สถานะของสาร ม.1

25
คคคคคคคคคคค คคคคคคคคค สสสสสสสสส

Upload: wuttipong-tubkrathok

Post on 26-Jan-2017

469 views

Category:

Education


4 download

TRANSCRIPT

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

สารรอบตัว

#TEAMIRONBEAR

แนะนำาผู้สอนนายวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

(ครูโด้)นักศึกษาฝึกปฏิบติัการสอนในสถานศึกษา

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

Facebook:Kru’Wuttipong Thubkrathok

สมบติัของสารและการจำาแนกสารสสารและสารต่างกันอยา่งไร

สสาร (Matter)

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

สิง่ท่ีมตัีวตน มมีวล ต้องการท่ีอยูแ่ละสามารถสมัผัสได้ โดยใชป้ระสาทสมัผัสทั้ง 5

สาร (Substance) สสารท่ีศึกษาค้นควา้จนทราบสมบติัและองค์

ประกอบท่ีแน่นอน หรอืเน้ือของสสารท่ีนำามาศึกษาหรอืสิง่ท่ีนำามาศึกษา ดังนัน้จงึใชค้ำาวา่สารแทนสสารได้

สสาร

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

สาร

สารเป็นซบัเซตของสสาร

สมบติัของสาร

สมบติัของสาร หมายถึง ลักษณะประจำาตัวของสารแต่ละชนิดซึง่แตกต่างไปจากสารอ่ืน ๆ เชน่ ทองแดงนำาไฟฟา้ได้ไมน้ำาไฟฟา้ไมไ่ด้ นำ้าสมสายชูมรีสเปรีย้ว นำ้าเชื่อมมรีสหวาน

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

สมบติัของสารแบง่ออกเป็น 2 ประเภท

สมบติัทางกายภาพ

สมบติัทางเคมี

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

สมบติัทางกายภาพ

สมบติัของสารท่ีสามารถสงัเกตเห็นได้ง่ายจากรูปรา่งลักษณะภายนอกเชน่ สถานะ ส ีกลิ่น รส รูปรา่ง ปรมิาตร หนาแน่นสมัพทัธ ์จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลาย เป็นต้น เชน่ นำ้า เป็นของเหลว ไมม่สี ีไมม่กีลิ่น ไมม่ีรส จุดเดือดท่ี 100 องศาเซลเซยีส

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

ของแขง็

ของเหลว

แก๊ส

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

1. มกีารเปลี่ยนแปลงรูปรา่งภายนอก เชน่ การเปลี่ยน สถานะ การเกิดสารละลาย การเปลี่ยนอุณหภมู ิการสกึกรอ่น เป็นต้น2. ไมม่กีารเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในเปลี่ยนเฉพาะรูปรา่งภายนอก 3. ไมม่สีารใหมเ่กิดขึน้ ภายหลังการเปล่ียนแปลงสมบติัทางกายภาพและทางเคมขีองสารยงัคงเหมอืนเดิม 4. สามารถทำาให้กลับสูส่ภาพเดิมได้ง่าย

การเปล่ียนแปลงสมบติัทางกายภาพ

สมบติัทางเคมี

สมบติัท่ีเก่ียวขอ้งกับองค์ประกอบภายในของสาร และการเกิดปฏิกิรยิาเคม ีเชน่ การเผาไหม ้การเกิดสนิม การผุพงั การระเบดิ เป็นต้น เชน่ เหล็กเป็นของแขง็สีเทา เมื่อท้ิงไวจ้ะเกิดสนิมมสีนีำ้าตาลแดง

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

การเกิดสนิมเหล็ก

การเผาไหม้

การเปล่ียนแปลงทางเคมหีรอืการเกิดปฏิกิรยิาเคมี 1. จะต้องมสีารใหมเ่กิดขึน้เสมอ 2. มกีารเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน และมผีลทำาให้มี การเปลี่ยนแปลงสมบติัทางกายภาพของสารด้วย 3. ทำาให้สารใหมท่ี่เกิดขึน้ มสีมบติัแตกต่างไปจากสารเดิม เชน่ การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหมข้องเชื้อเพลิง การสงัเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น 4. ทำาให้กลับสูส่ภาพเดิมได้ยาก ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

การเปล่ียนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพหรอืทางเคม ี

การระเหยของนำ้า การต้มนำ้า ขา้วสารเปลี่ยนเป็นขา้วสกุ เกลือละลายนำ้า ผลไมดิ้บเปลี่ยนเป็นผลไมส้กุ การจุดเทียนไข เนื้อดิบเป็นเน้ือสกุ

กายภาพกายภาพเคมีกายภาพเคมีกายภาพ เคมีเคมี

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

จงจดัหมวดหมูข่องสารต่อไปน้ีพรอ้มท้ังบอกเกณฑ์ในการจดัหมวดหมู่ด้วย

นำ้าตาลทราย นำ้าเชื่อม เกลือแกง นำ้าสม้สายชู

ลกูเหมน็ นำ้ากลัน่ นำ้าแขง็ เหล็ก ทองแดง กระดาษ ปากกา นำ้าหมกึ สนีำ้า อากาศ แก๊สหงุต้ม

     

           

         

     

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

ของแข็ง

ของเหลว

แก๊ส

ใชส้ถานะของสารเป็นเกณฑ์ในการจำาแนก

นำ้าตาลทราย

นำ้าเชื่อมเกลือแกง นำ้าสม้สายชูลกู

เหมน็ นำ้ากลัน่นำ้าแขง็เหล็ก

ทองแดง

กระดาษปากกา

นำ้าหมกึสนีำ้า

อากาศแก๊สหงุต้ม

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

บทปฏิบติัการท่ี 1 เรื่อง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส

จุดประสงค์การทดลอง

1. เพื่อทดลองตรวจสอบ อธบิายการจดัเรยีงระยะห่างระหวา่งอนุภาค แรงยดึเหนี่ยวระหวา่งอนุภาคและการเคลื่อนไหวของอนุภาคในสถานะของแขง็ ของเหลวและแก๊ส โดยใชแ้บบจำาลองการจดัเรยีงอนุภาคของสาร2. เพื่ออธบิายสถานะของสารท่ีแตกต่างกันโดยใช้แบบจำาลองการจดัเรยีงอนุภาคของสาร

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

บทปฏิบติัการท่ี 1 เรื่อง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส

ตัวแปรต้น แรงลมในการเป่าเมด็โฟม

ตอนท่ี 1

ตัวแปรตาม การเคลื่อนตัวของเมด็โฟม

ตัวแปรควบคมุ ขนาดของขวดพลาสติก,จำานวนเมด็โฟม

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

บทปฏิบติัการท่ี 1 เรื่อง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ตอนท่ี 1

ขนาดของขวดพลาสติก,จำานวนเมด็โฟม

ลักษณะการเป่าลม

การเคลื่อนตัวของเมด็โฟม

เป่าลมอยา่งชา้ ๆ เบา ๆ

เมด็โฟมสัน่ แต่อยูกั่บท่ีและชดิติดกัน

เป่าลมแรงขึน้จนเมด็โฟมสัน่

เคล่ือนท่ีแยกหา่งจากกันไปทัว่ก้นภาชนะ ปรมิาตรเพิม่ขึ้นเล็กน้อย

เป่าลมแรงท่ีสดุ เมด็โฟมสัน่ และฟุง้กระจายแยกออกจากกันอยา่งรวดเรว็ทัว่ขวดพลาสติก

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

บทปฏิบติัการท่ี 1 เรื่อง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ตอนท่ี 2

ขนาดของขวดพลาสติก,จำานวนเมด็โฟม

กิจกรรม การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึน้/สิง่ท่ีสงัเกต

ลักษณะของเกล็ดด่างทับทิม

เป็นของแขง็ ลักษณะผลึกท่อนเล็กๆสีมว่งเขม้เกือบดำาและมนัวาว

เมื่อใสเ่กล็ดด่างทับทิมลงในนำ้า

บรเิวณรอบๆเกล็ดด่างทับทิมจะเหน็นำ้า เป็นสมีว่งแพรก่ระจายคล้ายควนั

เคล่ือนท่ีผสมกับนำ้าในบกีเกอร์เมื่อเปิดฝาขวดท่ีมีสำาลีชุบสารละลายแอมโมเนียอยู่ภายใน

ได้กล่ินแอมโมเนียฟุง้กระจายไปทัว่หอ้งอยา่งรวดเรว็แต่ไมส่ามารถมองเห็อนุภาคใดๆในอากาศ

คำาถามจากกิจกรรมการทดลอง

     

           

         

     

1 .ในกิจกรรมตอนท่ี 1 เมด็โฟมท่ีบรรจุอยูใ่นขวดพลาสติกเปรยีบเสมอืน

2. การเป่าลมในขวดอยา่งชา้ๆ เบาๆ ไปยงัเมด็พลาสติกเป็นแบบจำาลองท่ีแทนการจดัเรยีงอนุภาคของสารในสถานะ และมลัีกษณะดังนี้

3. การเป่าลมในขวดแรงขึ้น ไปยงัเมด็พลาสติกเป็นแบบจำาลองท่ีแทนการจดัเรยีงอนุภาคของสารในสถานะ และมลัีกษณะดังน้ี

แบบจำาลองของอนุภาคของสารทัง้สามสถานะ คือ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส

ของแขง็ทกุอนุภาคมกีารสัน่สะเทือนตลอดเวลาแต่อยูต่ำาแหน่งเดิม

และอนุภาคอยูช่ดิติดกันมแีรงระหวา่งอนุภาคมากทำาให้ของแขง็คงรูปอยูไ่ด้

ของเหลวทกุอนุภาคมกีารสัน่ อนุภาคอยูห่า่งกันเล็กน้อย มกีาร

เคล่ือนตัวและการกระจายตัวทัว่ก้นภาชนะจงึมปีรมิาตรเพิม่ขึ้นทำาใหค้วามหนาแน่นและแรงยดึเหนี่ยวระหวา่งอนุภาคน้อยกวา่ของแขง็เมื่อเป่าลมแรงท่ีสดุ

คำาถามจากกิจกรรมการทดลอง

     

           

         

     

4. การเป่าลมในขวดแรงท่ีสดุ ไปยงัเมด็พลาสติกเป็นแบบจำาลองท่ีแทนการจดัเรยีงอนุภาคของสารในสถานะ และมลัีกษณะดังนี้

5. จากกิจกรรมท่ี 2 เกล็ดด่างทับทิมมลัีกษณะ

6. เมื่อใสเ่กล็ดด่างทับทิมลงในนำ้า สิง่ท่ีสงัเกตได้ คือ เปรยีบได้กับแบบจำาลองอนุภาคของ ซึ่งตรงกับการเป่าลม ในกิจกรรมตอนท่ี 1

แก๊สทกุอนุภาคมกีารเคล่ือนท่ีอยูต่ลอดเวลาอยา่งรวดเรว็ ฟุง้

กระจายเต็มภาชนะ ทำาใหค้วามหนาแน่นและแรงยดึเหน่ียวระหวา่งอนุภาคน้อยกวา่ของเหลวและของแขง็มาก

เป็นของแขง็ ลักษณะเป็นผลึกท่อนเล็กๆ สมีว่งเขม้เกือบดำาและมนัวาวด่างทับทิมจะละลายและแพรก่ระจายผสมกับนำ้ากลายเป็นสมีว่ง ของเห

ลวแรงขึ้นจนเมด็โฟมสัน่

สรุปผลการทดลอง     

           

         

     

จากการทดลองพบวา่เกล็ดด่างทับทิมเปรยีบเทียบได้กับแบบจำาลองอนุภาคของของแขง็ท่ีคงรูปอยูไ่ด้ ด่างทับทิมผสมกับนำ้าเปรยีบเทียบได้กับแบบจำาลองอนุภาคของของเหลว ตอนท่ี 1ท่ีเป่าลมแรงขึน้ การเปิดฝาขวดท่ีบรรจุสำาลีชุบสารละลายแอมโมเนีย จะได้กลิ่นแอมโมเนียฟุง้กระจายไปท่ัวห้องอยา่งรวดเรว็ และมองไมเ่ห็นอนุภาคใดๆในอากาศเปรยีบเทียบได้กับแบบจำาลองอนุภาคของแก๊ส อนุภาคของด่างทับทิมแอมโมเนียมขีนาดเล็กมาก ไม่สามารถด้วยตาเปล่า การทำาการทดลองตอนท่ี 2 สอดคล้องกับการอธบิายสถานะของสารโดยใชแ้บบจำาลองการจดัเรยีงอนุภาคของสารในตอนท่ี 1

คำาถามจากกิจกรรมการทดลอง

     

           

         

     

7. เมื่อเปิดฝาขวดท่ีบรรจุสำาลีชุบสารละลายแอมโมเนีย สิง่ท่ีสงัเกตได้ คือ

เปรยีบได้กับแบบจำาลองอนุภาคของ ซึ่งตรงกับการเป่าลม ในกิจกรรมตอนท่ี 1

ได้กล่ินแอมโมเนียฟุง้กระจายไปทัว่หอ้งอยา่งรวดเรว็โดยไมเ่หน็อนุภาคใดๆ ในอากาศเพราะอนุภาคอนุภาคของแอมโมเนียมขีนาดเล็กจงึไมส่ามารถมองด้วยตาเปล่าได้แก๊

สแรงท่ีสดุไปยงัเมด็โฟม

สถานะของสาร

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

แก๊ส ของเหลว ของแขง็

ของแข็ง แก๊ส การ

ระเหิด

สมบติัของ ของแขง็

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

แรงยดึเหนี่ยวระหวา่งอนุภาคสงู

จดัเรยีงตัวอยา่งเป็นระเบยีบ ชอ่งวา่งมนี้อย พลังงานจลน์น้อย (ไม่

เคล่ือนท่ี) รูปรา่ง สถานะ ปรมิาตรคงท่ี

สมบติัของ ของเหลว

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

• แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง

• จัดเรียงตัวไม่เป็นระเบียบ• ช่องว่างมากข้ึน (เคล่ือนท่ีไปมาได้)• ปริมาตรคงท่ี (ระยะห่างของอนุภาคคงท่ี)

ของเหลว

แก๊ส

การระเหย

แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล > พลังงานจลน์

ของเหลว

สมบติัของ แก๊ส

ครูวุฒพิงษ์ ทับกระโทก

•แรงยดึเหน่ียวระหวา่งอนุภาคน้อย

•พลังงานจลน์สงูท่ีสดุ•อนุภาคเคลื่อนท่ีตลอดเวลา•ปรมิาตร และรูปรา่งไมค่งท่ี

เปล่ียนตามภาชนะท่ีบรรจุ

แก๊สแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล < พลังงานจลน์