เอกสารสรุป - edu.sg.ac.thedu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/m1-59.pdf ·...

56
เอกสารสรุป ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที......................... หอง ม.1/.......................... ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 2559 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที1 โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

Upload: lamtu

Post on 29-Aug-2019

226 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

เอกสารสรุป

ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที่ ......................... หอง ม.1/..........................

ภาคเรียนที่ 1

ปการศึกษา 2559

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

โครงการสอนและการวัดประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ครูผูสอน ๑. มิสณิชาภัทร ภูไหม ๒. มาสเตอรพิษณุ จงเจริญ ๓. ม. ยงยุทธ ใจด ี ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๕๙ จํานวน ๓ คาบ/สัปดาห ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑.๕ หนวยการเรียน

สาระวิชาพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ.................................... คําอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห เสียงในภาษาไทย การสรางคําไทย ชนิดและหนาท่ีของคําไทย หลักการแตงคําประพันธประเภทกาพย กลอน โคลง การใชภาษาในการสื่อสาร การอานตีความคํายากในเอกสารทางวิชาการ การแยกขอเท็จจริงกับขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ การอานจับใจความสําคัญ การเขียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนสื่อสาร การพูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องท่ีฟงและดู การเลือกใชภาษาในการพูด การเลาเรื่องยอของเรื่องท่ีฟงและดู การพูดแสดงความคิดเห็น การอภิปราย พูดรายงาน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานท้ังดานรูปแบบ เนื้อหา จุดมุงหมาย การใชภาษาสํานวนโวหาร ศิลปะในการประพันธ วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน พรอมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน สรุปความรูและขอคิดจากการอาน เพ่ือประยุกตใช โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการภายในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆโดยนําวรรณคดีและวรรณกรรม เปนแกนกลาง เพ่ือผูเรียนจะไดเรียนรูวรรณคดีและวรรณกรรมสัมพันธกับหลักการใชภาษาและทักษะการสื่อสาร กลมกลืน เปนเอกภาพ และเชื่อมโยงชีวิตจริง สอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม ขอคิดคติสอนใจและนําไปปรับใช ในการดําเนินชีวิต ประจําวันได สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน ๒๑ ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ๑ การอาน มาตรฐานท่ี ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา . ในการดําเนนิชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัด ขอ ๑ อานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองไดถูกตองเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน

ขอ ๒ จับใจความสําคัญจากเรื่องท่ีอาน ขอ ๓ ระบุเหตุและผลและขอเท็จจริงกับขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน

ขอ ๖ ระบุขอสังเกต และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโนมนาวใจ ขอ ๙ มีมารยาทในการอาน สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐานท่ี ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความยอความ และเขียนเรื่องราวตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ขอ ๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ขอ ๒ เขียนสื่อสารโดยใชถอยคําถูกตอง ชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย ขอ ๙ มีมารยาทในการเขียน สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐานท่ี ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ตัวช้ีวัด

ขอ ๓ พูดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงและดู ขอ ๖ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐานท่ี ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัด

ขอ ๑ อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย ขอ ๒ การสรางคําในภาษาไทย ขอ ๓ วิเคราะหชนิดและหนาท่ีของคําในประโยค ขอ ๔ วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน ขอ ๕ แตงบทรอยกรอง ขอ ๖ จําแนกและใชสํานวนท่ีเปนคําพังเพย และสุภาษิต

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานท่ี ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด ขอ ๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน ขอ ๒ วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานพรอมยกเหตุผลประกอบ ขอ ๓ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน ขอ ๔ สรุปความรู และขอคิดจากการอานเพ่ือประยุกตใชในชีวิตจริง

ขอ ๕ ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค) ๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๒.๑ ขอ ๑ , ๒

ท ๓.๑ ขอ ๓ คะแนนเต็ม

๓๐ คะแนน

ท ๑.๑ ขอ ๕ ท ๒.๑ ขอ ๒ ท ๓.๑ ขอ ๓ , ๖ ท ๔.๑ ขอ ๓ ท ๕.๑ ขอ ๑, ๒ , ๓ , ๔

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๕.๑ ขอ ๑ , ๒ , ๓ , ๔ ๓. กลางภาค/ปฏิบัติ ๓๐ คะแนน

ท ๑.๑ ขอ ๓ , ๖ ท ๒.๑ ขอ ๗ , ๙ ท ๓.๑ ขอ ๖ ท ๔.๑ ขอ ๑ , ๒ ท ๕.๑ ขอ ๑ , ๒ , ๓ , ๔

๔. แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๕.๑ ขอ ๔ รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

- รายละเอียดการวัดและประเมินผล ๑. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ ขอสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๕๐ ขอ และอัตนัย ๒ ขอ โดยใชเนื้อหาดังนี้

- การอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง - ระบุเหตุและผล และขอเท็จจริงกับขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน - อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย - การสรางคําในภาษาไทย - นิราศภูเขาทอง - โคลงโลกนิติ

รายละเอียดการสอบ ขอสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๕๐ ขอ และอัตนัย ๒ ขอ โดยใชเนื้อหาดังนี้

- ชนิดและหนาท่ีของคําไทย - ภาษาพูด – ภาษาเขียน - สุภาษิตพระรวง - กาพยเรื่องพระไชยสุริยา

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

๑. หนังสือเรียนวรรณคดี และ วรรณกรรม ระดับชั้น ม. ๑ บริษัทอักษรเจริญทัศน (อจท.) ๒. หนังสือหลักภาษาไทย หรือวรรณคดีไทย สํานักพิมพอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับวิชาภาษาไทยระดับชั้น ม. ๑

๒. สอบปลายภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน รหัส ค21101 ครูผูสอน ม.ปองพล บุญสรวย, มิสอุษราภรณ ทะวะระ, ม.สมคิด วังจํานงค, มิสวิภา พิณรัตน ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2559 จํานวน 4 คาบ/สัปดาห 80 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 2.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา ศึกษา / ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้ จํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบและศูนย การเปรียบเทียบจํานวนเตม็ คาสัมบูรณ จํานวนตรงขาม การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม การนําความรูเก่ียวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกโจทยปญหา สมบัติของจํานวนเต็ม และการดําเนินการทางคณิตศาสตร สมบัติของจํานวนนับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ของจํานวนนับท่ีกําหนดและนําไปแกปญหา เลขยกกําลัง ความหมายของเลขยกกําลัง เลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม การคูณและการหารเลขยกกําลังท่ีมีฐานเดียวกันและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม การเขียนจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร พ้ืนฐานทางเรขาคณิต การสรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรง นําการสรางพ้ืนฐานไปสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย สมบัติทางเรขาคณิต และการใหเหตุผลเก่ียวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม การเตรียมความพรอมในการใหเหตุผล การสรางขอความคาดการณในสถานการณท่ีกําหนดให การเขียนขอความท่ีเปนเง่ือนไข บทกลับของประโยคเง่ือนไข การเขียนประโยคในรูปก็ตอเม่ือ การใหเหตุผลในทางคณิตศาสตร และพิสูจนขอความคาดการณท่ีสรางข้ึนเองได

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

การวัดผลและประเมินผล ใชวิธีการหลากหลายตามสภาพความเปนจริงของเนื้อหาและทักษะท่ีตองการวัด สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 14 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด 1. ระบุหรือยกตัวอยางและเปรียบเทียบ จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย เศษสวน ทศนิยม 2. เขาใจเก่ียวกับเลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มและเขียนแสดงจํานวนใหอยูในรูปสัญกรณ วิทยาศาสตร (Scientific notation) มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนินการตาง ๆ และใชการดําเนินการในการแกปญหา ตัวช้ีวัด 1. บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม และนําไปแกปญหา ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ อธิบายผลท่ีเกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารและบอกความสัมพันธของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของจํานวนเต็ม 4. คูณและหารเลขยกกําลังท่ีมีฐานเดียวกันและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม มาตรฐาน ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเก่ียวกับจํานวนไปใช ตัวช้ีวัด 1. นําความรูและสมบัติเก่ียวกับจํานวนเต็มไปใชในแกปญหา สาระท่ี 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวช้ีวัด 1. สรางและบอกข้ันตอนการสรางพ้ืนฐานทางเรขาคณิต 2. สรางรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชการสรางพ้ืนฐานทางเรขาคณิต และบอกข้ันตอนการสรางโดยไมเนนการ พิสูจน 3. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณเก่ียวกับสมบัติทางเรขาคณิต

สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืน ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวช้ีวัด 1. ใชวิธีการท่ีหลากหลายแกปญหา 2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆไดอยาง เหมาะสม 3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม 4. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและ ชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับ ศาสตรอ่ืนๆ 6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน ค 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

30 คะแนน

ค 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 ค 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 4 ค 1.4 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2, 3 ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6

2. สภาพจริง …20… คะแนน ค 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 3. กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน ค 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

ค 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 ค 1.4 ตัวชี้วัดท่ี 1

5. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ รายละเอียดการสอบ

จํานวนเต็ม ชนิดของจํานวนเต็ม การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม คาสัมบูรณ และจํานวนตรงขาม การบวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็ม การนําความรูและสมบัติเก่ียวกับจํานวนเต็มไปใช

ห.ร.ม. และค.ร.น. ตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. และการนําไปใช ค.ร.น. และการนําไปใช 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ

จํานวนเต็ม การบวก ลบ คูณ หารจํานวนเต็ม และการนําความรูและสมบัติเก่ียวกับจํานวนเต็มไปใช ห.ร.ม. และค.ร.น. ห.ร.ม. และการนําไปใช ค.ร.น. และการนําไปใช เลขยกกําลัง เขียนเลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มแทนจํานวนท่ีกําหนดให

คูณและหารเลขยกกําลังท่ีมีฐานเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มได สัญกรณวิทยาศาสตร (Scientific Notation)

พ้ืนฐานการสราง สรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรง และบอกข้ันตอนการสรางพ้ืนฐาน นําการสรางพ้ืนฐานไปสรางรูปเรขาคณิตอยางงายได

การเตรียมความพรอมในการใหเหตุผล การสรางขอความคาดการณ ประโยคเง่ือนไข และบทกลับของประโยคเง่ือนไข หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน(สสวท.) เลม 1, 2 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม(สสวท.) เลม 1, 2 และ ใบความรู

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา วิทยาศาสตร รหัส ว 21101 ครูผูสอน 1. ม.อาคม ศาสตรสุภาพ 2. มิส โสภาภรณ ศิริโสภณ ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2559 จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน คําอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะหวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเก่ียวกับ ปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอร แรงเสียดทาน ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วและความเร็วในการเคลื่อนท่ีของวัตถุ อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถายโอนความรอน สมดุลความรอนและผลของความรอนตอการขยายตัวของสาร พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร การจําแนกสารเปนกลุมตามลักษณะเนื้อสารและขนาดอนุภาค สมบัติของสารในแตละกลุม สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร สมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส การตรวจสอบความเปนกรดและเบสของสารละลาย ตรวจสอบคา pH ของสารละลายกรดและเบส ความเขมขนของสารละลาย การเปลี่ยนแปลงปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารและเชื่อมโยงสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 13 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐานท่ี ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยว ระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู นําความรูไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด 1. ทดลองและจําแนกสารเปนกลุมโดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเปนเกณฑ และอธิบายสมบัติของสารในแตละกลุม 2. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใชแบบจําลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร 3. ทดลองและอธิบายสมบัติความเปนกรด เบส ของสารละลาย 4. ตรวจสอบคา pH ของสารละลายและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานท่ี ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู และนําความรูไปใช ประโยชน ตัวช้ีวัด 1. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายท่ีมีความเขมขนเปนรอยละ และอภิปรายการ นําความรูเก่ียวกับ สารละลายไปใชประโยชน 2. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เม่ือสารเปลี่ยน สถานะและเกิดการละลาย 3. ทดลองและอธิบายปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร สาระท่ี 4 แรงและการเคล่ือนท่ี มาตรฐานท่ี ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ตัวช้ีวัด 1. สืบคนขอมูล และอธิบายปริมาณสเกลาร ปริมาณเวกเตอร 2. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วและความเร็ว ในการเคลื่อนท่ีของวัตถุ

สาระท่ี 5 พลังงาน มาตรฐานท่ี ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ ระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวน การ สืบเสาะหาความรู สื่อสาร สิ่งท่ีเรียนรูและนําความรู ไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด 1. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ 2. สังเกตและอธิบายการถายโอนความรอน และนําความรูไปใชประโยชน 3. อธิบายการดูดกลืน การคายความรอน โดยการแผรังสี และนําความรูไปใชประโยชน 4. อธิบายสมดุลความรอนและผลของความรอนตอการขยายตัวของสาร และนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี

(ระหวางภาค) คะแนน

ปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี

(ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน ว 3.1 ขอ 1 – 4, ว 3.2 ขอ 1 – 3

ว 4.1 ขอ 1 – 2, ว 5.2 ขอ 1 – 4 30 คะแนน ว 3.1 ขอ 1 - 4

ว 3.2 ขอ 1 - 3 2. สภาพจริง 20 คะแนน ว 3.1 ขอ 1 - 4

ว 3.2 ขอ 1 - 4 3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ว 3.1 ขอ 1 - 4

ว 3.2 ขอ 1 - 4

4. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ว 3.1 ขอ 1 – 4, ว 3.2 ขอ 1 – 3 ว 4.1 ขอ 1 – 2, ว 5.2 ขอ 1 – 4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน รายละเอียดการสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ 1. ปริมาณเวกเตอร ปริมาณสเกลาร แรงเสียดทาน 2. ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็วในการเคลื่อนท่ี 3. อุณหภูมิและการเปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ 4. การถายโอนความรอน 5. การดูดกลืน การคายความรอน การแผรังสีความรอน 6. สมดุลความรอนและผลของความรอนตอการขยายตัวของสาร รายละเอียดการสอบ 1. จําแนกสารเปนกลุมโดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเปนเกณฑ และอธิบายสมบัติของสารในแตละกลุม 2. สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใชแบบจําลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร 3. สมบัติความเปนกรด เบส ของสารละลาย และการนําไปใชประโยชน 4. การตรวจสอบคา pH ของสารละลาย และนําความรูไปใชประโยชน 5. การเตรียมสารละลายท่ีมีความเขมขนเปนรอยละ พรอมท้ังคํานวณและนําความรูไปใชประโยชน 6. การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสารเม่ือสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย 7. ปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. วิทยาศาสตร ม.1 แบบฝกหัดวิชาวิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 2. เอกสารประกอบการสอนวิทยาศาสตร ม.1

2. สอบปลายภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัส ส21101 ครูผูสอน มิสสภุารัตน กอหะสุวรรณ ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559 จํานวน 2 คาบ/สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาภูมิศาสตรประเทศไทยในภูมิภาคตาง ๆ และในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียเก่ียวกับสภาพแวดลอมภูมิประเทศ ทรัพยากร สภาพปญหาและการอนุรักษ โดยเลือกใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรเขาสืบคน เพ่ือศึกษาแนวทางปองกัน ภัยธรรมชาติ ท่ีเกิดในประเทศไทย และประเทศตางๆ รวมถึงทําเลท่ีตั้ง ทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและประชากร ในความรวมมือของประเทศเพ่ือนบาน และศึกษาวิธีการใชทรัพยากรเพ่ือการผลิตและการบริโภคอยางมีประสิทธิภาพ เขาใจระบบธนาคาร ระบบสหกรณ วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง การพ่ึงพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจ การซ้ือขาย แลกเปลี่ยน กลไกของรัฐ และสถาบันการเงินในประเทศ ใหมีความรูเพ่ือนํามาเปนแนวทางใชในการดําเนินชีวิตและพัฒนาสังคมในชาติสืบไป

โดยการ ใชกระบวนการ สังเกต การรับรู การตอบคําถาม การแกปญหา การวางแผน เพ่ือสรางทางเลือกใหกับผูบริโภค ใหผูบริโภคมีโอกาสเลือก สินคาและบริการท่ีหลากหลาย ใชหลักการในกระบวนการผลิตท่ีมีความสัมพันธกันกับแหลงทรัพยากร ทําใหประหยัดคาใชจายในการผลิต เพ่ือเขากับหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

เพ่ือศึกษาพัฒนาลักษณะของประเทศไทย ทวีปเอเชียและออสเตรเลีย และเปรียบเทียบสภาพ แวดลอม ในดานตาง ๆ และหาแนวทางแกปญหาท่ีเกิดข้ึนจากภัยธรรมชาติ ใหประชาชนมีชีวิตยั่งยืน และแนวคิดดานการผลิตและบริโภค แนวคิดดาน การเงิน การธนาคาร ใหความสําคัญกับการนําคุณธรรม ในการผลิต มาใชเพ่ือใหผูบริโภคไดรับความเปนธรรม สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 2 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอกันและกันในระบบของ ธรรมชาติ ใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหาวิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศ อยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด 1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวมวิเคราะหและนําเสนอขอมูลเก่ียวกับลักษณะทาง กายภาพและ สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต 3. สํารวจและอธิบายทําเลท่ีตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยใชแหลงขอมูลท่ีหลากหลาย มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มี

จิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหเชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางปองกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย ทวีป เอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย 2. วิเคราะหผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย 3. วิเคราะหความรวมมือของประเทศตางๆ ท่ีมีผลตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย 4. วิเคราะหปจจัยทางกายภาพและสังคมท่ีมีผลตอการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินคาและประชากร ในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดได อยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมี ดุลยภาพ

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการลงทุนและการออม 2. อธิบายปจจัยการผลิตสินคาและบริการและปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการผลิตสินคาและบริการ 3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทองถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือ

กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวช้ีวัด 1.อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ 2. ยกตัวอยางท่ีสะทอนใหเห็นการพ่ึงพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย 3. วิเคราะหการกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีสงผลตอความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 4. วิเคราะหการแขงขันทางการคาในประเทศและตางประเทศท่ีสงผลตอคุณภาพสินคาปริมาณการผลิต และราคาสินคา

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ส.5.1 ขอ 1,2,3 ส.5.2ขอ 1,2,3,4

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ส.3.1 ขอ 1, 2, 3 ส.3.2 ขอ 1, 2, 3, 4 2.สภาพจริง 20 คะแนน ส.5.1 ขอ 1,2,3

ส.5.2ขอ 1,2,3,4 3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ส.5.1 ขอ 1,2,3

ส.5.2ขอ 1,2,3,4 4. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ส.5.1 ขอ 1,2,3

ส.5.2ขอ 1,2,3,4 รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย, ลักษณะทางกายภาพ ทวีปเอเชีย, ลักษณะทางกายภาพของทวีปออสเตรเลียและหมูเกาะในโอเชียเนีย, รายละเอียดการสอบ เรื่องเศรษฐศาสตร ความหมาย, ผูผลิต, ผูบรโิภค, บริการ, การแลกเปลี่ยน, ลําดับข้ันตอนการผลิต ปจจยัการผลิต, ผลผลิต, เศรษฐกิจพอเพียง, โครงการในพระราชดําริ, ประเภทของสหกรณ, สถาบันการ เงินท่ีเปนธนาคารและไมใชธนาคาร หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชวงชั้นท่ี 3 / Internet / สมุดบันทึกเลมสีขาว

2. สอบปลายภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ประวัติศาสตร รหัส ส 21102 ครูผูสอน มาสเตอรนพชัย โยธินะเวคิน ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะหความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร ตัวอยางการใชเวลา(ท้ังระบุสุริยคติและจันทรคติ) ชวงเวลา(เชนทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ) และยุคสมัยท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตรไทย(สมัยกอนประวัติศาสตร สมัยประวัติศาสตร)ศึกษาท่ีมาของศักราช ตัวอยางการใชศักราช และวิธีการเทียบศักราชตามระบบตางๆ ท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตรไทย ไดแก พ.ศ./ค.ศ./จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ. โดยใชทักษะของการสังเกต การสํารวจ การคํานวณ การเปรียบเทียบท้ังนี้เพ่ือใหเขาใจเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร เขาใจความสัมพันธ และความสําคัญของอดีตท่ีมีตอปจจุบัน ศึกษาความหมาย ความสําคัญของประวัติศาสตร และวิธีการทางประวัติศาสตร นําวิธีการทางประวัติศาสตรสืบคนเรื่องราวทางประวัติศาสตรไทยท่ีมีอยูในทองถ่ินของตนเอง โดยใชทักษะการวิเคราะห การตีความ การแยะแยะ การวินิจฉัย การสรางความรูใหม การใหเหตุผล การสํารวจ การรวบรวมขอมูล ท้ังนี้เพ่ือใหเขาใจและเห็นความสําคัญของประวัติศาสตรในการดําเนินชีวิต ศึกษาปจจัยทางภูมิศาสตรท่ีสงผลตอพัฒนาการของประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมท้ังพัฒนาการทางดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองของประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และความรวมมือของประเทศสมาชิกในการรวมกลุมเปนสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต(อาเซียน)ศึกษาความสําคัญของแหลงอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีไดรับการยกยองเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม อิทธิพลของ อารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่ีมีตอพัฒนาการของสังคมไทยในปจจุบัน โดยใชทักษะการรวบรวมขอมูล การวิเคราะห การสังเคราะหขอมูล ท้ังนี้เพ่ือใหเขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติท่ีมีความเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปจจุบัน และผลกระทบท่ีมีตอสังคมไทย เขาใจและอยูรวมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 5 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทาง ประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ ตัวช้ีวัด 1 วิเคราะหความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร 2 เทียบศักราชตามระบบตางๆท่ีใชศึกษาประวัติศาสตร 3 นําวิธีการทางประวัติศาสตรมาใชศึกษาเหตุการณทางประวัติศาสตร มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ตัวช้ีวัด 1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศตางๆภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต

2 ระบุความสําคัญของแหลงอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลาย

ภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 ขอท่ี 1,2,3 มาตรฐาน ส 4.2 ขอท่ี 1,2

30 คะแนน

มาตรฐาน ส 4.2 ขอท่ี 1,2 2. สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 ขอท่ี 1,2,3

มาตรฐาน ส 4.2 ขอท่ี 1,2 3. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.1 ขอท่ี 1,2,3

มาตรฐาน ส 4.2 ขอท่ี 1,2 4. การสอบกลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

มาตรฐาน ส 4.1 ขอท่ี 1,2,3

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ ความสําคัญของเวลาและชวงเวลา - การนับและการเปรียบเทียบศึกราชแบบตาง ๆ - การแบงเวลาทางประวัติศาสตรในยุคตางๆ - ท่ีมาของศักราชท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตรไทย ไดแก พ.ศ./ค.ศ./จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ. และ ฮ.ศ. - การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตร - วิธีการเปรียบเทียบศักราชตางๆ - ลักษณะ ประเภท และแหลงท่ีมาของหลักฐานทางประวัติศาสตร - ความหมายและความสําคัญของประวัติศาสตรและวิธีการทางประวัติศาสตร ท่ีมีความสัมพันธเชื่อมโยงกัน - ความสัมพันธและความสําคัญของอดีตท่ีมีตอปจจุบันและอนาคต - ตัวอยางการใชเวลา ชวงเวลาและยุคสมัยท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตรไทย - ตัวอยางการนําหลักฐานไปใชในการศึกษาประวัติศาสตรสุโขทัย ตัวอยางการนําวิธีการทางประวัติศาสตรทองถ่ินและประวัติศาสตรสุโขทัย รายละเอียดการสอบ

- ท่ีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตรท่ีมีผลตอพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต - พัฒนาการของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต - ความรวมมือของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต - แหลงอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต - แหลงมรดกโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต - อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่ีมีผลตอพัฒนาการของไทยในปจจุบัน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม หนังสือเรียนประวัติศาสตรพ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 สาํนักพิมพอักษรเจริญทัศน (อจท.) * หมายเหตุ ใชสมุดเลมเล็กสีขาวท่ีทางโรงเรียนจัดให เพ่ือจดบันทึกเนื้อหาในการเรียนรู

2. สอบปลายภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษา รหัส พ 21101 ครูผูสอน ม. วิรุณ ทองพิลา ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ.................................... คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความสําคัญของระบบประสาท ระบบตอมไรทอท่ีมีผลตอสุขภาพ และการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตอมไรทอ วิเคราะหการเจริญเติบโตของรางกาย ท่ีมีการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ พัฒนาการทางเพศ และทักษะการปฏิเสธเม่ือถูกลวงละเมิด หลักการเคลื่อนท่ีใชกลไก เลนกีฬาไทย สากล กิจกรรมนันทนาการ

ใหผูเรียนสังเกตภาพการปฏิบัติตนในรูแบบตาง ๆ ตามหัวเรื่องท่ีกําหนดให เพ่ือวิเคราะหผลดี ผลเสีย ท่ีเกิดข้ึนตอตนเองและผูอ่ืน การวิเคราะหสถานการณในรูแบบตาง ๆ หรือพิจารณาขาวเพ่ืออธิบายสาเหตุท่ีกอใหเกิดปญหา ผลท่ีเกิดข้ึน และแนวทางแกไขปญหาตามขาวหรือสถานการณ จากนั้นจึงเขียนสรุปความรูลงในแผนภาพรูปแบบตาง ๆ ผูเรียนสามารถเขียนอธิบายความรูไดจากประสบการณเดิม สามารถวิเคราะหผลดีผลเสียเกิดข้ึนจากปญหาตาง ๆ นําแนวทางแกไขปญหาไปใชหรือปฏิบัติในชีวิตประจําวันได ผูเรียนเกิดจิตสํานึกท่ีดีในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองดวยการออกกําลังกายเปนประจํารับประทานอาหารท่ีมีประโยชน และสามารถนําไปเผยแพรใหกับบุคคลในครอบครัวและในชุมชนของตนเองไดถูกตองเหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 6 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ชีวิตและครอบครัว มฐ. พ 1.1 เขาใจธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย ตัวช้ีวัด 1. อธิบายความสําคัญของระบบประสาท สมองและระบบตอมไรทอท่ีมีผลตอสุขภาพการเจริญเติบโต และ พัฒนาการของวัยรุน 2. อธิบายวิธีดูแลระบบประสาท สมองและระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติ 3. วิเคราะหภาวะการณเจริญเติบโตทางรางกายของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน 4. แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองใหเจริญเติบโตสมวัย สาระท่ี 2 ชีวิตและครอบครัว มฐ. พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัด 1. อธิบายวิธีการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกายจิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศอยางเหมาะสม สาระท่ี 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค มฐ. พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ ดํารงสุขภาพ การปองกันโรคและการสรางเสริมสมรรถภาพ ตัวช้ีวัด 1. เลือกกินอาหารไดเหมาะสมกับวัย 2. วิเคราะหปญหาท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการท่ีมีผลตอสุขภาพ 3. ควบคุมน้ําหนักไดตามเกณฑมาตรฐาน สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชีวิต มฐ. พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงเพ่ือสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด ตัวช้ีวัด 2. อธิบายลักษณะอาการของผูติดสารเสพติดและการปองกันการติดสารเสพติด 3. อธิบายความสัมพันธของการใชสารเสพติดและการเกิดอุบัติเหตุ

การวัดและประเมินผล ( สุขศึกษา ) คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน พ.1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4 พ.2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

พ.1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4 พ.2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

2. สภาพจริง 30 คะแนน 3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 4. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน รายละเอียดการวัดและประเมินผล อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนน 80 : 20 1. การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล ( 10 คะแนน ) เกณฑการใหคะแนน - เวลาเรียนครบ 2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( 30 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ของแตละหนวยเรียนรูครบ 2. ความถูกตองของคําตอบ 3. สอบปฎิบัติ (Performance Assessment) ( 30 คะแนน ) รายละเอียดการสอบ 1. รายงานหนาชั้นเรียน กลุมละ 1 เรื่อง 4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ( 10 คะแนน )

เกณฑการใหคะแนน 1. สงสมุดเรียน 2. ทํางานครบ 5. สอบปลายภาค ( 20 คะแนน ) รายละเอียดการสอบ 1. ระบบประสาท สมองและระบบตอมไรทอ 2. การเจริญเติบโต ตามเกณฑมาตรฐาน 3. วัยรุนกับพัฒนาการทางเพศ 4. วัยรุนกับโภชนาการเพ่ือการสรางเสริมสุขภาพ 5. สารเสพติด หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารเรียน 2. Internet website

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา เทเบิลเทนนิส รหัส พ 21101 ครูผูสอน ม. วิรุณ ทองพิลา ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเพ่ือใหมีความรู ความเขาใจและอธิบายความสําคัญของการออกกําลังกายและเลนกีฬาจนเปนวิถีชีวิตเพ่ือการมี สุขภาพดี มีสวนรวมในการปฏิบัติจริงในเรื่องกิจกรรมกายบริหาร การออกกําลังกายดวยกีฬาเทเบิลเทนนิสในเรื่องของการการเตรียมพรอม การเคลื่อนไหวรางกายในลักษณะตาง ๆ การจับไม การตีลูกหนามือ การตีลูกหลังมือ การตีดวยลูกตัด การเสิรฟลูก การรับลูกหนามือ การรับลูกหลังมือ การรับลูกตัด การรับลูกเสิรฟ การสงลูก การตีโตคูและการเลนเกมแขงขันประเภทเดี่ยวไดอยางปลอดภัยและสนุกสนาน การเรียนรูกฎ กติกาของกีฬาเทเบิลเทนนิส วางแผนกลวิธีการรุกและการเลนเกมรับ มีน้ําใจนักกีฬา มีความรับผิดชอบตามหนาท่ีและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย หลักความปลอดภัย การสรางเสริมความปลอดภัยในการเลน เห็นคุณคาและนําไปใชเสริมสรางสุขภาพในชีวิตประจําวัน สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มฐ. พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกมและกีฬา มฐ. พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกมและการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพ สิทธ ิกฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวช้ีวัด 1. เคลื่อนไหวรางกายขณะอยูกับท่ี เคลื่อนท่ีและใชอุปกรณประกอบ 2. เลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรมทางกายท่ีใชการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค) 1. การสื่อสาร 10 คะแนน

พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2 พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

2. สภาพจริง 30 คะแนน 3.ปฏิบัติ 30 คะแนน 4. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนน 80 : 20 1.การส่ือสารรายบุคคล (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน - เวลาเรียนครบ

2. สภาพจริง (30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน 1. ทดสอบการจับลูกกระดอนพ้ืน 1 ครั้ง จํานวน 5 ครั้ง (5 คะแนน) 2. ทดสอบการจับลูกลอยในอากาศ จํานวน 5 ครั้ง (5 คะแนน) 3. ทดสอบการเดาะลูกบอลหนามือ 30 ครั้ง (10 คะแนน) 4. ทดสอบการเดาะลูกหลังมือ 30 ครั้ง (10 คะแนน)

3. สอบปฎิบัติ (30 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ 1. นักเรียนทําอุปกรณการเลน 1 ชิ้นงาน (ท่ีก้ันลูก) 2. ทดสอบการตบลูกหนามือ-หลังมือ 4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน 1. สงสมุดเรียน 2. ทํางานครบ

5. สอบปลายภาค (20 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ 1. การตีโตบนโตะกับเพ่ือน 10 ครั้ง 2. การแขงขันประเภทเดี่ยวภายในโตะ (10 คะแนน) หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

3. เอกสารเรียน 4. Internet website

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา พลศึกษา (วายน้ํา) รหัส พ21101 ครูผูสอน มาสเตอรพิษณุ ชาติกุล ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 /2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาค จํานวน 1.0 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย การใชสถานบริการสุขภาพทางการแพทยและการสาธารณสุข โดยการฝกการเคลื่อนไหวและออกกําลังกายเปนสิ่งจําเปนและกอใหเกิดประโยชนตอรางกายอยางมาก การเคลื่อนไหวรางกายจําเปนตองมีการควบคุมตนเองท่ีดี เพ่ือประสิทธิภาพในการทํางาน และปองกันอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึน การเคลื่อนไหวรางกายในการเลนกีฬาซ่ึงมีการเคลื่อนไหวรางกายในหลากหลายรูปแบบกิจกรรมตางๆ การออกกําลังกายควรจะตองมีความเหมาะสมกับผูออกกําลังกาย เพ่ือเปนประโยชนตอการใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน …19…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา 1. นําผลการปฏิบัติตนเก่ียวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเลนกีฬาจากแหลงขอมูลท่ีหลากหลายมา สรุปเปนวิธีท่ีเหมาะสมในบริบทของตนเอง 2. เลนกีฬาไทยและกีฬาสากล ท้ังประเภทบุคคลและทีมไดอยางละ ๑ ชนิด 3. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวท่ีสงผลตอการเลนกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจําวัน 4. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย ๑ กิจกรรม และนําความรูและหลักการท่ีไดไปปรับใชในชีวิตประจําวันอยาง เปนระบบ มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกกําลังกาย และเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพ ของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม 2. อธิบายและปฎิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎกติกา กลวิธีตางๆในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุป เปนแนวปฎิบัติ และใชในชีวิตอยางตอเนื่อง

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

2.สภาพจริง 25+5 คะแนน 3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน รวมคะแนนท้ังหมด …100... คะแนน

การทดสอบ 1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (...10... คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน เรื่อง/ชิ้นงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจเรียน, การเขารวมทํากิจกรรม

5 1.ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมสมํ่าเสมอ = 5 คะแนน 2.ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมบางครั้ง = 4 คะแนน 3.ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมนอย = 3 คะแนน

2. การตอบคําถาม 5 1.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสรางสรรคสมํ่าเสมอ = 5 คะแนน 2.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสรางสรรคบางครั้ง = 4 คะแนน 3.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสรางสรรคนอย = 3 คะแนน

คะแนนรวม 10 2.การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( …25… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน เรื่อง/ชิ้นงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. เวลาเรียน 5 1.มาเรียนทุกครั้ง = 5 คะแนน 2.ขาดเรียน 1 ครั้ง = 4 คะแนน 3.ขาดเรียน 2 ครั้ง = 3 คะแนนm 4.ขาดเรียนเกิน2ครั้ง = 2 คะแนน

2. เครื่องแตงกาย 5 1.แตงกายถูกระเบียบทุกครั้ง = 5 คะแนน 2.แตงกายไมถูกระเบียบ 1 ครั้ง = 4 คะแนน 3.แตงกายไมถูกระเบียบ 2 ครั้ง = 3 คะแนน 4.แตงกายไมถูกระเบียบเกิน 2 ครั้ง = 2 คะแนน

3. ระเบียบวินัย 10 1.มีระเบียบวินัยดีมากในการเรียนและ การเขาแถว,เดินแถว = 10 คะแนน 2.มีระเบียบวินัยดีในการเรียนและ การเขาแถว,เดินแถว = 9 คะแนน 3.มีระเบียบวินัยพอใชในการเรียนและ การเขาแถว,เดินแถว = 8 คะแนน 4.ระเบียบวินัยตองปรับปรุงในการเรียนและ การเขาแถว,เดินแถว = 7 คะแนน

4. เจตนคติ และ การพัฒนาตนเอง

5 1.สนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬาดีมาก = 5 คะแนน 2.สนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬาดี = 4 คะแนน 3.ไมคอยสนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬานอย = 3 คะแนน

คะแนนรวม 25 3. สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( 30 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การกระโดดออกตัวในการแขงขันวายน้ํา 10 คะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน กระโดดไดถูกตอง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6,

หัวขอเรื่อง ทักษะการวายน้ําทาฟรีสไตล 10 คะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน วายน้ําทาฟรีสไตลไดถูกตอง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6,

หัวขอเรื่อง ทักษะการวายน้ําทากรรเชียง 10 คะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด วายน้ําทากรรเชียงไดถูกตอง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6,

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน)

หัวขอเรื่อง การแขงขันวายน้ําประเภททีมผลัดฟรีสไตส 10 คะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน ทีมชนะเลิศการแขงขันลําดับท่ี 1 – 2 – 3 10, 9, 8, ลําดับท่ี 4 - สุดทาย 7

5. สอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

หัวขอเรื่อง การวายฟรีสไตล 25 เมตร 20 คะแนน พฤติกรรมท่ีตองการวัด คะแนน ทาทางในการวายถูกตอง 10 มีความเร็วในการวายตอเนื่อง 10

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม ดร.นพ. บุญสม มารติน , สุขศึกษา , อักษรเจริญทัศท , ๒๕๓๓......................................................................................

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ รหัส ศ 21101 / ศ 21102 ครูผูสอน มาสเตอรคงศักดิ์ คุมอ่ิม ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรยีนท่ี 1 - 2/2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ ความแตกตางและความคลายคลึงกันของงานทัศนศิลป และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล การวาดภาพทัศนียภาพเปน 3 มิติ งานปนหรืองานสื่อผสม การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ หรือกราฟกอ่ืน ๆ วิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผูอ่ืนโดยใชเกณฑท่ีกําหนดให การศึกษาเก่ียวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลปของชาติและทองถ่ินตนเอง งานทัศนศิลปของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย ความแตกตางในการสรางสรรคงานทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทยและสากล การอาน เขียน รอง โนตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมตางๆ การขับรองและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบํารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ การวิเคราะหวิจารณอารมณเพลงท่ีแตกตางกัน การละครในรูปแบบตางๆ วิธีการวิเคราะห วิจารณผลงาน การประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สรางความคิดวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และมีจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 มฐ. ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 รวม 9 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. บรรยายความแตกตางและความคลายคลึงกันของงานทัศนศิลป และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ 2. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล 3. วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเห็นระยะใกล ไกล เปน 3 มิติ 4. รวบรวมงานปนหรือสื่อผสมมาสรางเปนเรื่องราว 3 มิติ โดยเนนความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล

และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน 5. ออกแบบรูปภาพสัญลักษณ หรือกราฟกอ่ืน ๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล 6. ประเมินงานทัศนศิลปและบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผูอ่ืน โดยใชเกณฑท่ีกําหนดให

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. ระบุและบรรยายเก่ียวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลปของชาติและของทองถ่ินตนเองจากอดีตจนถึงปจจุบัน 2. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลปของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย 3. เปรียบเทียบความแตกตางของจุดประสงคในการสรางสรรคงานทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทยและสากล

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม 20

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4

2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2 , 3 3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3 , 4 , 5

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2 , 3 4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 6 รวมคะแนนท้ังหมด …100.. คะแนน

1. การประเมินดวยการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.การวาดภาพลายเสนอิสระ 10 1.การใชเสนและรูปทรงตาง ๆ มาประกอบกัน

2.การจัดองคประกอบศิลปะ

3.ความม่ันใจในการรางภาพ

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง (……30…… คะแนน)

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

1.การเขียนภาพประกอบตามเหตุการณสําคัญตางๆ 1.ภาพประกอบตามเหตุการณสําคัญตางๆ 10

2.การเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและก่ึงนามธรรม

2.การเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและก่ึงนามธรรม

10

3. อานคิดวิเคราะห และ จริยะ 3.ขอสอบอานคิดวิเคราะห และ จริยะทางศิลปะ

5

4.ทฤษฎีทัศนศิลป 4.แบบฝกหัดภาคทฤษฎี 5

รวม 30

3. การประเมินปฏิบัติ (………30……… คะแนน)

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.การวาดภาพแสงเงาและภาพหุนนิ่ง 10 1.หลักการจัดองคประกอบ

2.หลักการเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและก่ึงนามธรรม

10 2.ความสมบูรณแบบของความคิดรวบยอด , เนื้อหา ,

3.การใชสีในการเพ่ิมคุณคาของผลงานการตูนลอ 10 3.ความสะอาดเรียบรอยของผลงาน

คะแนนรวม 30

4. การประเมินแฟมสะสมงาน (10 คะแนน)

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.ประวัติศิลปนท้ังไทยและตางประเทศ 5 1.ความสมบูรณของเนื้อหา

2.นําเสนอผลงานท่ีตนเองประทับใจ 5 2.หลักและคุณสมบัติของการนําเสนอและการวิจารณผลงานศิลปะ

คะแนนรวม 10

5. การสอบปลายภาค (...........20............คะแนน)

เรื่อง / บทท่ี รายละเอียด คะแนน

1. .การจดันทิรรศการผลงานของนักเรียน 1.หลักการจัดนิทรรศการ 10

2.หลักการและคุณสมบัติของผูวิจารณและการนําเสนอผลงาน

2.ศิลปะวิจารณ 7

3.ประวัติศิลปนท้ังไทยและตางประเทศ 3.ประวัติศิลปนท้ังไทยและตางประเทศ 3

รวม 10

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม - ทัศนศิลป ม.1 อ.วิทูรย โสแกว สํานักวัฒนาพานิช - ทัศนศิลปแนวใหม ม.1 รศ.ผดุง ศิริรัตน รศ.เลิศ อานันทนะ องคการคาคุรุสภา - เรื่องนารูสูการใชหลักสูตรแกนกลาง อ.เอกรินทรสี่มหาศาล และคณะ บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ วิชา (ดนตรีไทย) รหัส ศ 21101-21102 ครูผูสอน มาสเตอรสิปปวิชญ วงคสกุลศิลป ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2559 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ........................... คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห อภิปรายเพลงโดยอาศัยองคประกอบดนตรี ศัพทสังคีตประเภทและบทบาทหนาท่ีเครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตางๆ ดนตรีในประวัติศาสตร อานเขียนโนตไทยและโนตสากล บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบ รองเพลง ดนสด บรรยายความรูสึก แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทํานองจังหวะการประสานเสียงและคุณภาพของเสียงเพลง

ศึกษา วิเคราะห รูปแบบการแสดง การละคร ประเภทของการแสดง ลักษณะของภาษาทา นาฏยศัพทเทคนิคการเคลื่อนไหว แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานแสดงของตนเองและผูอ่ืน บทบาทการแสดงท่ีมีผลตอชีวิตประจําวัน เชื่อมโยงทักษะกับกลุมสาระอ่ืน ๆ

โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห สื่อความ สรางสรรค จําแนกเครื่องดนตรี การขับรอง การเลนเครื่องดนตรีประกอบเพลง และการอาน-เขียนโนต สื่ออารมณของบทเพลงอยางอิสระ แสดงออกตามจินตนาการ อธิบายความหมายของเนื้อหาในบทเพลง ชื่นชม รักในความเปนไทย มีวินัยและใฝเรียนรู เล็งเห็นคุณคา บูรณาการสภาพปญหา ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1, 2, 3

ตัวช้ีวัด (ใหเขียนรายละเอียดเปนขอๆ) มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท 2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน 4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ 5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสม

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ี เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

1. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ 2. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4 คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 /

2.2.3 ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการวัดและประเมินผล

• ระหวางเรียน 80 คะแนน 1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน มีอุปกรณและเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน • มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน 2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง 1 บทเพลง นักเรียนบรรเลง(เดี่ยว)บทเพลงตามท่ีกําหนดให เกณฑการใหคะแนน

บทเพลงตรงตามทํานอง ถูกตองแมนยํา.......................................... 10 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามจังหวะของทํานองเพลง................................. 10 คะแนน บรรเลงบทเพลงไดไพเราะนาฟงตามอารมณเพลง......................... 10 คะแนน 3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน) • การสอบรองเพลง (20 คะแนน)

นักเรียนรองเพลง(เดี่ยว)ท่ีครูกําหนดบทเพลง โดยรอง 1 บทเพลง

เกณฑการใหคะแนน ความถูกตองของเนื้อรองในบทเพลง .................................................. 10 คะแนน ความไพเราะของบทเพลงและถวงทํานองท่ีรอง.................................. 5 คะแนน ความตอเนื่องและจังหวะของบทเพลง................................................. 5 คะแนน • การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ จากบทความท่ีครูกําหนด พรอมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เกณฑการใหคะแนน

การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี)................................................ 2 คะแนน • การสอบทฤษฎ ี(5 คะแนน)

1) ประเภทของเครื่องดนตรีสากล 2) ประเภทของวงดนตรีสากล 3) ประเภทของเครื่องดนตรีไทย 4) ประเภทของวงดนตรีไทย 5) รําวงมาตรฐาน 6) ศัพทสังคีต

เกณฑการใหคะแนน การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน) นักเรียนนําเสนอรูปแบบของการวาดภาพเหมือนเครื่องดนตรีท่ีเลือกพรอมท้ังบอกชื่อของสวนประกอบเครื่องดนตรี

ตามหัวขอท่ีครูกําหนดให เกณฑการใหคะแนน

ความถูกตองของชิ้นงานท่ีครูกําหนด............................................. 5 คะแนน ความสวยงามความคิดสรางสรรค.................................................. 3 คะแนน ความสะอาด ................................................................................. 2 คะแนน

5. สอบปลายภาค 20 คะแนน แสดงดนตรี โดยบรรเลงบทเพลงตามท่ีครูกําหนดลักษณะรวมวง (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน - บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโนต ถูกตองและแมนยํา........................ 10 คะแนน - บุคลิกภาพของผูสอบ.............................................................. 5 คะแนน - มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา 1. ทฤษฏีดนตรีไทย 2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 3. นาฏกรรมสยาม

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคศาสตรไทย (กรมศิลปากร) 2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล) 3. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต) 4. การละเลนของไทย (มนตรี ตราโมท) 5. เว็บไซดตางๆ เชน www.dontrithai.com

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ วิชา (ดนตรีสากล – กีตาร1) รหัส ศ 21101 / ศ 21102 ครูผูสอน มาสเตอรปฐมวสั ธรรมชาติ ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2559 จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ........................... คําอธิบายรายวิชา

การอาน เขียน รอง โนตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมตางๆ การขับรองและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบํารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ การวิเคราะหวิจารณอารมณเพลงท่ีแตกตางกัน การละครในรูปแบบตางๆ วิธีการวิเคราะห วิจารณผลงาน การประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สรางความคิดวิจารณญาณ

เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรีถายทอด ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. อาน เขียน รอง โนตไทย และโนตสากล 2. เปรียบเทียบเสียงรองและเสียงของเครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมท่ีตางกัน 3. รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ การรองเพลงดวยบทเพลงท่ีหลาก หลายรูปแบบ 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ 5. แสดงความคิดเห็นท่ีมีตออารมณของบทเพลงท่ีมีความเร็วของจังหวะ และความดัง-เบา แตกตางกัน 6. เปรียบเทียบอารมณ ความรูสึก ในการฟงดนตรีแตละประเภท 7. นําเสนอตวัอยางเพลงท่ีตนเองชืน่ชอบ และอภิปรายลักษณะเดนท่ีทําใหงานนั้นนาชืน่ชม 8. ใชเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพงานดนตรหีรือเพลงท่ีฟง 9. ใชและบํารุงรักษาเครื่องดนตรีอยางระมัดระวังและรบัผิดชอบ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

1. อธิบายบทบาทความสัมพันธและอิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอสังคมไทย 2. ระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรีในวัฒนธรรมตางกัน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค) การส่ือสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 / 2.1.7

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.1 / 2.1.3 / 2.1.3 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.4 / 2.1.5 / 2.1.9 แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / 2.1.7 / 2.2.1 / 2.2.2

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการวัดและประเมินผล

• ระหวางเรียน 80 คะแนน 1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน เกณฑการใหคะแนน

มีอุปกรณและเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน • มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) บรรเลงบทเพลง 3 บทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามที่กําหนดให

เกณฑการใหคะแนน บทเพลงตรงตามจังหวะ-ทํานอง ถูกตองแมนยํา............................. 20 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณเพลง......................... 10 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน) • การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน)

นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูกําหนดบทเพลง โดยบรรเลง 1 บทเพลง เกณฑการใหคะแนน

ความถูกตองในโนตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงท่ีบรรเลง......................... 5 คะแนน ความตอเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอานโนต.. ......................... 5 คะแนน • การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนสื่อความ จากบทความท่ีครูกําหนด พรอมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เกณฑการใหคะแนน

การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี)................................................ 2 คะแนน • การสอบทฤษฎ ี(5 คะแนน)

7) ประเภทของเครื่องดนตรีสากล 8) ประเภทของวงดนตรีสากล 9) ประเภทของเครื่องดนตรีไทย 10) ประเภทของวงดนตรีไทย 11) รําวงมาตรฐาน 12) ศัพทสังคีต

เกณฑการใหคะแนน การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน) นักเรียนนําเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร ตามหัวขอท่ีครูกําหนดให

เกณฑการใหคะแนน เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน

5. สอบปลายภาค 20 คะแนน

แสดงดนตรี โดยบรรเลงบทเพลงตามท่ีครูกําหนด (20 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโนต ถูกตองและแมนยํา........................ 10 คะแนน บุคลิกภาพของผูสอบ.............................................................. 5 คะแนน มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรีสากล(กีตาร)ชั้น ม.1 2. หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม เชน นิตยสาร Guitar Magazine, Music time, Overdrive, Note and

chord หรือหนังสือดนตรีอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม 3. Web site ตางๆ

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู ศิลปะ วิชา ดนตรีสากล (เปยโน 3) รหัส ศ 21101 - 21102 ครูผูสอน มาสเตอรเลิศศักดิ์ รักสุจริต ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1-2 / 2559 จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................... คําอธิบายรายวิชา

การอาน เขียน รอง โนตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมตางๆ การขับรองและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบํารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ การวิเคราะหวิจารณอารมณเพลงท่ีแตกตางกัน การละครในรูปแบบตางๆ วิธีการวิเคราะห วิจารณผลงาน การประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สรางความคิดวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด สาระดนตรี มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรีถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัวช้ีวัดท่ี

1. อาน เขียน รองโนตไทยและสากล 2. เปรียบเทียบเสียงรองและเสียงของเครื่องดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมท่ีตางกัน 3. รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลงท่ีหลากหลายรูปแบบ 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตาง ๆ 5. แสดงความคิดเห็นท่ีมีตออารมณของบทเพลงท่ีมีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบา แตกตางกัน 6. เปรียบเทียบอารมณ ความรูสึกในการฟงดนตรีแตละประเภท 7. นําเสนอตัวอยางเพลงท่ีตนแงชื่นชอบและอภิปรายลักษณะเดนท่ีทําใหงานนั้นนาชื่นชม 8. ใชเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงท่ีฟง 9. ใชและบํารุงรักษาเครื่องดนตรีอยางระมัดระวังและรับผิดชอบ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล ตัวช้ีวัดท่ี

1. อธิบายบทบาทความสัมพันธและอิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอสังคมไทย 2. ระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรีในวัฒนธรรมตางกัน

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 ศ 2.1.2 ศ 2.1.4 คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.8

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.2 ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.7

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.1 ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.8 ศ 2.1.9

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.2.1 ศ 2.2.2 รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

หัวขอเนื้อหาวิชา - F Major Scale / Chromatic Scale - Chord Progression / Five Finger Exercises - Sight reading - บทเพลงเลือกบรรเลง และบทเพลงในยุคบาโรค (Minuet in G) - ทฤษฎีดนตรี รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน) ระหวางเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการส่ือสารสวนบุคคล (10 คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน o การสอบปากเปลา (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหวางเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติท่ีดีตอวิชาดนตรี 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเด่ียว ตามบทเพลงที่กําหนดให )โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน( เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน) 3.1 ความสําเร็จจากการปฎิบัติ (20 คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 2 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน 3.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิธรรม

เกณฑการใหคะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย

4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ เกณฑการใหคะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟมสะสมงาน (10 คะแนน) งานเขียนบทความ เรื่อง “ดนตรีกับขาพเจา” เกณฑการใหคะแนน o เนื้อหาขอมูล / องคประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o ตรงเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค (20 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยวเปยโน ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรีสากล (เปยโน 3) 2. หนังสือแกนทฤษฎีดนตรีสากล )ศ.ดร.ณัชชา พันธุเจริญ( 3. ดนตรีดีๆไมมีกระได )บัณฑิต อ้ึงรังษี( 4. เว็บไซดเก่ียวกับเปยโน เชน www.pianothailand.com, www.sompongwongdee.com,

www.notepiano.net

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Computer Code ง21101 Instructors: Miss Siriporn Wongwong-aree Class Level: Secondary 1 Semester 1 Academic year 2016 2 periods /week 40 periods/semester 1.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description:

This course introduces students to learn the world of computers and its usage. They will develop a good knowledge base of computer history, vocabulary, computer basic and IT that make up being computer literate. They will also be given time to work on the computer thus getting practical hands with Word Processor to design projects and spreadsheets with Excel used for storing data and calculations. They can use Internet Technology comfortably and gain knowledge on computer ethics and can understand the working methods to help themselves. They are taught skills in characteristics and habit of work that show enthusiasm, punctuality, economy, care for safety, cleanliness and carefulness. Studying and using the information technology process in searching the data of interest and sources of data around them. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations. Students can work on individual projects plus assignments. Much emphasis will also be laid on team work and group interaction. A lot of emphasis will be given to application of the lesson learnt, student innovativeness and creativity. The lessons will be taught to help students develop new and unique ways of presenting their ideas, skills and creativity. A positive student attitude towards learning and interaction with peers will be inculcated so as to make the learners be better citizens of the school and the nation. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1: Living and Family Understanding of concept of work; endowment with

creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Indicators: (Write the details in items)

O1.1.1 Analyse stages of work as required by the work process. O1.1.2 Apply group processes in working with sacrifice.

O1.1.3 Make decisions with proper reasons in solving work problems. O3.1.1 Explain principles of function, roles and benefits of a computer.

O3.1.2 Discuss main characteristics and effects of information technologies. O3.1.3 Process data so as to serve as information.

Evaluation and Assessment During the course Indicators Final examination Indicators

Communication...10....marks O.1.1 (2,3) O.3.1 (1,2) 20 Marks

O.3.1 (1,2,3) Authentic....30.......marks O.1.1 (1,2,3) O.3.1 (1,2,3)

Performance test.......30....marks O.1.1 (1,2,3) O.3.1 (1,2,3) Portfolio ...10.........marks O.1.1 (3) O.3.1 (1,2,3)

Total 100 marks Assessment 1. Performance Test (30 Marks)

Topic / subject matter: Word Processing - Get start with Word Processing

- Document Formatting - Microsoft Word Tables - Equations

- Word Options Spreadsheets with Excel

- Worksheets Management 2. Final Examination (…20... marks)

Topic / subject matter: 1. Computing Basics - Computer Components - Basic Computer Principles -Computers in the future 2. Information Technology - History of IT - Effect and Ethical of IT 3. Basic Data Processing - Definitions of Data and Information - Data Processing - Information Management - Information Technology Management 4. Word Processing - Get start with Word Processing

- Document Formatting - Microsoft Word Tables

- Equations - Word Options

5. Spreadsheets with Excel - Formulas References: Topic / subject matter:

- My world of Computers Secondary1; Orient BlackSwan -www.homeandlearn.co.uk -www.comptechdoc.org

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Technology Code ง21101 Instructor : Master Chansinp Ninsai Class Level Secondary 1 Semester 1 Academic year : 2016 2 periods/week 40 periods/semester 1.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others.................................... Course Description:

Students will study about the introduction to technology such as: The mechanisms and fundamentals of electricity. They will be required to produce energy safe and environment friendly projects that would be suitable for our comfortable living nowadays. They will develop several models to demonstrate their understanding of the principles of electrical and mechanical system by using a simple model combining electrical circuits and a mechanical system. They will find causes for problems, analyze, plan, and find solution to problems and improve the procedure of occupation, positive attitude and important of occupation nowadays and understand methods to help themselves. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations. The students are taught about having skills in characteristics and habits of work that show, enthusiasm, punctuality, care for safety and carefulness.

Moreover, they will work and solve the problems both individually and in groups. They will learn to share and perform one’s duty successfully. They will be taught to be responsible regarding classroom rules all the time. The Learning Standard: 1.1, 1.4

Strand Standard Strand1: Living and Family Life

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand4: Occupation Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper perception of future career; technological application for occupational development; endowment with morality and favourable attitude towards occupations

Indicator

O1.1.1 Analyse stages of work as required by the work process. O1.1.2 Apply group processes in working with sacrifice. O1.1.3 Make decisions with proper reasons in solving work problems. O4.1.1 Explain the guidelines for choosing occupations. O4.1.2 Have favourable attitude towards livelihood. O4.1.3 Recognise the importance of generating occupations.

Evaluation and Assessment

Assessment 1. Performance Assessment (30 marks) Topic / subject matter:

Function of mechanism, ratio of gear, speed and torque, electric circuit, applied circuit, and projects. 2. Final Examination (20 marks) Topic / subject matter:

Function of mechanism, ratio of gear, speed and torque, fundamental of electricity, electric circuits, electrical appliances and energy, circuit symbols and applied circuits, general knowledge. References: Chapman,Stephen J., Electric Machinery Fundamentals , Mc Graw-Hill,Inc.,1985. Ned Mohan,Tore M. Undel And William P. Robbins, Power Electronics, EIectrical Engineering. John Wiley & Sons,Inc.,2003. http://www.eia.doe.gov/kids/index.cfm http://www.sciencemadesimple.com/static.html

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks

O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3 O4.1.1, O4.1.2, O4.1.3

20 marks

O1.1.3 Authentic 30 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3

Performance test 30 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3

Portfolio 10 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3 O4.1.1, O4.1.2, O4.1.3

Total : 100 marks

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : English.IE.1(Grammar) Code. อ21101 Instructors : Ms Tipawan Dumruk Class Level : Secondary 1 Semester 1 Academic year 2016 4 periods /week 80 periods/semester 2.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Course Description : Understand the eight major parts of speech in English grammar: noun, pronoun, verb, adverb, adjective, conjunction, preposition, and interjection. Identify sentence types such as; Declarative Sentences, Imperative Sentences, Interrogative Sentences and Exclamatory Sentences, and use various media for communication. Know and correct subject verb agreement problems and develop their abilities in using Basic English grammar. Also, they can interpret the foreign language into the simple language in order to communicate in various situations and use the basic sentences to give the information in their daily lives. Know how to appropriately use the articles “a” and “an” in their writing. Also, if given a sentence they can select the appropriate article to be included. By using the language process to seek and gather learning cultures and language of native speakers and applying student-centered learning, such as self-study, pair-work, group discussion, brainstorming, and questioning techniques in teaching and learning activities by focusing on communicative writing, critical thinking and problem solution, appropriately to persons’ interest, traditions, beliefs and situations. Motivate the students’ honesty, responsibility, discipline and attempt in learning. Have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude learning English. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Language for communication F1.3: Ability to present data, information, concepts and

views about various matters through speaking and writing.

Strand 2 : Language and Culture F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Strand 3 : Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one's world view.

Strand 4 : Language and Relationship with Community and the World

F4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, classroom, community and society.

Indicators : Standard 1.3 Indicator 1 Speak and write to describe themselves, their daily routines, experiences

and the environment around them. Standard 2.2 Indicator 1 Tell differences and similarities between pronunciation of various kinds of

sentences, use of punctuation marks and word order in accordance with the structures of sentences in foreign language and Thai language.

Standard 2.2 Indicator 2 Compare similarities and differences between the festivals, celebrations, important days and lifestyles of native speakers and those of Thais.

Standard 3.1 Indicator 1 Search for, collect and summarise the data/ facts related to other learning areas from learning sources,and present them through writing.

Standard 4.1 Indicator 1 Use language for communication in real situations/ simulated situations in the classroom and in school.

Evaluation and Assessment During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks Standard 1.3 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Final test 30 marks

Standard 1.3 Indicator 1 Standard 2.2 Indicator 2 Standard 3.1 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Authentic 20 marks Standard 1.3 Indicator 1 Standard 2.2 Indicator 2 Standard 3.1 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Performance test 30 marks Standard 2.2 Indicator 1 Standard 2.2 Indicator 2 Standard 4.1 Indicator 1

Portfolio 10 marks Standard 3.1 Indicator 1

Total 100 marks

Record of Measurement and Assessment of Academic Performance 1. Performance Assessment

Topic / subject matter: Part of Speech, Subject and Predicate No. Behaviour to be measured 1 The eight parts of speech (noun, pronoun, adjective, adverb, verb, preposition, conjunction,

interjection) 2. Final Examination Topic / subject matter: Sentences, Subject-Verb Agreement No. Behaviour to be measured 1 Sentences ( Types of Sentences, Subject and Predicate ) 2 Subject-Verb Agreement (Singular/ Plural Subject with verb, Subject-verb with and, or, either…or,

neither…nor, not only…but also, as well as)

References : High School English Grammar &Composition The Good Grammar Book Intermediate English Grammar Understand and Using English Grammar Fundamentals of English Grammar English Grammar in Use How English Works The Teacher’s Grammar of English World Book Day

The Only Grammar Book You’ll Ever Need External Reading Grammar Workbook Oxford Practice Grammar Grammar Traps Internet resources Magazines/ Newspaper/ Audio-visual/ Visual aids

Remarks : The course outline of English writing is based on that of the Grammar course

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Mathematics IE. Code ค21201 Instructors: 1 Ms. Wipa Pinnarat 2. Mr.Pisit Krittayanawat Class Level Secondary 1 Semester 1 Academic year 2016 2 periods/week 40 periods/semester 2.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others.................................... Course Description:

The students will study the properties of integers. The teachers will give them the definitions of absolute value and opposite numbers. They will also learn and practice how to calculate the operations of integers (addition, subtraction, multiplication and division)

The students are able to define about Exponents, where in they will identify and understand the power of integers and exponential form. The students will able to express the exponential form in using laws of exponents. Students will also define very large numbers or very small numbers in our daily lives by using the scientific notation or the standard form of a number. Students will also define the words ratio and percentage. The concepts they learned from ratio and percentages will be applied into word problems related in our daily lives. The goals for the students are to be able to apply Roman numerals in mathematics, learn a brief history of Roman numerals, and teach students how to count and write the number in Roman numerals. The lesson lists all the different steps that are supposed to be in a lesson plan. The student will understanding of how number systems are based on different bases.

Contents: 1. Integers 2. Exponents 3. Ratio Proportion and Percentages 4. Roman Numerals 5. Base Numbers

The Learning Standard: Strand Standard

Strand 1: Integers

Sub-Strand : 1. Types of Integers 2. Absolute Value of Integers 3. The Opposite Number 4. Addition, Subtraction, Multiplication and Division of Integers 5. Ordering of operations on Integers 6. Applications of Integers

Standard M1.1: Understanding of diverse methods of presenting numbers and their application in real life

Standard M1.2: Understanding of results of operations of numbers, relationship of operations, and application of operations for problem-solving

Standard M1.3: Use of estimation in calculation and problem-solving

Standard M1.4: Understanding of numerical system and application of numerical properties

Strand 1 : Exponents

Sub-Strand : 1. Powers of Integers 2. Powers of Fractional Numbers 3. Laws of Exponents 4. Scientific Notation

Standard M1.1: Understanding of diverse methods of presenting numbers and their application in real life

Standard M1.2: Understanding of results of operations of numbers, relationship of operations, and application of operations for problem-solving

Standard M1.3: Use of estimation in calculation and problem-solving

Standard M1.4: Understanding of numerical system and application of numerical properties

Strand 1: Ratio Proportion and Percentages

Sub-Strand : 1. Ratio (Increase and Decrease in Ratio) 2. Proportions 3. Percentages 4. Problems Solving on Percentages

Standard M1.1: Understanding of diverse methods of presenting numbers and their application in real life

Standard M1.2: Understanding of results of operations of numbers, relationship of operations, and application of operations for problem-solving

Standard M1.3: Use of estimation in calculation and problem-solving

Standard M1.4: Understanding of numerical system and application of numerical properties

Strand 1: Roman Numerals

Sub-Strand : 1. Write Roman numerals as normal

numbers 2. Write normal numbers as Roman

numerals 3. Addition and subtraction problems that

use Roman numerals

Standard M1.1: Understanding of diverse methods of presenting numbers and their application in real life

Standard M1.2: Understanding of results of operations of numbers, relationship of operations, and application of operations for problem-solving

Standard M1.3: Use of estimation in calculation and problem-solving

Standard M1.4: Understanding of numerical system and application of numerical properties

Strand 1: Base Numbers Standard M1.1: Understanding of diverse

Sub-Strand :

1. Understand various number system and how they are used

2. Familiar with common bases that are used by decimal, binary, octa and hex numbers systems

3. Number systems 4. Basic mathematical computation

methods of presenting numbers and their application in real life

Standard M1.2: Understanding of results of operations of numbers, relationship of operations, and application of operations for problem-solving

Standard M1.3: Use of estimation in calculation and problem-solving

Standard M1.4: Understanding of numerical system and application of numerical properties

Indicators: (Write the details in items) 1. Understand the concept of Integers. Recognize positive integers, negative integers natural numbers and whole numbers 2. The Number Line. Decreasing order and Increasing order 3. Absolute Values of Integers and Opposite Numbers. 4. Rules for Operating on Integers with Commutative law of addition and multiplication, Associative Law of addition and multiplication and Distributive law of multiplication over addition and subtraction. 5. Order of Operations. Follow correct order of operation for simplifying arithmetic operation involving brackets, exponents, multiplication, division, addition and subtraction 6. Identify the Exponential Form. 7. Identify the base and the power in an exponential from. 8. Write the given numbers as the exponential form (

ma , if a is a rational number and m is whole number or positive integers) 9. Simplify mathematical problems in exponential form. 10. Identify perfect squares and perfect cubes. 11. Apply the laws of exponents in simplifying mathematical problems in exponential form. 12. Write scientific notation into standard form. 13. Define the words ratio, proportion and percentages. 14. Increase/decrease a number in a certain ratio. 15. Solve the missing term in a proportion. 16. Solve direct and indirect proportions. 17. Solve direct and indirect proportions. 18. Change percentages to fractions or decimals and vice versa. 19. Express one quantity as a percentage of another. 20. Solve word problems involving ratio, proportion and percentages. 21. Percentage in everyday life. Use the numbers felling of percentage to describe the answer and the reasons 22. Express one quantity as a percentage of another. 23. Use knowledge and processing skills of mathematics to sole the word problems. 24. Intellectually Challenging .Students are able solve problem by using various methods.

25. Define Roman Numerals 26. Identify the 7 letters of the alphabet used in writing Roman Numerals 27. Identify the value of each letter used in writing Roman Numerals 28. Recognize and apply the different rules used in reading and writing the given numbers into Roman Numerals. 29. Rewrite Roman Numerals into decimal notation. 30. Identify place value used Binary system and the differences base number systems. 31. Convert the differences base number system to Base 10.

Evaluation and Assessment During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks 1-31 Contents : 1. Integers 2. Exponents 3. Ratio Proportion and Percentages 4. Roman Numerals 5. Base Numbers

30 Marks

Indicators 1- 31 Authentic 20 marks (quiz, assignment and dictation)

1-31

Midterm examination 30 marks {paper-test(multiple-choice writing), listening test]

1-12

Portfolio 10 marks (notebook, exercise practicing)

1-31

Total 100 marks Assessment 1. Midterm Examination

Topic / subject matter: - Integers (Indicators 1- 5) - Exponents (Indicators 6- 12)

2. Final Examination

Topic / subject matter: - Integers (Indicates 1- 5) - Exponents (Indicates 6- 12) - Ratio Proportion and Percentages (Indicates 13- 24) - Roman Numerals (Indicates 25- 29) - Base Numbers (Indicates 30- 31) References:

Topic / subject matter: My Word of Math Secondary 1 Bhardwai, Y.P. “A Glossary of Mathematical Terms” Goyal Brother Prakashan. Yee, L.P. (2006). “New Syllabus”. Shinlee publishers pte ltd. http://www.sharpe-math.co.uk/index.php?=main=page&code=quadratics&op=2

http://ellerbruch.nmu.edu/classes/cs255w03/cs255students/teabbott/p13/unitofstudy.html Remarks: This course outline may be changed in any suitable case.

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Science IE. Code: ว21201 Instructors : 1. Ms. Sutraros Loythavorn Class Level Secondary 1 Semester 1 Academic year 2016 2 periods /week 40 periods/semester 2.0 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others............................................... Course Description : Understanding about characteristic and nature of science, introducing science, what is science, where do scientists work, finding out things in science, planning scientific investigation? Identify effects of heat energy: expansion and contraction, application, involving expansion and contraction, measuring temperature-thermometers, transmission of heat energy: the movement of heat, conduction, convection, radiation, more application of heat transfer. Classification of matter: what is matter? physical properties of matter, materials, properties and uses of materials, elements and compounds: elements- the building blocks of matter, classifying the elements, compounds, mixtures: mixtures, separation of mixtures, solutions and suspensions: classifying mixtures, acids and alkalis. Organize in the class by using base on science processes and inquiry method. So that to the students have got knowledge, understanding, communicate and apply for suitable their daily lives and scientific mind. Contents:

1. Science and Technology 2. Heat Energy 3. Transfer of Heat Energy 4. Classification of Matter 5. Elements and Compounds 6. Mixtures 5. Solutions and Suspensions 7. Acids and Alkalis

Basic Standard of Learning: Strand Standard

Strand 8: Nature of Science and Technology Sub-Strand:

1. Science and Technology

Standard Sc. 8.1: Application of scientific process and scientific mind in investigation for seeking knowledge and problem-solving; knowing that most natural phenomena assume definite patterns that are explainable and verifiable within limitations of data and instruments available during particular periods of time; and understanding that science, technology, society and the environment are interrelated.

Strand 5: Energy Sub-Strand: 5. Energy

2. Heat Energy 3. Transfer of Heat Energy

Standard Sc. 5.1: Understanding of relationship between energy and life; energy transformation; interrelationship between substances and energy; effects of energy utilization on life and the environment; investigative process for seeking knowledge; and communication of acquired knowledge that could be applied for useful purposes.

Strand 3: Substances and Properties of Substances Sub-Strand: 3. Substances and Properties of Substances

4. Classification of Matter 5. Elements and Compounds 6. Mixtures 7. Solutions and Suspensions 8. Acids and Alkalis

Standard Sc. 3.1: Understanding of properties of substances; relationship between properties of substances and structures and binding forces between particles; investigative process for seeking knowledge and scientific mind, and communicating acquired knowledge for useful purposes. Standard Sc. 3.2: Understanding of principles and nature of change in the state of substance; solution formation; reaction; investigative process for seeking knowledge and scientific mind; and communication of acquired knowledge that could be applied for useful purpose.

Indicators (Learning Outcomes): 1. Pose questions prescribing the issues or important variables for exploration and verification or conduct comprehensive and reliable study and research on matters of their interest. 2. Make verifiable hypotheses and plan several methods for exploration and verification. 3. Select techniques and methods for quantitative and qualitative exploration and verification yielding accurate and safe results by using appropriate materials and equipment. 4. Collect data and process it quantitatively and qualitatively. 5. Analyze and evaluate conformity of eye-witnesses with the conclusions both supporting and contradicting the hypotheses and data abnormality from exploration and verification. 6. Create models or formats explaining or showing results of exploration and verification. 7. Pose questions leading to explanation and verification of relevant matters, and apply the knowledge gained in new situations or to explain the concepts, processes and results of the project or task for others to understand. 8. Make a record and explain results of additional observation, exploration, verification and research from various sources of knowledge in order to obtain reliable data, and accept changes in the knowledge discovered when presented with new and additional data, eye-witnesses or contradictory data. 9. Display their work, write reports and/or explain the concepts, processes and results of the project or task so that others can understand.

10. Experiment and classify substances into groups by using their texture or particle size as criteria and explain properties of each group of substances. 11. Explain properties and transition of substances by using particle arrangement models. 12. Experiment and explain acid-base properties of solutions. 13. Verify pH value of solutions, and apply the knowledge gained for useful purposes. 14. Experiment and explain methods of preparing solutions with density in percentage, and discuss application of knowledge about solutions for useful purposes. 15. Experiment and explain change of properties, mass and energy of substances when they change state and dissolve. 16. Experiment and explain factors affecting changes in the state and dissolution of substances. 17. Experiment and explain temperature and its measurement 18. Observe and explain heat transmission, and apply the knowledge gained for useful purposes. 19. Explain heat adsorption and emission through radiation, and apply the knowledge gained for useful purposes. 20. Explain thermal equilibrium and effects of heat on expansion of substances, and apply the knowledge gained in daily life.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

1. Communication 10 marks Standard 8.1.1-8.1.9, 3.1.10-3.1.13, 3.2.14-3.2.16 and 5.1.17-

5.1.20

5. Final Test 30 marks Contents: 1. Classification of Matter 2. Elements and Compounds 3. Elements and Compounds 4. Mixtures 5. Solutions and Suspensions 6. Acids and Alkalis

Standard 3.1.10-3.1.13 and 3.2.14-

3.2.16

2. Authentic 15 marks

Standard 8.1.1-8.1.9, 3.1.10-3.1.13, 3.2.14-3.2.16 and 5.1.17-

5.1.20 3. Dictation Test 5 marks Standard 8.1.1-8.1.9 4. Performance test 30 marks Contents: 1. Science and Technology 2. Heat Energy 3. Transfer of Heat Energy

Standard 8.1.1-8.1.9, and 5.1.17-5.1.20

5. Portfolio 10 marks 1. Photo of detergent 5 marks 2. Element 5 marks

Standard 8.1.1-8.1.9, 3.1.10-3.1.13, 3.2.14-

3.2.16

Total 100 marks

Assessment 1. Performance Assessment

Topic / subject matter:

3. Transfer of Heat Energy 2. Final Examination

Topic / subject matter:

6. Acids and Alkalis References : 1. My world of Science Secondary 1 of St Gabriel’s Foundation 2. Worksheet of Science Secondary 1 3. Visual Aids such as VCD, PowerPoint program 4. White Notebook 5. Information from website

1. Science and Technology 2. Heat Energy

1. Classification of Matter 2. Elements and Compounds 3. Elements and Compounds 4. Mixtures 5. Solutions and Suspensions

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Social Studies IE. Code ส21201 Instructors : 1.Ms.Rattana Amornratchai Class Level : Secondary 1 Semester 1 Academic year 2016 2 periods /week 40 periods/semester 1.0 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description: Students will be able to : analyze, compare and contrast the physical characteristics and human beings ' modes of living in different areas of the earth. Analyze and compare man’s way of living in Thailand and other countries in Southeast Asia. Moreover, know how to use and realize the value of map of Thailand and Southeast Asia. Use tools to search for information in interpreting geographical implication for Thailand and other countries in Southeast Asia. In addition, students analyze the national environment and natural resources and natural resources in Thailand and other countries in Southeast Asia. Analyze the relationships of the economic and social systems in Thailand and other countries in Southeast Asia. Next, students can realize the value of cultural environment of Thailand and other countries in Southeast Asia. Finally, realize the importance of maintaining of the quality of the environment of Thailand and other countries in Southeast Asia.

The Learning Standard:

Strand Standard Strand 5 : Geography So. 5.1 : Understanding of physical characteristics of the Earth and relationship of various things in the natural system which affect one another; utilization of maps and geographical instruments for searching, analysis, conclusion and efficient utilization of geo-data and information

So.5.1.1 Select geographical instruments (globe, maps, graphs, charts) in searching for data to analyze physical and social characteristics of Thailand, Asia, Australia and Oceania. So.5.1.3 Analyze causes of natural disasters and link guidelines for preventing natural disasters and disaster warning in Thailand, Asia, Australia and Oceania.

Strand 5 : Geography So. 5.2 : Understanding of interrelationship between man and physical environment leading to cultural creativity; awareness of and participation in conservation of resources and the environment for sustainable development.

So.5.2.3 Explore and explain locations of economic and social activities in Asia, Australia and Oceania by using a variety of data sources So.5.2.4 Analyze physical and social factors affecting the flow of thoughts, technologies, goods and populations in Asia, Australia and Oceania.

Indicators: (Write the details in items) 1. Explain physical characteristics of Thailand. 2. Describe the location and area of Thailand. 3. Analyze effects of physical characteristics on Thai people’s ways of living. 4. Realize the importance of natural resources in various regions. 5. Learn the interaction between nature and human-beings. 6. Evaluate the cultural value of the countries in South-east Asia.

7. Describe the ways of living of the people in South-east Asia. 8. Compare and contrast the population in South-east Asia. 9. Write symbols on the map outline. 10. Write symbols on the diagrams of the school and the Bangkok Metropolis. 11. Present what the students have learned through the geographical tools. 12. Make questions and do research from geographical information systems. 13. Make a conclusion about the natural resources in Thailand. 14. Identity the names of the countries having natural resources. 15. Discuss the importance of the economic and social systems in Thailand and other countries in South-east Asia. 16. Compare and contrast the economic and social system between Thailand and other countries in South-east Asia. 17. Express opinions about environmental conservation. 18. Explain preventive and corrective actions.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication...10....marks 1-18

30 marks

9-18 Authentic....20.......marks 1-18 Performance test.....30.........marks 1-8 Portfolio ....10........marks 1-18

Total …100…….. marks Assessment 1. Performance Assessment

Topic / subject matter: - Unit 1: Characteristics of physical geography of Thailand and neighboring countries - Unit 2: Physical geography features of Thailand and neighboring countries in Southeast Asia Listening test - Unit 1: Characteristics of physical geography of Thailand and neighboring countries 1.1 Physical of Thailand 1.2 Physical of countries in Southeast Asia - Unit 2: Physical geography features of Thailand and neighboring countries in Southeast Asia 2.1 Ways of living of the in Thailand and other countries in Southeast Asia 2. Final Examination

Topic / subject matter: -Unit 3 : Geographical tools -Unit 4 : The relationship of economic and social systems -Unit 5 : Environment Reference: St.Gabriel’s Foundation.2012. Social Studies Textbook: Secondary 1 .India: Orient Black Swan

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject: Einglish.IE. 2 (Reading) Subject Code: อ21201 Instructors: 1) Master Wisit Supamornpan 2. Master Chatwit Iampin 3) Foreign Teacher Class Level: Secondary 1 Semester 1 Academic yearr2016 3... periods/week … 60..periods/semester...... 1.5 Units of learning Basic Subject Intensive Subject Others.................................... Course Description: This course is aimed to practice the students’ English in all skills: listening, reading, writing and speaking to communicate effectively and confidently among their classmates, teachers, family and friends. This course is focused on Reading Skills. It will also give the students some ideas to develop the skill of using dictionary and the ability to learn more facts about people’s daily living through different stories. Students are also able to read, write, speak and share their ideas and opinions among their classmates. The students will also use the language skills to tell the meaning of words, sentences, phrases, paragraphs, stories, dialogues, notices, advertisements, personal information, and follow directions. Understand topic sentences and determine the main idea and supporting details of each story. It also develops students’ knowledge, skills, abilities, pronunciation, vocabulary, and grammar. It encourages students to read and pronounce the words or the sentences clearly and correctly. Moreover, they should make their own summary, draw conclusions and answer the questions or give what is being asked after each lesson/unit by writing and speaking the words, phrases, sentences and statements. Additionally, the students participate in foreign language activities including the festivals and cultures.Choose and apply different technologies; skills in application of technological processes for development of oneself and society in regard to learning, communication, working, and problem-solving through constructive, proper, appropriate and ethical means. The students should have good attitude in English language. They will fully realise their commitment and responsibilities as Thai citizens as well as members of the world community. The Learning Standard:

Strand: Standard : Strand: 1 Language for Communication

Standard F1.1: Understanding of and capacity to interpret what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning

Standard F1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions

Standard F1.3: Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing

Strand: 2 Language and Culture

Standard F2.1: Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places.

Standard F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language

Strand: 3 Language and Relationship with Other Learning Areas

Standard F3.1: Usage of foreign to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view

Strand: 4 Language and Relationship with – Community and the World

Standard F4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society

Standard F4.2: Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community

Indicators : (Write the details in items)

1.1.1 Act in compliance with orders requests, instructions and simple explanations heard and read.

1.1.2 Accurately read aloud texts, tales and short poems by observing the principles of reading.

1.1.3 Choose/specify the words, phrases, sentences and texts related to non-text information read.

1.1.4 Specify the topic and main idea and answer questions from listening to and reading dialogues, tales and short stories.

1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data and express opinions about what has been heard or read.

1.2.5 Speak and write to express their own feelings and opinions about various matters around them, various activities, as well as provide brief justifications appropriately.

1.3.1 Speak and write to describe themselves, their daily routines, experiences and the environment around them.

1.3.2 Speak / write to summarise the main idea / theme identified from analysis of matters / incidents of interest to society.

2.1.1 Use language, tone of voice, gestures and manners politely and appropriately by observing social manners and culture of native speakers.

2.1.2 Describe the festivals, important days, lifestyles and traditions of native speakers. 2.1.3 Participate in language and cultural activities in accordance with their interests. 2.2.1 Tell differences and similarities between pronunciation of various kinds of sentences,

use of punctuation marks and word order in accordance with the structures of sentences in foreign language and Thai language.

2.2.2 Compare similarities and differences between the festivals, celebrations, important days and lifestyles of native speakers and those of Thais.

3.1.1 Search for, collect and summarise the data/facts related to other learning areas from learning sources, and present them through speaking / writing.

4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom and in school.

4.2.1 Use foreign language in conducting research for knowledge/various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1. Communication 10 marks 1.1.1 , 1.1.2 , 2.1.1 30

Marks

2. Mid - Term Test 30 marks 1.1.3 , 1.1.4 3. Authentic 20 marks 1.1.3 , 1.1.4 1.1.3 , 1.1.4 4. Portfolio 10 marks 1.1.3 , 1.1.4 , 4.2.1

Total 100 marks Details of Evaluation and Assessment 1. Mid-term Test/Performance Assessment 1) Writing through Reading 2) Reading Details: 1) Writing through Reading (Additional Reading / External Reading) (10 marks) (M. Chatwit)

• Read the paragraph / passage and complete each blank with the appropriate words from the list and / or write the appropriate answers.

Students have to read and make understanding the detail/information from the paragraphs/ /passages provided and then write the answers completely or complete each blank with the - appropriate words. Details: 2) Reading: Seen or Unseen passage(s) (20 marks) (M. Wisit & M. Chatwit)

A. Seen Passage(s) with 'Technical Reading Skills' from 1.1 'My World of English Book I (Secondary 1) 40 Questions 1.2 'Value Education Book I (Secondary 1) & External Reading 20 Questions 1.3 'Various Reading resources' B. Unseen passages with ‘Technical Reading Skills’ from 'Various Resources & Textbooks''

Technical reading skills: (2 Ps) --- M. Wisit & (1 P) --- M. Chatwit 1) Fact or Opinion 2) Cause and Effect 3) Main Idea & Supporting details 4) Context Clues 5) Finding ‘References’ 6) Sequencing events 7) Drawing Conclusions Additional Reading & External Reading: (1 P) --- M. Chatwit 1) Instructions: Signs, Labels, ... 2) Correspondence: e-mail & Informal letter 3) Narratives: Fictional & Non-fictional + various types 4) Play scripts 5) External Reading Students have to read, make understanding the paragraphs/passages provided, and then apply each technical reading skills which they study in class to identify, choose, and specify the best answer for each item.

Remarks: **The content(s)/topic(s) and the assessment/evaluation can be flexible based on the time and various school activities.** 2. Final Examination

Details 1. Seen Passage(s) with 'Technical Reading Skills' 2. Unseen passages with ‘Technical Reading Skills’ from 'Value Education Book & Various Resources'

Technical reading skills: (The same as 'Mid - Term Test') Students have to read, get understanding the paragraphs/passages provided, and then apply each technical reading skills which they study in class to identify and choose the best answer for each item. Remarks: **The content(s)/topic(s) and the assessment/evaluation can be flexible based on the time and various school activities.** References :

1. My World of English: Secondary 1 2. Value Education Book I 3. External Reading: ‘Monkey’s Paws’ 4. Reading Practice: Lower & Upper Secondary Levels 5. Various Reading and Writing resources

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา สังคมศึกษา วิชา หนาท่ีพลเมืองเพ่ิมเติม รหัส ส21211 ครูผูสอน มาสเตอรนพชัย โยธินะเวคิน ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2559 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วชิาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา มีสวนรวมอนุรักษมารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแตงกาย การมีสัมมคารวะ แสดงออกถึงความเอ้ือเฟอเฟอแผและเสียสละตอสังคม เห็นคุณคาและอนุรักษขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตย สุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝหาความรู ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง ปฏิบัติตนเปนแบบอยางของความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยประยุกตและเผยแผพระบรมราโชวาท ในเรื่องมีเหตุผล รอดคอบ หลักการทรงงาน ในเรื่องการใชธรรมชาติและเผยแพรพระบรมราโชวาท ในเรื่องมีเหตุผล รอบคอบ หลักการทรงงาน ในเรื่องการใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ การปลูกปาในใจคน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติจนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝหาความรู และตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี โดยใชกระบวนการกลุม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู กระวนการสรางความตระหนัก กระบวนการสรางคานิยม และกระบวนการสรางเจตคติ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเปนไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสวนรวมทางการเมืองการปกครอง อยูรวมกับผูอ่ืนอยางสันติ จัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/จุดเนน ( จํานวน 5 จุดเนน) จุดเนนท่ี 1 ความเปนไทย จุดเนนท่ี 2 รักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย จุดเนนท่ี 3 ความเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จุดเนนท่ี 4 ความปรองดอง สมานฉันท จุดเนนท่ี 5 ความมีวินัยในตนเอง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5 20 คะแนน

จุดเนนท่ี 1 – 5 2. สภาพจริง 30 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

4. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5 5. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ 1. สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ 1.ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา ประเพณี) 2.การเห็นคุณคาและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย 3.หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

รายละเอียดการสอบ 1.ลักษณะท่ีดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัูกตเวที เอ้ือเฟอเผื่อแผ เสียสละ) 2.ความเอ้ือเฟอเผื่อแผและเสียสละตอสังคม 3.ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา ประเพณี) 4.การเห็นคุณคาและการแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย 5.พระบรมราโชวาท และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพรเจาอยูหัว 6.หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 7.การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

หนังสือเรียนหนาท่ีพลเมืองเพ่ิมเติม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 สํานักพิมพวัฒนาพานิช (ว.พ)

2. สอบปลายภาค

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม รหัส ท๒๑๒๐๑ ครูผูสอน มาสเตอรวชิรพงษ ศิริพงษมงคล ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ / ๒๕๕๙ จํานวน ๒ คาบ/สัปดาห ๔๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑.๐ หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูดเรื่องราว การสืบคนขอมูลจากสื่อสารสนเทศในรูปแบบตางๆ เพ่ือสรางองคความรู วิเคราะห สังเกต ตีความ สรุปความ และประเมินคาอยางมีเหตุผล หลักการแตงคําประพันธประเภทกาพย กลอน โคลง การคิดและแสดงความคิดเห็น อภิปราย โนมนาว นําเสนอความรู การพูดแสดงความคิดเห็นและการพูดในโอกาสตาง ๆ ทองจําคําประพันธท่ีสนใจ การเขียนสะกดคํา คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ วรรณกรรมทองถ่ิน รวมท้ังภูมิปญญาทองถ่ิน และเพลงพ้ืนบาน

ใชกระบวนการทางภาษา สบืเสาะแสวงหาความรู พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดู การพูด และการคิด วิเคราะห วิจารณ สังเคราะห ตีความ ประเมินคา เขาถึงคุณคาและความงามทางภาษา เพ่ือใหเกิดทักษะการเรียนรู ขอคิดสอนใจและสามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางภาคภูมิใจ สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน ๑๗ ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๗ สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๕, ๖, ๗ สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๔, ๕ สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๕ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๓, ๔, ๕ มาตรฐานท่ี ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรู ความคิด เพ่ือนําไปใชตัดสินใจ การแกไขปญหาในการดําเนิน

ชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ตัวช้ีวัด ๑ อานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง

๒ จับใจความสําคัญ สรุปความ อธิบายรายละเอียดเรื่องท่ีอาน ๗ อานบทความหรือคําประพันธและประเมินหรือแนวคิดท่ีไดจากการอานเพ่ือแกปญหาในชีวิต

มาตรฐานท่ี ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัด ๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๓ เขียนบรรยายประสบการณโดยระบุสาระสําคัญ และรายละเอียดสนับสนุน ๔ การเขียนเรียงความ ๕ เขียนยอความจากเรื่องท่ีอาน ๖ การเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสาระจากสื่อท่ีไดรับ

๗ เขียนจดหมายสวนตัวและจดหมายกิจธุระ มาตรฐานท่ี ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกใน

โอกาสตางๆอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ตัวช้ีวัด ๑ พูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องท่ีฟงและดู

๓ พูดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงและดู ๔ พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค

๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟง การดูและการสนทนา มาตรฐานท่ี ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังงานของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัดท่ี ๕ แตงบทรอยกรอง มาตรฐานท่ี ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามา

ประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวช้ีวัดท่ี ๒ วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานพรอมยกเหตุผลประกอบ ๓ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน ๔ สรุปความรูและขอคิดจากคุณคาจากการอานเพ่ือนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ๕ ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค

ตัวชี้วัดท่ี

(ระหวางภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๗

คะแนนเตม็ ๓๐

คะแนน

ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๗

ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๔, ๖

ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๔, ๕

ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๕

ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๒, ๓, ๔, ๕

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๔, ๕

๓ กลางภาค/ปฏิบัติ ๓๐ คะแนน ท ๑.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๒, ๗

ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๕, ๗

ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๔, ๕

ท ๔.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๕

๔. แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๒.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๕, ๗

ท ๓.๑ ตัวช้ีวัดท่ี ๑, ๓, ๔, ๕

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

รายละเอียดการวัดประเมินผล ๑. สอบกลางภาค/สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ - การพิจารณาวรรณกรรมและวรรณคดีไทย - ภาษามีพลัง-พลังภาษา - การพูดและการเขียนปริทัศนหนังสือ

- รูปแบบจดหมายสวนตัวและกิจธุระ - กาพยยานี ๑๑

๒. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ ขอสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๕๐ ขอ มีเนื้อหาดังนี้

- การใชโวหารในการเขียน - การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่อง - การอานจับใจความ ตีความและสรุปสาระสําคัญของเรื่อง - มารยาทในการอาน การดู การพูด หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- หนังสือเรียนวิวิธภาษา ม.๑ - หนังสือเรียนวรรณกรรมและวรรณคดี ม.๑ - หนังสือเรียนภาษาไทย ๐๑๑ เสริมทักษะภาษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน บรรเทา กิตติศักดิ์ - คูมือแสริมทักษะภาษา ท ๒๑๑ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ - หนังสือหลักภาษาไทย การใชภาษาไทย และวรรณคดีไทย สํานักพิมพตางๆท่ีเก่ียวของกับวิชาภาษาไทย ม.๑