.2.5 ข้อควรระวังและกำรปฏิบัติกำรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

ในช่วงก่อนการแข่งขันควรดื่มน้่าหรือเครื่องดื่มให้เพียงพอ ผู้ออกก่าลังกายหรือนักกีฬาบางคนพบว่าการดื่มน้่าหวาน หรือน้่ากลูโคสในช่วงครึ่งชั่วโมงก่อนการแข่งขัน ท่าให้สมรรถภาพทางกายลดลง บางคนพบว่าถ้าดื่มน้่าหวานก่อนการแข่งขัน (ใกล้เวลาแข่งขัน) จะช่วย ให้ดีขึ้น ดังนั้นควรให้นักกีฬาแต่ละคนใช้วิจารณญาณ หรือประสบการณ์ของตัวเองตัดสินใจว่าควรดื่มน้่าหวานก่อนออกก่าลังกายและการแข่งขันหรือไม่ เพ่ือไม่ให้มีผลเสียในระหว่างการแข่งขัน สิ่งส่าคัญที่ควรกระท่าในช่วงระหว่างการแข่งขัน คือควรทดแทนเหงื่อที่เสียไปด้วยการดื่มน้่า ส่าหรับนักกีฬาที่ใช้แรงมาก และใช้เวลาในการแข่งขันนาน มีการสูญเสียเหงื่ออย่างมาก เช่น นักกีฬาฟุตบอล ในช่วงพักครึ่งเวลา ควรดื่มน้่าหวาน หรือเครื่องดื่มเกลือแร่ที่ความเข้มข้นไม่สูงมากนัก จะช่วยท่าให้มีแรงวิ่งและสามารถวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดของตัวเอง ได้มากยิ่งขึ้น (กรมอนามัย, 2549)

โดยทั่วไปร่างกายของเราได้รับเกลือแร่ต่าง ๆ จากอาหารเพียงพออยู่แล้ว หากบริโภคเกลือโซเดียมมากเกินไป อาจเป็นอันตรายได้โดยเฉพาะในผู้ที่ป่วยโรคหัวใจ หรือโรคไต ในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่นั้น ควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่กับผู้ที่ออกก่าลังกายและเสียเหงื่อมากๆ ที่ส่าคัญเด็กและทารกไม่ควรดื่ม เพราะอาจเกิดการเสียสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายได้ท่ีจริงแล้ว การเสียเหงื่อจากการออกก่าลังกาย โดยปกติเราควรดื่มน้่าชดเชยเหงื่อที่เสียไปก็พอแล้ว โดยปกติร่างกายสามารถปรับตัวต่อการเสียเหงื่อได้ โดยไม่จ่าเป็นต้องให้เกลือแร่ชดเชย เว้นแต่การออกก่าลังกายที่หนักและต่อเนื่องนานๆ จนร่างกายขาดเกลือแร่จริงๆ จนส่งสัญญานออกมา เช่น มีอาการเป็นตะคริวเกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อ คนๆนั้นก็ควรรู้ว่าร่างกายของตัวเองสูญเสียเกลือแร่ได้ง่าย ต้องรู้ จักชดเชยเกลือแร่ที่สูญเสียไป (พีระ พันธุ์วิกรณ์, 2552)

2.3 งำนวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

2.3.1 งำนวิจัยในประเทศ

วันดี ขาวโอภาส (2542) ได้ศึกษาการเปรียบเทียบระยะฟ้ืนตัวหลังการออกก่าลังกาย โดยวิธีดื่มน้่าธรรมดา กับเครื่องดื่มเกลือแร่ โดยผู้เข้าทดลองเป็นพลทหารใหม่ที่ได้ผ่านการฝึกมาแล้ว 4 สัปดาห์ ผลวิเคราะห์ข้อมูล การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่กับการดื่มน้่าธรรมดาหลังการอออกก่าลังกาย มีผลต่อระยะการฟ้ืนตัวแตกต่างกัน แต่จากการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏว่าการดื่มน้่าดื่มธรรมดา การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ A และการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ B ภายหลังการออกก่าลังกายให้ผลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 17: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

12

ฐิติวัฒน์ เพชรรัตน์ และคณะ (2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อและการปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ของนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่34 จากการการศึกษาความเชื่อและการปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ของนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่34 ผลการวิจัยพบว่า นักกีฬามีความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับปานกลาง แสดงว่า นักกีฬามีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่พอสมควร ว่าเครื่องดื่มจ่าพวกนี้มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์อย่างไรบ้าง เช่น เครื่องดื่มเหล่านี้ไม่สามารถช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เพ่ิมพลังให้มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม หรือสามารถบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลงได้ ทั้งนี้เพราะ ความจริงแล้ว เหงื่อท่ีสูญเสียไปนั้น ประกอบด้วย น้่า 99% และอีกเพียง 1% เป็นอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งได้แก่ โซเดียม โพแทสเซียม และคลอไรด์ ดังนั้นเมื่อเกิดการเสียเหงื่อการดื่มน้่าเย็นจึงเป็นสิ่งจ่าเป็น และเพียงพอแล้วในการออกก่าลังกายที่ไม่หนักมาก (อรุณวรรณ แย้มบริสุทธิ์ และกัลยา กิจบุญชู , 2547) และนักกีฬามีการปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับปานกลาง แสดงว่า นักกีฬามีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่พอสมควร แต่ในขณะเดียวกัน นักกีฬาเองก็ยังมีความรู้ความเข้าใจในบางเรื่องเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ไม่ถูกต้องอยู่บ้าง เช่น เมื่อเหงื่อออกขณะที่ก่าลังออกก่าลังกายทุกครั้งจะมีการเสียเกลือแร่เป็นจ่านวนมากจึงต้องดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่าไม่ว่าจะเป็นก่อนออกก่าลังกาย ขณะออกก่าลังกาย หรือหลังออกก่าลังกาย อาจท่าให้สูญเสียเงินไปโดยไม่จ่าเป็น อีกสิ่งหนึ่งเป็นเพราะในปัจจุบันสื่อมวลชนเข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลในชีวิตประจ่าวันมากขึ้นรวมถึงโฆษณาชวนเชื่อของผลิตภัณฑ์ต่างๆเหล่านี้ที่เกินความเป็นจริงไปบ้างท่าให้นักกีฬามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ที่ผิดไป

ชาตรี อุทัยลาวัณย์ (2436) ได้ท่าการศึกษาผลของเครื่องดื่มเกลือแร่บางชนิดต่อสมรรถภาพความอดทนในระหว่างการออกก่าลังกายของนักกีฬา โดยผลของเครื่องดื่มเกลือแร่ (เกเตอเรด) และผงเกลือแร่ละลายน้่า (ORS) เปรียบเทียบกับการดื่มน้่าเปล่า ขณะออกก่าลังกายแบบไม่ต่อเนื่อง (สลับกับการพัก) จากการศึกษานี้สรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยา และสมรรถภาพความอดทนของนักกีฬา อันเนื่องมาจากดื่มเกเตอเรด หรือผงเกลือแร่(ORS) ในขณะออกก่าลังกายแบบไม่ต่อเนื่อง(สลับด้วยการพัก) เป็นเวลานานประมาณ 105 วินาที ในสภาวะอากาศที่มีอุณภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 25 °C และ 66% ตามล่าดับ ไม่แตกต่างกับการดื่มน้่าเปล่า

น้่าฝน ตรันเจริญ (2553) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคเครื่องดื่ม Functional Drink ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครื่องดื่ม Functional Drink ที่คนไทยคุ้นเคยกันในอดีตนั้นเป็นเครื่องดื่มประเภทเครื่องดื่มชูก่าลัง(Energy Drink) และเครื่องดื่มเกลือแร่ (Isotonic Drink) ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือตอบโจทย์ผู้บริโภคท่ีต้องการผลประโยชน์เฉพาะจุดจากการดื่มในทันที เครื่องดื่มชูก่าลังนั้นถูกออกแบบมาเพ่ือเพ่ิมความตื่นตัวให้แก่ร่างกายเหมาะส่าหรับผู้ใช้แรงงานและผู้ที่ต้องการเพ่ิมความตื่นตัวในการด่ารงชีวิต ในขณะที่ผู้บริโภคบางกลุ่มเช่นนักกีฬานั้นต้องการเครื่องดื่มที่สามารถทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับเหงื่อ จึงได้มีการพัฒนาเครื่องดื่มเกลือแร่ขึ้นมาตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค

ศรีเวียง ทิพกานนท์ และคณะ (2552) ได้ศึกษาการพัฒนาแนวคิดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเกลือแร่และผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะคล้ายเครื่องดื่มเกลือแร่ด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบร่วม มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรม

Page 18: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

13

ความต้องการ และทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเกลือแร่ (Sport Drink) ผู้ทดสอบที่เคยดื่มผลิตภัณฑ์จ่านวน 150 คน

จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ ได้แก่ รสชาติ ราคา คุณค่าทางโภชนาการ และบรรจุภัณฑ์ โดยผู้บริโภคต้องการให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสส้ม และต้องการให้เติมส่วนผสมจากธรรมชาติ จากการส่ารวจพบว่าทั้งสองกลุ่มให้ความส่าคัญในลักษณะด้านขนาดบรรจุ และราคา ในทิศทางเดียวกัน โดยต้องการให้ผลิตภัณฑ์มีขนาดบรรจุสูงสุด คือ 500 มิลลิลิตร และมีราคาต่่าท่ีสุดที่ 15 บาท

2.3.2 วิจัยต่ำงประเทศ

Brink-Elfegoun T etal (2014) ได้ศึกษาผลกระทบของเครื่องดื่มกีฬาในการบ่ารุงรักษาสมรรถภาพทางกายในช่วงการแข่งขันเทนนิส 3 นัด: การศึกษาควบคุมแบบสุ่ม

ผลการทดสอบทางกายภาพส่าหรับแขนขาช่วงล่างแสดงให้เห็นว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างสามเงื่อนไข แต่ตรงกันข้ามกับแขนขาช่วงบน ข้อมูลที่แสดงให้เห็นความเมื่อยล้ากล้ามเนื้อ triceps มากขึ้นในช่วงสภาวะที่สอง เมื่อเทียบกับในช่วงสภาวะที่สาม แม้ว่าการที่บริโภคของเครื่องดื่มกีฬาจะช่วยลดความเมื่อยล้านี้ก็ตาม ในครั้งแรกนั้นที่ผู้เล่นเทนนิสที่มีการไฮเดรทอย่างเพียงพอและกินอาหารที่สมดุลระหว่างการแข่งขันแล้ว จะท่าให้การปฏิบัติงานทางกายภาพไม่ลดลงมากซึ่งเป็นที่สังเกตแม้กระทั่งในระหว่างการแข่งขันการแข่งขันติดต่อกัน

Hashimoto H และคณะ (2013) ได้ศึกษาผลกระทบของเครื่องดื่มนักกีฬา osmolality ในการดื่มน้่าและ immunoendocrine การตอบสนองต่อการข่ีจักรยานในสภาพอากาศร้อน

ตรวจสอบผลกระทบของคาร์โบไฮเดรตทั้ง 2 ประเภทที่อยู่ในเครื่องดื่มนักกีฬา และ immunoendocrine ซึ่งเป็นผลการตอบสนองของนักขี่จักรยาน การขี่จักรยานที่ 60 % ใน 90 นาทีในสภาพอากาศร้อน ซึ่งในการทดลองต้องบริโภคเครื่องดื่มนักกีฬา isotonic (osmolality 317 mOsm / กก.) เครื่องดื่มนักกีฬา hypotonic (osmolality 193 mOsm / กก.) หรือน้่าธรรมดา

นักจักรยานได้บริโภคเครื่องดื่ม isotonic (1.23 ± 0.35 ลิตร) และเครื่องดื่ม hypotonic (1.44 ± 0.55 ลิตร) เมื่อเทียบกับน้่า (0.73 ± 0.26 ลิตร) เมื่อเทียบกับน้่า (-0.96 ± 0.26 กิโลกรัม) ท่าให้มวลกายลดน้อยลงหลังจากที่ท่าการบริโภคเครื่องดื่ม hypotonic (-0.50 ± 0.38 กก.) แต่ไม่ดื่ม isotonic (-0.51 ± 0.41 กก.) ท่าให้ความเข้มข้นของน้่าตาลในเลือดสูงขึ้นในตอนท้ายของการบริโภคเครื่องดื่ม isotonic และเครื่องดื่ม hypotonic เมื่อเทียบกับดื่มน้่า ซึ่งเห็นได้ว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวและความเข้มข้นในพลาสมาของ catecholamines, interleukin 6 (IL-6), myeloperoxidase, calprotectin และ myoglobin เพ่ิมขึ้น ดังนั้นสรุปได้ว่าเครื่องดื่มกีฬา hypotonic เป็นที่น่าสนใจส่าหรับนักกีฬาที่จะดื่มระหว่างการออกก่าลังกายและอาจช่วยในการชดเชยการสูญเสียของเหลวและลดการอักเสบบางส่วนในการออกก่าลังกาย

Miccheli etal (2009) ได้ศึกษาตรวจสอบอิทธิพลของเครื่องดื่มกีฬาในการเผาผลาญหลังการเล่นกีฬาของนักกีฬา มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้คือการประเมินผลกระทบต่อระบบของเครื่องดื่มกีฬา isotonic กับ

Page 19: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

14

สถานการณ์เผาผลาญอาหารของนักกีฬาของนักกีฬาพายเรือ ประเทศอิตาลี ในการแข่งขันโอลิมปิกในระหว่างการฟ้ืนตัวหลังการออกก่าลังกายทางกายภาพมีพลังและเป็นเวลานานโดยแม่เหล็กนิวเคลียร์ (NMR) -based วิเคราะห์ metabolomics บน พลาสม่าและปัสสาวะ

นักกีฬาพายเรือทั้ง 44 คน ของประเทศอิตาลีที่ท่าการสมัครเข้าคัดเลือกการศึกษา crossover double-blindการประเมินโดย MSCA สะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของระดับแลคเตทที่เกิดจากการออกก่าลังกาย การวิเคราะห์ความแปรปรวนภายในของแต่ละบุคคลโดยใช้หลายรูปแบบ PLS-DA ของพลาสมาและปัสสาวะการเผาผลาญโปรไฟล์แสดงให้เห็นผลกระทบของเครื่องดื่มกีฬาชาเขียวที่อยู่บนพ้ืนฐานกลูโคสซิเตรตและระดับแลคเตทในพลาสม่าและอะซิโตน 3 OH-butyrate, และระดับแลคเตทในปัสสาวะ การเพ่ิมขึ้นของคาเฟอีนและระดับกรด hippuric acid ในปัสสาวะที่ระบุการดูดซึมของส่วนประกอบสารสกัดจากชาเขียว

Page 20: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

15

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย

การวิจัยครั้งนี้วิธีการศึกษาและรวบรวมข้อมูลใช้การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยการออกแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ที่ท่าการศึกษา โดยผ่านระเบียบวิธีการวิจัยในการหาจ่านวนตัวอย่างและวิธีการเลือกสุมตัวอย่างรวมถึงการเลือกเก็บข้อมูลและใช้วิธีการทางสถิติในการตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้นจากข้อมูลที่เก็บรวบรวม ดังกล่าว ส่าหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษามีรายละเอียดดังต่อไปนี้

3.1 รูปแบบการวิจัย 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล 3.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 รูปแบบกำรวิจัย การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนาเพ่ือศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 3.2 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 2.1 ประชากร ประชากรในการศึกษา คือ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน จ่านวน 27,117 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน จ่านวน 100 คน ซึ่งหาได้จากวิธีสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย โดยใช้สูตรของ Yamane ซึ่งสุ่มตัวอย่างประชากรจากนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน โดยมีประชากรทั้งหมด 27,117 คน สามารถสุ่มตัวอย่างได้ดังนี้

สูตร n = N

1+Ne2

เมื่อ n คือ จ่านวนตัวอย่าง หรือ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N คือ จ่านวนหน่วยทั้งหมด หรือ ขนาดของประชากรทั้งหมด

E คือ ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง ในที่นี้จะก่าหนดเท่ากับ +/- 0.05 ภายใต้ความเชื่อมั่น 95%

Page 21: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

16

แทนค่ำสูตร ดังนี้ N = จ่านวนนิสิตปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ประจ่าปีการศึกษา 2557 เป็นจ่านวนทั้งหมด 27,117 คน

แทนค่ำสูตร n = 27,117

1+27,117(0.05)2

= 400 เพราะฉะนั้นจึงสุ่มตัวอย่างประชากรจากนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เป็นจ่านวน

ทั้งสิ้น 400 คน เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ในด้านก่าลังของผู้ท่าการศึกษา งบประมาณ ระยะเวลา มีจ่ากัดจึงใช้จ่านวนกลุ่มตัวอย่างเพียง 100 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย สถานที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ออกก่าลังกาย ณ สนามกีฬาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เป็นต้น 3.3 เครื่องมือในกำรศึกษำ การศึกษานี้ใช้เครื่องมือในการศึกษา คือ แบบสอบถามเรื่องพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลจะเป็นแบบสอบถาม(Questionnaire) ที่สร้างขึ้นมาเพ่ือสอบถามกลุ่มตัวอย่างโดยจัดท่าแบบสอบถามใหส้อดคล้องกับกรอบแนวคิดในการวิจัยและผู้ส่ารวจเป็นผู้น่าแบบสอบถามไปให้ผู้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ในการสร้างแบบสอบถามครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถำมข้อมูลทั่วไป

ซึ่งมีลักษณะแบบตรวจสอบรายการ (Check list) เป็นแบบสอบถามที่ถามข้อมูลพื้นฐานต่างๆของกลุ่มตัวอย่าง เกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่ ได้แก่ อายุปัจจุบัน ระดับชั้นเรียน การออกก่าลังกาย การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ มีจ่านวนข้อค่าถามทั้งหมด 6 ข้อ โดยผู้ตอบแบบสอบถามจะต้องเลือกค่าตอบเพียงค่าตอบเดียวเท่านั้น ที่ตรงกับคุณลักษณะของตนเอง

ตอนที่ 2 แบบสอบถำมพฤติกรรมกำรบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลื่อแร่

ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขต ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จ่านวน 35 ข้อ โดยแบ่งคะแนนออกเป็น 5 ระดับ

เกณฑ์การให้คะแนน คือ

มากที่สุด ให้ 5 คะแนน มาก ให้ 4 คะแนน ปานกลาง ให้ 3 คะแนน

Page 22: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

17

น้อย ให้ 2 คะแนน น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน

3.4 กำรสร้ำงเครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ การสร้างเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยได้ด่าเนินการตามขั้นตอน ดั้งนี้ 3.4.1. ศึกษาเอกสารรายงาน ทฤษฎี วิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้าน

สุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ 3.4.2. ออกแบบประเด็นค่าถามเก่ียวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภค

เครื่องดื่มเกลือแร่ สังเคราะห์เนื้อหาประเด็นที่จะสร้างแบบสอบถาม โดยครอบคลุมวัตถุประสงค์และตัวแปรที่ใช้ศึกษา

3.4.3. สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นมาตรตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ข้อค่าถามจ่านวน 35 ข้อ โดยก่าหนดค่าความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมายดังนี้

4.51-5.50 หมายถึง มากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง มาก 2.51-3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง น้อย

1.00-1.50 หมายถึง น้อยที่สุด

3.4.4. น่าแบบสอบถามความคิดเห็นให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ตรวจประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อค่าถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา ( IOC: Index of item Objective Congruence) หรือดัชนีความเหมาะสม โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินเนื้อหาของข้อค่าถามแต่ละข้อ สามารถวัดได้ตรงกับจุดประสงค์ที่ก่าหนดหรือไม่ โดยให้คะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้ ตรงตามที่วัด ได้ +1 คะแนน ไม่แน่ใจ ได้ 0 คะแนน ไมต่รงตามที่วัด ได้ -1 คะแนน

หลังจากนั้นน่าคะแนนของผู้เชี่ยวชาญทุกคนที่ประเมินมากรอกลงในแบบวิเคราะห์ความสอดคล้อง ของข้อค่าถามกับจุดประสงค์เพ่ือหาค่าเฉลี่ย โดยใช้สูตรดังนี้

N

RIOC

R = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N = จ่านวนผู้เชี่ยวชาญ

Page 23: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

18

ผู้เชี่ยวชาญ 1. อาจารย์ นันท์นภัส เกตน์โกศัลย์ 2. อาจารย์ ภูเบศร์ นภัทรพิทยาธร 3. อาจารย์ อัจฉริยะ เอนก เกณฑ์การคัดเลือกข้อค่าถาม 1. ข้อค่าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 - 1.00 คัดเลือกไว้ใช้ได้ 2. ข้อค่าถามที่มีค่า IOC ต่่ากว่า 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงหรือตัดทิ้ง

5. น่าแบบสอบถามความคิดเห็นทีส่ร้างข้ึน เสนอที่ปรึกษาเพ่ือตรวจสอบและปรับแก้ตามค่าแนะน่า เพื่อความสมบูรณ์ของเนื้อหา รวมทั้งการใช้ภาษาที่เหมาะสม และไปส่ารวจกลุ่มเป้าหมายนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน จ่านวน 100 คน

3.5 วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ด้วยวิธีการเก็บจากภาคสนาม (Field Work) จ่านวน 100 ชุดและไดรับแบบสอบถามกลับมา 100 ชุดโดยเก็บขนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 ช วงระยะเวลาระหว่างวันที่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 – 25 เมษายน 2558 เป็นเวลา 12 สัปดาห์ 3.6 กำรวิเครำะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการศึกษาจากการเก็บแบบสอบถามและน่ามาแปรผลเพ่ือวิเคราะห์พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ โดยการแปรผลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 3.6.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ที่ท่าแบบสอบถาม น่าเสนอโดยอธิบายเชิงพรรณนา ด้วยสถิติแสดงเป็นร้อยละและความถี่ 3.6.2 พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ น่าเสนอโดยอธิบายเชิงพรรณนา โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Percentage) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 3.7 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล

3.7.1 ค่ำเฉลี่ย

N

XX

X ค่าเฉลี่ยของคะแนน

X ผลรวมของคะแนน

Page 24: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

19

N จ่านวน

3.7.2 ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน

1S.D.

22

NN

xxN

S.D. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

)X-(X ผลรวมของคะแนนลบด้วยคะแนนเฉลี่ย

N จ่านวน

3.7.3 ค่ำดัชนีควำมสอดคล้อง

N

RIOC

Page 25: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

20

บทที่ 4

ผลกำรศึกษำ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กลุ่มประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน จ่านวน 100 คน ผู้วิจัยขอน่าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จ ำนวน 6 ข้อ ส่วนที่ 2 พฤติกรรมตำมแบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพของกำรบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

- การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ความรุนแรงของโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ต่ออุปสรรค จ่านวน 5 ข้อ - สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ จ่านวน 6 ข้อ - ปัจจัยร่วม จ่านวน 6 ข้อ

4.1 ข้อมูลทั่วไป

ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปในส่วนนี้แสดงถึงลักษณะของแต่ละบุคคล ได้แก่ เพศ อายุปัจจุบัน ระดับชั้นเรียน การออกก่าลังกาย การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ โดยผู้ตอบแบบสอบถามจะต้องเลือกค่าตอบเพียงข้อเดียวที่ตรงกลับลักษณะของตนเอง ผลของการส่ารวจกลุ่มตัวอย่างดังนี้

ตำรำงท่ี 4.1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ่าแนกตามเพศ

เพศ จ ำนวน (คน) ร้อยละ ชาย 57 57.00 หญิง 43 43.00 รวม 100 100.00

จำกตำรำงที่ 4.1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้ท่าการส่ารวจเป็นเพศชายมีจ่านวน 57 คน คิดเป็น ร้อยละ 57 และเพศหญิงมีจ่านวน 43 คิดเป็นร้อยละ 4

Page 26: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

21

ตำรำงท่ี 4.2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามอายุ

อำยุ จ ำนวน (คน) ร้อยละ 18 9 9.00 19 24 24.00 20 14 14.00 21 19 19.00 22 28 28.00 23 5 5.00 24 1 1.00 รวม 100 100.00

จำกตำรำงที่ 4.2 ผลการส่ารวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้ท่าการส่ารวจนั้นส่วนใหญ่มีอายุอยู่ที่ 22 ปี โดยมี

จ่านวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 28 รองลงมาคือ อายุ 19 ปี จ่านวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 24 อายุ 21 ปี จ่านวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 19 อายุ 20 ปี จ่านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 14 อายุ 18 ปี จ่านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9 อายุ 23 ปี จ่านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และอายุ 24 ปี จ่านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.3 ระดับชั้นที่ก่าลังศึกษา (ปริญญาตรี)

ระดับชั้นที่ก ำลังศึกษำ จ ำนวน (คน) ร้อยละ

1 33 33.00 2 14 14.00 3 19 19.00 4 34 34.00 5 0 0.00

อ่ืนๆ 0 0.00

จำกตำรำงท่ี 4.3 จากผลการส่ารวจจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปีที่ 4 จ่านวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 34 ระดับชั้นปีที่ 1 จ่านวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ระดับชั้นปีที่ 3 จ่านวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 19 และชั้นปีที่ 2 จ่านวน 14 คนคิดเป็นร้อยละ 14 ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.4 คณะที่ก่าลังศึกษา

ระดับชั้นที่ก ำลังศึกษำ จ ำนวน (คน) ร้อยละ เกษตร 2 2.00

Page 27: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

22

ประมง 10 10.00 วนศาสตร์ 5 5.00

วิทยาศาสตร์ 2 2.00 วิศวกรรมศาสตร์ 13 13.00

สถาปัตยกรรมศาสตร์ 0 0.00 มนุษยศาสตร์ 8 8.00 สังคมศาสตร์ 16 16.00

อุตสาหกรรมเกษตร 4 4.00 ศึกษาศาสตร์ 21 21.00 บริหารธุรกิจ 6 6.00 เศรษฐศาสตร์ 10 10.00

สัตวแพทยศาสตร์ 2 2.00 เทคนิคการสัตวแพทย์ 1 1.00

สิ่งแวดล้อม 0 0.00

จำกตำรำงที่ 4.4 จากผลการส่ารวจจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ศึกษาอยู่ในคณะศึกษาศาสตร์ จ่านวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 21 รองลงมาคือ คณะสังคมศาสตร์ จ่านวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 16 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จ่านวน 13 คน ศึกษาศาสตร์จ่านวน 13 คน คณะประมงและเศรษฐศาสตร์ จ่านวน 10 คนคิดเป็นร้อยละ 10 คณะมนุษยศาสตร์ มีจ่านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8 คณะบริหารธุรกิจ จ่านวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 คณะวนศาสตร์ จ่านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5 คณะอุตสาหกรรมเกษตร จ่านวน 4 คิดเป็นร้อยละ 4 คณะเกษตร วิทยาศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ จ่านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2 และคณะเทคนิคการสัตวแพท์ จ่านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ส่าหรับคณะที่ผู้ส่ารวจไม่สามารถเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างในคณะนั้นๆได้รวม 2 คณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และคณะสิ่งแวดล้อม

ตำรำงท่ี 4.5 ความถี่ในการออกก่าลังกาย ควำมถี่ในกำรออกก ำลังกำย จ ำนวน (คน) ร้อยละ

เล่นเป็นประจ่า 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ 67 67.00 เล่น 1 ครั้ง/สัปดาห์ 6 6.00

เดือนละ 2-3 ครั้ง แล้วแต่โอกาส 14 14.00 เดือนละครั้ง หรือน้อยกว่า 11 11.00

อ่ืนๆ 2 2.00 รวม 100 100.00

Page 28: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

23

จำกตำรำงที่ 4.5 จากผลการส่ารวจจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ในการออกก่าลังกาย เล่นเป็นประจ่า 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ โดยมีจ่านวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 67 เดือนละ 2-3 ครั้ง แล้วแต่โอกาส มีจ่านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 14 เดือนละครั้ง หรือน้อยกว่า มีจ่านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 11 เล่น 1 ครั้ง/สัปดาห์ จ่านวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 และอ่ืนๆ จ่านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.6 การบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

กำรบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ จ ำนวน (คน) ร้อยละ ไม่เคย 5 5.00 เคย 95 95.00

จำกตำรำงที่ 4.6 จากผลการส่ารวจจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ จ่านวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 95 และผู้ที่ไม่เคยบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ มีจ่านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5

4.2 พฤติกรรมตำมแบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพของกำรบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

เป็นแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะของแบบสอบถามเป็นลักษณะของการเลือกตอบโดยให้เลือกค่าตอบ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จากหัวข้อค่าถาม การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค การรับรู้ต่ออุปสรรค สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติและปัจจัยร่วม จ่านวนหัวข้อละ 5-6 ข้อค่าถาม ผลการส่ารวจจากกลุ่มตัวอย่างได้ข้อมูลดังนี้

ตำรำงท่ี 4.7 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

พฤติกรรม x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค 3.51 0.56 มาก 4 การรับรู้ความรุนแรงของโรค 3.42 0.51 ปานกลาง 6 การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค 3.69 0.53 มาก 1 การรับรู้ต่ออุปสรรค 3.49 0.48 ปานกลาง 5 สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ 3.53 0.59 มาก 3 ปัจจัยร่วม 3.65 0.63 มาก 2 รวม 3.55 0.27 มาก

Page 29: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

24

จากตาราง 4.7 แสดงให้เห็นภาพรวมของพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค (x̄ =3.69 และ SD. = 0.53) รองลงมาคือ ปัจจัยร่วม (x̄ =3.65 และ SD. = 0.63) อันดับที่สามคือ สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ (x̄ =3.53และ SD. = 0.59) อันดับที่สี่ คือ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค (x̄ =3.51 และ SD. = 0.56) อันดับที่ 5 คือการรับรู้ต่ออุปสรรค (x̄ =3.49 และ SD. = 0.48) และอันดับสุดท้ายคือ การรับรู้ความรุนแรงของโรค (x̄ =3.42 และ SD. = 0.51) ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.8 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

กำรรับรู้โอกำสเสี่ยงของกำรเป็นโรค x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณมาก มีความเสี่ยงท่าให้ระบบไตและหัวใจท่างานหนักมากข้ึน

3.46 0.90 ปานกลาง 5

2. เมื่อท่านสูญเสียน้่าจากร่างกาย ในการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ประสิทธิภาพการท่างานของร่างกายบกพร่องลง

3.62 0.78 มาก 2

3. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่า ท่านจะมีโอกาสที่จะน้่าหนักตัวเพ่ิมมากข้ึน รูปร่างอ้วนขึ้น เนื่องจากมีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ

3.28 0.94 ปานกลาง 6

4. ในเครื่องดื่มเกลือแร่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ที่ไปกัดกร่อนสารเคลือบฟัน ดังนั้นควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณท่ีเหมาะสม

3.68 0.86 มาก 1

5. เมื่อร่างกายขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้สมรรถภาพลดลงอย่างชัดเจน

3.50 0.97 ปานกลาง 4

6. ในผู้ป่วยที่มีภาวะของหัวใจ ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีความเสี่ยง จะท่าให้หัวใจท่างานผิดปกติ

3.54 0.86 มาก 3

รวม 3.51 0.56 มาก

จำกตำรำง 4.8 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ =3.51และ SD. = 0.56) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ เครื่องดื่มเกลือแร่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ที่ไปกัดกร่อนสารเคลือบฟัน ดังนั้นควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณที่เหมาะสม (x̄ =3.68 และ SD. = 0.86) รองลงมาคือ เมื่อท่านสูญเสียน้่าจากร่างกาย ในการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ประสิทธิภาพการท่างานของร่างกายบกพร่องลง (x̄ =3.62 และ SD. = 0.78) อันดับที่สามคือ ในผู้ป่วยที่มีภาวะของหัวใจ ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีความเสี่ยง จะท่าให้หัวใจท่างานผิดปกติ (x̄ =3.54

Page 30: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

25

และ SD. = 0.86) อับดับที่สี่ คือ เมื่อร่างกายขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้สมรรถภาพลดลงอย่างชัดเจ (x̄ =3.50 และ SD. = 0.97) อันดับที่ 5 คือ การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณมาก มีความเสี่ยงท่าให้ระบบไตและหัวใจท่างานหนักมากขึ้น (x̄ =3.46 และ SD. = 0.90) และอันดับสุดท้ายคือ เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่า ท่านจะมีโอกาสที่จะน้่าหนักตัวเพ่ิมมากขึ้น รูปร่างอ้วนขึ้น เนื่องจากมีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ (x̄ =3.28 และ SD. = 0.94) ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.9 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการรับรู้ความรุนแรงของโรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

กำรรับรู้ควำมรุนแรงของโรค x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. หากท่านขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ระบบการไหลเวียนเลือดบกพร่องและเกิดอาการขาและเท้าอ่อนแรง เกิดตะคริวบริเวณสะโพก เป็นต้น

3.70 0.76 มาก 1

2. การเป็นตะคริวขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีผลมาจากการขาดน้่าและเกลือแร่

3.54 0.97 มาก 2

3. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่าและในปริมาณมากๆ ท่าให้มีสารตกค้างอยู่ในร่างกายและจะท่าให้เปลี่ยนสภาพเป็นสารพิษในร่างกาย

3.28 0.96 ปานกลาง 5

4. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มากเกินความจ่าเป็นจะท่าให้เกิดอาการบวมน้่าเป็นสาเหตุท่าให้น้่าหนักตัวเพิ่มและเป็นหนึ่งสาเหตุส่าคัญที่ท่าให้เกิดโรคตับ โรคไตรวมไปถึงภาวะหัวใจล้มเหลว

3.44 0.97 ปานกลาง 3

5. โรคไตอันเกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่เกินความจ่าเป็นจ่านวนมาก ท่าให้ต้องท่าการฟอกไตตลอดชีวิต

3.22 0.86 ปานกลาง 6

6. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ท่าให้ฟันผุ และเกิดอาการปวดและเสียวฟันตามมา

3.36 0.96 ปานกลาง 4

รวม 3.42 0.51 ปานกลาง

จำกตำรำง 4.9 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรค ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ =3.42 และ SD. = 0.51) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ หากท่านขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ระบบการไหลเวียนเลือดบกพร่องและเกิดอาการขาและเท้าอ่อนแรง เกิดตะคริวบริเวณสะโพก เป็นต้น (x̄ =3.70 และ SD. = 0.76) รองลงมาคือ การเป็นตะคริวขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีผลมาจากการขาดน้่าและเกลือแร่ (x̄ =3.54 และ SD. = 0.97) อันดับที่สามคือ การดื่ม

Page 31: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

26

เครื่องดื่มเกลือแร่ที่มากเกินความจ่าเป็นจะท่าให้เกิดอาการบวมน้่าเป็นสาเหตุท่าให้น้่าหนักตัวเพ่ิมและเป็นหนึ่งสาเหตุส่าคัญที่ท่าให้เกิดโรคตับ โรคไตรวมไปถึงภาวะหัวใจล้มเหลว (x̄ =3.44 และ SD. = 0.97) อับดับที่สี่ คือ การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ท่าให้ฟันผุ และเกิดอาการปวดและเสียวฟันตามมา (x̄ =3.36 และ SD. = 0.96) อันดับที่ 5 คือ การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่าและในปริมาณมากๆ ท่าให้มีสารตกค้างอยู่ในร่างกายและจะท่าให้เปลี่ยนสภาพเป็นสารพิษในร่างกาย (x̄ =3.28 และ SD. = 0.90) และอันดับสุดท้ายโรคไตอันเกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่เกินความจ่าเป็นจ่านวนมาก ท่าให้ต้องท่าการฟอกไตตลอดชีวิต (x̄ =3.22 และ SD. = 0.86) ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.10 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

กำรรับรู้ถึงประโยชน์ของกำรรักษำและป้องกันโรค x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า

3.80 0.64 มาก 3

2. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา

3.92 0.63 มาก 1

3. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่จะช่วยลดอาการขาดน้่าเนื่องจากภาวะอาหารเป็นพิษ ท้องเสีย และการอาเจียนได้

3.76 0.74 มาก 4

4. ในเครื่องดื่มเกลือแร่ จะช่วยเพิ่มระดับเกลือแร่ในร่างกาย จากภาวะการขาดหรือสูญเสียเกลือแร่ของร่างกาย ท่าให้สมดุลของเหลวในร่างกายท่างานปกติ

3.88 0.71 มาก 2

5. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ท่างานอย่างปกติ

3.38 0.85 ปานกลาง 5

6. แมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบในเครื่องดื่มเกลือแร่ ช่วยในการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ และช่วยให้เลือดแข็งตัวเร็ว

3.42 0.83 ปานกลาง 6

รวม 3.67 0.53 มาก

จำกตำรำง 4.10 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ = 3.67 และ SD. = 0.53) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา (x̄ =3.92

Page 32: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

27

และ SD. = 0.63) รองลงมาคือ ในเครื่องดื่มเกลือแร่ จะช่วยเพ่ิมระดับเกลือแร่ในร่างกาย จากภาวะการขาดหรือสูญเสียเกลือแร่ของร่างกาย ท่าให้สมดุลของเหลวในร่างกายท่างานปกติ (x̄ =3.88 และ SD. = 0.71) อันดับที่สามคือ เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า (x̄ =3.80 และ SD. = 0.64) อับดับที่สี่ คือ การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่จะช่วยลดอาการขาดน้่าเนื่องจากภาวะอาหารเป็นพิษ ท้องเสีย และการอาเจียนได้ (x̄ = 3.76 และ SD. = 0.74) อันดับที่ 5 คือ เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ช่ วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ท่างานอย่างปกต ิ(x̄ = 3.38 และ SD. = 0.85) และอันดับสุดท้ายแมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบในเครื่องดื่มเกลือแร่ ช่วยในการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ และช่วยให้เลือดแข็งตัวเร็ว (x̄ =3.42 และ SD. = 0.83) ตามล่าดับ

ตำรำงท่ี 4.11 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการรับรู้อุปสรรค จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

กำรรับรู้อุปสรรค x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. เครื่องดื่มเกลือแร่เหมาะส่าหรับผู้ที่ร่างกายสูญเสียน้่าในปริมาณมากๆ เนื่องจากการออกก่าลังกายด้วยความหนักอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน

3.82 0.52 มาก 1

2. ท่านยังคงดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ ทั้งที่รู้ว่าบางยี่ห้อมีราคาสูง 3.42 1.01 ปานกลาง 4 3. ยี่ห้อของเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีหลากหลาย มีผลต่อการเลือกซ้ือในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

3.66 0.79 มาก 2

4. การบริโภคเครื่องดื่มเครื่องเกลือแร่เป็นเรื่องสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ 3.12 0.82 ปานกลาง 5 5. เมื่อท่านอ่านฉลากโภชนาการ แล้วพบว่ามีส่วนประกอบของน้่าตาลสูง ท่าให้ท่านหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

3.44 0.92 ปานกลาง 3

รวม 3.49 0.48 ปานกลาง

จำกตำรำง 4.11 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านการรับรู้อุปสรรค ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ = 3.49 และ SD. = 0.48) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ เครื่องดื่มเกลือแร่เหมาะส่าหรับผู้ที่ร่างกายสูญเสียน้่าในปริมาณมากๆ เนื่องจากการออกก่าลังกายด้วยความหนักอย่างต่อเนื่ องเป็นเวลานาน (x̄ =3.82 และ SD. = 0.52) รองลงมาคือ ยี่ห้อของเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีหลากหลาย มีผลต่อการเลือกซื้อในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.66 และ SD. = 0.79) อันดับที่สามคือ เมื่อท่านอ่านฉลากโภชนาการ แล้วพบว่ามีส่วนประกอบของน้่าตาลสูง ท่าให้ท่านหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.44 และ SD. = 0.92) อับดับที่สี่ คือ ท่านยังคงดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ ทั้งที่รู้ว่าบางยี่ห้อมีราคาสูง (x̄ = 3.42 และ SD. = 1.01) อันดับที่สุดท้าย คือ การบริโภคเครื่องดื่มเครื่องเกลือแร่เป็นเรื่องสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ (x̄ = 3.12 และ SD. = 0.82) ตามล่าดับ

Page 33: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

28

ตำรำงท่ี 4.12 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ จากพฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

สิ่งชักน ำให้เกิดกำรปฏิบัติ x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. สื่อ โฆษณา เป็นสิ่งชักจูงใจ ในการให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ 3.40 0.85 ปานกลาง 5 2. ท่านซื้อเครื่องดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีราคาที่ถูกและหาซื้อได้ง่าย 3.62 0.66 มาก 3 3. กลิ่นและรสชาติของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นสิ่งที่ท่าให้ท่านเลือกท่ีจะดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

3.68 0.82 มาก 1

4. คุณค่าทางโภชนาการของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นปัจจัยส่าคัญท่ีท่าให้ท่านซื้อมาบริโภค

3.64 0.75 มาก 2

5. บรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนส่าคัญ ที่จะท่าให้ท่านเลือกซื้อมาบริโภค

3.34 0.91 ปานกลาง 6

6. การจัดรายการสินค้าราคาพิเศษเช่น ซื้อ 1 แถม 1 หรือการส่งฝาเพื่อชิงโชคจะท่าให้ท่านบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่มากยิ่งข้ึน

3.48 0.95 ปานกลาง 4

รวม 3.53 0.59 มาก

จำกตำรำง 4.12 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านสิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ = 3.53 และ SD. = 0.59) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ กลิ่นและรสชาติของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นสิ่งที่ท่าให้ท่านเลือกที่จะดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.68 และ SD. = 0.82) รองลงมาคือ คุณค่าทางโภชนาการของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นปัจจัยส่าคัญท่ีท่าให้ท่านซื้อมาบริโภค (x̄ =3.64 และ SD. = 0.75) อันดับที่สามคือ ท่านซื้อเครื่องดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีราคาที่ถูกและหาซื้อได้ง่าย (x̄ =3.62 และ SD. = 0.66) อับดับที่สี่ คือ การจัดรายการสินค้าราคาพิเศษเช่น ซื้อ 1 แถม 1 หรือการส่งฝาเพ่ือชิงโชคจะท่าให้ท่านบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่มากยิ่งขึ้น (x̄ = 3.48 และ SD. = 0.95) อันดับที่ 5 คือ สื่อ โฆษณา เป็นสิ่งชักจูงใจ ในการให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ = 3.40 และ SD. = 0.85) และอันดับสุดท้ายบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนส่าคัญ ที่จะท่าให้ท่านเลือกซ้ือมาบริโภค (x̄ =3.34 และ SD. = 0.91) ตามล่าดับ

Page 34: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

29

ตำรำงท่ี 4.13 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยร่วม จากพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

ปัจจัยร่วม x̄ SD. ระดับ

ควำมส ำคัญ อันดับที่

1. ผู้ที่มีความรู้เรื่องเครื่องดื่มเกลือแร่ ท่าให้หลีกเลี่ยงในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

3.79 0.84 มาก 2

2. ค่านิยมทางวัฒนธรรมมีผลต่อการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ 3.85 0.96 มาก 3 3. ผู้ที่ออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีโอกาสในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่มากกว่าผู้ที่ไม่ออกก่าลังกาย

3.83 0.85 มาก 4

4. กลุ่มเพ่ือนที่ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ท่าให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

3.71 0.84 มาก 1

5. ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น มีน้่าหนักเพ่ิมข้ึน ป่วยเป็นโรคไต เป็นต้น ท่าให้บริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ลดน้อยลง

3.37 0.90 ปานกลาง 5

6. อายุมีผลต่อการเลือกดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ 3.36 0.99 ปานกลาง 6 รวม 3.65 0.53 มาก

จำกตำรำง 4.13 แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ในด้านปัจจัยร่วม ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมอยู่ที่ (x̄ = 3.65 และ SD. = 0.53) และค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ กลุ่มเพ่ือนที่ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ท่าให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.71 และ SD. = 0.84) รองลงมาคือ ผู้ที่มีความรู้เรื่องเครื่องดื่มเกลือแร่ ท่าให้หลีกเลี่ยงในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.79 และ SD. = 0.84) อันดับที่สามคือ ค่านิยมทางวัฒนธรรมมีผลต่อการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ (x̄ =3.85 และ SD. = 0.96) อับดับที่สี่ คือ ผู้ที่ออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีโอกาสในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่มากกว่าผู้ที่ไม่ออกก่าลังกาย (x̄ = 3.83 และ SD. = 0.85) อันดับที่ 5 คือ ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น มีน้่าหนักเพ่ิมขึ้น ป่วยเป็นโรคไต เป็นต้น ท่าให้บริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ลดน้อยลง (x̄ = 3.37 และ SD. = 0.90) และอันดับสุดท้ายอายุมีผลต่อการเลือกดื่มเครื่องดื่มเกลือแร ่(x̄ =3.36 และ SD. = 0.99) ตามล่าดับ

Page 35: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

30

บทที่ 5

สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กลุ่มประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน จ่านวน 100 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

5.1 สรุปผลกำรศึกษำ

ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชากรที่ศึกษา คือ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 57 และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 4 มีอายุ 22 ปี ร้อยละ 28 ศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีที่ 4 ร้อยละ 34 เป็นส่วนใหญ่ และมีการออกก่าลังกายเป็นประจ่า 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ 6 และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ร้อยละ 95

ผลการศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่นั้น กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับมาก จากผลวิเคราะห์พบว่าค่าเฉลี่ยของการตอบแบบสอบถามอยู่ที่ 3.55 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นที่ดีต่อพฤติกรรมตามการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตามทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model)

จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ในด้านต่างๆ ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค , การรับรู้ความรุนแรของการเป็นโรค ,การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค , การรับรู้ต่ออุปสรรค , สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ , ปัจจัยร่วม เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค โดยมีค่าเฉลี่ย 3.69 และค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุด คือ การรับรู้ความรุนแรของการเป็นโรค โดยมีค่าเฉลี่ย 3.42

ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลเรียงล่าดับจากค่าเฉลี่ยมากท่ีสุดไปถึงค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนี้

1. การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค

มีค่าเฉลี่ยที่มากคือ 3.69 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรคได้ เช่น การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า และช่วยเพิ่มระดับเกลือแร่ในร่างกาย จากภาวะการขาดหรือสูญเสีย

Page 36: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

31

เกลือแร่ของร่างกาย เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติหรือแสวงหาวิธีการในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ให้มีประโยชน์ต่อร่างกายและป้องกันไม่ให้เกิดโรคได้

2. ปัจจัยร่วม

มีค่าเฉลี่ยคือ 3.69 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างก็ให้ความส่าคัญกับปัจจัยร่วม ถึงแม้ปัจจัยร่วมเป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพ้ืนฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และการปฏิบัติ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา กลุ่มเพ่ือน ค่านิยม เป็นต้น ที่ท่าให้เป็นส่วนหนึ่งในการเลือกซ้ือเครื่องดื่มเกลือแร่

3. สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ

มีค่าเฉลี่ยคือ 3.53 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีสิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติหรือสิ่งกระตุ้นที่ท่าให้เกิดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น สื่อโฆษณา ราคา กลิ่นและรสชาติ คุณค่าทางโภชนาการ การจัดโปรโมชั่น เป็นต้น และอาจท่าให้เกิดพฤติกรรมในการเลือกซื้อเครื่องดื่มเกลือแร่มาบริโภค

4. การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค

มีค่าเฉลี่ยคือ 3.51 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคอยู่ในระดับมาก ดังนั้น กลุ่มตัวอย่างก็มีพฤติกรรมที่รับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น การดืม่เครื่องดื่มเกลือแร่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ที่ไปกัดกร่อนสารเคลือบฟัน , การสูญเสียน้่าจากร่างกาย ในการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ประสิทธิภาพการท่างานของร่างกายบกพร่องลง เป็นต้น

5. การรับรู้ต่ออุปสรรค

มีค่าเฉลี่ยคือ 3.49 แสดงให้เห็นว่าการเลือกซื้อเครื่องดื่มเกลือแร่มาบริโภค ไม่ได้มีอุปสรรคต่อกลุ่มตัวอย่างมากนัก แต่ก็มีอุปสรรคในบางส่วน เช่น เครื่องดื่มเกลือแร่เหมาะส่าหรับผู้ที่ร่างกายสูญเสียน้่าในปริมาณมากๆ เนื่องจากการออกก่าลังกายด้วยความหนักอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน , ยี่ห้อของเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีหลากหลาย มีผลต่อการเลือกซ้ือในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นต้น

6. การรับรู้ความรุนแรของการเป็นโรค

มีค่าเฉลี่ยคือ 3.42 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับปานกลาง และอยู่ในอันดับสุดท้ายของพฤติกรรมแบบแผนความเชื่อท้ังหมด กลุ่มตัวอย่างคิดว่าการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ไม่ได้เป็นอันตรายต่อสุขภาพมากนัก ดังนั้นควรจะมีการให้ความรู้ในเรื่องของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่มากยิ่งข้ึน

Page 37: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

32

กำรเปรียบเทียบงำนวิจัย

จากผลการสรุปงานวิจัยในครั้งนี้ เมื่อน่ามาเปรียบเทียบกับงานวิจัยของ ฐิติวัฒน์ เพชรรัตน์ และคณะ (2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อและการปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ของนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่34 ผลการศึกษานักกีฬามีความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับปานกลาง แสดงว่า นักกีฬามีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่พอสมควร ว่าเครื่องดื่มจ่าพวกนี้มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์อย่างไรบ้าง เช่น เครื่องดื่มเหล่านี้ไม่สามารถช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เพ่ิมพลังให้มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม หรือสามารถบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลงได้ และนักกีฬามีความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มเกลือแร่ บุคคลส่วนใหญ่เชื่อว่าการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายไม่ว่าจะหนักหรือเบา ก็สามารถทดแทนเหงื่อหรือก่าลังที่สูญเสียไปกับการออกก่าลังกาย และการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่จะท่าให้ร่างกายสดชื่นกว่าการดื่มน่าเปล่าธรรมดา ซ่ึงผลการวิจัยดังกล่าวไม่แตกต่างจากงานวิจัยที่ผู้วิจัยได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นที่ดีต่อพฤติกรรมตามการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ตามทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) คือ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค โดยมีค่าเฉลี่ย 3.69 ผู้ท่าแบบสอบถามมีพฤติกรรมการรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรคได้ เช่น การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า และช่วยเพิ่มระดับเกลือแร่ในร่างกาย จากภาวะการขาดหรือสูญเสียเกลือแร่ของร่างกาย เป็นต้นกลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติหรือแสวงหาวิธีการในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ให้มีประโยชน์ต่อร่างกายและป้องกันไม่ให้เกิดโรคได้

5.2 ข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาพบว่า นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มีพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่อยู่ในระดับมาก แต่อย่างไรก็ตามควรที่จะ ได้รับการพัฒนาในด้านพฤติกรรมหรือความรู้ เพ่ือส่งเสริมให้บุคคลทั่วไปมีพฤติกรรมที่ดีและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

ข้อเสนอแนะกำรท ำวิจัยในครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ เพ่ือเป็นการต่อยอดผลการวิจัยในครั้งนี้ต่อไป

2. ควรเพิ่มจ่านวนของกลุ่มเป้ามายที่จะท่าการศึกษามากกว่านี้ เนื่องมีกลุ่มเป้าหมายน้อยอาจท่าให้การท่าวิจัยไม่มีประสิทธิภาพและไม่น่าเชื่อถือเท่าท่ีควร และขาดข้อมูลเชิงลึกในกลุ่มที่ต้องการจะศึกษา

3. ระยะเวลาในการท่าวิจัยควรมีการวางแผนให้ดีกว่านี้ เพ่ือความละเอียดของงานวิจัย

Page 38: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

33

เอกสำรอ้ำงอิง

กร ทัพพะรังสี. 2543. กระทรวงสำธำรณสุข เรื่อง เครื่องดื่มเกลือแร่ (ฉบับท่ี 195). (ออนไลน์).

เข้าถึงได้จาก: law.longdo.com/law/686/sub45856. วันที่ค้นข้อมูล 31 ตุลาคม 2557

ชาตรี อุทัยลาวัณย์. 2436. ผลของเครื่องดื่มเกลือแร่บำงชนิดต่อสมรรถภำพควำมอดทนในระหว่ำง

กำรออกก ำลังกำยของนักกีฬำ. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,มหาวิทยาลัยมหิดล

ชาญวิทย์ ตั้งสุวรรณกุล. 2555. ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior: TPB

เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/470622 วันที่สืบค้นข้อมูล 29 มีนาคม 2558

จีระนันท ์จิระบุญยานนท์. 2557. ควำมรู้เรื่องประโยชน์และโทษของเครื่องดื่มเกลือแร่. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.talontv.net/author/granun/. วันที่ค้นข้อมูล 31 ตุลาคม 2557

ฐิติวัฒน์ เพชรรัตน์, เจียมศักดิ์ พานิชชัยกุล, พิมพา ม่วงศิริธรรม. 2551.

“ควำมเชื่อและกำรปฏิบัติที่เกี่ยวกับ เครื่องดื่มเกลือแร่ของนักกีฬำที่เข้ำร่วมกำรแข่งขัน กีฬำมหำวิทยำลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34”. วารสารวิทยำจำรย์. 7 (พ.ค. 2551): 60-63

เบญจมาศ สุขศรีเพ็ง,สวิง สุวรรณ. 2550. แบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพ (Health Belief Model) เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/115420วันที่สืบค้นข้อมูล 29 มีนาคม 2558

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2536. พฤติกรรมศำสตร์ พฤติกรรมสุขภำพและสุขศึกษำ / กรุงเทพฯ:

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

วรพนิต ลิมปภาส. 2555. “Functional Carbohydrate in Sports Beverages: more than”.

วำรสำรFood Focus Thailand. 7 (78). (ก.ย. 2555): 38-40

วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม. 2537. น้ ำกับกำรออกก ำลังกำย. (ออนไลน์).

เข้าถึงได้จาก: http://www.thairunning.com/water_exercise.htm. วันที่ค้นข้อมูล 31ตุลาคม 2557

วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม. 2537. น้ ำกับกำรออกก ำลังกำย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร

วันดี ขาวโอภาส. 2542. กำรเปรียบเทียบระยะฟื้นตัวหลังกำรออกก ำลังกำย โดยวิธีดื่มน้ ำธรรมดำ

Page 39: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

34

กับเครื่องดื่มเกลือแร่. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สุวรรณา วิริยะประยูร. 2548. พฤติกรรมกำรแบ่งปันแลก เปลี่ยนควำมรู้ตำมแนวทฤษฎีพฤติกรรมตำม

แผน. สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2558, จาก www.mea. or.th/internet/hdd/hdd1.pdf

Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior & Human

Decision Processes, 50(2), 179-212.

Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention, and behavior: An introduction

to theory and research. Reading, MA: Addison-Wesley.

Brink-Elfegoun T, Ratel S, Leprêtre PM, Metz L and Ennequin G. 2014.

Effects of sports drinks on the maintenance of physical performance during 3 tennis matches: a randomized controlled study. (September 2014)

Hashimoto H. 2013. SakamoThe effects of sports drink osmolality on fluid intake

and immunoendocrine responses to cycling in hot conditions. (2013)

Miccheli A, Marini F, Capuani G, Miccheli AT, Delfini M and Di Cocco ME.

2009. The influenceof a sports drink onthe postexercise metabolism of elite

athletes as investigated by NMR-basedmetabolomics. (October 2009)

Page 40: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

35

ภำคผนวก

Page 41: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

36

แบบสอบถำม

เรื่อง พฤติกรรมตำมแบบแผนควำมเชื่อด้ำนสุขภำพ ของกำรบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตบำงเขน

ค ำชี้แจง : การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

แบบสอบถำมประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จ่านวน 6 ข้อ ส่วนที่ 2 พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ - การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ความรุนแรงของโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค จ่านวน 6 ข้อ - การรับรู้ต่ออุปสรรค จ่านวน 5 ข้อ - สิ่งชักน่าให้เกิดการปฏิบัติ จ่านวน 6 ข้อ - ปัจจัยร่วม จ่านวน 6 ข้อ ขอให้ท่านกรอกข้อมูลแต่ละส่วนให้สมบูรณ์ตรงตามความจริง เพื่อประโยชน์ในการน่าไปวิเคราะห์ในภาพรวมเพ่ือใช้ในการเรียนของนิสิตสาขาวิชาสุขศึกษา ค่าตอบทั้งหมดจะเป็นความลับไม่มีผลใดๆ ต่อท่าน และขอขอบคุณล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้ ภิรมย์พร ใจหนักแน่น นิสิตสาขาวิชาสุขศึกษา ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน

Page 42: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

37

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ค ำชี้แจง: โปรดท่าเครื่องหมาย ลงในช่องว่าง หรือเติมข้อความที่ตรงกับความเป็นจริง เกี่ยวกับท่านให้มากที่สุดและโปรดตอบทุกข้อค่าถาม 1. เพศ ( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง 2. อายุ …………ปี (จ่านวนเต็มปีบริบูรณ์) 3. ระดับชั้นปีการศึกษา ( ) 1. นิสิตชั้นปีที่ 1 ( ) 2. นิสิตชั้นปีที่ 2 ( ) 3. นิสิตชั้นปีที่ 3 ( ) 4. นิสิตชั้นปีที่ 4 ( ) 5. อ่ืนๆ โปรดระบุ.................... 4. คณะที่ก่าลังศึกษา ( ) 1.เกษตร ( ) 2. ประมง ( ) 3.วนศาสตร์

( ) 4.วิทยาศาสตร์ ( ) 5. วิศวกรรมศาสตร์ ( ) 6.สถาปัตยกรรมศาสตร์ ( ) 7.มนุษยศาสตร์ ( ) 8. สังคมศาสตร์ ( ) 9.อุตสาหกรรมเกษตร ( ) 10.ศึกษาศาสตร์ ( ) 11. บริหารธุรกิจ ( ) 12.เศรษฐศาสตร์ ( ) 13.สัตวแพทยศาสตร์ ( ) 14. เทคนิคการสัตวแพทย์ ( ) 15.สิ่งแวดล้อม

5. ท่านออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นประจ่าหรือไม่ ( ) 1. เล่นเป็นประจ่า 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ( ) 2. เล่น 1 ครั้ง/สัปดาห์ ( ) 3. เดือนละ 2-3 ครั้ง แล้วแต่โอกาส ( ) 3. เดือนละครั้ง หรือน้อยกว่า ( ) 4. อ่ืนๆ โปรดระบุ...................................... 6. ท่านเคยบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่หรือไม่ ( ) 1. ไม่เคย ( ) 2. เคย

Page 43: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

38

ส่วนที่ 2 พฤติกรรมตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ ค ำชี้แจง : โดยใส่เครื่องหมาย ลงในช่องด้านขวาที่ตรงกับการปฏิบัติจริงของท่านมากท่ีสุดเพียงข้อเดียวและ

โปรดตอบทุกข้อค่าถาม โดยแต่ละข้อค่าตอบมีความหมาย ดังนี้

มากที่สุด หมายถึง ท่านมมีความคิดเห็นตรงกับข้อความนั้นมากท่ีสุด มาก หมายถึง ท่านมมีความคิดเห็นตรงกับข้อความนั้นมาก ปานกลาง หมายถึง ท่านมมีความคิดเห็นตรงกับข้อความในระดับปกติ น้อย หมายถึง ท่านมมีความคิดเห็นไม่ตรงกับข้อความนั้น น้อยที่สุด หมายถงึ ท่านมมีความคิดเห็นไม่ตรงกับข้อความนั้นมากท่ีสุด 1. กำรรับรู้โอกำสเสี่ยงของกำรเป็นโรค

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณมาก มีความเสี่ยงท่าให้ระบบไตและหัวใจท่างานหนักมากข้ึน

2. เมื่อท่านสูญเสียน้่าจากร่างกาย ในการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ประสิทธิภาพการท่างานของร่างกายบกพร่องลง

3. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่า ท่านจะมีโอกาสที่จะน้่าหนักตัวเพ่ิมมากข้ึน รูปร่างอ้วนขึ้น เนื่องจากมีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ

4. ในเครื่องดื่มเกลือแร่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ที่ไปกัดกร่อนสารเคลือบฟัน ดังนั้นควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ในปริมาณท่ีเหมาะสม

5. เมื่อร่างกายขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้สมรรถภาพลดลงอย่างชัดเจน

6. ในผู้ป่วยที่มีภาวะของโรคหัวใจ ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีความเสี่ยง จะท่าให้หัวใจท่างานผิดปกติ

Page 44: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

39

2. กำรรับรู้ควำมรุนแรงของโรค

3. กำรรับรู้ประโยชน์ของกำรรักษำและป้องกันโรค

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. หากท่านขาดน้่าและเกลือแร่ ในขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้ระบบการไหลเวียนเลือดบกพร่องและเกิดอาการขาและเท้าอ่อนแรง เกิดตะคริวบริเวณสะโพก เป็นต้น

2. การเป็นตะคริวขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีผลมาจากการขาดน้่าและเกลือแร่

3. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นประจ่าและในปริมาณมากๆ ท่าให้มีสารตกค้างอยู่ในร่างกายและจะท่าให้เปลี่ยนสภาพเป็นสารพิษในร่างกาย

4. การด่ืมเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มากเกินความจ่าเป็นจะท่าให้เกิดอาการบวมน้่าเป็นสาเหตุท่าให้น้่าหนักตัวเพิ่มและเป็นหนึ่งสาเหตุส่าคัญที่ท่าให้เกิดโรคตับ โรคไตรวมไปถึงภาวะหัวใจล้มเหลว

5. โรคไตอันเกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่เกินความจ่าเป็นจ่านวนมาก ท่าให้ต้องท่าการฟอกไตตลอดชีวิต

6. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีส่วนผสมของน้่าตาลและกรดต่างๆ ท่าให้ฟันผุ และเกิดอาการปวดและเสียวฟันตามมา

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา ท่าให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า

2. เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นการชดเชยน้่าที่ร่างกายสูญเสียไปขณะออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา

3. การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่จะช่วยลดอาการขาดน้่าเนื่องจากภาวะอาหารเป็นพิษ ท้องเสีย และการอาเจียนได้

4. ในเครื่องดื่มเกลือแร่ จะช่วยเพิ่มระดับเกลือแร่ในร่างกาย จากภาวะการขาดหรือสูญเสียเกลือแร่ของร่างกาย ท่าให้สมดุลของเหลวในร่างกายท่างานปกติ

Page 45: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

40

4. กำรรับรู้ต่ออุปสรรค

5.สิ่งชักน ำให้เกิดกำรปฏิบัติ

5.เมื่อท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ท่างานอย่างปกติ

6. แมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบในเครื่องดื่มเกลือแร่ ช่วยในการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ และช่วยให้เลือดแข็งตัวเร็ว

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. เครื่องดื่มเกลือแร่เหมาะส่าหรับผู้ที่ร่างกายสูญเสียน้่าในปริมาณมากๆ เนื่องจากการออกก่าลังกายด้วยความหนักอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน

2. ท่านยังคงดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ ทั้งที่รู้ว่าบางยี่ห้อมีราคาสูง 3. ยี่ห้อของเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีหลากหลาย มีผลต่อการเลือกซ้ือในการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่

4. การบริโภคเครื่องดื่มเครื่องเกลือแร่เป็นเรื่องสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ 5. เมื่อท่านอ่านฉลากโภชนาการ แล้วพบว่ามีส่วนประกอบของน้่าตาลสูง ท่าให้ท่านหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. สื่อ โฆษณา เป็นสิ่งชักจูงใจ ในการให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ 2. ท่านซื้อเครื่องดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เพราะมีราคาที่ถูกและหาซื้อได้ง่าย 3. กลิ่นและรสชาติของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นสิ่งที่ท่าให้ท่านเลือกท่ีจะดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

4. คุณค่าทางโภชนาการของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นปัจจัยส่าคัญท่ีท่าให้ท่านซื้อมาบริโภค

5. บรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มเกลือแร่เป็นส่วนส่าคัญ ที่จะท่าให้ท่านเลือกซื้อมาบริโภค

6. การจัดรายการสินค้าราคาพิเศษเช่น ซื้อ 1 แถม 1 หรือการส่งฝาเพื่อชิงโชคจะท่าให้ท่านบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่มากยิ่งขึ้น

Page 46: The Behavior of Health Belief Model of sport drink ...ped.edu.ku.ac.th/home/specialproblem/files/25_05_2015_22_55_38.pdf · ระบบขับถายท่างานไดดี

41

6. ปัจจัยร่วม

พฤติกรรม มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยท่ีสุด 1. ผู้ที่มีความรู้เรื่องเครื่องดื่มเกลือแร่ ท่าให้หลีกเลี่ยงในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

2. ค่านิยมทางวัฒนธรรมมีผลต่อการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ 3. ผู้ที่ออกก่าลังกายหรือเล่นกีฬา มีโอกาสในการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่มากกว่าผู้ที่ไม่ออกก่าลังกาย

4. กลุ่มเพ่ือนที่ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่หลังการออกก่าลังกายเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ท่าให้ท่านดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่

5. ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ เช่น มีน้่าหนักเพ่ิมข้ึน ป่วยเป็นโรคไต เป็นต้น ท่าให้บริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ลดน้อยลง

6. อายุมีผลต่อการเลือกดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่