1. 2. 3. 4....

83
สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที 1 ประจําปงบประมาณ 2553 - โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันที4-5 กุมภาพันธ 2553 1 สวนทีสวนที1 1 ขอมูลทั่วไป ขอมูลทั่วไป ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม 2. แผนกลยุทธพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาสารคาม 3. ขอมูลบุคลากร 4. ขอมูลทางการเงิน 5. ขอมูลการใหบริการ

Upload: others

Post on 28-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

1

1. ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม

สวนท่ี สวนท่ี 1 1

ขอมูลท่ัวไปขอมูลท่ัวไป -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม

2. แผนกลยุทธพัฒนาระบบบริการสุขภาพโรงพยาบาลมหาสารคาม 3. ขอมูลบุคลากร 4. ขอมูลทางการเงิน 5. ขอมูลการใหบริการ

Page 2: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

2

1. ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม

ป พ.ศ. 2490 โรงพยาบาลมหาสารคามเร่ิมการกอสรางบนเนื้อท่ี 12 ไรเศษ ต้ังอยูเลขท่ี 168 ถนนผดุงวิถี ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยไดรับโอนท่ีดินจากสถานีสุขศาลา เทศบาลเมืองมหาสารคาม

พ.ศ. 2532 เปนตนมาโรงพยาบาลมหาสารคามมีการพัฒนาอยางตอเนือ่ง มีผูอํานวยการ โรงพยาบาลอีกหลายทาน ท่ีทุมเทท้ังแรงกายแรงใจเพ่ือพัฒนาโรงพยาบาลมหาสารคามเปนโรงพยาบาลขนาด 472 เตียง ในเนื้อท่ี 30 ไรเศษ ต้ังอยูท่ี 168 ถ. ผดุงวิถี ต. ตลาด อ. เมือง จ. มหาสารคาม โทร. 043-711029, 711463, 740993-6 โทรสาร 043-711433 และไดรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในวันท่ี 10 เดือนพฤศจกิายน 2548 จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

รายนามผูอํานวยการตั้งแตเร่ิมเปดดําเนนิการจนถึงปจจุบัน

นายแพทยบรรลุ ศิริพานิช พ.ศ. 2494 - 2496 นายแพทยวุฒิ โพธิสุนทร พ.ศ. 2496 - 2498 นายแพทยวิสิษฐ สุวรรณิก พ.ศ. 2498 - 2500 นายแพทยสุพฒัก ตระกูลดิษฐ พ.ศ. 2500 - 2518 แพทยหญิงชูศรี โพธิสุนทร พ.ศ. 2518 - 2532 นายแพทยสมศักดิ์ ธันวารชร พ.ศ. 2532 - 2536 นายแพทยมงคล เชฏฐากุล พ.ศ. 2536 - 2537 นายแพทยสุวฒัน เลิศสุขประเสริฐ พ.ศ. 2537 - 2542 นายแพทยชาย ธีระสุต พ.ศ. 2542 - 2545 นายแพทยวิชิต วองสัธนพงษ พ.ศ. 2545 - 2547 นายแพทยวีระพันธ สุพรรณไชยมาตย พ.ศ. 2547 - 2550 แพทยหญิงเสาวลักษณ นาคะพงษ พ.ศ. 2550 - 2552 นายแพทยสุนทร ยนตตระกูล พ.ศ. 2552 - ปจจุบัน

Page 3: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

3

2. แผนกลยุทธพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาสารคาม

วิสัยทัศน “โรงพยาบาลมหาสารคาม ใหบริการดานสุขภาพ มุงสูมาตรฐานระดับชาติ"

ปรัชญา “คุณภาพมาตรฐาน บริการดุจญาติมิตร” เปาประสงค

- จัดบริการทางการแพทย ระดับตติยภูมิ (ระดับ 3.1) ภายในป 2555 - รวมผลิตแพทยช้ันคลินิกท่ีไดมาตรฐาน ภายในป 2555 - เปนศูนยเรียนรูสาธารณสุขชุมชน เปนเลิศในระดับภาค ภายในป 2555 - ไดรับการรับรองมาตรฐาน TQA ป 2555

คานิยมหลัก : Core Value คานิยมรวม : Share Value สมรรถนะหลัก : Core Competency

“ มุงงาน เช่ียวชาญ บริการดี มีภาวะผูนํา เปนทีม เปนธรรม

นอมนําเศรษฐกิจพอเพยีง”

พันธกิจ ( Mission) 1.ใหบริการสุขภาพดานสงเสริม ปองกัน รักษาและฟนฟูอยางเปนองครวม ดวยจิตใจความเปน

มนุษย และสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูรับบริการ 2. พัฒนาระบบการบริหารจดัการใหมีประสิทธิภาพ 3. มีการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่องในทุกสาขาและการวิจัย เพื่อคงไวซ่ึงบริการที่มีคุณภาพ

บุคลากรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน การวจิัยทางการแพทย 5. พัฒนาใหเปนศูนยเรียนรูท่ีครบวงจรและพัฒนาการสรางเครือขายการเรียนรูสุขภาพชุมชนท่ี

สามารถจัดการดานสุขภาพไดอยางดีเลิศ เข็มมุงป 2553

1. มุงม่ันท่ีจะไดรับการ Accredit 2. พัฒนาระบบบริการประทับใจ ไรความแออัด

KPI เข็มมุง เปาหมาย

- Safety Goal - หนวยงานทางคลีนิค

- ความพึงพอใจของผูรับบริการ

- ระยะเวลาบริการลดลง

- ข้ันตอนการบริการลดลง

- ทุกหนวยงาน

Page 4: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

4

กลยุทธโรงพยาบาลมหาสารคาม 1. สงเสริมใหประชาชนและเครือขายมีความสามารถในการดูแลภาวะสุขภาพ 2. พัฒนาระบบบริการทางการแพทยเฉพาะทาง 7 สาขา และใหบริการแบบครบวงจรดานตาและ

ไต ดวยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย 3. พัฒนาระบบบริการรับและสงตอผูปวย 4. พัฒนาระบบบริการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 5. พัฒนาระบบบริการใหเปนท่ีประทับใจและไรความแออัด 6. พัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐานระบบบริการทุกระดับเพื่อใหไดรับการรับรอง HA 7. พัฒนาระบบบริหารจัดการดานการเงินการคลังใหมีประสิทธิภาพ 8. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ 9. ประชาสัมพันธการบริการเชิงรุกโดยใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย 10. สรางองคกรแหงการเรียนรู 11. พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 12. สรางภาพลักษณขององคกรใหเปนท่ียอมรับและศรัทธาของประชาชน ดวยวฒันธรรม รัก

องคกร ดูแลผูปวยดุจญาติมิตรท่ีสอดคลองวัฒนธรรมทองถ่ิน

3. ขอมูลบุคลากร ตาราง 1 อัตรากําลังเจาหนาท่ีโรงพยาบาลมหาสารคาม ตามบัญชีถือจายเงินเดือน ระดับ 1 – 9

ปงบประมาณ ประเภท

2550 2551 2552 2553 ขาราชการ 559 563 565 557 ลูกจางประจํา 172 170 168 163 ลูกจางช่ัวคราว (รายเดือน) 291 317 377 375 ลูกจางช่ัวคราว (รายวัน) - - 82 82 พนักงานราชการ 5 5 11 11

รวม 1,027 1,055 1,203 1,188 ท่ีมา : ฝายการเจาหนาที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

Page 5: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

5

ตาราง 2 อัตรากําลังเจาหนาท่ีโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกประเภทขาราชการ ตาม จ.18

ประเภท ตามบัญชีถือจายเงินเดือน

จํานวน (คน) ปฏิบัติงานจริง จํานวน (คน)

แพทย 53 64 ทันตแพทย 11 11 เภสัชกร 27 27 พยาบาล 371 367 ขาราชการอ่ืน ๆ 95 109

รวม 557 578 ท่ีมา : ฝายการเจาหนาที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตาราง 3 จําแนกแพทยเฉพาะทางสาขาตางๆ ในโรงพยาบาลมหาสารคาม

แพทยเฉพาะทาง จํานวน (คน) แพทยเฉพาะทาง จํานวน (คน) อายุรกรรม 10 หู-คอ-จมูก 2 ศัลยกรรมท่ัวไป 6 จักษแุพทย 2 ศัลยกรรมทางเดินปสสาวะ 2 วิสัญญีแพทย 3 ศัลยกรรมออรโธปดิคส 5 รังสีแพทย 3 กุมารเวชกรรม 6 เวชกรรมพื้นฟ ู 1 สูติ-นรีเวชกรรม 7 เวชปฏิบัติท่ัวไป 1

รวม 48 ท่ีมา : ฝายการเจาหนาที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

4. ขอมูลทางการเงิน ตาราง 4 ประมาณการรายรับและรายรับ ป 2553

หมวด ประมาณการรายรับ หมวด ประมาณการรายจาย แผนปฏิบัติการ

งบประมาณ 442,600,800 งบดําเนินการ 428,116,195 431,264,092

เงินบํารุง งบบุคลากร 398,790,800 398,790,800

- UC 362,500,000 งบลงทุน 232,350,000 227,449,129

- เบิกตรง 283,000,000 รวม 1,059,256,995 1,057,504,021

รวม 1,088,100,800 เกินดุล 28,843,805 (2.65) 30,596,779 (2.81) ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

Page 6: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

6

ตาราง 5 สถานะเงินบํารุงปงบประมาณ 2550 – 2553 (ไมรวมคาเส่ือมราคาและคาเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญ) ปงบประมาณ (บาท)

รายการ 2550 2551 2552 2553

เงินคงเหลือสุทธิยอดยกมา 68,061,040.82 90,537,106.78 188,490,123.42 225,704,595.13 รายรับเงินบํารุง 311,508,958.53 520,264,479.13 635,307,956.98 96,213,604.00

รายจายเงินบํารุง 289,032,892.57 374,027,326.91 516,130,082.74 86,435,646.64

หนี้คางชําระ 47,229,299.67 88,174,764.85 120,559,818.02 121,419,410.67

วัสดุคงคลัง 34,110,825.44 39,890,629.27 42,015,162.50 46,207,755.40

เงินคงเหลือสุทธิยอดยกไป 90,537,106.78 188,490,123.42 229,123,342.14 160,270,897.22 ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตาราง 6 ประมาณการรายรับและรายรับจริง ป 2553 ไตรมาส 1 (ตค.-ธค.2552) จําแนกรายหมวด

ท่ี หมวด ประมาณการ (บาท) รับจริง (บาท) รอยละ

1 งบประมาณ 442,600,800 70,060,332.08 15.83

2 เงินบํารุง

- UC 362,500,000 64,663,094.99 17.84

- ขาราชการและรัฐวิสาหกิจ 175,000,000 26,811,128.50 15.32

- อ่ืน ๆ 108,000,000 18,095,480.61 16.76

รวม 1,088,100,800 161,534,556 14.85 ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตาราง 7 แผนประมาณการรายรับและรายรับจริง ป 2553 ไตรมาส 1 (ตค.-ธค. 2552)

รับจริง ลําดับท่ี รายการ

ประมาณการ (บาท) บาท รอยละ

1 เงินเดือน 160,000,000 37,509,658.29 23.44 2 คาจางประจํา 30,000,000 6,796,710.00 22.66 3 คาเชาบาน 250,800 53,700.00 21.41 4 เงินประจําตําแหนง 19,000,000 5,048,200.00 26.57 5 คาตอบแทน เงินเดือนเต็มข้ัน 1,000,000 217,575.00 21.76

Page 7: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

7

รับจริง ลําดับท่ี รายการ

ประมาณการ (บาท) บาท รอยละ

6 คาตอบแทนพิเศษ(ง/ด< 12,000บ) 900,000 186,330.00 20.70 7 เงินเดือนพนักงานราชการ 1,000,000 267,080.00 26.71 8 เงิน พตส. 20,000,000 3,734,558.00 18.67 9 กบข. 4,800,000 1,824,053.29 38.00 10 กสจ. 900,000 181,300.50 20.14 11 คาเลาเรียนบุตร 2,500,000 571,429.00 22.86 12 คารักษาพยาบาลบุตร 700,000 97,686.00 13.96 13 ประกันสังคมสมทบพนง.ราชการ 50,000 11,052.00 22.10 14 โครงการจากหนวยงานอ่ืน 10,000,000 1,746,991.00 22.86 15 งบลงทุน ท่ีดิน ส่ิงกอสราง 229,000,000 15,961,000.00 13.96 16 คาเหมาจายรายหวั UC 270,000,000 38,861,669.67 22.10 17 รับจากการตามจาย 15,000,000 6,258,394.00 20.55 18 รายรับ UC โอนขามปงบประมาณ 40,000,000 1,835,040.32 7.98

19 สวัสดิการขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ 175,000,000 26,811,128.50 15.32 20 กองทุนประกนัสังคม 30,000,000 1,480,045.24 4.93 21 กองทุนผูประสบภัยจากรถ 8,000,000 2,072,748.00 25.91 22 คาธรรมเนียมผูปวยจายเอง 60,000,000 12,515,498.00 20.86 23 เงินบริจาค 5,000,000 775,920.00 15.52 24 รายรับอ่ืนๆ 5,000,000 1,251,269.37 25.03 รวม 1,088,100,800 166,069,036 15.26

ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

Page 8: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

8

ตาราง 8 ประมาณการรายจาย และรายจายจริง ป 2553 ไตรมาส 1(ตค.-ธค. 2552) จําแนกรายหมวด

ท่ี หมวด ประมาณการ (บาท) จายจริง (บาท) รอยละ

1 งบดําเนินการ 428,116,195 95,677,948.95 22.35

2 งบบุคลากร 398,790,800 91,660,471.29 22.98

3 งบลงทุน 232,350,000 6,290,071.60 2.71 รวม 1,059,256,995 193,628,491.84 18.28

ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตาราง 9 แผนรายจาย และรายจายจริง ป 2553 ไตรมาส 1(ตค.-ธค. 2552) หมวดงบบุคลากร

ลําดับท่ี

รายการ ตามแผน

(บาท) รายจายจริง

(บาท) รอยละ

1 เงินเดือน 171,720,000 37,509,658.29 21.84

2 คาจางลูกจางประจํา 29,680,000 6,796,710.00 22.90

3 พนักงานราชการ 1,060,000 267,080.00 25.20 4 เงินประจําตําแหนง + เงินคาตอบแทน งปม. 12,000,000 5,048,200.00 42.07

5 เงินคาตอบแทนเงินงบประมาณ 2,380,000 403,905.00 16.97

6 คาจางลูกจางช่ัวคราว 40,000,000 9,311,120.00 23.28

7 คาจางช่ัวคราวรายวัน 7,200,000 1,590,210.00 22.09

8 คาตอบแทนพตส. 14,500,000 3,774,758.00 26.03

9 คาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 85,000,000 19,480,930.00 22.92

10 คาตอบแทนอ่ืนๆ ทุกหมวด 35,000,000 7,424,200.00 21.21

11 คาเชาบาน 250,800 53,700.00 21.41

รวม 398,790,800 91,660,471.29 22.98 ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

Page 9: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

9

ตาราง 10 แผนรายจายและรายจายจริง ป 2553 ไตรมาส 1 ( ตค.-ธค. 2552) หมวดงบดําเนินการ

ลําดับท่ี รายการ ตามแผน (บาท)

รายจายจริง (บาท)

รอยละ

1 คาใชสอย (M1) 58,281,924 7,120,588 12.22 2 คาสาธารณูปโภค 15,420,000.00 4,063,721.86 26.35 3 คาวัสด ุ 82,002,195.00 20,000,557.93 24.39 4 คาวัสดุยาและเวชภณัฑมิใชยา 235,000,000.00 53,255,681.21 22.66 5 การสนับสนุนเครือขาย 10,000,000.00 4,945,300.00 49.45 6 ตามจายกรณีสงตอ 10,000,000.00 1,995,097.50 19.95 7 งบกลาง 15,000,000.00 2,674,468.79 17.83

รวม 425,704,119 94,055,415.43 22.09

ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตาราง 11 แผนรายจาย และรายจายจริง ป 2553 ไตรมาส 1 (ตค.-ธค. 2552) หมวดงบลงทุน

ลําดับท่ี รายการ ตามแผน (บาท) รายจายจริง (บาท) รอยละ

1 ท่ีดิน 14,000,000 0.00 0

2 ส่ิงกอสรางใหม 96,000,000 1,698,549.00 1.77

3 ครุภัณฑการแพทย 108,000,000 4,155,500.00 3.85

4 ครุภัณฑไมใชการแพทย 9,500,000 362,682.60 3.82

5 ครุภัณฑคอมพิวเตอร 4,850,000 73,340.00 1.51

รวม 232,350,000 6,290,071.60 2.71 ท่ีมา : ฝายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

Page 10: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

10

5. ขอมูลการใหบริการ ตาราง 12 การใหบริการของโรงพยาบาลมหาสารคาม ปงบประมาณ 2550 – 2553

ปงบประมาณ การใหบริการ

2550 2551 2552 2553* 1. จํานวนเตียง (เตียง) 472 472 472 472 2. จํานวนผูปวยนอกทั้งหมด (คร้ัง) 383,477 422,446 452,142 109,544 3. จํานวนผูปวยนอก (คร้ัง/วัน) 1,341 1,157 1,239 1,191 4. จํานวนผูปวยในท้ังหมด ( ราย ) 36,548 40,468 43,227 11,471 5. จํานวนผูปวยใน (ราย/วนั) 415 425 450 465 6. อัตราครองเตียง (รอยละ) 88 90.08 95.31 99.55 7. จํานวนการผาตัดใหญท้ังหมด (คน) 9,977 10,375 13,079 3,401 8. อัตราการผาตัดใหญตอผูปวยใน (รอยละ) 27.3 25.64 30.26 29.65 9. จํานวนวนัอยูโรงพยาบาลเฉล่ีย (วัน/คน) 4.15 3.83 3.80 3.73 10. จํานวนผูปวยในเสียชีวติ (คน) 663 669 731 173 11. อัตราการเสียชีวิตของผูปวยในโรงพยาบาล(รอยละ)

1.81 1.65 1.69 1.51

12. จํานวนผูปวยนอกเสียชีวิต (คน) 63 52 6 0 13. อัตราการเสียชีวิตของผูปวยนอก(รอยละ) 0.01 0.02 0.001 0 14. จํานวนผูปวยท่ีรับไวรักษาตอ (คน) 41,588 53,351 57,858 14,945 15. จํานวนผูปวยท่ีสงไปรักษาตอ (คน) 5,131 5,693 6,284 1,648 16. สัดสวนการรับผูปวยไวรักษาตอ/การสงผูปวยไปรักษาตอ

8.11 9.37 9.21 8.96

ที่มา : ศูนยขอมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม * หมายเหตุ : ป 2553 ขอมูลต้ังแต วันที่ 1 ตุลาคม 2551 – 31 ธันวาคม 2552

Page 11: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

11

ตาราง 13 สาเหตุการปวยของผูปวยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม 10 อันดับแรก

ปงบประมาณ ลําดับ โรค

2550 2551 2552 2553*

1 Essential (primary) hypertension 24,088 28,217 31,722 8,779

2

Disorders of lipoprotein metabolism and other lipidaemias 14,452 19,157 23,495 6,105

3 Non-insulin-dependent diabetes mellitus 22,064 2,259 16,559 4,369

4 Dyspepsia 6,056 7,997 13,201 3,765

5 Chronic renal failure 5,694 7,116 8,893 2,428

6 Acute pharyngitis, unspecified 7,204 6,652 7,901 2,172

7 Acute nasopharyngitis [common cold] 2,032 3,554 6,765 1,502

8

Other soft tissue disorders, not elsewhere classified 1,066 3,451 3,959 1,497

9 Hyperplasia of prostate 3,253 3,028 4,737 1,464

10 Other disorders of muscle 1,893 1,653 3,066 1,243 * หมายเหตุ : ป 2553 ขอมูลต้ังแต วันที่ 1 ตุลาคม 2551 – 31 ธันวาคม 2552 ที่มา : ศูนยขอมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม

Page 12: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

12

ตาราง 14 สาเหตุการปวยของผูปวยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม 10 อันดับแรก

ปงบประมาณ ลําดับ โรค

2550 2551 2552 2553* 1 Calculus of kidney and ureter 1,163 1,022 1,006 360 2 Acute appendicitis 888 1,073 1,201 356

3 Diarrhoea and gastroenteritis of presumed infectious origin 719 1,652 1,290 333

4 Bacterial pneumonia, not elsewhere classified 701 842 908 267 5 Intracranial injury 253 612 805 236 6 Other septicaemia 456 439 442 151 7 Senile cataract 753 890 472 150 8 Acute bronchitis 263 426 396 135 9 Pneumonia, organism unspecified 290 386 421 131 10 Heart failure 315 328 351 130

หมายเหตุ : ป 2553 ขอมูลต้ังแต วันที่ 1 ตุลาคม 2551 – 1 มกราคม 2552 ที่มา : ศูนยขอมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม

ตาราง 15 การใหบริการผูปวยนอก เครือขายสถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาสารคาม ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553

รายการ จํานวน(ราย)

เฉลี่ย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉลี่ย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉลี่ย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉลี่ย / วัน

ในเขตเทศบาล 87,169 239 99,538 273 102,669 281 27,013 294 ใน

เขต อ.เมือง นอกเขต

เทศบาล 125,114 343 132,818 364 139,881 383 37,044 403

นอกเขต อ. เมือง 171,174 469 190,090 521 209,756 575 46,760 508

ผูปวยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม

รวม 383,457 1,051 422,446 1,157 452,306 1,239 110,817 1,205

สอ. 17 แหง 108,285 297 112,842 309 153,222 420 49,922 543 PCU ในเขตเมือง ( 4 แหง) 15,239 42 29,576 81 39,172 107 9,632 105

เครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม

รวม 123,524 338 142,418 390 192,394 527 59,554 647

รวม 506,981 1,389 564,864 1,548 644,700 1,766 170,371 1,852

หมายเหตุ : ผูปวยนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม เฉล่ียตอวัน = จํานวนผูปวย (ราย) / 365

Page 13: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

13

ตาราง 16 ผูปวยในจําหนายตอวัน โรงพยาบาลมหาสารคาม ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553

รายการ จํานวน(ราย)

เฉล่ีย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉล่ีย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉล่ีย / วัน

จํานวน(ราย)

เฉล่ีย / วัน

ใน เขต อ.เมือง 12,699 35 13,694 38 14,120 39 3,845 42

ผูปวยในโรงพยาบาลมหาสารคาม นอกเขต

อ. เมือง 23,848 65 26,774 73 29,108 80 7,626 83

รวม 36,547 100 40,468 111 43,228 118 11,471 125

หมายเหตุ : ผูปวยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม เฉล่ียตอวัน = จํานวนผูปวย (ราย) / 365 ป ที่มา : ศูนยขอมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม ปงบประมาณ 2553 เฉล่ีย หาร 91 วัน

Page 14: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

14

สวนท่ี สวนท่ี 2 2

ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

-------------------------------------------------------------------------------------------------------- คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปญหาเรงดวนและการ

ตรวจบูรณาการ คณะที่ 2 การพัฒนาระบบริการสุขภาพภายใตระบบ

ประกันสุขภาพ คณะที่ 3 สงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลด

ปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพ คณะที่ 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ

Page 15: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

15

คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปญหาเรงดวนและการตรวจบูรณาการ ภารกิจท่ี 1 การติดตามนโยบายและปญหาเรงดวนและการตรวจบูรณาการ ประเด็นหลักท่ี 1 การดําเนนิงานเพ่ือสนองนโยบายและแกไขปญหาเรงดวน หัวขอท่ี 1.1 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหเกดิประสิทธิภาพและมีคุณภาพมาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

พัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด 0101 ชื่อตัวชี้วัด จํานวน รพ.สต. ในจังหวัดท่ีผานการประเมินตามเกณฑท่ีกําหนด ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางวัฒนา สวางศร ี

เกณฑ จัดระดับผลการดําเนินการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลตามเกณฑการประเมิน ไดเปน 3 ระดับดังนี้ 1. รพ.สต. ระดับ “ด”ี มีกิจกรรมจากการประเมิน ครบอยางนอย 14 หัวขอยอย ใน 22 ขอยอย 2. รพ.สต. ระดับ “ดีมาก” ผานการประเมินระดับ “ดี” โดยมีเกณฑหวัขอ 3.4.1 “มีการสรางแกนนําเฝาระวังปญหาสุขภาพในชุมชน” ผานดวย 3. รพ.สต. ระดับ “ดีเยีย่ม” ผานการประเมินระดับ “ดี” โดยมีเกณฑหวัขอ 3.4.1 , 3.4.2 , 3.4.3 ผานท้ังหมดแสดงถึงความเขมแข็งของชุมชน ประชาชนสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมพึงประสงค

ตาราง 17 ผลการดําเนินงาน ( ตค.52-ธค.52 )

เปาหมาย (แหง) ผลงาน (แหง) รอยละ ระดับด ี 0 0.00 ระดับดีมาก 5 83.33 ระดับดีเยี่ยม 1 16.67

รวม 6 100.00

Page 16: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

16

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา เครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม ดูแลประชากร 14 ตําบล 215 หมูบาน จํานวน ประชากร 144,260 คน หนวยบริการปฐมภูมิ 20 แหง บุคลากรสาธารณสุข 93 คน

ตาราง 18 สรุปการประเมินผลเพื่อยกระดบัหนวยปฐมภมิูเปน รพ.สต. ดังนี ้ระดับการประเมิน รพ.สต.

แผน หนวยบริการปฐม

ภูมิ ดี ดีมาก ดีเยี่ยม คะแนน หมายเหตุ

โนนแต X 15 ดอนหวาน X 16 ทาตูม X 17 ขอ 4.1 ผาน หนองแวง X 16 หนองโน X 16

ป2552-2553

หัวนาคํา X 18 ขอ 4.1 , 4.2 , 4.3 ผาน ลาด X 14 โคกกอ X 14 หนองจกิ X 14 บัวคอ X 14 เขวา X 15 เชียงเหยีน X 16 อุปราช X 16

ป 2554

โนนเพ็ก X 16 บุงคลา X 14 หวยแอง X 15 บูรพา X 15 เกิ้ง X 16 สามัคคี X 16

ป 2555

อุทัยทิศ X 17 ขอ 4.1 , 4.2 , 4.3 ผาน

Page 17: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

17

ตาราง 19 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 โครงการพฒันาระบบบริการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม

กิจกรรม กิจกรรม งบประมาณ (บาท)

แหลงงบ

1. การพัฒนาระบบบริการปฐมภมิู

- อบรมหมอชุมชน จัดทําคูมือการปฏิบัติงานและคาตอบแทนการปฏิบัติงาน - การบริการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค (Home ward) - การบริการทนัตสาธารณสุข

771,700

46,400

825,760 2. การพัฒนาระบบขอมูลสุขภาพชุมชน

- พัฒนาระบบเช่ือมโยงการใหคําปรึกษา Webcam - พัฒนาระบบขอมูล Family folder ใหมีความครบถวน ถูกตอง เปนปจจุบัน - พัฒนาการเช่ือมโยงระบบสงตอ

84,000

135,000

156,000 3. การพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชน

- ประชาสัมพนัธเชิงรุกในชุมชน รับทราบแนวทางการดําเนนิงาน รพสต. - พัฒนา ศสมช. ตนแบบ

58,000

482,400 4. สนับสนุนการดําเนินงานเชิงรุก

- จัดจางผูชวยพยาบาล ในการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชน

420,000

5. การประเมินผล - สรุปและประเมินผลการดาํเนินงาน 15,000

สํานักงานหลักประกนัสุขภาพแหงชาติ สาขาเขตพ้ืนท่ีขอนแกน

6. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

- ภูมิทัศนและส่ิงกอสราง - วัสดุ ครุภณัฑ

2,986,571 5,084,450

SP II

รวม 11,065,281

Page 18: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

18

ตาราง 20 ปญหาอุปสรรคในการดําเนนิงาน แนวทางแกไขปญหา

ประเด็นสําคญั / กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสุนน

แนวทางแกไข

1. รพ.สต. มีสมรรถนะและมีบรรยากาศเอ้ืออํานวย 1.1 มีจํานวนบุคลากรเหมาะสมกับงาน (1:1,250) พบวา มี รพ.สต ไมผานเกณฑ 19 แหง (95 %) 1.2 มีพยาบาลเวชปฏิบัติ 1: 5,000 (ทีม 2-3 ตอ 10,000 คน) พบวามี รพ.สต. ไมผานเกณฑ 10 แหง ( 50% ) 1.3 มีระบบส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ (โทรศัพทติดตอ,ประชาชน ,Web cam) พบวามี รพ.สต. ไมผานเกณฑ 16 แหง (80%) ปจจุบันมีการใชโทรศัพทติดตอประสานงานท้ังในชุมชนและการประสานระหวางโรงพยาบาลและหนวยบริการปฐมภูมิ

- นําเสนอขอมูลตอคณะกรรมการ HRM ของรพ.มค.เพื่อจัดสรรบุคลากรใหไดตามเกณฑ - นําเสนอขอมูลกรรมการ HRM ของรพ.มค.และจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร - จัดทําแผนพฒันาระบบการใหคําปรึกษา 1. มีนโยบายใหหนวยบริการทุกแหงใช Internet ความเร็วสูง 2. จัดทําแผนซ้ือกลอง Web cam ใหกับหนวยบริการปฐมภมิู 3. จดัทําระบบการใหคําปรึกษาระหวางรพ.สต.และโรงพยาบาล

2. รพ.สต. มีระบบบริหารจดัการองคกรมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติงานเชิงรุก “ใชบานเปนท่ีทํางาน” พบวามีรพ.สต.ไมผานเกณฑ 19 แหง (95%) ปจจุบันมีการจัดทําแผนปฏิบัติงานเชิงรุกมีการเยี่ยมบาน มีการตรวจคัดกรอง DM, HT และตรวจมะเร็งปากมดลูก ในชุมชน สวนการดําเนินงานท่ีศสมช. และการจัดบริการผูปวยนอนท่ีบาน (Home Ward) ยังไมเปนรูปธรรมท่ีชัดเจน

จัดทําแผนในการพัฒนาระบบการบริหารในชุมชน 1. จัดอบรมการบริการในชุมชนดวยหวัใจความเปนมนุษย 2. จัดอบรม อสม.(หมอชุมชน)ในการจัดบริการ Home ward 3. สนับสนุนการดําเนนิงานของศสมช.ใหเปนรูปธรรม 4. ประชุมช้ีแจงแนวทางการดําเนินงาน Home ware 5.จัดทําคูมือการดําเนินงาน

2.2 ประสาน “การสงตอเอ้ืออาทร” พบวา รพ.สต.ไมผานเกณฑ 20 แหง (100%) ปจจุบันมีระบบการสงตอและผูปวยฉุกเฉินโดยโทร 1669 และมีการประชาสัมพันธอยางท่ัวถึงแตการสงผูปวยกลับมาในชุมชนโดยรถโรงพยาบาลหรือ อปท.ยังไมมีระบบท่ีชัดเจน

1. จัดทําแนวทางสงตอเอ้ืออาทร 2. ประชุมช้ีแจงการใชแนวทางการสงตอเอ้ืออาทร 3. ติดตามประเมินผล

3. ภาคีทุกภาคมีสวนรวมตัดสินใจขับเคล่ือนและ

Page 19: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

19

ประเด็นสําคญั / กิจกรรม / กระบวนการ / การสนับสุนน

แนวทางแกไข

สนับสนุน มีโรงเรียนอสม.เพื่อพัฒนาใชชุมชนพึ่งตนเอง รวมทั้งสนับสนุนการดําเนนิการของ ร.ร. อสม. ในระยะยาว พบวา รพ.สต.ไมผานเกณฑ 20 แหง (100%) ปจจุบัน มีการจัดทําแผนอบรมฟนฟูอสม.และมีการอบรมอสม.ใหมโดยใชหลักสูตรอสม.เช่ียวชาญ 10 สาขา แตยังไมไดจัดต้ังเปนโรงเรียน อสม.

1. จัดต้ังโรงเรียน อสม.ในหนวยบริการปฐมภูมิ ทุกแหง 2. จัดทําคูมือการอบรม อสม.

4. ชุมชนเขมแข็งประชาชนสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมได 4.1 ชุมชนกําหนดมาตรการทางสังคมอยางมีสวนรวมพบวา รพ.สต.ไมผานเกณฑ 14 แหง (70%) 4.2 ชุมชนทําแผนชุมชนเอง พบวา รพ.สต.ไมผานเกณฑ 10 แหง (50%)

1 สนับสนุนใหหนวยบริการปฐมภูมิมีการจัดทํามาตรการทางสังคมอยางมีสวนรวมทุกแหง 2 สงเสริมใหหนวยบริการปฐมภูมิมีการสนับสนุนใหชุมชนจดัทําแผนเอง

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง

ควรพัฒนาคูมือและแบบประเมินใหมีความชัดเจน เพื่อนําไปสูความนาเช่ือถือในการประเมิน

Page 20: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

20

ภารกิจท่ี 1 : การติดตามนโยบายและปญหาเรงดวนของกระทรวงสาธารณสุข ประเด็นหลักท่ี 1 : การดําเนนิงานเพ่ือสนองนโยบายและแกไขปญหาเรงดวน หัวขอท่ี 1.2 : โครงการภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.เกรียงไกร โกวิทางกูร ผูรายงานและจัดเก็บตัวชี้วัด นางชมนาถ แปลงมาลย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 ตาราง 21 แผนการกอสราง

ปงบประมาณ รายการ ราคาตอหนวย (บาท) 2553 อาคารพักคนไข 10 ช้ัน 134,958,300 2554 อาคารผูปวย 114 เตียง 5 ช้ัน 51,481,900 2554 อาคารอุบัติเหตุและพักผูปวย 6 ช้ัน 180,000,000 2554 อาคารพักแพทย พยาบาล เภสัชกรและทันตแพทย เปน

อาคาร คสล.8 ช้ัน 75,400,000

รวม 441,840,200

ตาราง 22 แผนครภุัณฑ

ท่ี รายการ จํานวน (หนวย)

ราคาตอหนวย (บาท)

1 ชุดเคร่ืองมือผาตัดชองทองดวยกลองวิดีทัศน Laparoscopic surgery พรอมอุปกรณ

2 4,000,000

2 เคร่ืองจี้ตัดหามเลือดและเช่ือมปดเสนเลือดดวยคล่ืนความถ่ีสูง (Harmonic Scalpel)

1 2,000,000

3 เคร่ืองชวยหายใจชนิดควบคุมดวยปริมาตร(Ventilator Volume) 1 750,000 4 เตียงผาตัดกระดูกพรอม Extension Fracture Table 1 3,500,000 5 ชุดเคร่ืองมือผาตัดกระดูกสันหลังผานกลอง (Endoscopic

Discectomy) 1 6,000,000

6 กลองผาตัดตาพรอมอุปกรณวีดีโอ(Posterior Segment Microscope)

1 6,000,000

7 เคร่ืองตัดน้ําวุนตาสวนหลังพรอมเลเซอรและผาตัดตอกระจกดวยคล่ืนเสียงความถ่ีสูง (PPV)

6,000,000

รวมเงิน 28,250,000

Page 21: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

21

ผลการดําเนินงาน 1. จัดต้ังสํานักงานประสานงานโครงการ

2. แตงต้ังดําเนนิงาน - คณะกรรมการอํานวยการ - คณะกรรมการบริหารโครงการ - คณะกรรมการดานวางแผนปรับปรุง และบริหารพื้นท่ีสําหรับหนวยงานใหม - ดานการดําเนินการเคล่ือนยาย - ดานการงบประมาณ - ดานการประชาสัมพันธ - ดานการคมนาคมและการจราจร - ดานอัตรากําลัง - ดานการสํารวจและออกแบบ - คณะกรรมการจัดซ้ือจัดจาง

3. จัดทําแผนรองรับการกอสราง 3 ระยะ อยูระหวางการดําเนินงานระยะท่ี 2 - ระยะท่ี 1 สค.52- มีค.53 จํานวน 16 หนวยงาน ดําเนินการแลว 6 หนวยงาน

อยูระหวางการปรับปรุงอาคาร จํานวน 10 หนวยงาน - ระยะท่ี 2 มค.53-เมย.53 จํานวน 5 หนวยงาน ทําการสํารวจแลว อยูระหวางการ

ออกแบบประมาณราคา 4. จัดเตรียมแบบแปลนและทําการปรับราคาทองถ่ินโดยโยธาธิการจังหวัด จัดทํารางเอกสารการ

จัดซ้ือจัดจางและแตงคณะกรรมการท่ีเกี่ยวของตามระเบียบรอยแลว เม่ือไดรับการแจงอนุมัติใบจดัสรรรายการจากสวนกลาง จะสามารถดําเนินการไดทันที

ปญหาและอุปสรรค - ความกาวหนา และความชัดเจนของโครงการ ทําใหเกิดความไมม่ันใจในการเตรียมการรองรับ

การกอสราง

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง - สวนกลางควรมีแนวทางการดําเนินการท่ีชัดเจน และสรางความม่ันใจแกหนวยงาน

Page 22: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

22

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบประกันสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบประกันสุขภาพ ประเด็นหลักท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกนัสุขภาพให ประชาชน

เขาถึงได หัวขอท่ี 2.1 การจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการ 4 ระบบ ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหเกดิประสิทธิภาพและมีคุณภาพมาตรฐาน

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

พัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด 0201 ชื่อตัวชี้วัด ความสําเร็จของจังหวัดในการจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ผูรับผดิชอบ นพ.ไพบูลย อัศวธนบดี (ระบบบริการปฐมภูมิ)

นพ.บวร แสนสุโพธ์ิ (ระบบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ) ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางวัฒนา สวางศรี (ระบบบริการปฐมภมิู) นางชมนาถ แปลงมาลย (ระบบบริการทติุยภูมิ ตติยภมิู)

เกณฑ ประกอบดวย 3 องคประกอบ คือ 1. แตงต้ังคณะกรรมการการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับอําเภอ โดยมีภาคีเครือขายทุกภาค

สวนรวมเปนกรรมการ และมีการประชุมคณะกรรมการฯ อยางนอย 3 เดือน / คร้ัง เพื่อติดตามความกาวหนาและแกไขปญหาและอุปสรรครวมกัน

2. จัดทําแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพภาพรวมอําเภอ (แผน 3 ป) ท่ีครอบคลุมและสอดคลองระหวาง แผนคน แผนเงิน งบลงทุน

3. หนวยบริการทุกระดับมีการจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (แผน 3 ป) ท่ีสอดคลองและเช่ือมโยงกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับอําเภอ

ตาราง 23 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552)

เปาหมาย (องคประกอบ) ผลงาน (องคประกอบ) รอยละ 3

3

100

Page 23: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

23

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ เครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม มีหนวยบริการปฐมภมิูท้ังหมด 20 แหง อยูในเขตเทศบาล 3 แหง นอกเขตเทศบาล 17 แหง ดูแลประชากร 144,260 คน มีบุคลากร 93 คน มีกองทุนสุขภาพตําบล 15 กองทุน ป 2548 – 2552 มีการพัฒนาคุณภาพโดยใชมาตรฐานศูนยสุขภาพชุมชน 26 ขอ 42 ตัวช้ีวดั ในป 2553 ไดนํา PCA มาใชในการพัฒนาคุณภาพ สําหรับการบริหารงบประมาณไดมีการจัดสรรงบประมาณตามแนวทางของจังหวดั โดยปรับเปล่ียนเพื่อใหเอ้ือตอทุกหนวยบริการ โดยมีการพัฒนาดังนี ้

1. แตงต้ังคณะกรรมการบริหารเครือขาย (Cup Board) และคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอําเภอเมือง เพือ่กําหนดนโยบาย และทิศทางการพัฒนา การกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน มีการประชุมอยางนอย 2 เดือน/คร้ัง

2. มีการจัดทําแผนพัฒนา PCU มีการเช่ือมโยงกับแผนงบลงทุน แผนกําลังคน แผนงบประมาณ และแผนพัฒนาบริการ

3. มีการประสานแผนและรวมจดัทําแผนกองทุนสุขภาพตําบลครบทุกแหง และทํากจิกรรม OD เจาหนาท่ีสถานีอนามัย และนายกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

4. สงพยาบาลวิชาชีพทุกคนอบรมพยาบาลเวชปฏิบัติท่ัวไป และมีแผนการพัฒนาบุคลากร อบรมการบริการดวยหวัใจความเปนมนุษยใหกบัเจาหนาท่ีหนวยบริการปฐมภูมิ

5. มีการวิเคราะหจุดออนในการดูแลประชากรในพ้ืนท่ีบริการของ PCU คือ การบริการสงตอ และเช่ือมโยง การดแูลผูปวยโรคเร้ือรัง ระบบขอมูล

6. มีการนําเกณฑคุณภาพหนวยบริการปฐมภมิู (PCA) มาใชในการพัฒนา 7. มีการจัดสรรงบประมาณตามแนวทางจังหวัดและปรับเปลี่ยนภายใน CUP เพื่อใหสอ.เอ้ือ

งบประมาณกนัได 8. มีการติดตาม นิเทศ ประเมินผลปละ 2 คร้ัง

การพัฒนาแผนกลยุทธระบบบริการสุขภาพระดับทุติยภมิูและตติยภูมิ 1. แตงต้ังคณะกรรมการบริหารเครือขาย ( CUP Broad) และคณะกรรมการนโยบายและ

ยุทธศาสตร เพื่อกําหนดนโยบายและทิศทางการพัฒนา การกํากับ ติดตามและประเมินผลแผนกลยุทธ 2. มีการจัดทําแผนกลยุทธของระบบบริการสุขภาพ ป 2553-2555 อยูระหวางการดําเนนิการ

ทบทวน 3. มีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป 2553 ของหนวยงานทุกระดับท่ีมีความสอดคลองเช่ือมโยง

กับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของโรงพยาบาล จําแนกตามรายการ ดังนี ้

Page 24: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

24

ตาราง 25 แผนปฏิบัติการ ประจําป 2553 จําแนกตามรายการ

รายการ งบประมาณ(บาท) รายการ งบประมาณ(บาท) งบบุคลากร 431,264,092 คาวัสดุยาและเวชภณัฑมิใชยา 235,000,000 งบลงทุน 227,449,129 งบกลาง 15,000,000 คาใชสอย 45,522,297 การประชุม/อบรม/สัมมนา 15,000,000 คาสาธารณูปโภค 15,487,240 การสนับสนุนเครือขาย 10,000,000 คาวัสด ุ 83,002,195 การสรางเสริมสุขภาพและ

ปองกันโรค 12,252,360

รวม 1,089,977,313

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ป 2550-2554 เครือขายโรงพยาบาลมหาสารคามมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรท่ีครอบคลุมท้ัง

ระบบบริการดานสุขภาพ และระบบสุขภาพท่ีเช่ือมโยงกับนโยบายจากสวนกลาง และจังหวัด สงผลให แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ตัวช้ีวดัสวนใหญจะเนนงานประจํา และไมไดกําหนดเข็มมุงและระยะเวลาการบรรลุผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนาท่ีชัดเจน ดังนั้น กําหนดนโยบายเนนการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถดานการบริการท่ีสูงข้ึนเพื่อยกระดับการบริการจากระดับ 2.3 เปน 3.1 รายละเอียดขอมูลปรากฏในเอกสารศักยภาพการบริการของโรงพยาบาลมหาสารคาม เพื่อประกอบการขอยกระดับการบริการ 2.3 เปน 3.1 ตาราง 26 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553

โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ(บาท) แหลงบประมาณ 1. โครงการทบทวนแผนกลยุทธระบบบริการ ป 2553-2555 ไมมีงบประมาณ - 2. โครงการพัฒนาศักยภาพทีมนํากลยุทธบริการสุขภาพ 50,000 เงินบํารุง 3. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศดานสุขภาพ ไมมีงบประมาณ - 4. โครงการพัฒนาระบบติดตามและประเมินผล 50,000 เงินบํารุง 5. โครงการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะ - 6. โครงการพัฒนาระบบสงตอ - 7. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผูปวยเร้ือรัง - 8. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ - 9. โครงการพัฒนาคุณภาพ PCA 200,000

สปสช.ขอนแกน

10. โครงการพัฒนา รพสต. 11,065,281 SP II/สปสช.ขอนแกน

Page 25: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

25

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. ไมมีมาตรฐาน และกรอบแนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการประจําปให

หนวยงานแตละระดับ 2. การจัดทําแผนพัฒนาระบบปฐมภูมิยังไมครอบคลุมสภาพปญหาและความครอบคลุมของ

พื้นท่ี รวมท้ังขาดการบูรณาการอยางเปนระบบกับระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ 3. การบริหารกองทุนสุขภาพตําบล บางแหงไมเปนไปตามข้ันตอนและระเบียบปฏิบัติท่ีกําหนด

และขาดการส่ือสารอยางเปนระบบ

แนวทางการแกไขปญหา 1. จัดทําแนวทางท่ีชัดเจนในการจัดทําแผน เพื่อสรางความเขาใจในการดําเนินงาน การติดตามประเมินผลกองทุนสุขภาพ 2. จัดทําคูมือ โดยกําหนดรูปแบบ และกรอบแนวทางการจัดทําแผนของเครือขาย ประกอบดวยการพัฒนาศักยภาพตามกลยทุธ นโยบาย และการแกไขปญหางานประจํา 3. ทบทวนแผนกลยุทธของเครือขายท่ีเปนจุดเนนของระบบบริการสุขภาพท่ีโรงพยาบาลตองการพัฒนาศักยภาพเพิ่มข้ึน เพื่อกําหนดจุดเนน สรางเปนจุดขาย

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. ควรมีการพัฒนาศักยภาพทีมนําดานแผนยุทธศาสตรของเครือขาย 2. ควรกําหนดมาตรฐานกรอบและแนวทางการจัดทําแผนของหนวยงานแตระดับใหชัดเจน

รวมท้ังระเบียบวิธีปฏิบัติ

Page 26: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

26

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบหลักประกันสุขภาพ ภาระกิจท่ี 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพใตระบบประกันสุขภาพ หัวขอ การพัฒนาระบบสงตอ ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบประกันสุขภาพใหเกิดประสิทธิภาพปละคุณภาพมาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง การพัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ รหัสตัวชี้วัด 0202 ชื่อตัวชี้วัด รอยละของการถูกปฏิเสธการสงตอผูปวย 4 ระดับ คือ ภายในจังหวัด

ภายในเขต การสงตอขามเขต และการสงตอสวนกลาง(กรมการแพทย)/โรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.เกรียงไกร โกวิทางกูร / นพ.วีระศักดิ์ ศรีชวนช่ืนสกลุ ผูรายงานและจัดเก็บตัวชี้วัด นางคนึงนิจ ศรีษะโคตร

ตาราง 27 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.– ธค.2552)

เปาหมาย ผลงาน รอยละ จํานวนผูปวยสงตอท้ังหมด 16,500 ราย 0 0.00 - จํานวนผูปวย Refer in (จากสอ.) 676 ราย จาก (รพช) 14,225 ราย - จํานวนผูปวย Refer out ภายในเขต 484 ราย - จํานวนผูปวย Refer ขามเขต 6 ราย - จํานวนผูปวย Refer ตอสวนกลาง/ นอกกระทรวง1,028 ราย - จํานวนผูปวย Refer Back 81 ราย - ไมมีการปฏิเสธในการสงตอผูปวย

สถานการณ / ขอมูลท่ีผานมา ป 2552 โรงพยาบาลมหาสารคามมีผูปวยท่ีสงตอท้ังหมด 67,331 คน จําแนกเปน ผูปวยสงตอ

ภายในจังหวดั จํานวน 56,519 ราย และภายในเขต จํานวน 10,812 ราย ถูกปฏิเสธจํานวน 8 คร้ัง คิดเปนรอยละ 0.02 ของผูปวยท้ังหมด และทุกรายเปนการปฎิเสธภายในเขต

Page 27: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

27

ตาราง 28 แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม

แผนงาน/โครงการดาน กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. พัฒนาระบบการดูแลผูปวยวิกฤติฉุกเฉินขณะสงตอ

- พัฒนาแนวทางการดูแลผูปวย - พัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวยขณะสงตอ - อบรมการดูแลผูปวยภาวะวกิฤติในระบบสงตอ - ปรับปรุงคูมือการสงตอ

106,800 เงินบํารุง

2. พัฒนาศูนยประสานการสงตอ

- ระบบConsult ในเครือขายจังหวดั - พัฒนาโปรแกรม Refer ระดับจังหวัด

11,000 เงินบํารุง

ปญหาอุปสรรค 1. ขาดการประชุมระดับจังหวัดอยางตอเนื่อง 2. ระบบบริหารจัดการระดับจังหวดัไมตอเนื่อง เนื่องจากขาดผูรับผิดชอบเปนเวลานาน

แนวทางการแกไขปญหา

1. กําหนดผูรับผิดชอบระดบัจังหวดั และดําเนินงานอยางตอเนื่อง 2. ประชุมระดับจังหวดัเปนประจํา อยางนอย 4 คร้ัง / ป

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง

1. สนับสนุนใหมีการพัฒนาระบบอยางตอเนื่อง และยั่งยนื 2. กําหนดตัวช้ีวัดท่ีสอดคลองกับบริบทของงาน

Page 28: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

28

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบประกันสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกนัสุขภาพใหประชาชน

เขาถึงได หัวขอท่ี 2.3 การประเมิน Performance Outcomes หรือ Basic service ของสถานบริการ

แตละระดับ ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหเกดิประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

มาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

พัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด 0203 ชื่อตัวชี้วัด มีการใชขอมูลการใหบริการท่ีเนนความครอบคลุมตามกลุมเปาหมาย ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.ทรรศตวรรณ เดชมาลา

เกณฑ มีการใชขอมูลบริการสงเสริมสุขภาพข้ันพืน้ฐานของประชากรกลุมเปาหมาย ไดแก กลุมหญิงต้ังครรภ หญิงหลังคลอด ทารกแรกเกิด เด็กอายุ 0 – 5 ป เด็กอายุ 6 - 19 ป วยัทํางาน 20 – 59 ป

ตาราง 29 ผลการดําเนินงาน (ตค.-ธค.52)

กลุมเปาหมาย เปาหมาย ( หนวย )

ผลงาน ( หนวยงาน )

รอยละ

1.หญิงต้ังครรภ - การบริการฝากครรภตามเกณฑมาตรฐาน - การปองกันการแพรเช้ือ HIV จากแมสูลูก - การสงเสริมปองกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย - การตรวจสุขภาพชองปาก

1,100 866 866 866

294 1

201 173

26.73 0.12 23.21 19.98

2. หญิงหลังคลอด - การสงเสริมการเล้ียงลูกดวยนมแม - ติดตามเยี่ยมมารดาหลังคลอด 2 คร้ังตามเกณฑ

1,100 1,100

241 221

21.91 20.09

Page 29: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

29

กลุมเปาหมาย เปาหมาย ( หนวย )

ผลงาน ( หนวยงาน )

รอยละ

3. ทารกแรกเกดิ - การปองกันภาวการณขาด ออกซิเจน - การปองกันภาวะปญญาออน จากภาวะพรองธัยรอยดฮอรโมน - ติดตามเยี่ยมทารกหลังคลอด 2 คร้ังตามเกณฑ

308

308

1,100

10

308

221

32.47 : 1,000 การเกิดมีชีพ

100

20.09

4. เด็กอายุ 0 – 5 ป - การชั่งน้ําหนกัเทียบอายุ ทุก 3 เดือน - สงเสริมพัฒนาการ - การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - วัคซีนหดัหรือ MMR ในเดก็ 0-1 ป - วัคซีนไขสมองอักเสบเจอี คร้ังท่ี 3 ในเดก็อายุ 2-3 ป - วัคซีนดีทีพ-ี โอพีวี คร้ังท่ี 5 ในเดก็อายุ 4-5 ป

7,513 7,513 7,513 3,121 2,768 1,624

6,076 6,454 593 515 335

80.87 85.90 19.0 18.6 20.6

5 เด็กอายุ 6 - 19 ป - การใหภูมิคุมกันโรค - ป.1 - ป.6 - การตรวจสุขภาพนกัเรียนประจําป - การตรวจสุขภาพชองปาก , Sealant

2,032 2,016 11,718 4,034

- - - -

- - - -

6 วัยทํางาน 20 – 59 ป - การบริการวางแผนครอบครัว

14,776

1,586

10.73

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ในปงบประมาณ 2552 Cup เมืองไดจัดบริการสงเสริมสุขภาพข้ันพืน้ฐานตางๆ ตามกลุมเปาหมาย ตามกลุมอายุพบวาการดําเนนิการไดครอบคลุมเปาหมายตามเกณฑมีเพยีงการใหบริการสรางภูมิคุมกันโรค และการฝากครรภครบคุณภาพ ท่ีไมไดผลงานตามเปาหมายโดยเฉพาะในเขตเทศบาลเมืองฯ

Page 30: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

30

สําหรับการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ มีการปรับเปล่ียนบุคลากรท่ีรับผิดชอบงานท้ังดาน สาธารณสุข และกระทรวงศึกษา ทําใหขาดความตอเนื่อง การดําเนินการลาชา มีโรงเรียนท่ีผานระดับทอง รอยละ 67.08 ตาราง 30 ตารางแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. งานบริการอนามัยโรงเรียนและโครงการสงเสริมสุขภาพกลุมเดก็และเยาวชนอําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

71,600 เงินบํารุง รพ.มค.

2. พัฒนาระบบขอมูล ติดตามการรับวัคซีนของกลุมเปาหมาย

- -

3. คนหาหญิงมีครรภรายใหมทุกเดือนโดย อสม. - - 4. ติดตามเยีย่มบานหญิงมีครรภ - - ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน

1. บางงานไมไดอยูในนโยบายหรือภารกจิในกองทุน ทําใหขาดงบประมาณในการดาํเนินการหรือสนับสนุนงบประมาณไมตรงความตองการ

2. ไดรับความรวมมือจากหนวยงานอ่ืนนอย (กองทุน) เนื่องจากไมมีการกําหนดเปาหมายรวมกัน 3. ประชากรกลุมเปาหมายมีประชากรแฝงมาก ทําใหการดําเนินงานไมครอบคลุม 4. ระบบขอมูล ขาวสารไมมีประสิทธิภาพ

แนวทางการแกไขปญหา 1. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุน เพื่อสรางความเขาใจในการดําเนนิงาน 2. พัฒนาแนวทาง และคูมือการบูรณาการงานสรางเสริมสุขภาพ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. สวนกลางสนับสนุนนโยบายการดําเนนิงานในรูปของการบูรณาการรวมกับกองทุน และบทบาทยังไมชัดเจน ไมมีการประเมินงานตามตัวช้ีวัด ในกองทุน

Page 31: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

31

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบหลักประกันสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกนัสุขภาพให ประชาชน

เขาถึงได หัวขอท่ี 2.3 การประเมิน Performance Outcomes หรือ Basic service ของสถานบริการแต

ละระดับ ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหเกดิประสิทธิภาพและมีคุณภาพมาตรฐาน

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

พัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด 0204 ชื่อตัวชี้วัด จังหวัดมีการใช Case mixed index ในการประเมินการบริการท่ีเหมาะสมกับหนวย

บริการ ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ศักดิ์ชยั ทอนมาตย ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางเยาวลักษณ ทอนมาตย

ตาราง 31 ผลการดําเนินงาน (ตค.– ธค. 2552) เปาหมาย ผลงาน

1.44 * ตค.51-ธค.52 = 1.36 โรงพยาบาลท่ัวไปที่มีคา RW สูงสุด 3 อันดับ มีคาเฉล่ีย RW = 1.44 โรงพยาบาลมหาสารคาม

มีคาเฉล่ียRW อยูอันดับท่ี 4 ของโรงพยาบาลท่ัวไประดับเดียวกัน (ระดบั2.3) และอยูท่ีอันดับท่ี 7 ของโรงพยาบาลท่ัวไปทั้งหมด สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ตาราง 32 สัดสวนการกระจายผูปวยตามระดับ RW และอัตราครองเตียง ป 2551-2553

2550 2551 2552 2553 จํานวนผูปวยตามคา RW

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวนผูปวย RW<1 21,063 57.63 23,319 57.62 23,583 54.56 6,197 54.02 จํานวนผูปวย 1<= RW <=2 11,208 30.67 12,283 30.35 11,465 26.52 2,915 25.41 จํานวนผูปวย2 < RW<= 3 2,110 5.77 2,463 6.09 4,438 10.27 1,275 11.11 จํานวนผูปวย RW > 3 2,167 5.93 2,405 5.94 3,742 8.66 1,084 9.45 รวม 36,548 100 40,468 100 43,227 100 11,471 100

Page 32: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

32

2550 2551 2552 2553 จํานวนผูปวยตามคา RW

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ RWเฉล่ีย 1.16 1.36 1.35 1.36 อัตราครองเตียง 88.00 90.08 95.31 99.55

ตาราง 33 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ (บาท) แหลงงบ 1. อบรมแพทยผูตรวจสอบเวชระเบียนระดับเขต 2 อบรมผูตรวจสอบเวชระเบียนระดับจังหวัด 3. อบรมการบันทึก/การสรุปเวชระเบียนสําหรับแพทย 4. ตรวจสอบเวชระเบียน 4.1 ตรวจสอบเวชระเบียนคาใชจายสูงโดยแพทย 4.2 ตรวจสอบเวชระเบียนคาใชจายนอยกวา20,000บาทโดยเจาหนาท่ีเวชระเบียน 4.3 ตรวจสอบความสมบูรณของเวชระเบียน

ไมใชงบประมาณ บูรณาการแผนและงบประมาณกบั

สสจ.มค.

สสจ.มหาสารคาม

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. แพทยใชทุน ขาดความรู ขาดทักษะ ในเรื่องการบันทึกและการสรุปเวชระเบียน 2. ชวงเดือน เมษายนไมมีแพทยใชทุน 3. แพทยStaff บางทาน มีภาระงานมาก ไมมีเวลาในการตรวจสอบการสรุปเวชระเบียนของแพทย

ใชทุน และยังไมเห็นความสําคัญของการสรุปเวชระเบียนใหสมบูรณ 4 . Coder ประจําWard ขาดความรู ความชํานาญในการใหรหัสโรค

แนวทางการแกไขปญหา 1. จัดอบรมเร่ืองการบันทึก/การสรุปเวชระเบียนใหกับแพทยใชทุน 2. สะทอนผลการตรวจสอบเวชระเบียนใหแพทยเห็นความสําคัญ 3. จัดอบรมเร่ืองการตรวจสอบเวชระเบียน และการใหรหัสโรคแก Coder ประจําหอผูปวย

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. ประสานเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย ช้ันปท่ี 6 ใหมีวิชาเรียนเกีย่วกับการสรุปเวชระเบียน การใหรหัสโรค และการจดักลุมวินิจฉัยโรครวม(DRGs)

Page 33: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

33

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบริการสุขภาพภายใตระบบประกันสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 2 การพัฒนาระบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพใหประชาชนเขาถึงได หัวขอท่ี 2.4 ความพรอมของจังหวัดตอการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข(PHER) ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองละพัฒนาประสิทธิภาพ

เครือขายเฝาระวังการปองกันการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0205 ชื่อตัวชี้วัด มีการสรุปบทเรียนการตอบโตภาวะฉุกเฉนิตามสถานการณจริงหรือสถานการณ

จําลองอยางใดอยางหนึง่ ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นายสุรสิทธ์ิ ศรีวิรัตน

ตาราง 34 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552)

เปาหมาย (หนวย) ผลงาน (หนวย) รอยละ มีการซอมแผนและ สรุปบทเรียน - -

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา

ในปงบประมาณ 2552 ไดมีการเตรียมความพรอมการรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขดานการปองกันโรค และภัยสุขภาพโดย

- มีการจัดทําแผนรวมกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของท้ังกอนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ - มีการซอมแผน 1 คร้ัง และมีการประชุมสรุปและประเมินผลการซอมแผน

สถานการณโรคไขหวัดใหญสายพันธใหม 2009 ในป 2552 รพ.มหาสารคามไดรับผูปวยโรคไขหวัดใหญสายพันธใหม 2009 เขารับการรักษา

จํานวนท้ังส้ิน 235 ราย คิดเปนอัตราปวย 25.02 ตอประชากรแสนคน ผูปวยเสียชีวิต 2 ราย อัตราตายเทากับ 0.21 ตอประชากรแสนคน อัตราผูปวยตาย รอยละ 0.85

กลุมอายุท่ีพบผูปวยสูงท่ีสุดคือกลุมอายุ 15-24 ป จํานวน 86 ราย รองลงมา กลุมอายุ 5-9 ป จํานวน 41 ราย อาชีพท่ีมีผูปวยสูงสุดคือ นักเรียน นกัศึกษา 151 ราย พบผูปวยสูงสุดในเดือนสิงหาคม จํานวน 136 ราย และพบผูปวยอยูในเขตอําเภอเมือง 84 ราย อัตราปวยเทากับ 37.5 ตอประชากรแสนคน

Page 34: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

34

การปฏิบัติการตอบโตสถานการณไขหวัดใหญสายพันธใหม H1N1 2009 ป 2552 1. จัดต้ังคณะกรรมการ War room ซ่ึงประกอบดวยทุกสาขาวิชาชีพท่ีเกี่ยวของ ทําหนาท่ีในการ

กํานหดนโยบาย วิเคราะหสถานการณ บริหารจัดการ และประเมินผล 2. ประชุมคณะกรรมการ War room ท้ังหมด 20 คร้ัง 3. จัดทําคูมือระบบการดแูลรักษา และแนวทางในการดูแลผูปวย และมีการปรับปรุงท้ังหมด 3

คร้ัง 4. จัดระบบเฝาระวังและ one stop service 5. จัดเตรียมอัตรากําลัง อุปกรณ เคร่ืองมือ เวชภณัฑ อาคารสถานท่ี 6. จัดระบบการรายงานผูปวย การ Consult ท้ังในและนอกเวลาราชการ 7. จัดระบบประสานงาน และเตรียมความพรอมสถานท่ีรองรับ กรณีท่ีมีการระบาดจํานวนมาก

โดยใชสถานท่ีวิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม 8. จัด Dead case conference จํานวน 2 คร้ังโดยเชิญวิทยากรผูเช่ียวชาญจากคณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน 9. จัดประชุม อาสาสมัครสาธารณสุขในเขต อําเภอเมือง 10. จัดประชุมผูบริหารสถานศึกษา และครูอนามัยโรงเรียน เพื่อหาแนวทางในการดาํเนินการใน

ป 2553 11. รณรงคและประชาสัมพนัธท้ังในและนอกโรงพยาบาล ผานสถานีวิทยุ เคเบ้ิลทีวี และจัด

รณรงคท่ีหางสรรพสินคา

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 แตงต้ังคณะกรรมการและจัดประชุมเพื่อประสานแผนปฏิบัติการในแตละทีม ตามแผนตอบโต

ภาวะฉุกเฉินทางดานสาธารณสุขของโรงพยาบาลมหาสารคามปงบประมาณ 2553

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน ในการซอมแผนเกิดจากสถานการณจําลองท่ีมีการเตรียมความพรอมท้ังในสถานบริการและชุมชน ทําใหไมมีปญหาและอุปสรรค แตเม่ือปฏิบัติการในสถานการณจริง พบวาทีม SRRT ตองดําเนินการเองทั้งการเตรียมทีม วัสดุ อุปกรณ งบประมาณ ท้ังในชุมชนและโรงพยาบาล ทําใหไมมีความคลองตัวในการทํางาน

แนวทางการแกไขปญหา ควรจัดประชุมประสานแผนเพื่อบูรณาการแผน คน งาน และงบประมาณของทุกภาคสวน

Page 35: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

35

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพภายใตระบบหลักประกนัสุขภาพ ภาระกิจท่ี 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกนัสุขภาพใหประชาชน

เขาถึงได หัวขอท่ี 2.4 ความพรอมของจังหวดัตอการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHER) ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายเฝาระวังการปองกนัการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานึกท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0206 ชื่อตัวชี้วัด ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ มีระบบการบริหารและบริการท่ีมีคุณภาพและมี

มาตรฐาน ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.กัมพล เอ่ียมเกื้อกูล ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางคนึงนิจ ศรีษะโคตร

เกณฑ 1. ผูปวยฉุกเฉินไดรับการชวยเหลือดวยปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉิน ท่ีไดมาตรฐาน 2. คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน /คณะทํางานการแพทยฉุกเฉินระดับจังหวัด มีการประชุมเพื่อ

สืบคนแนวทางการพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉิน 3. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของศูนยส่ังการและรับแจงเหตุ 4. ผูเจ็บปวยฉุกเฉิน หรือ ญาติแจงเหตุผานทางหมายเลขโทรศัพท 1669 5. ชุดปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉิน ใหบริการการแพทยฉุกเฉิน ภายใน 10 นาที

ตาราง 35 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552)

ตัวชี้วัด รอยละ - ผูปวยฉุกเฉินไดรับการชวยเหลือดวยปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินท่ีไดมาตรฐาน (เชิงปริมาณ)

เปาหมาย ผลงาน 5,587 1,098 19.65

- คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน /คณะทํางานการแพทยฉุกเฉินระดับจังหวดั มีการประชุมอยางนอย 4 คร้ัง/ป

คร้ังท่ี 1 1 กันยายน 2552 กําหนดทิศทางการพัฒนาระดับจงัหวัด คร้ังท่ี 2 1 ธันวาคม 2552 จัดทําแผนการ

50

Page 36: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

36

ตัวชี้วัด รอยละ ดําเนินงานระดับจังหวัด

- ประสิทธิภาพการบริหารจดัการของศูนยส่ังการและรับแจงเหตุ

ครุภัณฑ 1. โทรศัพทโชวเบอร 6 คูสาย 2. วิทยุส่ือสาร VHF 2 เคร่ือง 3. วิทยุส่ือสาร SSB 1 เคร่ือง บุคลากร 1. แพทยรับปรึกษาแพทยหวัหนากลุมงานเวชศาสตรฉุกเฉินและนิติเวชวิทยา 2. พยาบาลส่ังการผานหลักสูตร Emergency Medical Dispatcher 15 คน 3. เจาหนาท่ีรับแจงเหตุ / บันทึกขอมูล ผานหลักสูตร FR 5 คน

- ผูเจ็บปวยฉุกเฉิน หรือ ญาติ แจงเหตุผานทางหมายเลขโทรศัพท 1669

เปาหมาย ผลงาน 5,682 3,002

52.83

- ชุดปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉิน ใหบริการการแพทยฉุกเฉิน ภายใน 10 นาที

เปาหมาย ผลงาน 1,668 1,658

99.40

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา (ขอมูลป 2552) 1. ผลการใหบริการเชิงปริมาณ สัดสวนการใหบริการเปรียบเทียบกบั ER Admit รอยละ 46.21 ผานเกณฑ 2. คุณภาพการใหบริการ การคัดกรองผูปวยกอนจัดสงทีมชวยเหลือ สุมตรวจ 6,498 ราย คัดกรองเหมาะสม 5,187 ราย คิดเปนรอยละ 79.82 ผานเกณฑ 3. มีการประชุม Dead Case Conference ระดับจังหวดั จาํนวน 2 คร้ัง

- วันท่ี 26 กุมภาพันธ 2552 และวนัท่ี 28 กรกฎาคม 2552 4. มีการจัดเตรียมทีมแพทย และพยาบาลที่หองฉุกเฉินเพือ่พรอมรับผูปวยวิกฤต ตลอด 24 ช่ัวโมง 5. มีการกําหนดระยะเวลาการไดรับการตรวจประเมินในผูปวย Emergency ภายใน 4 นาที รอยละ 100 6. ผลการประเมินความถูกตองในการปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินของบุคลากรทุกระดับ - การดูแลทางเดินหายใจ เหมาะสม รอยละ 97.77 ผานเกณฑ

Page 37: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

37

- การดูแลหามเลือด เหมาะสม รอยละ 98.88 ผานเกณฑ - การดูแลการใหสารน้ํา เหมาะสม รอยละ 91.44 ผานเกณฑ - การดูแลการดามกระดูก เหมาะสม รอยละ 95.26 ผานเกณฑ - การดูแลการเคล่ือนยาย เหมาะสม รอยละ 99.33 ผานเกณฑ

ตาราง 36 แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมป 2553

โครงการ กิจกรรม งบประมาณ

(บาท)

แหลงงบประมาณ

1. โครงการเตรียมความพรอมรับอุบัติเหตุกลุมชน สาธารณภัย ในเขตพื้นท่ีรอยตอ

- ประชุมเตรียมความพรอม และจัดทําแผนรวมกับหนวยงานท้ังในและนอกโรงพยาบาล - จัดอบรมใหความรูผูเกี่ยวของ - จัดซอมแผนรับอุบัติเหตุกลุมชน และสาธารณภัย - ติดตามประเมินผล

250,000 สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

2. พัฒนาหนวยกูชีพ และเครือขายกูชีพเขตอําเภอเมือง

- กระตุนใหมีการจัดต้ังหนวยกูชีพในเขตอําเภอเมืองเพ่ิมข้ึนอยางนอย 4 หนวย (ทาสองคอน แวงนาง โคกกอ เกิ้ง) - ประชาสัมพนัธ - จัดอบรม FR ในเขตอําเภอเมือง (เปาหมาย 80 คน)

147,000 เงินบํารุง

ปญหา/อุปสรรค 1. ขาดการประชุมระดับจังหวัดอยางตอเนื่อง 2. ขาดงบประมาณสนับสนนุศูนยส่ังการ (Fix cost) อยางตอเนื่อง และงบประมาณไมเพียงพอ 3. ระบบบริหารจัดการระดับจังหวดัไมตอเนื่อง เนื่องจากขาดผูรับผิดชอบเปนเวลานาน

แนวทางการแกไขปญหา 1. กําหนดผูรับผิดชอบระดบัจังหวดั และดําเนินงานอยางตอเนื่อง 2. ประชุมระดับจังหวดัเปนประจํา อยางนอย 4 คร้ัง / ป 3. จัดสรรงบประมาณใหเพยีงพอ และตอเนื่อง

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. สนับสนุนใหมีการพัฒนาระบบอยางตอเนื่อง และยั่งยนื 2. กําหนดตัวช้ีวัดท่ีสอดคลองกับบริบทของงาน

Page 38: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

38

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.1 แผนงานโรคไมติดตอเร้ือรัง ( NCD ) : โรคความดันโลหติสูง โรคเบาหวาน

โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การสรางเสริมใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพโดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0301 ชื่อตัวชี้วัด อัตราเพิ่มการเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยโรคไมติดตอเร้ือรังลดลง ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.ทรรศตวรรณ เดชมาลา

ผลการดําเนินงาน (ตค.-ธค. 2552) ตาราง 37 จํานวนผูปวยในท่ีเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยโรคไมติดตอเร้ือรัง

ป 2551 (ปชก.148,966 คน)

ป 2552 (ปชก.147,623 คน)

ป 2553 (ปชก.149,771 คน)

โรค จํานวน(ราย)

อัตรา/ แสน ปชก.

จํานวน(ราย)

อัตรา/ แสน ปชก.

+เพิ่ม / -ลด จํานวน

(ราย) อัตรา/

แสน ปชก.

1. โรคความดันโลหิตสูง

63 42.29 93 62.99 +20.70 29 19.36

2. โรคเบาหวาน 267 179.23 250 169.35 -9.88 83 55.41 3. โรคหัวใจขาดเลือด

278 186.62 236 159.86 -296.76 77 51.41

4. โรคหลอดเลือดสมอง

127 85.25 149 100.93 +15.68 46 30.71

รวม 735 493.40 728 498.13 +4.73 235 156.89

Page 39: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

39

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา โรงพยาบาลมหาสารคาม ป 2551 รับผิดชอบประชากร 148,966 คน มีผูปวยโรคไมติดตอเร้ือรัง ไดแก เบาหวาน ความดนัโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดและหลอดเลือดสมอง จํานวน 735 ราย พบผูปวยรายใหม 314 ราย อุบัติการณการเกิดโรคคิดเปนรอยละ 0.21 ใน ป 2552 รับผิดชอบประชากร จํานวน 147,623 คน มีผูปวยโรคไมติดตอเร้ือรัง ไดแก เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด และหลอดเลือดสมอง จํานวน 728 ราย พบผูปวยรายใหม 234 ราย อุบัติการณการเกิดโรคคิดเปนรอยละ 0.16 ในป 2553 รับผิดชอบประชากรจํานวน 149,771 ราย มีผูปวยไมติดตอเร้ือรังไดแก เบาหวานความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด และหลอดเลือดสมอง เขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลจาก 1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 235 ราย พบผูปวยรายใหม 65 ราย อุบัติการณการเกิดโรคคิดเปนรอยละ 0.04

ตาราง 38 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ โครงการคนไทยไรพุง 240,200 PPA (สปสช.) คายผูนําหวัใจดี 136,240 PPA (สปสช.) สุขภาพดีวิถีไทย (ปรับปรุงพฤติกรรมกลุมเส่ียง) 30,000 สปสช. สงเสริมการออกกําลังกาย 300,000 เงินบํารุง/สวัสดิการ รณรงควันเบาหวานโลก 23,825 เงินบํารุง รณรงคส่ือสารเตือนภยัเบาหวาน 105,000 สปสช. ตรวจคักรองสุขภาพผูมีภาวะเส่ียงคลินิกสงเสริมสุขภาพ การตรวจสุขภาพประจําป

111,400 เงินบํารุง

ปญหา อุปสรรคในการดําเนนิงาน 1. การบูรณาการแผนใหเช่ือมโยงตอเนื่องระหวางหนวยงานท่ีใหบริการดานการรักษาพยาบาลกับชุมชนและเครือขายยังขาดเอกภาพ 2. ระบบการสงตอผูปวยลงในชุมชน การตอบกลับ ระบบฐานขอมูลยังมีปญหา แนวทางการแกไขปญหา 1. พัฒนาระบบฐานขอมูลระหวางโรงพยาบาลกับชุมชนและเครือขาย 2. บูรณาการแผนรวมกันกับภาคีเครือขายท่ีเกี่ยวของ

Page 40: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

40

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.1 แผนงานโรคไมติดตอเร้ือรัง ( NCD ) : โรคความดันโลหติสูง โรคเบาหวาน

โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การสรางเสริมใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพโดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

ชื่อตัวชี้วัด การดูแลผูสูงอาย ุผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นางศิริพร รองหานาม ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.นารี วิลมชัยฤกษ นางฉวีวรรณ เผาพันธ

ตาราง 39 ผลการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552 ) ผลงาน เปาหมาย ผลงาน รอยละ

รอยละของสถานบริการสาธารณสุขมีการจัดต้ังคลินกิผูสูงอายุ

1 แหง 1 แหง 100

มีการจัดกจิกรรมสงเสริมสุขภาพโดยชมรมผูสูงอายุ

14 ตําบล 14 ตําบล 100

มีการจัดระบบบริการโดยการมีสวนรวมของชุมชน

1 แหง 1 แหง 100

สถานการณขอมูลท่ีผานมา ตาราง 40 ขอมูลผูสูงอายุ

พ.ศ./จํานวน(รอยละ) ขอมูล

2543 2548 2553 ระดับประเทศ 9.19 10.17 11.36 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8.21 9.45 10.85 มหาสารคาม 6.92 7.12 7.39

Page 41: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

41

ตาราง 41 สถิติจํานวนผูสูงอายุท่ีเขารับบริการที่โรงพยาบาลมหาสารคาม(แยกตามอายุ) อายุ จํานวน(ราย) ชาย หญิง

60-69 ป 3,846 1,863 1,983 70-79 ป 2,699 1,213 1,486 80 ป ข้ึนไป 1,049 466 583 1. สถานการณและสภาพปญหาท่ีสงผลกระทบตอภาวะสขุภาพผูสูงอายใุนชุมชน

1.1. ปญหาดานสุขภาพ มีปญหาโรคเร้ือรัง ขาดความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวท่ีถูกตอง ขาดการ ออกกําลังกายท่ีเหมาะสม เขาไมถึงการบริการดานสุขภาพ

1.2. ปญหาดานเศรษฐกิจ -การไดรับเบ้ียยังชีพของผูสูงอายุไมท่ัวถึงและขาดความเปนธรรม -ผูสูงอายุลูก-หลานไมอยูดวย/ขาดคนดูแล -ผูสูงอายุมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมนอย -ผูสูงอายุขาดรายไดในการดาํเนินชีวิตประจําวัน -ผูสูงอายุมีภาระเล้ียงหลาน

1.3. ปญหาดานการดําเนินงานชมรมองคกรดานผูสูงอายุ ขาดการบูรณาการรวมกัน 2. กรอบแนวคิดในการพฒันา

คุณภาพชีวิตท่ีด ี

อปท. ระบบบริการ

- สวัสดิการผูสูงอายุ/เบ้ียยังชีพ - ผสส. - ระบบการรับ-สงผูปวย - การดูแลมิตรภาพบําบัด/เพื่อนชวยเพื่อน - ฝกอาชีพผูสูงอาย ุ

ผูสูงอาย/ุผูดูแล

- การตั้งชมรม - กองทุน

ชุมชน รักษา สงเสริม

Page 42: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

42

3. รูปแบบการพัฒนาระบบบริการผูสูงอายขุองโรงพยาบาลมหาสารคาม 3.1. การดูแลในโรงพยาบาล ข้ันตอนการบริการชองทางดวน

1.1 ประเภทผูปวยนอก หองบัตร หองตรวจ หองจายยา/ตรวจทางหองปฏิบัติการ/เอ็กเรย 1.2 ประเภทหอผูปวยใน แรกเขา ขณะรับการรักษา และเตรียมจําหนาย

3.2. การดูแลในชุมชน โครงการรวมรอยดวงใจหวงใยและเอ้ืออาทรผูสูงอายุ(โดยความรวมมือจากภาคีเครือขาย) 3.3.วางแผนการดําเนินงาน วัตถุประสงค 1. เพื่อการดูแลสุขภาพผูสูงอายุแบบองครวม 2. เพื่อหาปจจยัท่ีเกีย่วของและวางแผนดูแลตอเนื่อง 3.เพื่อสรางเสริมสุขภาพปองกันความเส่ียงและดูแลความเจ็บปวยโดยความรวมมือจากบุคคลและองคกรตางๆท่ีเกี่ยวของในชุมชน

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน งบประมาณดานการสงเสริมสุขภาพท่ีถายโอนไปยังทองถ่ิน/การบูรณาการงานดานผูสูงอายุของหลายหนวยงาน

แนวทางการแกไขปญหา การใชกรอบแนวคิด การมีสวนรวม/แผนท่ียุทธศาสตรเพื่อใชในการแกไขปญหา

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง การสรางความเขาใจเร่ืองกองทุนสุขภาพ/บูรณาการงานดานผูสูงอาย ุ

Page 43: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

43

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.2 แผนงานโรคไมติดตอเร้ือรัง ( NCD ) : การปองกันและควบคุมมะเร็งปากมดลูก ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การสรางเสริมใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานึกท่ีดดีานสุขภาพโดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0302 ชื่อตัวชี้วัด อัตราการเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยมะเร็งปากมดลูกของสตรีท่ีมีอายุ

30 – 60 ป เพิ่มขึ้น ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.ทรรศตวรรณ เดชมาลา

ตาราง 42 ผลการดําเนินงาน(ตค. – ธค. 2552)

ผลการดําเนินงาน กลุมเปาหมาย ผลงาน อัตรา:1,000ปชก.

อัตราสตรีท่ีมีอายุ 30 – 60 ป ในเขตรับผิดชอบเขารับการรักษาตัวดวยมะเร็งปากมดลูก

38,679 ราย 1 ราย 0.03

ในป 2553 กลุมเปาหมาย สตรีท่ีมีอายุ 30 – 60 ป (เกิดในป พ.ศ. 2523-2493) ในเขตรับผิดชอบ 38,679 ราย ไดรับการตรวจ Pap smear ระหวาง 1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 908 ราย คิดเปนรอยละ 2.35 พบวาผิดปกติ 32 ราย คิดเปนรอยละ 0.08 ไดรับการรักษาทุกราย และพบวาเปนมะเร็งปากมดลูก 1 ราย

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ในป 2552 สตรีท่ีมีอายุ 35 , 40 , 45 , 50 , 55 , 60 ป ซ่ึงเปนกลุมเปาหมายในการตรวจคัดกรอง

มะเร็งปากมดลูก ในเขตรับผิดชอบมีจํานวน 3,711 ราย ไดรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

จํานวน 3,085 ราย คิดเปนรอยละ 83.13 ผลการตรวจคัดกรอง พบวาปกติ 2,990 ราย คิดเปนรอยละ

80.57 ผิดปกติ 95 ราย คิดเปนรอยละ 2.56 ผูมีความผิดปกติไดรับการรักษาตามแนวของการรักษาและ

สงตอ 2 ราย

Page 44: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

44

ตาราง 43 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. ประชุมเจาหนาท่ี สอ. ทุกแหง ๆ ละ 2 คน ช้ีแจงการลงขอมูล

บูรณาการกับการประชุมงานอ่ืนๆ

-

2. ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุก ในเขตรับผิดชอบ 20 แหง

4,284 เงินบํารุง

3. ประกวดนวตกรรมดีเดนของมะเร็งปากมดลูก บูรณาการรวมกับการประกวด นวัตกรรมของงานคุณภาพ

-

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. กลุมเปาหมายไมอยูในพืน้ท่ีชวงท่ีมีการตรวจและรณรงค 2. กลุมเปาหมาย โดยเฉพาะชาวบานยังมีความเช่ือวาผัวเดียวเมียเดียวไมมีความเส่ียงจะเกิดมะเร็ง ไมตองตรวจกไ็ด 3. กลุมเปาหมายท่ีเปนคนโสดจะไมยอมตรวจ Pap Smear แนวทางการแกไข 1. จัดรณรงคส่ือสารใหความรูท่ีถูกตองแกกลุมเปาหมายโดยใชกลยุทธ “ประชิดติดตัว ตามติดถึงบาน บริการถึงท่ี ทุกภาคีดี มีสวนรวม”

Page 45: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

45

คณะที่ 3 สงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.3 แผนงานโรคไมติดตอเร้ือรัง (NCD) : การพยายามฆาตัวตาย ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0303 ชื่อตัวชี้วัด อัตราการตดิตามดูแลผูพยายามฆาตัวตายเปนไปตามเกณฑ ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.สมศักดิ์ กุศลาไสยานนท ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.อัญชุลี ประคําทอง

ตาราง 44 ผลการดําเนินงาน(ตค.-ธค.2552)

ตัวชี้วัด เปาหมาย (ราย) ผลงาน (ราย) รอยละ อัตราการติดตามดูแลผูพยายามฆาตัวตายเปนไปตามเกณฑ

29

22

75.86

อัตราการฆาตัวตายสําเร็จตอประชากรแสนคนลดลงจากป 2552

6 2 1.38/แสนประชากร

รอยละการเขาถึงบริการของผูปวยโรคซึมเศราเพิ่มข้ึน

16

176

55

ตาราง 45 สาเหตุของการพยายามฆาตัวตาย

สาเหตุ ชาย หญิง รวม รอยละ นอยใจท่ีถูกคนใกลชิดวากลาว ดุดา ตําหน ิ 6 13 19 65.52 ความรัก หึงหวง 2 5 7 24.14 ปญหาการเรียน - 2 2 6.90 ปญหาภาวะซึมเศรา - 1 1 3.44

รวม 8 21 29 100

Page 46: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

46

ตาราง 46 วิธีการท่ีผูปวยใชในการพยายามฆาตัวตาย

วิธีการ ชาย หญิง รวม รอยละ กินยาเกินขนาด 3 18 21 72.41 กลืนกินสารเคมี 2 2 4 13.79 ผูกคอ 3 - 3 10.35 ใชของมีคม - 1 1 3.45

รวม 8 21 29 100 ป 2553 โรงพยาบาลมหาสารคาม พบวามีผูพยายามฆาตัวตาย จํานวน 29 ราย มีผูท่ีฆาตัวตาย

สําเร็จจํานวน 2 ราย คิดเปนรอยละ 1.38 ตอแสนประชากร ผลการดําเนินงานติดตามดูแลผูพยายามฆาตัวตาย ครบ 3 คร้ัง จํานวน 22 ราย คิดเปนรอยละ 75.86 สวนท่ีเหลือไมสามารถติดตามได เนื่องจากสวนใหญเปนนักศึกษามีการเปล่ียนเบอรโทรศัพท และยายหอพัก หนวยงานมีการแนวทางท่ีชวยใหผูปวยไดรับการติดตามดูแลอยางมีระบบประกอบดวยวิธีการตดิตาม นัดมาพบท่ีคลินิกจิตเวช / โทรศัพท / เจาหนาท่ีสถานีอนามัยและ/หรือ อสม. นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการเฝาระวงัผูท่ีมีความเส่ียงดานสุขภาพจิตอ่ืน โดยการจดักิจกรรมคัดกรองกลุมส่ียง สงเสริมปองกันและติดตามเฝาระวัง สถานการณ ปญหาการฆาตัวตายเปนปญหาผลกระทบทางสุขภาพจิตท่ีรุนแรง ซ่ึงเกิดข้ึนเม่ือบุคคลมีความคับของใจหรือมีเร่ืองบีบค้ันใจที่รุนแรง หากบุคคลเหลานี้ไดรับการชวยเหลือใหสามารถเขาใจปญหา มีความเขมแข็งทางใจ ท่ีจะสามารถแกไขปญหาของตนได นาจะชวยใหบุคคลท่ีมีปญหาสามารถดําเนินชีวิตอยูตอไปได จากขอมูลการใหบริการดานจิตวชในปท่ีผานมา พบวามีจํานวนผูพยายามฆาตัวตาย 16 คนและไมพบการพยายามฆาตัวตายซํ้า และการฆาตัวตายสําเร็จ 1 คน

ตาราง 47 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 มีการดําเนนิกจิกรรมอยางตอเนื่องจากแผนงานเดิมในปท่ีผานมา โดยมุงเนนการติดตาม

ประเมินผลและกระตุนใหเกดิการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางเครือขาย ไดแก แผนงาน/โครงการ กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ

1. โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตโดยเครือขายสูชุมชน

- สนับสนุนการดําเนินงานสุขภาพจิตในพื้นท่ีทุกแหง - มีการจัดนําเสนอผลการดําเนินงานในระดับอําเภอและระดับจังหวดัตามแผน

- อบต.

2.โครงการจัดต้ังชมรมญาติผูปวยจิตเวชในตําบลโคก

- จัดต้ังมีคณะกรรมการดําเนนิงานชมรม - มีแผนและสนับสนุนจัดกิจกรรมท่ี

- อบต.

Page 47: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

47

แผนงาน/โครงการ กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ ตอเนื่องเพ่ือรวมกันดูแลผูปวยจติเวชในชุมชน - พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของชุมชน -จัดศึกษาดูงานสําหรับชุมชนตนแบบ - มีกิจกรรมเพ่ือฟนฟูสมรรถภาพ

3. โครงการวิจยัเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การเสริมสรางพลังอํานาจของชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเวชเร้ือรังในชุมชนกรณีศึกษาพื้นท่ีตําบลโคกกอ

โดยการใชกระบวนการเสริมสรางพลังอํานาจตามแนวคิดของ กิ๊บสัน เพื่อสรางความเขมแข็งของเครือขายการดําเนินงานสุขภาพจิตในชุมชน

-

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. การประสานงานกับหนวยงานระดับจังหวัด โดยเฉพาะงานสุขภาพจติยังมีชองวางในการ

ประสาน ทําใหขาดความเช่ือมโยงท้ังระบบขอมูลและการพัฒนาแผนงานรวมกนั 2. ยังไมสามารถบันทึกขอมูลภาวะซึมเศราในระบบได และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดไมมีการสนับสนุนโปรแกรมและไมมีการพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีผูเกี่ยวของ แนวทางการแกไขปญหา

1. ผูประสานงานระดับจังหวดัควรมีการทบทวนแผนงานและจัดใหมีกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรูของเครือขาย

2. ควรจัดใหมีการพัฒนาระบบขอมูลทางสุขภาพจิตท่ีสามารถเชื่อมโยงกันไดท้ังจังหวัด

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. จัดใหมีการนําเขาของขอมูลเชิงประจักษดานสุขภาพจิตและจติเวช เพื่อใชเปนแนวทางใน

การบูรณาการงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับทองถ่ิน 2. การดําเนินงานท่ีมีการเช่ือมประสานกับเครือขายทําใหทราบถึงศักยภาพ หรือ ทุน หรือ เพื่อน

ท่ีจะรวมทํางานได ดังนั้นหนวยงานควรเปดโอกาสใหบุคลากรมีการแลกเปล่ียนเรียนรูการทํางานรวมกับเครือขายเพิ่มข้ึน ท้ังภาครัฐ เอกชนและ NGOs

3. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสนับสนุนโปรแกรมและจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีผูเกี่ยวของ

Page 48: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

48

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกัน ควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.2 การปองกันและควบคุมโรคติดตอ (CD) : การปองกันและควบคุมวัณโรค ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0304 ชื่อตัวชี้วัด อัตราผลสําเร็จของการรักษาวัณโรค (TB Treatment Success rate) ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.สุชาติ ทองแปน ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นายจักรินทร ทับแสง

ตาราง 48 ผลการดําเนินงาน (ตค.- ธค.2552)

เปาหมาย (ราย) ผลงาน (ราย) รอยละ

22 19 86.36

การดําเนนิงาน ปองกันควบคุมวัณโรค พบวามีผูปวยวัณโรคเสมหะพบเช้ือรายใหม ข้ึนทะเบียนการรักษา จํานวน 22 ราย ผูปวยรักษาสําเร็จ จํานวน 19 ราย คิดเปนรอยละ 86.36 เสียชีวิต 1 ราย รอยละ 4.54 เนื่องจากผูปวยมีโรคเบาหวาน และติดเช้ือในกระแสเลือด และขาดยามากกวา 2 เดือน 2 ราย เปนรอยละ 9.10 ผูปวยวณัโรคท้ัง 2 ราย ยายไปทํางานตางจังหวดัไมทราบท่ีอยูแนชัด

สถานการณ / ขอมูลท่ีผานมา โรงพยาบาลมหาสารคาม ไดจัดต้ังคลินิกวณัโรค เพื่อใหบริการตรวจรักษาผูปวยวณัโรคโดยเฉพาะ ใหบริการตรวจรักษาทุกเชาวันพฤหัสบดี ผลการดําเนนิงานการรักษาวัณโรค ป 2550 และ2551 พบวา อัตราผลสําเร็จสําเร็จของการรักษาวณัโรค รอยละ 86.96 และ 84.11 ตามลําดับ และมีอัตราผูปวยขาด > 2 เดือน รอยละ 10.14 และ 10.28 ตามลําดับ เนื่องจากการลงทะเบียนและการติดตามผูปวยวัณโรคมีความลาชา และจากการนิเทศติดตามการใหบริการการรักษาวัณโรค ของสํานักงานควบคุมปองกันโรคท่ี 6 ขอนแกน พบวาสถานท่ีตรวจผูปวยวณัโรค ไมเหมาะสม ควรแยกออกมาใหชัดเจน ไมใกล และปะปนกับโรคอ่ืนๆ ควรมีทิศทางของลมท่ีระบายออกนอกตึกเพื่อลดการแพรเช้ือวัณโรค

Page 49: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

49

ป 2552 โรงพยาบาลมหาสารคามไดดําเนินงานควบคุม ปองกันวัณโรค ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเรงรัดหยุดหยังวัณโรค โดยไดจัดกิจกรรมใหความรูแกอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานใน 30 ชุมชนเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม และ 198 หมูบานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลมหาสารคาม และแตงต้ังผูดูแลผูปวยวัณโรค เปนมิสเตอร ทีบี เพื่อคนหาผูปวยรานใหมในชุมชน และไดดําเนินการคัดกรองในกลุมเส่ียง ไดแก กลุมผูตองขังและผูสูงอายุ รายละเอียดตามตาราง ตาราง 49 การคัดกรองและคนหาผูปวยวัณโรครายใหม ป 2552

กลุมคัดกรอง จํานวน (ราย)

ผลเบื้องตน(ราย)

ผลยนืยนั (ราย)

อัตรา /แสน ปชก.

ประชาชนท่ัวไปใชแบบคัดกรอง 128,456 302 30 23.35

ผูตองขังในเรือนจําโดยการเอกซเรย 900 8 6 666.66

ผูสูงอายุในสถานสงเคราะหคนชราโดยการเอกซเรย

100 5 0 0.00

ตาราง 50 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ (บาท) แหลงงบ

1. โครงการพัฒนาระบบบริการ ติดตามผูปวยวัณโรคใหครบถวนครอบคลุม เพื่อลดอัตราการขาดยา

69,000.- กองทุนโลก รอบ 8

ดานวณัโรค

2. การปรับปรุงหองตรวจโรค สําหรับผูปวยวณัโรค โดยเฉพาะไมปะปนกับหองตรวจโรคอ่ืน

อยูระหวางดําเนินการ เงินบํารุง

3. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองวัณโรค และการประกวดการดาํเนินงานควบคุมปองกัน ในสถานบริการสาธารณสุขเครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม (DOT meeting)

15,000.- เงินบํารุง

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. มีอัตราการขาดยามากกวาเกณฑกําหนด เนื่องจากการประสานงาน ระหวางหนวยงาน

ใหบริการมีความคลาดเคล่ือน ทําการติดตามผูปวยไมตอเนื่อง 2. การใหบริการผูปวยวณัโรค และการข้ึนทะเบียนผูปวยวัณโรค มีความซับซอน

Page 50: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

50

แนวทางในการดําเนินการแกไขปญหา 1. การจัดทําแนวทางการใหบริการผูปวยวัณโรค ใหครบถวน ครอบคลุม ทุกหนวยงาน 2. การนิเทศ ติดตาม ผูปวยอยางตอเนื่อง 3. สรางแรงจูงใจสําหรับผูปวยวัณโรคและผูกํากับการกนิยา ท่ีไมใชญาติ

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. สนับสนุนคาตอบแทน ในการรักษาวัณโรคสําหรับผูปวยวัณโรค และผูกํากับการกินยา

วัณโรคท่ีไมใชญาติ 2. สนับสนุนอุปกรณ และวสัดุในการปองกันวณัโรค 3. เพิ่มคาชดเชยสําหรับเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานท่ีติดวณัโรคจากการใหบริการผูปวยวณัโรค

ทุกสิทธิ

Page 51: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

51

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกัน ควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.5 การปองกันและควบคุมโรคติดตอ : โรคอาหารเปนพิษ ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจันพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพโดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0305 ชื่อตัวชี้วัด อัตราปวยดวยโรคอาหารเปนพิษลดลง ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นายสุรสิทธ์ิ ศรีวิรัตน

เกณฑ อัตราปวยระดบัจังหวดัไมเกนิคามัธยฐาน (Median) ของจังหวดั 5 ป ยอนหลัง (เปาหมายอัตรา

ปวยโรคอาหารเปนพิษป 2553 เทากับ 209 ตอประชากรแสนคน และ 2554 เปาหมายคือ 205 ตอประชากรแสนคน (2% คืออัตราการลดลงของอัตราปวย ป 2547 – 2551))

ตาราง 51 ผลการดําเนินงาน (ตค.– ธค. 2552)

เปาหมาย (หนวย) ผลงาน (หนวยงาน) รอยละ 289 ราย

(192.96 ตอประชากรแสนคน) 14 ราย

(9.3 ตอประชากรแสนคน) 4.8

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ในป 2552 งานระบาดวิทยา กลุมงานเวชกรรมสังคม ไดรับรายงานผูปวยอาหารเปนพิษ 152 ราย

คิดเปนอัตราปวย 102.9 ตอประชากรแสนคน ไดมีรายงานผูปวยเสียชีวิต พบผูปวยเพศหญิงมากกวาเพศชาย อัตราสวนเพศหญิงตอชาย เทากับ 1.20 : 1

กลุมอายุท่ีตายสูงสุดคืออายุ 0 – 4 ป เทากบั 31 ราย รองลงมากลุมอายุ 5 – 9 ป 19 ราย และ 65 ปข้ึนไป 16 ราย

อาชีพที่มีผูปวยสูงสุดคือเกษตร เทากับ 61 ราย รองลงมาในปกครอง และนักเรียน 37 ราย และ 21 ราย ตามลําดับ

Page 52: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

52

พบผูปวยในเดอืนธันวาคม สูงท่ีสุด 20 ราย รองลงมาเดือนกรกฏาคม 19 ราย และเดือนมกราคม 17 ราย

ผูปวยเขารับการรักษาท่ีรพ.มหาสารคาม 71 ราย สถานีอนามัย 81 ราย ตําบลวันท่ีมีอัตราผูปวยสูงสุดคือ ตําบลทาสองคอน อัตราปวย 247.9/ประชากรแสนคน รองลงมาตําบลแวงนาง ลาดพัฒนา และบังคอ อัตราปวย 192.0, 130.2 และ 127.8 ตามลําดับ

ทีม SRRT ไดออกทําการสอบสวนโรคอาหารเปนพษิ 2 คร้ัง เปนการระบาดจาก การรับประทานอาหารกลางวันในโรงเรียน และงานเล้ียงในรานอาหารทั้งสองคร้ังตรวจพบเช้ือ

Vibrio Parahaemolyiltus สาเหตุจากข้ันตอนการปรุงอาหารของแมคา สําหรับความปลอดภัยดานอาหาร ไดมีการดําเนนิการ

1.ตรวจรานอาหารและแผงลอย 823 แหง ผานเกณฑ 776 ราน คิดเปนรอยละ 94.2 2.รานกวยเต๋ียว 237 ราน ผานเกณฑ 23 ราน คิดเปนรอยละ 9.7 3.โรงอาหารในเขตเมือง 23 แหง ผานเกณฑ 23 แหง 4.โรงครัวในรพ.เอกชน 1 แหง ผานเกณฑ 1 แหง 5.โรงครัวในรพ.ของรัฐ 1 แหง ผานเกณฑ 1 แหง 6.ตรวจประเมินสถานประกอบการ 21 แหง ผานเกณฑ 20 แหง

ตาราง 52 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. ตรวจประเมินสถานประกอบการและเก็บตัวอยางวิเคราะห 2 คร้ัง/ป - - 2. ตรวจประเมินมาตรฐานรานอาหาร แผงลอย รานกวยเตี๋ยว โดย เจาหนาท่ีทุก 4 เดือนและโดยอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคทุก 2 เดือน

5,810 เงินบํารุง

3. ตรวจสารปนเปอนในอาหารทุก 2 เดือน 28,000 เงินบํารุง 4. ประชาสัมพันธการบริโภคอาหารปลอดภัยทางสถานีวิทยุ เคเบ้ิลทีว ี - -

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. ความรวมมือของผูประกอบการ 2. ขาดเงินทุนในการปรับปรุงมาตรฐานรานแผงลอย 3. การประชาสัมพันธในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคยังไมท่ัวถึง 4. ขาดการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานจากทองถ่ิน 5. ผูประเมินขาดทักษะและความพรอมในการดําเนินงาน

Page 53: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

53

แนวทางการแกไขปญหา 1. จัดทําแผนงาน/โครงการของงบสนับสนุนจากทองถ่ิน 2. จัดต้ังชมรมรานอาหาร/แผงลอย เพื่อรวมแกไขปญหา 3. จัดประชุม เพื่อคนหาปญหาตางๆ ของผูประกอบการ 4. อบรมการประเมิน GMP/การเก็บส่ิงสงตรวจ 5. เนนการประชาสัมพันธการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง จัดประชุมนโยบายอาหารปลอดภัยรวมกบัอบต.และทองถ่ินอําเภอ เพือ่ขอความรวมมือ และการ

สนับสนุนงบประมาณตางๆ

Page 54: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

54

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.6 สุขภาพแมและเดก็ : การดูแลสุขภาพมารดาและทารก ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพใหเกดิประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

มาตรฐาน - พัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด 0306 - 0307 ชื่อตัวชี้วัด 1. อัตราตายของมารดาลดลง

2. อัตราตายทารกปริกําเนิด ( Perinatal Death) ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.ศักดิ์ชัย ทอนมาตย ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางรัตติยา ทองสมบูรณ

ตาราง 53 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค. 2552)

ตัวชี้วัด เปาหมาย (ราย)

ผลงาน (ราย)

อัตรา /พัน ปชก.

1. อัตราตายของมารดา 308 0 0 2. อัตราตายทารกปริกําเนิด 308 2 6.49 3. อัตราการฝากครรภคร้ังแรก <12Wk 167 103 61.70 4. อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 41 10 32.47 5. ทารกแรกเกดิน้ําหนักนอย 76 24 7.79 6. อัตราการเล้ียงลูกดวยนมแมอยางเดยีวอยางนอย 275 190 69.09 7. เด็กแรกเกดิ ถึง 5 ป มีพัฒนาการสมวัยทุกดาน 378 374 98.94

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา หลังจากโรงพยาบาลมหาสารคาม ผานการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวระดับ

ทองในป 2551 จากการวิเคราะหสถานการณอนามัยแมและเด็กของโรงพยาบาลมหาสารคามและเครือขายป 2552 พบวา - อัตราการฝากครรภคร้ังแรกเม่ืออายุไมเกนิ 12 สัปดาห รอยละ 32.31

- อัตราตายของมารดา 0 ตอ แสนการเกดิมีชีพ

Page 55: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

55

- อัตราตายปริกําเนิด 7.89 ตอ พันการเกดิมีชีพ - ทารกแรกเกดิขาดออกซิเจน 41.35 ตอพนัการเกดิมีชีพ - ทารกแรกเกดิน้ําหนักนอย รอยละ 10.24 - อัตราการเล้ียงลูกดวยนมแมอยางเดยีว 6 เดือน รอยละ 60.20 - เด็กแรกเกิด 0-5 ป มีพัฒนาการสมวัยทุกดาน รอยละ 97

สาเหตุทารกขาดออกซิเจนเกินเปาหมาย - ดานมารดา - อายุ < 20 ป = 1 ราย - อายุ 20 - 34 ป = 9 ราย - ดานทารก - Mild CPD � Prolonged 2 nd stage = 1 ราย

- S = R = 1 ราย - Fetal Distress = 1 ราย - มารดาไมมีแรงเบง ( V/ E ) = 1 ราย - V/E � OPP = 1 ราย - NL � term preg = Mild BA 1 ราย - PRom cord พันคอ 1 รอบ = 1 ราย - V/E Mild CPD � F. Distress = 1 ราย - NL � term preg = Mild BA 1 ราย - Preterm = 1 ราย

ทารกแรกเกิดน้ําหนกันอยเกนิเปาหมาย มีสาเหตมาจาก Pre-term ,Teenage Pregnancy ,IUGR , Twins and Elderly และแมมีภาวะแทรกซอนท่ีพบ คือ PIH และ Thyroid ตาราง 54 แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมป 2553

แผนงาน/โครงการกิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. พัฒนามาตรฐานการดูแลหญิงต้ังครรภตามเกณฑ 3,000 เงินบํารุง 2. พัฒนาระบบการดูแลสตรีต้ังครรภท่ีมีความเส่ียงสูงอยางตอเนื่อง 4,000 เงินบํารุง 3. จัดต้ังคลินิก Teenage Pregnancy ทุกวันพุธบาย - เงินบํารุง 4. พัฒนามาตรฐานการดูแลมารดา และทารกทุกระยะของการคลอด - เงินบํารุง 5. พัฒนาระบบการสงตอหญิงต้ังครรภท่ีมีภาวะเส่ียงจากโรงพยาบาลชุมชน

800 เงินบํารุง

6. พัฒนารูปแบบการดูแลหญิงต้ังครรภ ท่ีเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด - เงินบํารุง 7. ประชุมประสานงานรวมกันกับสถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชน ใหดําเนินงานเชิงรุก โดยให อสม. คนหาขอมูล และแนะนําใหหญิงต้ังครรภมาฝากครรภตามเกณฑ

- เงินบํารุง

Page 56: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

56

แผนงาน/โครงการกิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 8. พัฒนาบุคลากรทุกระดับ - เงินบํารุง 9. โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกฝากครรภในเครือขาย รพ.มค. เงินบํารุง 10. จัดทําแผนการการดําเนนิงานของ อสม. กองทัพนมแมในป 2553 - เงินบํารุง 11. จัดทํามาตรฐานการสงตอ- ตอบกลับขอมูลการเยี่ยมบานปรับปรุงแบบฟอรมการสงตอ

- เงินบํารุง

12. ฟนฟูความรูพื้นฐานการเล้ียงลูกดวยนมแม ใหแก อสม.ทุกรายจัดทําCompetency ในอสม. กองทัพนมแมทุกคน

25,600 เงินบํารุง

13. พัฒนาระบบบริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพในโรงพยาบาลอยางตอเนื่อง เนนโรงเรียนพอแมเพื่อสงเสริมใหครอบครัวมีสวนรวมในการดูแลเล้ียงดเูด็ก การประเมินพัฒนาการเดก็โดยใชอนามัย 49 และประสานกับเครือขายสุขภาพท้ังจังหวดั เปนแนวทางเดียวกันเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลตามนโยบายของโรงพยาบาลมหาสารคาม

40,000 เงินบํารุง

14.โครงการพัฒนาศักยภาพ คลินิกสุขภาพเด็กดใีนเครือขายรพ.มค. เงินบํารุง 15. ดําเนินโครงการหนังสือเลมแรกของลูก Book Start - เงินบํารุง 16. ดําเนินโครงการคายพัฒนาทักษะมารดาทารกปวย เพือ่สงเสริมการมีสวนรวมดแูลสุขภาพของทารกปวยอยางตอเนื่อง

31,050 เงินบํารุง

17. ปรับปรุงพัฒนาระบบการเก็บขอมูลใหครอบคลุมและนํามาใชประโยชนได

-

เงินบํารุง

18.พัฒนาส่ือสุขศึกษา ประชาสัมพันธใหแกผูรับบริการอยางตอเนื่อง จากแผนพับ และบอรดให ความรู เสียงตามสาย ของโรงพยาบาล จัดรายการวิทย ุ

- เงินบํารุง

ปญหา/อุปสรรค 1. บุคลากรท่ีเกี่ยวของ ไมเขาใจระบบบริการสุขภาพมารดาและทารกในบางเร่ือง ไมเปนไปใน

ทิศทางเดียวกนั ทําใหการดาํเนินงานไมตอเนื่อง 4. จํานวนบุคลากรไมเพยีงพอในการดําเนนิงาน ภาระงานมากข้ึนตามโครงการ / กิจกรรมท่ีมากข้ึน

2. การจัดเก็บและบันทึกขอมูลผูรับบริการยังไมครอบคลุม 3. ปญหาดานสถานท่ี และความปลอดภยั เชน ไมมีหองตรวจพัฒนาการเด็กและโรงเรียนพอแม ท่ี

เปนสัดสวน(โรงพยาบาลอยูในระยะกอสรางตึก)

Page 57: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

57

4. ขาดการประชาสัมพันธ ช้ีแจงใหแกผูรับบริการ เนื่องจากผูรับบริการมาก รอนาน ทําใหเกิดความเส่ียงในขอรองเรียนมากข้ึน

5. ระบบการสงตอตอบกลับเยี่ยมบานมีความลาชา 6. อสม.ขาดความม่ันใจในการเยี่ยมเนื่องจากใหคําแนะนาํแลว แมและครอบครัวไมปฏิบัติตาม

แนวทางการแกไขปญหา 1.พัฒนางานเพื่อแกไขปญหาทารกขาดออกซิเจน - กระบวนการดูแล : ประเมินความเส่ียง EFM , CPR team , 2 nd call การประสานงาน - กระบวนการคุณภาพ : ทบทวนCase ,CPG , RM , Clinical tracer - ระบบท่ีเกีย่วของ : Refer , ER , Lab 2. พัฒนางานเพื่อแกไขปญหาทารกนํ้าหนกันอย - จัดต้ังคลินกิ Teenage Pregnancy วันพุธบาย - จัดทําส่ือ วดีทัีศน High Risk - พัฒนาบุคลากร 3.พัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีใหเขาใจระบบบริการสุขภาพมารดาทารกในแนวทางเดยีวกันอยาง

ตอเนื่อง 4.จัดสรร บริหารจัดการเร่ืองจํานวนเจาหนาท่ีท่ีใหบริการ สามารถทํางานทดแทนกันไดในกรณี

ขาดกาํลังคนในบางจุด 5. จัดระบบการนัดผูปวยเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล 6. ประสานงานกับทีมสหวชิาชีพในการดแูลเด็กกลุมเส่ียงแบบองครวม ต้ังแตทารกแรกเกดิกลุม

เส่ียงจนกระท่ังจําหนายออกจากโรงพยาบาลสูชุมชน พรอมท้ังพัฒนาโครงการสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแลตัวเองอยางตอเนื่องสรางความยั่งยืนใหชุมชน (โครงการ Book Start, โครงการคายพัฒนาทักษะมารดาทารกปวย, โครงการเยีย่มบานผูปวยเด็กเร้ือรัง )

7. ปรับปรุงระบบการเก็บขอมูลใหครอบคลุมและนํามาใชประโยชนได 8. ปญหาดานสถานท่ีและความปลอดภยั: ปรับปรุงสถานท่ีโรงเรียนพอแมและคลินกิสงเสริม

พัฒนาการ (ขณะนี้โรงพยาบาลกําลังอยูในระยะกอสรางตึกผูปวย) 9. มีการประชาสัมพันธใหแกผูรับบริการอยางตอเนื่อง: แผนพับและบอรดใหความรู เสียงตาม

สายของโรงพยาบาล, VCD แนะนําสถานท่ี 10. มีทีมความเส่ียงของโรงพยาบาลทําหนาท่ีจัดการความเส่ียงในกรณีเกิดขอรองเรียน 11.พัฒนาระบบการสงตอและการติดตามเยีย่มหลังคลอด

Page 58: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

58

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. การเช่ือมโยงขอมูลระหวางหนวยงานกบัสวนกลางยังไมสามารถนําขอมูลมาวิเคราะหได

เสนอแนะ จัดทําระบบขอมูล One Line 2. ควรมีนโยบายเชิงประชาสัมพันธดานความรูท่ีถูกตองเกี่ยวกับงานอนามัยแมและเด็กเพื่อ

ปองกันเจาหนาท่ีถูกฟองรอง

Page 59: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

59

คณะที่ 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ ปองกันควบคุมโรคและลดปจจัยเส่ียงดานสุขภาพ หัวขอท่ี 3.7 สุขภาพแมและเด็ก : การดูแลสุขภาพมารดาและทารก ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนา

ประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0308 ชื่อตัวชี้วัด อัตราการเกิดโรคฟนผใุนเด็กลดลง ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด ทพ.สุทธิทธ์ิ วัณณสุทธางกรู ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

ทพญ.ธนานันต อุณหนนัท

ตาราง 55 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค. 2552) อัตราฟนผุ ป 2552 อัตราฟนผุ ป 2553 ลดลง/เพิ่มขึ้น

65.65 (ทุกโรงเรียนในป 2552)

65.24 (จาก 1 โรงเรียนท่ีตรวจ)

0.41

ตาราง 56 สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา

ผลงานตามตัวชี้วัด ป 2552 รอยละ เด็กอายุ 12 ป ปราศจากฟนผุ 63 คาเฉล่ีย ฟนผุ ถอน อุด ของเด็กอายุ 12 ป ซ่ี/คน ไมไดสํารวจ เด็กอายุ 12 ป ไมมีเหงือกอักเสบ 87 โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟน หลังอาหารกลางวันทุกวัน

93

เด็กท่ีดื่มน้ําอัดลมเปนประจํา ไมไดสํารวจ เด็กท่ีกนิขนมกรุบกรอบเปนประจํา ไมไดสํารวจ เด็กช้ัน ป.1 และ ป.3 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปาก 98 เด็ก ป.1 ไดรับการเคลือบหลุมรองฟน 548 ราย 73

Page 60: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

60

ตาราง 57 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553

แผนงาน/โครงการกิจกรรม งบประมาณ(บาท) แหลงงบ โครงการเคลือบหลุมรองฟนกรามแทซ่ีท่ี 2 เด็กอายุ 12 ป 26,000 สปสช. -เคลือบหลุมรองฟนกรามแทซ่ีท่ี1 เด็กอาย ุ7 ป 38,080 สปสช. - ติดตามตรวจ อุดฟน ในเด็กอาย ุ 9 ป 10,000 สปสช. - ติดตามตรวจ อุดฟน ในเด็กอายุ 12 ป 10,980 สปสช. - มีโครงการเสริมเชน โครงการยุวทันตรักษ การประกวดโรงเรียนดีเดนดานทันตสุขภาพ ฯลฯ

บูรณาการรวมกับงบเวชกรรมสังคม

เงินบํารุง

- ประเมินผลโครงการ - -

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน จํานวนนักเรียนมีมาก ทําใหภาระงานสูงเม่ือเทียบกับเวลาปฎิบัติงาน (เฉพาะเปดเทอมปละ 8

เดือน) แนวทางแกไขปญหา 1. การประสานงานเร่ืองการใชเงินระหวางโรงพยาบาลและรพสต. ควรจะรวดเร็ว และมีการ

ส่ือสารท่ีดี (กรณีการจางลูกจางชวย) 2. โรงพยาบาลควรมีนโยบายดานงาน PP ใหกลุมงานทันตกรรมรับทราบอยางชัดเจน และเกิด

ความตระหนกัเพื่อสรางความสมดุลระหวางงานบริการและงานสงเสริมปองกัน

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง เนื่องจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมีขอจํากัดดานเวลา เพราะโรงเรียนเปดการศึกษาปละ 8 เดือน จึงอยากใหสวนกลางพิจารณาโครงการในโรงเรียนดวยความเหมาะสม ตามขอจํากัดของเวลา หากโครงการท่ีเปนตัวช้ีวัดมีมาก อาจทําใหปฏิบัติงานตามเกณฑได

Page 61: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

61

ยุทธศาสตรกระทรวง เสริมสรางปจจัยพื้นฐานของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองและพัฒนาประสิทธิภาพเครือขายระบบเฝาระวังการปองกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

การเสริมสรางใหคนในสังคมไทยมีสุขภาพและจิตสํานกึท่ีดีดานสุขภาพ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

รหัสตัวชี้วัด 0309 ชื่อตัวชี้วัด 1. อัตราการใชถุงยางอนามัยในกลุมวัยรุน ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.สุชาติ ทองแปน ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางเกศมุกดา จันทรศิริ

ชื่อตัวชี้วัดระดับจังหวัด

2. รอยละของผูท่ีมีอายุ 10-24 ป เปนสมาชกิ TO BE NUMBER ONE 3. รอยละของอําเภอมีชมรม To Be Number One และมีศูนยเพื่อนใจวัยรุน ตามเกณฑกําหนด

ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.สมศักดิ์ กุศลาไสยานนท ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.อัญชุลี ประคําทอง

ตาราง 58 ผลการดําเนินงาน (ตค.- ธค. 2552)

ตัวชี้วัด เปาหมาย

(คน) ผลงาน (คน)

รอยละ

1. อัตราการใชถุงยางอนามัยในกลุมวยัรุน 86 คน 40 คน 46.51 2. รอยละของผูท่ีมีอายุ 10-24 ป เปนสมาชิก To Be Number One และเคยเขารวมกิจกรรม

30,255 คน

28,125 คน

92.95

3. รอยละของอําเภอมีชมรม To Be Number One และมีศูนยเพื่อนใจวัยรุน ตามเกณฑกําหนด

1 อําเภอ 3 อําเภอ 100.00

กลุมตัวอยางนกัเรียนชาย ม.5 ท่ีเก็บขอมูล จํานวน 151 ราย ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา นักเรียนเคยรวมเพศ จาํนวน 43 คน คิดเปน รอยละ 28.5 สวนใหญผูท่ีเคยรวมเพศคร้ังแรกจะอายุท่ีรวมเพศคร้ังแรกนอยท่ีสุด คือ 14 ป สวนใหญจะรวมเพศคร้ังแรกอายุ 15 ป รอยละ 55.8 ของผูท่ีรวมเพศคร้ังแรก การรวมเพศคร้ังแรกใชถุงยางอนามัย จํานวน 23 คนคิดเปน รอยละ 53.4 สวนใหญ รวมเพศคร้ังแรกกบัแฟน หรือคนรัก จํานวน 33 คน รอยละ 76.74 การรวมเพศคร้ังลาสุด กับแฟน หรือคนรัก ใชถุงยางอนามัย จํานวน 24 คน รอยละ 55.8 รวมเพศคร้ังสุดทายกับหญิงอ่ืน ใชถุงยางอนามัย จํานวน 16 คน รอยละ 37.21

Page 62: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

62

กลุมตัวอยางนกัเรียนชาย ม.5 ท่ีเก็บขอมูล จํานวน 151 ราย ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา นักเรียนเคยรวมเพศ จาํนวน 43 คน คิดเปน รอยละ 28.5 สวนใหญผูท่ีเคยรวมเพศคร้ังแรกจะอายุท่ีรวมเพศคร้ังแรกนอยท่ีสุด คือ 14 ป สวนใหญจะรวมเพศคร้ังแรกอายุ 15 ป รอยละ 55.8 ของผูท่ีรวมเพศคร้ังแรก การรวมเพศคร้ังแรกใชถุงยางอนามัย จํานวน 23 คนคิดเปน รอยละ 53.4 สวนใหญ รวมเพศคร้ังแรกกบัแฟน หรือคนรัก จํานวน 33 คน รอยละ 76.74 การรวมเพศคร้ังลาสุด กับแฟน หรือคนรัก ใชถุงยางอนามัย จํานวน 24 คน รอยละ 55.8 รวมเพศคร้ังสุดทายกับหญิงอ่ืน ใชถุงยางอนามัย จํานวน 16 คน รอยละ 37.21

กลุมตัวอยางนกัเรียนชาย อาชีวะ ป 2 ท่ีเกบ็ขอมูล จํานวน 261 ราย ผลการวิเคราะหขอมูลพบวานักเรียนเคยรวมเพศ จํานวน 72 คน คิดเปน รอยละ 27.58 อายุท่ีรวมเพศคร้ังแรกนอยท่ีสุด คือ 13 ป สวนใหญจะรวมเพศคร้ังแรกอายุ 15 ป รอยละ 38.9 การรวมเพศคร้ังแรกใชถุงยางอนามัย จํานวน 46 คนคิดเปน รอยละ 63.9 ของผูท่ีเคยรวมเพศคร้ังแรก สวนใหญ รวมเพศคร้ังแรกกับแฟน หรือคนรัก จํานวน 66 คน รอยละ 91.7 การรวมเพศคร้ังลาสุด กับแฟน หรือคนรัก ใชถุงยางอนามัย จํานวน 45 คน รอยละ 62.5 รวมเพศคร้ังสุดทายกับหญิงอ่ืน ใชถุงยางอนามัย จํานวน 30 คน รอยละ 41.7 สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา

จากการศึกษาสถานการณการเกิดโรคติดตอทางเพศสัมพันธของผูมารับบริการในโรงพยาบาลมหาสารคาม ป พ.ศ.2548-2552 จําแนกรายโรค เพศ กลุมอายุ และกลุมอาชีพ โดยใชขอมูลทุติยภมิู (Secondary data) จากระบบฐานขอมูล ICD-10 ผูมารับบริการในโรงพยาบาลมหาสารคาม ต้ังแตป พ.ศ.2548-2552 พบวาจํานวนผูปวยโรคติดตอทางเพศสัมพนัธของผูมารับบริการในโรงพยาบาลมหาสารคาม ป พ.ศ.2548-2552 มีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง รอยละ0.09 ในป พ.ศ.2548 เปนรอยละ 0.32 ในป พ.ศ.2551 แตลดลงเล็กนอยเปนรอยละ 0.28 ในป พ.ศ.2552 เม่ือพิจารณาเปนรายโรคจากจํานวนผูปวยท่ีไดรับการวินจิฉัยเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธพบวา โรคหูดเปนโรคท่ีพบมากท่ีสุดรอยละ 64.4 และมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนือ่งระหวาง พ.ศ.2548-2552 เทากับรอยละ 51.4 69.2 69.0 69.4 และ 58.6 ตามลําดับ กามโรคของตอมและทอน้ําเหลืองพบนอยท่ีสุด รอยละ 0.2 และมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องระหวาง พ.ศ.2550-2552 เทากับรอยละ 0.3 0.2 และ 0.4 ตามลําดับ กลุมอายุท่ีพบผูปวยมากท่ีสุดคือ 20-24 ป รอยละ 30.3 และมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องระหวาง พ.ศ.2548-2552 เทากับรอยละ 15.1 23.2 27.4 35.4 และ 38.2 ตามลําดับ กลุมนักเรียนนักศึกษาปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพนัธมากท่ีสุดรอยละ 42.2 และมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องระหวาง พ.ศ.2548-2551 เทากบัรอยละ41.3 40.3 42.9 และ 43.5 ตามลําดับ อัตราสวนเพศหญิง : เพศชาย เทากับ 1.05: 1 กลุมอายุท่ีปวยดวยโรคหนองใน โรคหนองในเทียมและโรคหูดมากท่ีสุดคือ 20-24 ป อาชีพท่ีปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธมากท่ีสุด ไดแก นักเรียน/นักศึกษารอยละ 42.2 และมีแนวโนมเพิ่มข้ึนจากรอยละ 41.3 ในป พ.ศ.2548 เปนรอยละ 43.5 ในป พ.ศ.2551

Page 63: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

63

กลุมหญิงต้ังครรภท่ีมาฝากครรภ พบวามีแนวโนมการติดเช้ือรายใหมเพิ่มข้ึน ในป 2551 และในป 2552 ลดลง และสถิติท่ีตึกนรีเวชกลุมท่ีต้ังครรภไมพึงประสงคทําแทงท่ีรักษา ป 2550 อายุนอยกวา 24 ปพบ 52.7 อายุมากกวา 24 ป พบ47.3 นกัเรียน/นักศึกษาพบ 61.5 ทําแทงซํ้าพบ 1.6 (3ราย) อายุครรภ 0-12 wk พบ 52.2 อายุครรภ 13-20 wk พบ 26.4 อายุครรภ มากกวา 21 wk พบ 21.4 พบภาวะแทรกซอนจนตองตัดมดลูก 1 ราย ไตวาย 2 ราย เสียชีวิต ป48-50 มี 1 ราย ป 2551 พบภาวะแทรกซอนท่ีรุนแรง 11 ราย เกิดDIC 4 ราย ARF 5ราย เสียชีวิต 1 ราย เสียชีวิตจากสถานท่ีทํา 1 ราย ป 2552 จาํนวนผูรับบริการทําแทงท่ีตึกนรีเวช 153 ราย ภาวะแทรกซอนท่ีรุนแรง พบ 10 ราย DIC 4 ราย ARF 4 รายสงปรึกษาศัลยกรรม 2 ราย การตั้งครรภในวัยรุนเปนปญหาดานสาธารณสุขและสังคม และมีแนวโนมเกิดปญหาเพ่ิมมากข้ึนทุกแหงท่ัวโลก ในแตละปพบวาอัตราการคลอดบุตรจากหญิงวัยรุนมีประมาณ 14-15 ลานคนท่ัวโลก ซ่ึงมากกวารอยละ 10 ของการคลอดท่ัวโลก (World Health Organization [WHO], 2006, p. 4) สวนประเทศไทยพบอัตราการคลอดบุตรของมารดาอายุนอยกวา 20 ป ในป พ.ศ. 2547 2548 และ 2549 เปนรอยละ 14.7 13.5 และ 14.7 ตามลําดับ (สํานักงานสงเสริมสุขภาพกลุมอนามัยแมและเด็ก กระทรวงสาธารณสุข, 2551) และท่ีแผนกฝากครรภโรงพยาบาลมหาสารคาม พบอัตราการต้ังครรภในวัยรุน ป พ.ศ. 2548 2549 2550 และ 2551 เทากับ รอยละ 19.40 18.66 13.25 และ 14.41 ตามลําดับ (เวชระเบียนแผนกฝากครรภโรงพยาบาลมหาสารคาม, 2551) จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นวา อัตราการต้ังครรภของหญิงต้ังครรภวัยรุนท่ีมารับบริการในโรงพยาบาลมหาสารคาม ยังมีอัตราท่ีสูงมากและสูงกวาเกณฑของกรมอนามัยท่ีกําหนดใหอัตรามารดามีบุตรคนแรกมีอายุตํ่ากวา 20 ป ไมเกินรอยละ 10 (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร, 2551)

ตาราง 59 ขอมูลปญหาการตั้งครรภ จําแนกตามประเภท ป 2550 -2552

ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายการ เปา

หมาย ผล งาน

รอยละ เปา หมาย

ผล งาน

รอยละ เปา หมาย

ผล งาน

รอยละ

รอยละการติดเช้ือในหญิงต้ังครรภรายใหม

3,175 15 0.47 3,239

16 0.49 3,651 14 0.38

รอยละของแมต้ังครรภและคลอดบุตรอายุ < 20ป

3,175 421 13.25 3,239

467 14.41 3,651 446 12.21

รอยละการทําแทงอายุนอยกวา 24ป

182 96 52.70 147 63 42.90 153 135 88.20

Page 64: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

64

ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายการ เปา

หมาย ผล งาน

รอยละ เปา หมาย

ผล งาน

รอยละ เปา หมาย

ผล งาน

รอยละ

รอยละการเสียชีวิตจากการทําแทงอาย ุ< 24ป

96 1 1.04 63 2 3.17 135 1 0.74

ตาราง 60 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 1. ดําเนินการเฝาระวังพฤติกรรมเส่ียงท่ีนําไปสูการมีเพศสัมพันธไมปลอดภัยเพือ่สงเสริมสุขภาพและปองกนัการต้ังครรภในวัยรุน และโรคติดตอทางเพศสัมพันธและเอดสทุกปและนําขอมูลมาวิเคราะหประกอบการวางแผนงาน

54,000 บาท เงินบํารุง (กลุมงานโรคเอดสฯ)

2. จัดใหมีการเรียนรู สงเสริมและสนับสนนุการมีพฤติกรรมทางเพศท่ีปลอดภัยเพื่อปองกนัการต้ังครรภในวยัรุน และโรคติดตอทางเพศสัมพันธและเอดสอยางตอเนื่องในกลุมเปาหมายตางๆ ไดแก สถานศึกษา แกนนํา ครอบครัว/ผูปกครอง เยาวชนนอกระบบ เรือนจํา ตลาดนัดโค-กระบือ สถานประกอบการ สถานบันเทิง และในชุมชน โดยใชศิลปพื้นบานหมอลําโดยทีมงานรักษาและตัวแทนผูปวยในการแสดงรณรงคใหความรูเร่ืองโรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคเอดส รวมท้ังงานรณรงคทุกงานท่ีไดมีการแสดง เชนงานรณรงคโรคไต โรควัณโรค ฯลฯจะมีการสอดแทรกเนื้อหาความรู ความเขาใจท่ีถูกตองและทักษะการปองกันโรคเอดส รวมท้ังงานบุญตางๆ

40,000 บาท เงินบํารุง (กลุมงานโรคเอดสฯ)

3. เปดใหบริการคลินิกโรคติดตอทางเพศสัมพันธแบบ One stop services ต้ังแตวนัท่ี 15 กุมภาพนัธ 2550

- (กลุมงานโรคเอดสฯ)

4. เปดศูนยใหบริการที่เปนมิตรกับเยาวชนโดยเนนการใหบริการเร่ืองโรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคเอดส ต้ังแตมกราคม 2552

110,000 บาท

กองทุนโลกฯ (กลุมงานโรคเอดสฯ)

5.บริการใหการปรึกษาและตรวจเลือดดวยความสมัครใจ - (กลุมงานโรคเอดสฯ)

Page 65: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

65

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ 6.บริการใหการปรึกษาทางโทรศัพท - (กลุมงานโรคเอดสฯ

และคลินิกวัยใส) 7.ใหการสนับสนุนถุงยางอนามัยแกกลุมเปาหมายและ ดําเนินโครงการ condom 100 % ในสถานบันเทิง รีสอรท บังกะโล ติดตามเยี่ยมอยางตอเนื่อง

250,000 บาท

เงินบํารุง (กลุมงานโรคเอดสฯ)

8.ณรงควันเอดสโลก วันวาเลนไทนทุกป 17,900 บาท เงินบํารุง (กลุมงานโรคเอดสฯ)

9.ประชาสัมพันธใหความรูเร่ืองโรคติดตอทางเพศสัมพนัธและโรคเอดส การปองกันและตอบขอซักถามรายการวิทย ุ

- (กลุมงานโรคเอดสฯ)

10.สอดแทรกเนื้อหาเร่ืองโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ การปองกันในทุกคายเยาวชนเชน คายยุวทันตรักษ คาย To Be Number One คายวัยใส คายแกนนําเยาวชน คายครอบครัวอบอุนเปนตน

- (กลุมงานโรคเอดสฯและกลุมงานจติเวชฯ)

11. ดําเนินโครงการรานยามีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ต้ังแตป 2550 ปจจุบันมีท้ังหมด จํานวน 22 รานเพื่อใหผูรับบริการเขาถึงบริการถุงยางอนามัยและการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดดวยความสมัครใจ

19,400 บาท (กลุมงานโรคเอดสฯ)

12. ใหบริการคลินิกวัยใสคลินิกวยัเรียนวยัรุน ใหบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ บริการใหความรูดานอนามัยการเจริญพันธในวยัรุน

38,200 บาท (กลุมงานสูติ-นรีเวชกรรม)

13. จัดใหมีระบบการสงตอและบูรณาการงานระหวางการดําเนินงาน OSCC สุขภาพจิต คลินิกวยัใส ศูนยใหบริการที่เปนมิตรกับเยาวชน คลินิกโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ท้ังเชิงรุกและเชิงรับรวมกัน

- (กลุมงานโรคเอดสฯ OSCCกลุมงานสุขภาพจิต คลินิกวัยใส)

14.สรางแกนนําเครือขายการดําเนินงานการปองกันและการเขาถึงถุงยางอนามัยและการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดดวยความสมัครใจ ไดแก

- กองทุนโลก (ลุมงานโรคเอดสฯ)

Page 66: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

66

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ แหลงงบ - เครือขายครูแนะแนวในสถานศึกษา -เครือขายรานขายยา -เครือขายสถานประกอบการ -เครือขายสถานบันเทิง -เครือขายแกนนําเยาวชน -เครือขายเยาวชนท่ีเคยเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ -เครือขายองคกรเอกชนท่ีทํางานกับเดก็ -เครือขายองคการบริหารตําบลดอนหวาน -เครือขายผูติดเช้ือเอช ไอ ว ี-เครือขายสภาเด็กจังหวดัและตําบล

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1.เยาวชนมีความรูแตขาดความตระหนัก 2.สถานศึกษายังมีความหลากหลายในหลักสูตรการสอนเพศศึกษาและไมชัดเจนในบาง

ประเด็น 2.พนักงานในสถานประกอบการยังมีทัศนคติท่ีไมถูกตองตอการใชถุงยางอนามัย 3. การดําเนินกิจกรรมของชมรม To Be Number One ยังขาดความตอเนื่อง โดยเฉพาะชมรม To

Be Number Oneในชุมชนและสถานประกอบการ 4. การจัดหาทนุของชมรม To Be Number One ยังพบวามีทุนในการดําเนินงานนอย ทําใหการจดั

กิจกรรมของสมาชิกมีความจาํกัด ไมนาสนใจ เขาถึงกลุมเปาหมายนอย 5. ไมมียุทธศาสตรหรือแผนแมบทในการดําเนินงานระดับจังหวัด เพือ่ใชกํากับทิศทางการ

ดําเนินงานของชมรมในระยะยาว (แผน 3-5ป) แนวทางในการดําเนินการแกไขปญหา

1. จัดใหมีการสงเสริมการเรียนรูการมีพฤติกรรมทางเพศท่ีปลอดภัยเพื่อปองกันการต้ังครรภในวัยรุน และโรคติดตอทางเพศสัมพันธและเอดสอยางตอเนื่องท้ังในระบบการศึกษา แกนนํา ครอบครัว/ผูปกครอง และชุมชน

2. ในป 2553 จังหวดัมหาสารคามรวมกับองคการ PATH ไดดําเนนิโครงการเพศศึกษากาวยางอยางเขาใจในพื้นท่ีจังหวัดมหาสารคาม โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเปนแกนหลัก

Page 67: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

67

3. ดําเนินงานดานการปองกนัและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพนักงานในสถานประกอบการใหครอบคลุมรวมกับสํานักงานสวัสดิการคุมครองแรงงานและเครือขายสถานประกอบการพรอมการดําเนินงานการปองกันวณัโรคในสถานประกอบการ

4. กระตุนใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเนือ่งโดยหนวยงานท่ีเกีย่วของในพื้นท่ี รวมกนัดูแล ไดแกกลุมเยาวชน โรงเรียน สถานีอนามัย อบต. โรงงาน ชุมชน ฯลฯ

5. รวมกับกรรมการชมรมหารูปแบบ หรือแนวทางในการระดมทุนท่ีมีความหลากหลายและนาสนใจ หรือจัดใหมีเวทีการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางชมรมท่ีประสบความสําเร็จ เพื่อใหเกิดการสรางสรรคงานของกรรมการชมรม

6. นําเสนอตอผูรับผิดชอบระดับจังหวดัเพือ่จัดทําแผนยทุธศาสตรการดําเนินงานTo Be Number One ในระดับจังหวดั

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. มีนโยบายพฒันาหลักสูตรการเรียนการสอนเพศศึกษาท่ีเหมาะสม และภาคบังคับใหเรียน

2. ควรสนับสนุนการดําเนินงานจากหนวยงานท่ีเกีย่วของท้ังระดับผูบริหารและระดับปฏิบัติการ เพื่อใหเกิดการพัฒนาโครงการท่ีสามารถสรางประโยชนแกสังคมและปองกันแกไขปญหาเยาวชนไดอยางแทจริง

3. ควรจัดทําแผนงาน/โครงการดานการประชาสัมพันธและการตลาดแบบสรางกระแส (Mass Product) และใหเขาถึงกลุมวัยรุนท่ีเปนเปาหมายไดอยางรวดเร็ว

Page 68: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

68

คณะที 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวขอท่ี 4.1 4.1 การบริหารการเงินการคลังระดับจังหวดัและเขต (Health care Financing) ยุทธศาสตรกระทรวง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 3. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทยท่ีผูรับบริการอุนใจ ผูใหบริการมีความสุข 6. การสรางระบบสุขภาพฐานความรูดวยการจดัการความรู

รหัสตัวชี้วัด 0401 ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของจังหวัดในการบริหารความเสี่ยงดานการเงินการคลัง ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด นพ.พรชัย พวัรัตนอรุณกร ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.นงลักษณ ภูขามคม

เกณฑ ระดับ 1 มีการแตงต้ังคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวดั ระดับ 2 2.1 ประชุมและวิเคราะหสถานการณการเงินการคลังของจังหวดั เดือนละ 1 คร้ัง ภายใตประเดน็ดังตอไปนี ้ 2.1.1 สภาวะสมดุลของรายรับ รายจายเงินบํารุง 2.1.2 คาใชจายของบุคลากร ไดแก คาตอบแทนประเภทตาง ๆ 2.1.3 การเปรียบเทียบ Unit Cost ของคาใชจาย กับผลการปฏิบัติงาน 2.2 รายงานการประชุม เพื่อเสนอแนวทาง/แผนการปรับปรุงและแกไข/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัด ตอผูบริหารระดับเขต ระดับ 3 ดําเนนิการตามแนวทาง / แผนการปรับปรุงและแกไข / ขอเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัด ระดับ 4 ติดตามและประเมินผล ตามแนวทาง / แผนการปรับปรุงและแกไข / ขอเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวดั ระดับ 5 รายงานผลการดําเนินงานและสถานการณการเงินการคลังของจังหวดัตอผูตรวจราชการ

Page 69: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

69

ตาราง 61 ผลการดําเนินงาน (ตค. - ธค.2552)

ตัวชี้วัด เปาหมาย ผลงาน รอยละ 1. การประชุมเพื่อแกไขปญหาดานการเงินการคลัง

4 คร้ัง 1 คร้ัง 25.00

2. Cash Ratio (เทา) 0.80 1.68 3. Quick Ratio(เทา) 1 2.56 4. Current Ratio(เทา) 1.50 2.84 5. ระยะเวลาเฉล่ียเก็บลูกหนี้(วนั) 90 61.32 28วัน 6. ระยะเวลาเฉล่ียจายชําระหนี้(วัน) 90 81.37 8 วัน 7. อัตรากําไรสุทธิ 1.00 -5.82 8. อัตราตนทุนบริการ Adj.RW 8,594 บาท 9,377.06 บาท -9.11 9. อัตราการสํารองยาเฉล่ีย 3 เดือน 1.31 เดือน 2.29 10. รอยละการซ้ือยาจากGPO 50,352,292.85 3,781,588.35 7.51 11. รอยละการจัดซ้ือยารวมระดับจังหวดัและเขต 50,352,292.85 29,274,839.75 58.14 12. รอยละการใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติ 51,278,280.17 35,896,254.73 70.06

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา การบริหารการเงินการคลัง

1. โรงพยาบาลมีการจัดต้ังคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังและมีการสรุปสถานการณดานการเงินในท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารประจําทุกเดือน และต้ังคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดเพื่อดูแลเร่ืองระบบยาท้ังหมดของโรงพยาบาลแตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาระบบควบคุมและตรวจสอบภายใน

2. ในป 2552 การใชจายเงินงบประมาณหมวดงบลงทุนไมสามารถดําเนินการไดทันตามระยะเวลาท่ีกําหนด งบลงทุนเงินบํารุงหลายรายการดาํเนินการไมทันภายในส้ินปงบประมาณ

3.ทุกหนวยงานภายในโรงพยาบาลมีการจดัทําแผนการใชเงินแตยงัพบการดําเนนิงานนอกแผน 4. มีการจัดซ้ือยารวมระดับจงัหวัด 237 รายการระดับเขต 10 รายการ ระบบการตรวจสอบภายใน ของปงบประมาณ 2552

1. ดานสภาพแวดลอมการควบคุม มีการกาํหนดผูรับผิดชอบงานพัสดุ/ครุภัณฑของหนวยงาน มีระบบควบคุมและตรวจสอบอยางไมเปนทางการ ในภาพรวมเหมาะสม อัตรากําลังเหมาะสมกับผูรับบริการ ความสามารถของบุคลากรทุกระดับเหมาะสม

Page 70: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

70

2. การประเมินความเส่ียง มีผูจัดการความเส่ียงประจําหนวยงาน และพบความเส่ียงดานความลับผูปวย มีการประเมินความเส่ียงทาง Clinic โดยจัดกิจกรรมไดสอดคลอง โดยใชงบประมาณและทรัพยากรอยางคอนขางเหมาะสม บางหนวยงานบุคลากรอัตรากําลังไมเพียงพอ แตมีการประเมิน Competency ตามมาตรฐานของแตละจุดของงาน ลดความเส่ียงในภาระงานได

3. กิจกรรมควบคุม มีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปเปนคูมือการดําเนินงาน มีการสุมตรวจสอบการใชวัสดุจากโปรแกรมการเบิกพัสด ุ มีกิจกรรมควบคุมท่ีเหมาะสมและไดรับการสอบทานสมํ่าเสมอ ท้ังดานปริมาณและคุณภาพ

4. สารสนเทศและการส่ือสาร มีการส่ือสารโดยรูปแบบการประชุมของหนวยงาน มีการส่ือสารดวยวาจาอยางไมเปนทางการท้ังในสวนของการมอบหมายงานและการแจงขาวสาร มีการใชขอมูลภายในทุกอยางมากําหนดทิศทางการปฏิบัติงานและนํามาเปล่ียนแปลงวิธีการดําเนนิงาน มีการแจงขอมูลสารสนเทศภายในองคกร เพือ่รับทราบและหาแนวทางปฏิบัติท่ีเหมาะสมในทีม

5. การติดตามและประเมินผล มีติดตามผานและประเมินโครงการตามแบบฟอรมท่ีกาํหนดกอนสงเบิกจาย รวมท้ังการประเมินการประชุมของหนวยงาน มีการจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงาน มีผูรับผิดชอบโครงการและผูตรวจสอบกอนสงเบิกเงิน มีการติดตามประเมินผลทุกข้ันตอน สะทอนผลไดเร็ว เนื่องจากเปนหนวยงานที่มีผลตอรายรับของโรงพยาบาล การติดตามประเมินผล มีทุกข้ันตอนและตรวจสอบเปนระยะ

ตาราง 62 โครงการ/แผนงาน/ กิจกรรม

โครงการ/แผนงาน/ กิจกรรม งบประมาณ 1. การจัดทําแผนกลยุทธท่ีจะนําไปสูการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพโดยใหหนวยงานมีสวนรวม 2. มีการปรับเปล่ียนคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดใหสอดคลองการดําเนินงานในระบบยาของโรงพยาบาลมากยิ่งข้ึน 3.กําลังดําเนินการคัดเลือกรายการยาใหมสําหรับการจัดซ้ือยารวมระดับเขตในป 2553 4. มีนโยบายใหมีการใชยาตามบัญชียาหลักแหงชาติมากข้ึน 5. แผนการปรับปรุงของระบบควบคุมและตรวจสอบภายใน - ดานการเงิน 1. กําหนดใหหนวยงานยอยภายในจดัทําทะเบียนเบิกจายงบประมาณและควบคุมกํากับใหเปนไปตามเกณฑ 2. แจงเวียนระเบียบใหมแกหนวยงานท่ีเกีย่วของผานระบบ Intranet 3. พัฒนาระบบตรวจสอบเวชระเบียนผูปวยนอกและใน

-ไมมีงบประมาณ

Page 71: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

71

โครงการ/แผนงาน/ กิจกรรม งบประมาณ 4. ลงบันทึกขอมูลบัญชีเกณฑคงคางใหเปนปจจุบันครบถวนและถูกตอง 5. จัดทําแนวทางการใชจายงบประมาณ และการยืม-คืนเงิน 6. จัดใหมีผูตรวจสอบทะเบียนเงินยืม - ดานพัสด ุ1. จัดทําแผนการจัดซ้ือจัดจางทุกประเภท 2. แตงต้ังคณะกรรมการฯเพ่ือติดตามการจดัซ้ือจางตามแผน และตรวจนับคลังพัสดุ 3. กําหนดใหหนวยงานยอยภายในจดัทําทะเบียนเบิกจายพัสดุของหนวยงานและควบคุมกํากับการใชจาย - การบริหารความเส่ียงและการควบคุมภายใน 1. กําหนดโครงสรางการควบคุมภายในของหนวยงานใหชัดเจนโดยการแตงแตงคณะกรรมการฯ 2. การประสานงานระหวางทีมงานเก่ียวกบัความเส่ียง เพื่อความรวดเร็วในการแกไขปญหาและมีการติดตาม 3. เพิ่มกิจกรรมเชิงรุกโดยจดัทําแผนสุมตรวจเพื่อการควบคุมภายในหนวยงานยอย ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน

1. คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังตองรับผิดชอบเปนคณะกรรมการหลายคณะทําใหการประชุมไมเปนไปตามแผนท่ีวางไวการประชุมของคณะกรรมการชุดอ่ืนมีเนื้อหาท่ีตองสรุปรายไดและคาใชจายประจํารายไตรมาสเสนอเปนประจําคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสวนใหญรวมเปนคณะกรรมการดวยแตไมครบทุกคนทําใหเปนการเสียเวลาท่ีตองมาประชุมเร่ืองเดียวกันอีก

2. การควบคุมคาใชจายโดยเฉพาะดานคาตอบแทนมีการเปล่ียนอัตราการจายใหมและมีคาตอบแทนผูปฏิบัติงานโรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลท่ัวไปเพิ่มข้ึน ทําใหไมสามารถควบคุมคาใชจายดานบุคลากรใหเปนไปตามแผนท่ีวางไวได

3. การบันทึกบัญชีลูกหนี้เฉพาะสิทธิ UC OPD ใน CUP และ IPD สิทธิประกันสังคมในเขต ซ่ึงเปนลูกหนีท่ี้โรงพยาบาลไดรับเงินเหมาจาย เปนภาระงานท่ีหนกัมาก

4. การจัดซ้ือรวมเขตในปท่ีผานมาพบปญหาดังนี ้ - เอกสารมอบอํานาจจากผูตรวจราชกรเขตไมครบถวนคือขาดเอกสารการมอบอํานาจการ

รับทราบผลการตรวจรับเวชภัณฑ ทําใหการดําเนินกรจดัซ้ือขาดความคลองตัว - บริษัทสํารองไมมีการทําสัญญาจะซ้ือจะขายแบบราคาคงท่ีไมจํากัดปริมาณทางโรงพยาบาลจึงไมสามารถดําเนินการจดัซ้ือตามสัดสวนระหวางบริษัทท่ี 1 และท่ี 2 ตามท่ีเขตกําหนดใหได

Page 72: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

72

- การจัดสงเอกสารสัญญาฯลาชาทําใหการดําเนินการจดัซ้ือตามสัญญาเร่ิมไดลาชา 4. การจัดซ้ือยารวมระดับจังหวัด ยาบางรายการมีราคาสูงเกินราคากลางแมจะมีการดาํเนินการ

จัดซ้ือรวมระดบัจังหวดัแลวก็ตาม 5. คณะกรรมการควบคุมและตรวจสอบภายมาจากตําแหนงงานอ่ืนๆ เชน พยาบาลวชิาชีพ

นักวิชาการ และเจาหนาท่ีอ่ืนๆ ท่ีไมใชนกัตรวจสอบภายใน หนือนิติกร ทําใหขาดองคความรูดานการควบคุมและตรวจสอบภายใน และมีภาระงานประจํามาก ทําใหไมสามารถดําเนินการพัฒนาระบบใหมีประสิทธิภาพ แนวทางการแกไขปญหา

1. เม่ือมีการจดัประชุมในเนือ้หาท่ีเกีย่วของกันใหเชิญคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขารวมประชุมดวยเพื่อหาแนวทางแกไขรวมกันเพื่อลดความถ่ีในการประชุม ลดเวลาในการประสานงานกับคณะกรรมการอ่ืน

2. การจัดซ้ือยารวมระดับเขตใหมีการจัดทําและตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของใหถูกตองครบถวน กอนแจงใหผูเกี่ยวของถือปฏิบัติและควรมีการจัดทําแนวทางปฏิบัติเปนข้ันตอนอยางชัดเจนเพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานสําหรับผูท่ีไมเคยจัดซ้ือโดยใชสัญญาจะซ้ือจะขายแบบราคาคงท่ีไมจํากดัปริมาณ

3. การบันทึกควรท่ีจะใหบันทึกลูกหนีเ้ดือนละ 1 คร้ัง เนื่องจากจะไมตองจัดเก็บเอกสารทุกวันทําการเพื่อแนบการบันทึกบัญชีลูกหนี้สิทธิดังกลาว การบันทึกบัญชีลูกหนี้สิทธดังกลาวทุกวัน เม่ือเปรียบเทียบกบับันทึกเดือนละคร้ัง ผลรวมของลูกหนี้สิทธิดังกลาวเทากัน เอกสารจดัเก็บเพยีบ 1 ชุด สวนราชการปดบัญชีเดือนละ 1 คร้ังไมทําใหเกิดผลเสียแกทางราชการแตอยางใด เพราะลูกหนี้สิทธิอ่ืน บันทึกรายตัวใชเวลามากแลว

4. ควรมีการจดัทําแผนพัฒนาบุคลากรและแผนปรับปรุงอยางครอบคลุม

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง 1. พัฒนาระบบโปรแกรมของ สภค.ใหสามารถดูของโรงพยาบาลทุกแหงไดแตแกไขไมได

เพื่อใหนําขอมูลมาใชในการบริหารงานดานการเงินการคลังใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน 2. ควรลดข้ันตอนในการปฏิบัติงานในสวนท่ีลดได 3. ใหมีการทบทวนราคากลางใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจปจจุบันเพือ่ใหโรงพยาบาลตาง ๆ

สามารถจัดซ้ือยาตามราคากลางท่ีกําหนด

Page 73: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

73

คณะที่ 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวขอท่ี 4.2 การบริหารจัดการบุคลากรไดแก การจัดหาร การกระจาย การพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตรกระทรวง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 2. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทยท่ีผูรับบริการอุนใจ ผูใหบริการมีความสุข

รหัสตัวชี้วัด 0402 ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จขององคกรในการบริหารจัดการบุคลากร ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด ทพญ.เพ็ญนภา เหลียงไพบูลย ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นส.ทิพยพาณี เพชรวิเชียรชัย

เกณฑ 1. ดําเนินงานโดยคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล

และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของโรงพยาบาลมหาสารคาม 2.1. มีการประชุมคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล และประชุมคณะกรรมการพัฒนา

ทรัพยากรบุคคล เดือนละ 1 คร้ัง 2.2 มีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรทุกหนวยงาน ทุกปงบประมาณ 3. ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล 4. การติดตามและประเมินผล การดําเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร อยูในระดับการติดตาม

ประเมินผลการดําเนินงาน 5. รายงานผลการดําเนินงานการพัฒนากําลังคนดานสาธารณสุข

ตาราง 63 ผลการดําเนินงาน (ตค. – ธค. 2552)

เปาหมาย ผลงาน รอยละ ระดับ 5 ระดับ 2 40.00

สถานการณ/ขอมูลท่ีผานมา ในป 2552 โรงพยาบาลมหาสารคามดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล โดยมีการแตงต้ังคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลและคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล จัดใหมีการประชุมทุกเดือน โดยคณะกรรมการพฒันาทรัพยากรบุคคล มีบทบาทในการวิเคราะหสถานการณปญหาอัตรากําลัง

Page 74: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

74

ภาระงาน สมรรถนะของบุคลากร แนวทางสรางขวัญและกําลังใจ และแนวทางพัฒนาบุคลากร นําขอมูลใหคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลมีบทบาทในการพิจารณาจดัสรร คัดเลือก พิจารณาอนุมัติดําเนินการดานบุคลากรตอไป

ตาราง 64 แผนความตองการอัตรากําลังตามเกณฑ GIS ปงบประมาณ 2553 – 2556 (ระดับ 2.3)

สาขาวิชาชพี เกณฑ GIS อัตรากําลัง

ปจจุบัน 2553

แผน ป

2553

แผน ป

2554

แผน ป

2555

แผน ป

2556

1. แพทย 64 49 (51) +2 +2 +3 +3 2. พยาบาลวิชาชีพ 553 371 (425) +26

(นร.ทุน 19)

+27 (นร.ทุน

11)

+24 (นร.ทุน

7)

+30 (นร.ทุน

20) 3. เภสัชกร 37 27 (29) +1 +1 +1 +1 4. ทันตแพทย 36 12 - +1 +1 +1 5. นักกายภาพบําบัด 5 4 (5) +1 +1 +1 - 6. นักเทคนิคการแพทย 14 9 (11) +1 +1 +1 - 7. เจาหนาท่ีรังสีการแพทย

12 8 +1 +1 +1 +1

หมายเหตุ* ใน ( ) = อัตรากําลังท้ังหมดรวมอัตราจางและพนักงานราชการ

ผลดําเนินการป 2552 1. หนวยงานท่ีมีการดําเนนิงานตามแผนพัฒนาบุคลากรสําเร็จ รอยละ 85.00 2. สาขาวิชาชีพหลักท่ีมีอัตรากําลังเพียงพอตาม GIS รอยละ 64.22

3. บุคลากรปฏิบัติงานผานเกณฑการประเมินสมรรถนะ รอยละ 97.80 4. บุคลากรไดรับการพัฒนาสมรรถนะในสวนท่ีขาด รอยละ 95.00 5. บุคลากรไดรับการพัฒนาตามเกณฑ 10 วัน /คน/ป รอยละ 94.00 6. คะแนนบรรยากาศองคกร รอยละ 72.40 7. บุคลากรไดรับการตรวจสุขภาพประจําป รอยละ 93.72 8. อัตราการคงอยูของบุคลากรสาขาวิชาชีพขาดแคลน รอยละ 98.00 9. บุคลากรมีความพึงพอใจในความกาวหนาในสาขาวิชาชีพ รอยละ 72.80 10.บุคลากรมีความพึงพอใจตอสวัสดิการขององคกร รอยละ 73.66

Page 75: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

75

งบประมาณป 2552 - ใชในการพฒันาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร 13.78 ลานบาท - ใชพัฒนาวฒันธรรมองคกรและสรางขวัญและกําลังใจ 6.60 ลานบาท

ตาราง 65 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมป 2553

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสําคัญ งบประมาณ (บาท)

แหลงงบ

1. หนวยงานจัดทําแผนอัตรากําลังสรรหา คัดเลือก บรรจุ แตงต้ัง พัฒนาบุคลากรใหเหมาะสม

- -

2. โครงการพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 100,000 เงินบํารุง 3. โครงการพัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพและสมรรถนะเชิงวิชาชีพ 11,431,400 เงินบํารุง 4. โครงการสงเสริมคานิยมรวมและวัฒนธรรมองคกรและสรางขวัญ และกําลังใจ

3,648,084 เงินบํารุงและเงินสวัสดิการ

5. โครงการพัฒนาหนวยงานใหเปนองคกรแหงการเรียนรู 1,857,570 เงินบํารุง 6. โครงการรวมผลิตนักศึกษาพยาบาล 1,740,000 เงินบํารุง

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. ขาดแคลนอัตรากําลังบางสาขาวิชาชีพ 2. การขยายอัตรากําลังทางการแพทย ถูกจํากัดดวยกรอบอัตรากําลัง 3. ระบบการติดตาม กํากับการปฏิบัติงานและการประเมินผลยังไมตอเนื่อง

แนวทางการแกไขปญหา 1. พัฒนาแผนอัตรากําลัง สรรหา คัดเลือก บรรจุแตงต้ังใหเหมาะสม 2. การวิเคราะหภาระงานและความตองการโดยใช Work load , GIS และ RM ควรใชขอมูลท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ 3. หนวยงานตองทําแผนอัตรากาํลังและมีสวนรวมกาํหนดคณุสมบัติบุคลากรท่ีตองการ 4. ใชรูปแบบคณะกรรมการในการสรรหา คัดเลือก บรรจุ แตงต้ัง 5. ใชรูปแบบเชิงรุกในการสรรหา เนนการประชาสัมพันธ การใหทุนการศึกษา คาตอบแทน ราคาตลาด 6. พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลแผนอัตรากําลัง สรรหา คัดเลือกและการประเมิน

สมรรถนะเชิงวิชาชีพและผลสําเร็จของโครงการ ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง

เพิ่มความสามารถใหสถาบันแหลงผลิตบุคลากรดานสาธารณสุข

Page 76: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

76

คณะที่ 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวขอท่ี 4.2 การบริหารจัดการบุคลากรไดแก การจัดหา การกระจาย การพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตรกระทรวง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพไทย

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

- การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ - การสรางระบบบริหารสุขภาพและการแพทยท่ีผูรับบริการอุนใจผูใหบริการมีความสุข

รหัสตัวชี้วัด 0403 ชื่อตัวชี้วัด รอยละของเร่ืองรองเรียนดานบุคลากรดําเนินการตามขัน้ตอนภายใน 15 วัน

ทําการ ผูรับผดิชอบตวัชี้วัด รองผูอํานวยการฯ ฝายบริหาร ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางสมาพร ดาวเรือง

เกณฑ รอยละ 80

ตาราง 66 ผลการดําเนินงาน (ตค.ธค. 2552)

เปาหมาย ผลงาน รอยละ มีเร่ืองรองเรียน 3 เร่ือง 3 เร่ือง 100

ป 2553 โรงพยาบาลมหาสารคาม มีเร่ืองเรียนดานบริหารทรัพยากรบคุคล จํานวน 3 เร่ือง จําแนกเปนการขาดปฏิบัติราชการ 2 เร่ือง และการสรรหาทดแทนตําแหนงวาง 1 เร่ือง สามารถดําเนินการแกไขไดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด 15 วัน ทุกเร่ือง

ตาราง 67 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ(บาท) แหลงงบประมาณ โครงการใหความรูการประเมินผลปฏิบัติงาน ตาม พ.ร.บ. 2551 - เผยแพรประชาสัมพันธขาวสารทางระบบ Intranet ของโรงพยาบาล - ทําหนังสือแจงเปนรายบุคคล - สงขอความแจงทางคอมพวิเตอร

42,000.- เงินบํารุง

Page 77: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

77

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน 1. ผูถูกสอบสวนขาดความรับผิดชอบไมมารับทราบคําส่ังตามเวลาท่ีกําหนด 2. การดําเนนิการสอบสวนยังไมส้ินสุด ผูถูกสอบยื่นเร่ืองขอลาออกจากราชการกอน

แนวทางการแกไขปญหา 1. แจงเวียนขาวสารที่เกี่ยวของเพ่ือประชาสัมพันธ 2. ปดประกาศแจงผูสนใจใหทราบท่ัวกนั 3. สงขาวใหงานประชาสัมพันธออกเสียงตามสาย

4. ทําหนังสือแจงเวียนใหขาราชการ และหนวยงานตาง ๆ ทราบ

Page 78: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

78

คณะที่ 4 การบริหารจดัการระบบสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวขอท่ี 4.3 การจัดทําแผนบูรณาการงานสงเสริมปองกันเชิงรุก ยุทธศาสตรกระทรวง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพไทย

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 3. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทยท่ีผูรับบริการอุนใจ ผูใหบริการมีความสุข

รหัสตัวชี้วัด 0404 ชื่อตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของอําเภอในการจัดทําแผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพระดับ

อําเภอ ผูรับผดิชอบ นพ.บวร แสนสุโพธ์ิ ผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางชมนาถ แปลงมาลย

เกณฑ (ระดับความสําเร็จ) ระดับ 1 แตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับอําเภอจากภาคีเครือขายทุกภาคสวน ระดับ 2 2.1 วิเคราะหสถานการณ และปญหาการสงเสริมสุขภาพและการ ปองกันโรค 2.2 จัดทําแผนพัฒนาสุขภาพระดบัอําเภอ 2.3 ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับอําเภอ อยางนอย 2 เดอืน / คร้ัง ระดับ 3 ดําเนินการตามแผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพระดับอําเภอ ระดับ 4 ติดตาม ประเมินผลการดําเนนิงานตามแผนบูรณาการพฒันาสุขภาพระดับอําเภอ ระดับ 5 รายงานผลการดําเนินงานตามแผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพระดับอําเภอ ตอ สสจ.มค. และผูตรวจราชการ

ตาราง 68 ผลงานการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552)

เปาหมาย (ระดับ) ผลงาน (ระดับ) รอยละ 5 ระดับ 3 ระดับ -

- มีคณะกรรมการประสานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.) และมีการจัดประชุม 1 คร้ัง - มีการวิเคราะหสถานการณดานสรางเสริมสุขภาพและการปองกนัโรค

Page 79: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

79

ตาราง 69 1. สาเหตุการเขารับรักษาผูปวยนอก 5 โรคแรก ลําดับท่ี โรค ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553

1 โรคความดันโลหิตสูง 24,088 28,217 31,722 8,779 2 ความผิดปกติของเมตะบอลิซึม

ของไลโปโปรตีน ท่ีมิไดระบุรายละเอียด 14,452 19,157 23,495 6,105

3 เบาหวานชนิดท่ีไมตองพึ่งอินสุลิน 22,064 2,259 16,559 4,369 4 โรคธาติพิการ 6,056 7,997 13,201 3,765 5 โรคไตวาย 5,694 7,116 8,893 2,428

ตาราง 70 2. สาเหตุการเขารับรักษาผูปวยใน 5 โรคแรก ลําดับท่ี โรค ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553

1 ไต กรวยไตอักเสบเปนนิว่ 1,163 1,022 1,006 360 2 ไสต่ิงอักเสบเฉียบพลัน 888 1,073 1,201 356 3 อาการทองรวง กระเพาะและลําไส

อักเสบซ่ึงสันนิษฐานวาเกิดจากการติดเช้ือ 719 1,652 1,290 333

4 ปอดอักเสบเช้ือแบคทีเรีย 701 842 908 267 5 การบาดเจ็บตอสมอง 253 612 805 236

ตาราง 71 3. สถานการณโรคติดตอ 5 โรคแรก ลําดับท่ี โรค ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553

1 อุจจาระรวง 2,093 2,375 3,268 307 2 ไขไมทราบสาเหตุ 556 581 1,159 81 3 ปอดบวม 207 557 807 57 4 อาหารเปนพิษ 368 312 152 17 5 ตาแดง 127 120 100 3

- มีแผนสรางเสริมและปองกันโรค จํานวน 340 โครงการ 12,252,360 บาท ซ่ึงสวนใหญเปนเงินบํารุงท่ีมาจากโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา ( UC) งบสรางเสริมและปองกันโรคท้ังระดับพื้นท่ี ( PPA) และบริการที่มีความตองการเดนชัด (PP Express Demand) และ การบริการในพ้ืนท่ีชุมชน (PP Community)

Page 80: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

80

สถานการณ / ขอมูลท่ีผานมา การพัฒนาแผนสุขภาพของเครือขายโรงพยาบาลมหาสารคาม มีรูปแบบการดําเนนิงานโดยการมี

สวนรวมของทุกภาคสวน ไดแก สํานกังานสาธารณสุขอําเภอ สถานีอนามัย โรงพยาบาลมหาสารคามโดยกลุมงานเวชกรรมสังคม และชุมชน ภายใตคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.) เปนผูกําหนดนโยบาย พัฒนา ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตอสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

ตาราง 72 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ (บาท) แหลงงบ

1. โครงการประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทําแผนระดับอําเภอ จํานวน 2 วนั ณ ฟาฝางรีสอรท จ.ขอนแกน

85,280 เงินบํารุง

2. โครงการพัฒนาการจัดทําแผนที่ยุทธศาสตรอําเภอเมือง (กองทุนสงเสริมสุขภาพระดับตําบล)

17,100 เงินบํารุง.

3. โครงการเมืองสารคามแข็งแรง แบบมีสวนรวมของทุกภาคี

199,800 เงินบํารุง

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน จากการดําเนินงานแผนพัฒนาสุขภาพท่ีผานมาพบวา

1. สวนกลางแจงนโยบายและตัวช้ีวัดลาชา 2. กระบวนการวางแผนยังไมเปนระบบตั้งแตการวเิคราะหขอมูล การนําขอมูลไปใช และการ

ติดตามประเมินผล

แนวทางการแกไขปญหา 1. มีการกําหนดกรอบการดําเนินงานโดยยึดนโยบายและตัวช้ีวัดปท่ีผาน 2. มีการจัดทําแผนเชิงบูรณาการในกลุมเปาหมายตางๆ รวมท้ังดานงบประมาณ กจิกรรม 3. มีการทบทวน หรือปรับแผนกลางป เม่ือไดรับทิศทาง และนโยบายการดําเนนิงานจาก

สวนกลางท่ีชัดเจน

ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง สวนกลางควรกําหนดนโยบายและตัวช้ีวัดใหชัดเจน และกอนถึงปงบประมาณ

Page 81: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

81

คณะที่ 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภารกิจท่ี 2 การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในสวนภูมิภาค ประเด็นหลักท่ี 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวขอท่ี 4.3 การจัดทําแผนบูรณาการงานสงเสริมปองกันเชิงรุกระดับจังหวดั ยุทธศาสตรกระทรวง ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพไทย

ประเด็นยุทธศาสตรกระทรวง

1. การสรางเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 3. การสรางระบบบริการสุขภาพและการแพทยท่ีผูรับบริการอุนใจ ผูใหบริการมีความสุข

รหัสตัวชี้วัด 0405 ชื่อตัวชี้วัด รอยละของกองทุนสุขภาพตาํบลมีการจัดทําแผนปฏิบัติการท่ีสอดคลองและ

เชื่อมโยงกับแผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพระดับจังหวัด ผูรับผดิชอบ นพ.ไพบูลย อัศวธนบด ีผูรายงาน และจัดเก็บตัวชี้วัด

นางฉวีวรรณ เผาพันธ

เกณฑ 1. จังหวดัมีการติดตามกํากับนิเทศงานกองทุนสุขภาพตําบล 2. มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีตอบสนองตอแผนบูรณาการของจังหวดั ตาราง 73 ผลการดําเนนิงาน (ตค.-ธค.2552)

ผลงาน เปาหมาย (หนวย) ผลงาน (หนวยงาน) รอยละ มีการติดตามกาํกับนิเทศงานกองทุนสุขภาพตําบล(2552มีกองทุน8แหง)

8 ตําบล 8 ตําบล 100

มีโครงการ/กิจกรรมท่ีตอบสนองตอแผนบูรณาการของจังหวดั

8 ตําบล 8 ตําบล 100

ตาราง 74 สถานการณขอมูลองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีเขารวมกองทุนสุขภาพตําบลที่ผานมา จํานวน(แหง)

ขอมูล พ.ศ.2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553

องคปกครองสวนทองถ่ินท้ังหมด 14 14 14 จํานวนอปท.ท่ีเขารวมกองทุน 4 8 14

Page 82: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

82

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป 2553 การสรางสุขภาพอยางมีสวนรวมผานกองทุนสุขภาพตําบลเครือขายสุขภาพโรงพยาบาลมหาสารคาม ความสําคัญหรือจุดเดนของผลงาน

1. ตองการพัฒนาเนื่องจากเปนงานโครงการใหมท่ีกระจายอํานาจสูชุมชน และนโยบายดานสุขภาพของสํานักงานหลักประกนัสุขภาพฯท่ีตองการใหทองถ่ินมีสวนรวมในดานสุขภาพ

2. ตองการพัฒนากระบวนการทํางานอยางมีสวนรวมเพื่อความตอเนื่องยัง่ยืนแกภาคประชาชน ประชาชนสามารถตระหนักและพึ่งตนเองไดในเร่ืองสุขภาพ

3. หารูปแบบแนวทางการดําเนนิงานภายหลังการเปลี่ยนแปลงระบบเพื่อความเขาใจและบูรณาการงานท่ีชัดเจนแกบุคลากรท้ังภาครัฐ/ทองถ่ิน วัตถุประสงค

1. เพื่อวิเคราะหปญหาในการดําเนินงานกองทุนสุขภาพ 2. เพื่อใหไดรูปแบบของการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพผานกองทุนสุขภาพตําบล

รูปแบบการดาํเนินงานกองทุนสุขภาพตาํบล

การวิเคราะห

- ขอมูล - การดําเนินงาน

การวิจยั

- Participation - Empowerment

กลยุทธ

การวางแผนงาน

การดําเนนิงาน

การประเมินผล

Page 83: 1. 2. 3. 4. 5.plan.mhkdc.com/PDF/sarup2553(1).pdfโรงพยาบาลมหาสารคาม ระหว างว นท 4-5 ก มภาพ นธ 2553 4 กลย ทธ

สรุปขอมูลการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2553 -

โรงพยาบาลมหาสารคาม ระหวางวันท่ี 4-5 กุมภาพันธ 2553

83

ปญหาอุปสรรคในการดาํเนินงาน จากผลการดําเนินงานโดยสวนใหญพบวาปญหาอุปสรรคท่ีไดสวนใหญเกิดจาก

1. ความไมเขาใจกนัระหวางผูปฏิบัติและผูกําหนดแนวนโยบาย “นโยบายไปทางผูปฏิบัติปฏิบัติไปอีกทาง”

2. ขาดการส่ือสารประชาสัมพันธ 3. ขาดการใหความรูกองทุนหลักประกนัสุขภาพ/กองทุนสุขภาพตําบล 4. ผูบริหารกองทุนยังไมเขาใจบทบาทการดําเนินงานของกองทุนสุขภาพ 5. ขาดการมีสวนรวม 6. ตองการใหมีทีมพี่เล้ียงมาชวยจดัทําแผนใหความรู 7. ควรจะมีการนํากองทุนเขาในขอบัญญัติของ อบต.

แนวทางการแกไขปญหา การใชกรอบแนวคิด การมีสวนรวม/แผนท่ียุทธศาสตรเพื่อใชในการแกไขปญหา ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสวนกลาง การสรางความเขาใจเร่ืองกองทุนสุขภาพ/บูรณาการงานดานสุขภาพ