อิเล็กทรอนิกส์ 1

22
ออออออออออออออ 1 Electronic 1 Electr onic1

Upload: vance

Post on 24-Feb-2016

61 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Electronic1. อิเล็กทรอนิกส์ 1. Electronic 1. Electronic1. ไฟฟ้าเบื้องต้น. Introduction Electricity. E lectronic1. ชนิดของไฟฟ้า - ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า การเสียดถีของวัตถุ เป็นต้น - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

Page 1: อิเล็กทรอนิกส์ 1

อิเล็กทรอนิกส ์1Electronic 1

Electronic1

Page 2: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ไฟฟา้เบื้องต้นIntroduction Electricity

Page 3: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ชนิดของไฟฟา้- ไฟฟา้สถิต (Static Electricity)

เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไมส่ามารถนำามาใชป้ระโยชน์ได้โดยตรง ตัวอยา่งเชน่ ฟา้แลบ ฟา้ผ่า การเสยีดถีของวตัถ ุเป็นต้น

- ไฟฟา้กระแส (Current Electricity)เป็นไฟฟา้ท่ีสรา้งขึ้นมาโดยมนุษย ์โดยผลิตแรงเคล่ือน แล้ว

สง่กระแส ไปตามสายลวดตัวนำา

Page 4: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ไฟฟา้กระแส1. ไฟฟา้กระแสสลับ (Alternating Current : AC)

มกีารเปล่ียนทิศทางการไหลหรอืขัว้ทางไฟฟา้ สลับบวก-ลบ อยูต่ลอดเวลา

2. ไฟฟา้กระแสตรง (Direct Current : DC)มทิีศทางการไหลหรอืขัว้ทางไฟฟา้ท่ีแน่นอน

Page 5: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

สญัลักษณ์

Page 6: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ฟวิสแ์ละเซอรกิ์ตเบรกเกอร์เป็นอุปกรณ์ตัดต่อไฟฟา้ เพื่อความปลอดภัย ในกรณีท่ีวงจรไฟฟา้มีความผิดปกติ เชน่ กระแสเกิน วงจรชอรต์ ความแตกต่างของฟวิส์และเซอรก์ิตเบรกเกอรคื์อ ฟวิสจ์ะขาดไปเลยเมื่อกระแสเกิน แต่ถ้าเป็นเซอรก์ิตเบรกเกอรเ์พยีงทำาการรเีซตเพื่อกลับสูส่ภาพปกติ

Page 7: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

สญัลักษณ์

Page 8: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

สวทิช์เป็นอุปกรณ์ตัดต่อวงจร หรอืเปิด-ปิดวงจรไฟฟา้ โดยจะมหีน้าสมัผัส (contact) เป็นตัวตัดวงจร แบง่ออกได้เป็น 2 ประเภทคือ

1. แบบปกติเปิด : NO (Normal Opened)2. แบบปกติปิด : NC (Normal Closed)

Page 9: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

การต่อวงจรไฟฟา้1. การต่ออนุกรม (Series)

2. การต่อขนาน (Parallel)

3. การต่อผสม (Series-Parallel)

Page 10: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

หน่วยต่างๆ ในวงจรไฟฟา้1. แรงเคล่ือนไฟฟา้ มหีน่วยเป็นโวลท์ (Volt)ยอ่ด้วย V.

1000 ไมโครโวลท์ (µV) = 1 มลิลิโวลท์ (mV)1000 มลิลิโวลท์ (mV) = 1 โวลท์ (V)1000 โวลท์ (V) = 1 กิโลโวลท์ (kV)

2. กระแสไฟฟา้ มหีน่วยเป็นแอมแปร ์(Ampare) เรยีกยอ่ๆวา่แอมป ์ยอ่ด้วย A.

1000 ไมโครแอมป ์(µA) = 1 มลิลิแอมป ์(mA)1000 มลิลิแอมป ์(mA) = 1 แอมป ์(A)1000 แอมป ์(A) = 1 กิโลแอมป ์(kA)

3. กำาลังไฟฟา้ มหีน่วยเป็นวตัต์ (Watt) ยอ่ด้วย W1000 ไมโครวตัต์ (µW) = 1 มลิลิวตัต์ (mW)1000 มลิลิวตัต์ (mA) = 1 วตัต์ (A)1000 วตัต์ (A) = 1 กิโลวตัต์ (kA)

Page 11: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ตัวต้านทานResistors

Page 12: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

• ตัวต้านทาน หรอื รซีสิเตอร ์(resistor) ตัวต้านทาน รซีสิเตอร ์หรอืตัว อาร ์(R) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสท่ี์ทำาหน้าท่ีต้านการไหลของกระแส ไฟฟา้ เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสส์ว่นใหญ่จะใชง้านได้ท่ีกระแสไฟฟา้ระดับหน่ึงเท่านัน้ ดังนัน้เราจงึใชตั้วต้านทาน กันไมใ่หม้กีระแสไหลเขา้ไปยงัอุปกรณ์ดังกล่าวเกินความจำาเป็น

หน่วยค่าความต้านทานไฟฟา้ตามระบบเอสไอคือ โอหม์ อุปกรณ์ที่มีความต้านทาน ค่า 1 โอหม์ หากมคีวามต่างศักย ์1 โวลท์ไหลผ่าน จะใหก้ระแสไฟฟา้ 1 แอมแปร ์ซึ่งเท่ากับการไหลของประจุไฟฟา้ 1 คลูอมบ ์

ขนาดของตัวต้านทานจะเรยีก เป็นกำาลังวตัต์(W) และมขีนาดตัง้แต่ 1/8W 1/4W(เรานิยมใชกั้น) 1/2W 1W 2W 3W 5W ขึ้นไปเรื่อยๆ โดยการเลือก ใชตั้วต้านทานนัน้ต้องเลือกค่า เลือกขนาดกำาลัง และชนิดของตัวต้านทานใหถ้กูต้อง เพราะหากเลือกผิดจะเป็นผลเสยีต่อวงจร

Page 13: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ชนิดของตัวต้านทาน1. ตัวต้านทานแบบมค่ีาคงท่ี (Fixed Resistor)

2. ตัวต้านทานปรบัค่าได้ (Adjustable Resistor)

3. ตัวต้านทานเปล่ียนค่าได้ (Variable Resistor)

Page 14: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ตัวต้านทานแบบมค่ีาคงท่ี- ตัวต้านทานแบบคารบ์อน - ตัวต้านทานแบบขดลวดหรอืเซรามคิ

- ตัวต้านทานแบบฟล์ิม

Page 15: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ตัวต้านทานปรบัค่าได้- โพเทนติโอมเิตอร ์(potentiometers)

- รโีอสแตต (rheostats)

Page 16: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

ตัวต้านทานเปล่ียนค่าได้- เทอรม์สิเตอร ์(thermistor)

เป็นตัวต้านทานท่ีมค่ีาความต้านทานเปล่ียนแปลงตามระดับอุณหภมูิ

- แอลดีอาร ์(LDR : Light Dependent Resistor) ตัวต้านทานปรบัค่าตามแสงตกกระทบ ยิง่มแีสงตกกระทบ

มากยิง่มคีวามต้านทานตำ่า

Page 17: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

การอ่านค่าตัวต้านทาน

Page 18: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

การต่อวงจรตัวต้านทาน- ตัวต้านทานในวงจรอนุกรม

RT = R1+ R2+…+Rn

PT = P1 = P2 = Pn

Page 19: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

การต่อวงจรตัวต้านทาน- ตัวต้านทานในวงจรขนาน

1/RT = 1/R1+ 1/R2+…+1/Rn

PT = P1 + P2 +…+ Pn

Page 20: อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1

วงจรตัวต้านทานแบบผสม

Page 21: อิเล็กทรอนิกส์ 1

กฎของโอหม์กฎของโอหม์กล่าวไวว้า่ ในวงจรไฟฟา้ใดๆ ค่าของ“กระแสจะแปรผันโดยตรงกับแรงดัน และแปรผกผันกับค่าของความต้านทานในวงจร”กระแสไฟฟา้ 1 แอมป ์ เป็นผลการเปรยีบเทียบอัตราสว่นระหวา่งแรงเคล่ือนไฟฟา้ 1 โวลท์ กับความต้านทาน 1 โอหม์ หรอืเขยีนเป็นสตูรได้วา่

Electronic1

REI

Page 22: อิเล็กทรอนิกส์ 1

อัตราทนกำาลังตัวต้านทานจะต้องมอัีตรากำาลังซึ่งคิดออกมาเป็น วตัต์ “ ” (WATT)

ซึ่งค่าอัตรากำาลัง หาได้จากสตูร

หรอื

Electronic1

EIP RIP 2