07.น้ำมัน

10
1 น้ํามัน การกําเนิดน้ํามัน น้ํามัน ถานหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน จริง แลวก็คือซากสัตวและซากพืชที่ตายมานาน นับเปนลานป และทับถมสะสมจมอยูใตดิน แลวเปลี่ยนรูปเปน ฟอสซิล ระหวางนั้นมีการ เปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติจนซากสัตวและซากพืชหรือฟอสซิลนั้นกลายเปน น้ํามันดิบ ถานหิน กาซธรรมชาติ ฯลฯ เราจึงเรียกเชื้อเพลิงประเภทนี้วา เชื้อเพลิงฟอสซิล ในทางวิทยาศาสตร พืชและสัตวรวมทั้งคน ประกอบดวยเซลลเล็ก มากมาย เซลล เหลานี้ประกอบดวยธาตุไฮโดรเจนและธาตุคารบอนเปนหลัก เวลาที่ซากสัตวและซากพืชทับถม เปนลานปและเปลี่ยนรูปเปนน้ํามัน หรือกาซ หรือถานหิน ฯลฯ พวกนี้จึงมีองคประกอบของสาร ไฮโดรคารบอน (คือธาตุไฮโดรเจนรวมกับคารบอน) เปนสวนใหญ ซึ่งไฮโดรคารบอนนีเมื่อนํามา เผาจะใหพลังงานออกมาแบบเดียวกับที่เราเผาฟน เพียงแตน้ํามันมีคาความรอนมากกวาฟน นอกจากนี้ยังมีองคประกอบอื่น บาง เชน กํามะถัน เปนตน การขุดเจาะน้ํามันดิบขึ้นมาใชประโยชน ( ภาพ : www.horizontaldrilling.org)

Upload: kobwit-piriyawat

Post on 02-Nov-2014

11 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 07.น้ำมัน

1

น้ํามัน

การกําเนิดน้ํามัน

น้ํามนั ถานหนิ หนิน้าํมนั ทรายน้ํามัน จริง ๆ แลวก็คือซากสัตวและซากพืชที่ตายมานานนับเปนลานป และทับถมสะสมจมอยูใตดิน แลวเปลี่ยนรูปเปน ฟอสซิล ระหวางนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาตจินซากสัตวและซากพืชหรือฟอสซิลนัน้กลายเปน น้าํมันดิบ ถานหิน กาซธรรมชาติ ฯลฯ เราจงึเรียกเชื้อเพลิงประเภทนีว้า เชือ้เพลิงฟอสซิล

ในทางวิทยาศาสตร พืชและสัตวรวมทั้งคน ประกอบดวยเซลลเลก็ ๆ มากมาย เซลลเหลานี้ประกอบดวยธาตุไฮโดรเจนและธาตุคารบอนเปนหลกั เวลาที่ซากสัตวและซากพืชทับถมเปนลานปและเปลี่ยนรูปเปนน้าํมนั หรือกาซ หรือถานหนิ ฯลฯ พวกนีจ้ึงมีองคประกอบของสารไฮโดรคารบอน (คือธาตุไฮโดรเจนรวมกบัคารบอน) เปนสวนใหญ ซึ่งไฮโดรคารบอนนี้ เมื่อนาํมาเผาจะใหพลงังานออกมาแบบเดียวกบัที่เราเผาฟน เพียงแตน้ํามนัมีคาความรอนมากกวาฟน นอกจากนีย้ังมีองคประกอบอื่น ๆ บาง เชน กํามะถนั เปนตน

การขุดเจาะน้ํามันดิบขึ้นมาใชประโยชน ( ภาพ : www.horizontaldrilling.org)

Page 2: 07.น้ำมัน

2

แหลงน้ํามันดิบในโลก

ปริมาณน้าํมันดิบสํารองของโลกมีมากที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลาง คิดเปนรอยละ 61 ของปริมาณสาํรองน้าํมนัดิบทั่วโลก รายงานจาก Energy International Administration ระบุวาปริมาณสํารองน้าํมนัดิบพิสูจนแลวทั่วโลก ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 มีประมาณ 1,331.7 พันลานบารเรล โดยประเทศซาอุดิอาระเบียมีปริมาณสาํรองน้าํมนัดิบมากที่สุดในโลก อยูที่ระดบั 264.3 พันลานบารเรล หรือคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 20 ของปริมาณน้ํามันดบิทั่วโลก

10 ประเทศแรกที่มีปริมาณสํารองน้ํามันดิบสูงสดุ ประเทศ ปริมาณน้ํามนัดิบสํารอง(พันลานบารเรล)

1. Saudi Arabia . . . . . . . . . . . 264.3 2. Canada . . . . . . . . . . . . . . . 178.6 3. Iran. . . . . . . . . . . . . . . . . . . 138.4 4. Iraq. . . . . . . . . . . . . . . . . . . 115.0 5. Kuwait . . . . . . . . . . . . . . . . 101.5 6. United Arab Emirates. . . . . 97.8 7. Venezuela . . . . . . . . . . . . . 87.0 8. Russia . . . . . . . . . . . . . . . . 60.0 9. Libya . . . . . . . . . . . . . . . . . 41.5 10. Nigeria . . . . . . . . . . . . . . . . 36.2

Source:“Worldwide Look at Reserves and Production,” Oil &Gas Journal, Vol.105,No.48

( ภาพ : www.bp.com)

Page 3: 07.น้ำมัน

3

แหลงน้ํามันดิบในประเทศไทย

ในป 2550 มีการผลิตน้าํมันดิบและคอนเดนเสทจากแหลงผลิตในประเทศไทย ปริมาณ 213,408 บารเรล/วัน เพิ่มข้ึนจากป 2549 รอยละ 4.5 คิดเปนสัดสวนรอยละ 21 ของปริมาณการจัดหาน้ํามนัดบิในประเทศไทย

แหลงผลิตใหญที่สุด คือ แหลงเบญจมาศ(อยูกลางอาวไทย) คิดเปนสัดสวนรอยละ 31 ของปริมาณน้าํมันดิบที่ผลิตในประเทศ รองลงมา ไดแก แหลงยูโนแคล(อยูกลางอาวไทย) รอยละ 29 แหลงสิริกิต์ิ( อ.ลานกระบือ จ.กาํแพงเพชร) รอยละ 15 แหลงจสัมิน(อยูกลางอาวไทย) รอยละ 14 และทีเ่หลือเปนแหลงอื่น ๆ รอยละ 11

บอน้ํามันสิริกิติ์ ตั้งอยูที่บานหนองตาสังข ตําบลลานกระบือ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร ( ภาพ : www.kanchanapisek.or.th )

หลุม "ลานกระบือ A1" หมูที่ ๗ บานเดนพระ ตําบลลานกระบือ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร ( ภาพ : www.kanchanapisek.or.th )

Page 4: 07.น้ำมัน

4

แหลงน้ํามนัดิบในประเทศไทย

ที่มา : กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

Page 5: 07.น้ำมัน

5

การนําน้ํามันดิบไปใชประโยชน

น้ํามนัดิบ เมือ่สูบข้ึนมาจากใตดิน จะเปนของเหลวสีดํา ๆ นํามาใชโดยตรงไมไดตองนําเขา โรงกลั่น และผานกระบวนการผลิตที่แยกสวนออก เปนน้าํมนัสําเร็จรูป (Petroleum Products) หลายชนิด ซึง่มีคุณสมบัติเฉพาะแตกตางกนัไป เชน น้ํามันเบนซนิ น้าํมนัดีเซล น้าํมนัอากาศยาน น้ํามนักาด และน้ํามนัเตา ฯลฯ

ราคาของน้าํมนัจะแตกตางกันไป น้าํมนัดิบที่มีส่ิงเจือปนอยูมาก เชน มีกาํมะถันมาก เผาแลวจะเกิดกาซพิษมาก ก็ถอืวาเปนน้าํมนัดินเกรดต่ํา แตถาน้าํมนัดิบที่มีกาํมะถันเจอืปนนอยถือวาเปนน้าํมนัดี จงึมีราคาสงู

การกลั่นน้ํามันดิบ

การกลัน่น้ํามนัดิบ คือ การยอยสลายสารประกอบไฮโดรคารบอนที่เปนสวนประกอบของปโตรเลียมออกเปนกลุม (Groups) หรือออกเปนสวน (Fractions) ตางๆ โดยกระบวนการกลั่น(Distillation) ที่ยุงยากและซบัซอน น้ํามนัดิบจะถูกแยกออกเปนสวนตางๆ และกาํจัดมลทิน (Impurities) ชนิดตางๆ ออก เชน กํามะถัน

วิธกีารกลัน่น้าํมันที่สําคัญๆ ในโรงกลั่น มดัีงนี ้1. การกลัน่ลําดบัสวน(Fraction

Distillation) 2. การกลัน่แบบ Thermal Cracking 3. การกลัน่แบบ Catalytic Cracking 4. การกลัน่แบบ Polymerization

การขุดเจาะน้ํามันในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ( ภาพ : bikeacrossamerica.org)

หอกลั่น ( ภาพ : www.ttm-jda.com )

Page 6: 07.น้ำมัน

6

การกลั่นลําดับสวน เปน การกลัน่น้ํามนัแบบพืน้ฐาน ซึ่งสามารถแยกน้าํมนัดิบออกเปนสวน (Fractions) ตางๆ โดยใชหลักการของจุดเดือด (Boiling point) และจุดควบแนน (Condensation point) ที่แตกตางกนั

หอกลัน่ลําดับสวน (Fractionating tower) รูปรางเปนทรงกระบอก สูงประมาณ 30 เมตร ภายในแบงเปนหองๆ ไอน้ํามันดิบรอนถกูสงเขาไป และเคลื่อนตัวขึ้นไปสูสวนบนสุดของหอกลัน่ ขณะที่เคลื่อนตัว ไอน้ํามนัจะเย็นตวัลงและควบแนนไปเรื่อยๆ กลัน่ตวัเปนของเหลวที่ระดับตางๆ ดังนี้

• น้ํามนัสวนที่เบากวา (Lighter fractions) เชน น้ํามันเบนซิน และพาราฟน ซึง่มคีาอุณหภูมิของการควบแนนต่ํา จะกลายเปนของเหลวที่หองชั้นบนสุด

• น้ํามนัสวนกลาง (Medium fractions) เชน ดีเซล น้ํามนัแกส (Gas oils) และน้ํามนัเตา(Fuel oils) บางสวนจะควบแนนและกลัน่ตัวที่ระดับตางๆ ตอนกลางของหอกลัน่

• น้ํามนัหนกั (Heavy fractions) เชน น้ํามันเตา และสารตกคางพวกแอสฟลต จะกลั่นตัวที่สวนลางสุดของหอกลั่น ซึ่งมีอุณหภูมิสูงและจะถูกระบายออกไปจากสวนฐานของหอกลัน่

การกลั่นลําดับสวน

( ภาพ : www.energyinst.org.uk )

Page 7: 07.น้ำมัน

7

นําน้ํามันไปทําอะไรไดบาง

ผลิตภัณฑปโตรเลียม

การใชประโยชน

กาซปโตรเลียมเหลวหรือแอลพีจ ี ใชสําหรับหงุตมในครัว และใชกับรถบางคนั รวมทัง้ในโรงงานบางชนิด

น้ํามนัเบนซนิ รถยนตสวนบคุคล รถจักรยานยนต สวนใหญใชน้าํมันชนิดนี ้น้ํามนักาด ใชจุดตะเกียงใหแสงสวางและใชในโรงงาน

น้ํามนัเครื่องบนิ ใชกับเครื่องบนิใบพัด เครื่องบินไอพน น้ํามนัดีเซล รถเมล รถไฟ รถบรรทุก รถกระบะสวนใหญใชน้ํามนัชนดินี้

น้ํามนัเตา

ใชสําหรับเตาเผาหรือตมน้าํในหมอไอน้ํา หรือเอามาปนไฟหรือใชกับเรือ

ยางมะตอย สวนใหญใชทาํถนน นอกนัน้ใชเคลือบทอเคลือบโลหะเพื่อกันสนิม

( ภาพ : บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด(มหาชน))

Page 8: 07.น้ำมัน

8

การจัดหาน้ํามันดิบในประเทศไทย

ป 2551 ประเทศไทยมกีารนําเขาน้าํมันดบิทั้งสิน้ 825 พันบารเรล/วนั เพิ่มข้ึนจากป 2550 รอยละ 2.6 และเนื่องจากในป 2551 ราคาน้าํมนัดิบในตลาดโลกพุงสงูขึ้นเปนประวัติการณ สงผลใหไทยมมีูลคาการนําเขาน้ํามันดิบในป 2551 เพิม่ข้ึนถึงรอยละ 49.6

การนําเขาน้าํมันดิบ

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

การใชผลิตภัณฑน้ํามันสําเร็จรูป

ป 2551 ไทยมกีารใชน้าํมันสําเร็จรูปปริมาณรวม 678 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากป 2550 รอยละ 4.0 เนือ่งจากราคาน้าํมันภายในประเทศทรงตัวอยูในระดับสูง สงผลใหการใชน้ํามนัเบนซนิและดีเซลชะลอตัวลง อีกทัง้ กฟผ. ลดการใชน้ํามนัเตาเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาลง เนื่องจากราคาอยูในระดับสูง การใชน้าํมันเครื่องบินลดลงรอยละ 4.9 เนื่องจากปญหาความไมสงบในประเทศ และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งมผีลทําใหการทองเที่ยวชะลอลง จึงทําใหภาพรวมการใชน้ํามนัลดลง ขณะที่การใช LPG เพิ่มข้ึนรอยละ 18.6 ซึง่เพิม่ข้ึนในอัตราสูงติดตอกัน 3 ป เนื่องจากรถยนตสวนบุคคลจํานวนมากไดปรับเปลี่ยนเครื่องยนตไปใช LPG แทน ในชวงที่ราคาน้าํมันสงู

487

870

2547

645

828

2548

716

804

2550อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)

1,070

825

2551*

754

829

2549

49.6

2.6

255125502549

-5.016.9มูลคา (พันลานบาท)

-3.00.2ปริมาณ (พันบารเรล/วัน)

487

870

2547

645

828

2548

716

804

2550อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)

1,070

825

2551*

754

829

2549

49.6

2.6

255125502549

-5.016.9มูลคา (พันลานบาท)

-3.00.2ปริมาณ (พันบารเรล/วัน)

* เบื้องตน

Page 9: 07.น้ำมัน

9

การใชน้ํามันสําเรจ็รูปในประเทศไทย ป 2551

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

การใชน้ํามันในการผลิตกระแสไฟฟา

ในป 2551 การไฟฟาฝายผลติแหงประเทศไทย (กฟผ) ใชน้ํามันผลิตไฟฟา ในสัดสวนเพียง รอยละ 1 เทานั้น ซึง่เปนไปตามแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา (PDP) ที่ใหลดสัดสวนน้ํามนัเตาในการผลิตไฟฟาลง เนื่องจากมตีนทนุการผลิตสูง

ภาพโรงไฟฟาพระนครใต ข อ ง ก า ร ไ ฟฟ า ฝ า ย ผลิ ต แ ห งประเทศไทย ซึ่งแตเดิมใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงหลัก แตปจจุบันไดเปล่ียนไปใชกาซธรรมชาติมากขึ้น เนื่องจากการใชน้ํามันเตามีตนทุนการผลิตสูง

( ภาพ : การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย )

หนวย: พันบารเรลตอวัน

**ไมรวมการใช LPG ที่ใชเปน Feed stocks ในปโตรเคมี

735

69

104

73

0.40

356

132

2547

719

75

107

74

0.37

338

125

2548

-6.31.8-6.2300322317ดีเซล

-4.00.0-1.6678707707รวม

18.614.516.211910087LPG**

-21.4-27.8-5.65773101นํ้ามนัเตา

-4.99.15.2818578เคร่ืองบิน

-11.7-7.5-7.40.280.310.34กาด

-4.11.6-0.4121126124เบนซิน

2551*25502549

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)

2551*25502549ชนิด

735

69

104

73

0.40

356

132

2547

719

75

107

74

0.37

338

125

2548

-6.31.8-6.2300322317ดีเซล

-4.00.0-1.6678707707รวม

18.614.516.211910087LPG**

-21.4-27.8-5.65773101นํ้ามนัเตา

-4.99.15.2818578เคร่ืองบิน

-11.7-7.5-7.40.280.310.34กาด

-4.11.6-0.4121126124เบนซิน

2551*25502549

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)

2551*25502549ชนิด

* เบื้องตน

Page 10: 07.น้ำมัน

10

ขอดี - ขอจํากัดของการใชน้ํามันในการผลิตไฟฟา

ขอดี − ขนสงงาย − หาซื้อไดงาย − เปนเชื้อเพลิงที่ไมไดรับการตอตานจากชมุชน

ขอจํากัด − ตองนําเขาจากตางประเทศ − ราคาไมคงที ่ ข้ึนกับราคาน้าํมันของตลาดโลก − ทําใหเกิดกาซเรือนกระจก ซึ่งเปนสาเหตุของภาวะโลกรอน − ไฟฟาที่ผลิตไดมีตนทนุตอหนวยสงู