บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

18
27 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย ในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี หลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. 25 56 (ปรับปรุง พ.ศ. 2557) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยตามหัวข้อต่อไปนี3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 3.1.1 ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช ) ชั้นปีท2 ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที2 ปี การศึกษา 2557 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จานวน 4 ห้องเรียน นักเรียนจานวน 80 คน 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช ) ชั้นปีท2 ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที2 ปี การศึกษา 2557 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จานวน 3 ห้องเรียน นักเรียนจานวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Sampling) ดังนี- กลุ่มที1 คือ กลุ่มนักเรียนที่เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้ โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 จานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อ - กลุ่มที2 คือ กลุ่มนักเรียนที่เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟ โต้ชอป ซีเอส 6 จานวน 20 คน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - กลุ่มที3 คือ กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีปกติ จานวน 20 คน 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 3.2.1 ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3.2.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 3.2.1.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 3.2.1.3 แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้ โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6

Upload: kudokmitl

Post on 26-Dec-2015

40 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

27

บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย

ในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช ) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี หลักสูตรส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2556 (ปรับปรุง พ.ศ. 2557) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิจัยตามหัวข้อต่อไปนี้

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 3.1.1 ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ชั้นปีที่ 2 ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จ านวน 4 ห้องเรียน นักเรียนจ านวน 80 คน 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ชั้นปีที่ 2 ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จ านวน 3 ห้องเรียน นักเรียนจ านวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Sampling) ดังนี้ - กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มนักเรียนที่ เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมี เดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 จ านวน 20 คน เพ่ือหาประสิทธิภาพของสื่อ - กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มนักเรียนที่เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 จ านวน 20 คน เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - กลุ่มท่ี 3 คือ กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีปกติ จ านวน 20 คน

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 3.2.1 ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย

3.2.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 3.2.1.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 3.2.1.3 แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6

Page 2: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

28

3.2.2 การสร้างเครื่องเมือ 3.2.2.1 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 ผู้วิจัยด าเนินการตามขั้นตอนการสร้างดังนี้ 3.2.2.1.1 วิเคราะห์หลักสูตร โดยศึกษาจากหลักสูตรของวิชาโปรแกรมกราฟิก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ให้ทราบถึงขอบเขตและรายละเอียดของเนื้อหาที่ผู้ เรียนต้องศึกษา โดยมีโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดเนื้อหารายวิชาโปรแกรมกราฟิก ตามเนื้อหาที่บรรจุในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 มีดังนี้ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เบื้องต้น 3. ภาพกราฟิกและการน ามาใช้ 4. การสร้าง Selection 5. การใช้เลเยอร์ การใช้ Mask 6. การปรับรูปทรงออบเจ็คด้วยค าสั่ง Transform 7. การใช้สีในโปรแกรม Photoshop 8. การวาดภาพ การสร้าง Path 9. การสร้างตัวอักษรและข้อความ 10. การปรับแต่งสีและแสงเงาของรูปภาพ 11. การใช้ Channel เพ่ือสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษ 12. การใช้ฟิลเตอร์ (Filter) 13. การตกแต่งและแก้ไขภาพ, การท างานอัตโนมัติโดยใช้ Action 14. การน าภาพไปใช้กับเว็บ 15. การใช้โปรแกรม Image Ready 16. Workshop 3.2.2.1.2 ก าหนดจุดประสงค์ เนื้อหาแต่ละตอนจะก าหนดเป็นจุดประสงค์ทั่วไป ซึ่งเป็นจุดประสงค์กว้าง ๆ จากจุดประสงค์ทั่วไปนี้จะน ามาก าหนดเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นข้อ ๆ ซึ่งเป็นจุดประสงค์ที่ชัดเจนสามารถตรวจสอบและวัดผลได้ 3.2.2.1.3 วิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์เนื้อหาโดยการแตกในแต่ละตอนเป็นหัวเรื่องย่อย ๆ เพ่ือน าไปสู่รายละเอียดของเนื้อหา และให้สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมแต่ ละข้อเรียงล าดับเนื้อหาจากง่ายไปหายาก 3.2.2.1.4 ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 โดยออกแบบผังงาน (Flow Chart) และเขียนด าเนินเรื่อง (Story Board) ของบทเรียน และล าดับความส าคัญของเนื้อหา การจัดกิจกรรมระหว่างบทเรียนและแบบทดสอบ โดยการประยุกต์ใช้แนวความคิดกระบวนการเรียนการสอนของ Gagne' มาเป็นตัวควบคุมในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย ดังนี้

Page 3: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

29

1. เร่งเร้าความสนใจ ก่อนที่จะเริ่มการน าเสนอเนื้อหาบทเรียน ควรมีการจูงใจและเร่งเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากเรียน ดังนั้น ในหน้าแรกหรือหน้าไตเติ้ลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดียซึ่งเป็นบทน าเรื่อง จึงควรเริ่มด้วยการใช้ภาพ แสง สี เสียง หรือใช้สื่อประกอบกันหลายๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและน่าสนใจ ซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อความสนใจของผู้เรียน และยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนพร้อมที่จะศึกษาเนื้อหาต่อ ซ่ึงตามลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเร่งเร้าความสนใจในขั้นตอนแรกนี้ก็คือ การน าเสนอบทน าเรื่อง (Title) ของบทเรียนนั่นเอง ซึ่งหลักส าคัญประการหนึ่งของการออกแบบในส่วนนี้คือ ควรให้สายตาของผู้เรียนอยู่ที่จอภาพ โดยไม่พะวงอยู่ที่แป้นพิมพ์หรือส่วนอ่ืนๆ แต่ถ้าบทน าเรื่องดังกล่าวต้องการตอบสนองจากผู้เรียนโดยการปฏิสัมพันธ์ผ่านทางอุปกรณ์ป้อนข้อมูล ก็ควรเป็นการตอบสนองที่ง่ายๆ เช่น กดแป้น Spacebar คลิกเมาส์ หรือกดแป้นพิมพ์ตัวใดตัวหนึ่งเป็นต้น โดยสิ่งที่ต้องพิจารณาเพ่ือเร่งเร้าความสนใจของผู้เรียนมีดังนี้ 1.1 เลือกใช้ภาพกราฟิกท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหา เพ่ือเร่งเร้าความสนใจในส่วนของบทน าเรื่อง โดยมีข้อพิจารณาดังนี้ 1.1.1 ใช้ภาพกราฟิกท่ีมีขนาดใหญ่ชัดเจน ง่าย และไม่ซับซ้อน 1.1.2 ใช้เทคนิคการน าเสนอท่ีปรากฏภาพได้เร็ว เพ่ือไม่ให้ผู้เรียนเบื่อ 1.1.3 ควรให้ภาพปรากฏบนจอภาพระยะหนึ่ง จนกระทั่งผู้เรียนกดแป้นพิมพ์ใดๆ จึงเปลี่ยนไปสู่เฟรมอ่ืนๆ เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้กับผู้เรียน 1.1.4 เลือกใช้ภาพกราฟิกท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหา ระดับความรู้ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 1.2 ใช้ภาพเคลื่อนไหวหรือใช้เทคนิคการน าเสนอภาพผลพิเศษเข้าช่วย เพื่อแสดงการเคลื่อนไหวของภาพ แต่ควรใช้เวลาสั้นๆ และง่าย 1.3 เลือกใช้สีที่ตัดกับฉากหลังอย่างชัดเจน โดยเฉพาะสีเข้ม 1.4 เลือกใช้เสียงที่สอดคล้องกับภาพกราฟิกและเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน 1.5 ควรบอกชื่อเรื่องบทเรียนไว้ด้วยในส่วนของบทน าเรื่อง 2. บอกวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนส าคัญยิ่งต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความคาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน วัตถุประสงค์ทั่วไปก็มีความจ าเป็นที่จะต้องแจ้งให้ผู้เรียนทราบถึงเค้าโครงเนื้อหาแนวกว้างๆ เช่นกัน ซึ่งในตัวบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดียชุดนี้ ก็จะมีการแจ้งวัตถุประสงค์ในแต่ละบทเรียนด้วย 3. ทบทวนความรู้เดิม ทบทวนความรู้เดิมก่อนที่จะเรียนความรู้ใหม่ เพ่ือไม่ให้ผู้เรียนเกิดปัญหาในการเรียนรู้ ซึ่งในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น จะมีแบบฝึกหัดในระหว่างเรียนและแบบทดสอบท้ายบทเรียนในทุกบท เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้ที่นักเรียนได้เรียนจบไปในแต่ละบท 4. น าเสนอเนื้อหาใหม่ การน าเสนอภาพเกี่ยวกับเนื้อหาประกอบกับค าอธิบายสั้นๆ แต่ได้ใจความใช้ภาพประกอบที่จะให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายขึ้น 5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ ผู้เรียนจะจ าเนื้อหาได้ดีหากมีการจัดระบบ การเรียนเนื้อหาที่ดี และสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม 6. การกระตุ้นการสอบสนอง ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตอบ การคิด และร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับเนื้อหา โดยในการเรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในแต่ละบทนั้น จะมีการจัดท า work shop เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้ และเพ่ือเป็นการกระตุ้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์

Page 4: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

30

7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ การน าเสนอด้วยภาพจะเร้าความสนใจได้ดี 8. ทดสอบความรู้ใหม่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้ของตนเอง และยังเป็นการวัดผลว่าผู้เรียนผ่านเกณฑ์ตั้งใจหรือไม่ 9. สรุปและน าไปใช้ ต้องสรุปเนื้อหาเฉพาะประเด็นส าคัญๆ เปิดโอกาสทบทวนความรู้ของตนเองบทเรียนต้องชี้แนะเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เพ่ือแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษาบทถัดไป 3.2.2.1.5 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ น าต้นร่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโต้ชอป ซีเอส 6 ให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหาตรวจสอบ เพ่ือหาข้อบกพร่องของเนื้อหา ที่ได้เขียนด าเนินเรื่องไว้ น าข้อบกพร่องมาแก้ไขให้สมบูรณ์ ดังรายนามต่อไปนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา 1. 2. 3. 3.2.2.1.6 สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 โดยน าบทด าเนินเรื่องที่ ได้รับการตรวจและปรับแก้ ไขแล้วมาสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ซึ่งการด าเนินเนื้อหาจะเป็นไปตามล าดับ การเสนอเนื้อหาจะแบ่งเป็น 16 หน่วย แต่ละหน่วยมีแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียน เพ่ือย้ าให้ผู้เรียนเกิดความจ า และให้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแต่ละหน่วย ผู้เรียนจะต้องเรียนเนื้อหาทุกหน่วยจนครบและต้องท าแบบทดสอบหลังเรียน การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ผู้วิจัยอาศัยโปรแกรมต่าง ๆ ในการสร้างดังนี้ 1. โปรแกรมสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เช่ น Adobe Captivate 7 ในการสร้างเนื้อหาของบทเรียน โดยน าส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ ข้อความ, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว และเสียงมาประกอบกันเป็นเนื้อหาแต่ละหน้าของบทเรียน 2. ตกแต่งภาพกราฟิก และตัวอักษร ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop, Macromedia Flash และโปรแกรม Animation อ่ืน ๆ ที่ ใช้ในการตกแต่งภาพกราฟิก และตัวอักษรในรูปแบบต่าง ๆ ให้สวยงามและชัดเจนมากข้ึน 3.2.2.1.7 น าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ที่สร้างเสร็จแล้ว ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบความถูกต้องและประเมินความเหมาะสม เพ่ือน ามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ที่สุด 3.2.2.1.8 น าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดียเรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ที่สร้างเสร็จแล้ว ให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบความถูกต้อง และประเมินความเหมาะสม เพ่ือน ามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ที่สุด ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคนิคการผลิตสื่อ 1. 2. 3.

Page 5: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

31

3.2.2.1.9 น าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ที่ได้รับการปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มขนาดเล็ก และเคยเรียนในรายวิชานี้มาแล้ว ซึ่งเรียนในระดับ เก่ง ปานกลาง และอ่อน ระดับละ 1 คน จ านวน 3 คน โดยให้อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรม สัมภาษณ์ และบันทึกสิ่งที่ ควรแก้ไขเพ่ือน ามาปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 3.2.2.1.10 หลังจากท าการลดลองใช้ครั้งที่ 1 กับนักเรียนกลุ่มทดลองขนาดเล็ก จ านวน 3 คนแล้ว น าบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมี เดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ที่ ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองกับนักเรียนซึ่งเรียนในรายวิชานี้ในระดับเก่ง ปานกลางและอ่อน ระดับละ 2 คน จ านวน 6 คน โดยให้อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้คัดเลือก ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรม สัมภาษณ์ และบันทึกสิ่งที่ควรแก้ไข เพ่ือน ามาปรับปรุงแก้ไข บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 เพ่ือเป็นบทเรียนในแต่ละตอนมีรูปแบบการน าเสนอบทเรียน ดังนี้ 1. แสดงค าแนะน าบทเรียน เป็นส่วนที่แสดงวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรรม แต่ละหน่วย ค าแนะน าการใช้บทเรียนได้แก่ การเข้าสู่บทเรียน เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การท าแบบฝึกหัดท้ายบท การท าแบบฝึกหัดระหว่างเรียนและการทาแบบทดสอบหลังเรียน 2. การแสดงเนื้อหาบทเรียน เป็นส่วนที่เสนอเนื้อหาบทเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้ โดยแบ่งเป็นกรอบ ๆ เริ่มจากการน าเข้าสู่บทเรียน การแสดงเนื้อหาในแต่ละส่วนและมีข้อความเชื่องโยงไปสู่แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือผู้เรียนสามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมได้ 3. การท าแบบฝึกหัด เป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียนและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน สามารถสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ นอกจากนี้แล้วยังเป็นการประเมินว่า ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของบทเรียนนั้นมากน้อยเพียงใด 4. การท าแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ในระหว่างที่ผู้เรียนท าการศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 จะต้องท าแบบฝึกหัดในระหว่างบทเรียน และเมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้วจะต้องท าแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง เป็นการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 5. การทดลองหาประสิทธิภาพของบทเรียน หลังจากที่สร้างและแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 เสร็จแล้ว ก็ท าการน ามาใช้ทดลองหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย โดยน าไปใช้ทดลองกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 20 คน เมื่อท าการทดลองเสร็จแล้ว น าผลการทดลองมาหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียน โดยค านวณค่าทางสถิตโิดยใช้สูตรของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2545:495)

Page 6: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

32

สูตรที ่1 E1 = ∑ X

N

A×100

เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ ∑ 𝑋 แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรืองาน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกชิ้นรวมกัน N แทน จ านวนผู้เรียน

สูตรที่ 2 E2 = ∑ Y

N

B×100

เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ∑ 𝑌 แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์หลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N แทน จ านวนผู้เรียน

Page 7: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

33

เริ่ม

จบ

ปรับปรุงแก้ไข

น าไปใช้กับกลุ่มทดลองกับนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง 20 คน เพ่ือหาประสิทธิภาพต่อไป

ไม่ผ่าน

ผ่าน

รูปที่ 3.1 ขั้นตอนการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6

วิเคราะห์หลักสูตร, ก าหนดวัตถุประสงค์

สร้างแบบร่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย

สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย

ทดลองกับนักศึกษา 3 คน และปรับปรุงแก้ไข

ทดลองกับนักศึกษา 6 คน และปรับปรุงแก้ไข

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบ

ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา/ด้านการผลิตสื่อตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข

ไม่ผ่าน

ผ่าน

Page 8: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

34

แบบประเมินคุณภำพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่อง กำรใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6

ค ำชี้แจง ให้ท่านท าเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่านโดยที่ระดับค่า 5 หมายถึง เห็นด้วยในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง เห็นด้วยในระดับมาก 3 หมายถึง เห็นด้วยในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างมาก

รำยกำรประเมิน ระดับควำมคิดเห็น ข้อคิดเห็น

เพิ่มเติม 5 4 3 2 1 ด้ำนเนื้อหำ ส่วนน ำ 1. การน าเข้าสู่บทเรียนมีความน่าสนใจ 2. บทเรียนมีการออกแบบให้ใช้ง่าย เมนูไม่สับสน 3. การแจ้งวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนทราบน่าสนใจ 4. การแจ้งความคิดรวบยอดของเนื้อหาสามารถเข้าใจได้ง่าย ส่วนเนื้อหำ 5. เนื้อหาบทเรียนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 6. บทเรียนมีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน 7. บทเรียนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนตลอด การเรียน 8. การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน 9.บทเรียนมีการยกตัวอย่างในปริมาณและโอกาสที่เหมาะสม ส่วนสรุป 10. บทเรียนมีการสรุปเนื้อหาในแต่ละตอนอย่างเหมาะสม 11. ความเหมาะสมของจ านวนข้อสอบ หรือข้อทดสอบ ด้ำนกรำฟิกและกำรออกแบบ 12. การออกแบบหน้าจอมีความสวยงาม 13. รูปภาพประกอบสามารถสื่อความหมาย และมีความ สอดคล้องกับเนื้อหา มีความชัดเจน 14. ตัวอักษรที่ใช้มีความเหมาะสม 15. เสียงประกอบ และเสียงบรรยายมีความเหมาะสม ชัดเจน 16. ความเหมาะสมของเวลาในการน าเสนอบทเรียน 17 มีส่วนชี้แนะหรือให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนต้องการ

Page 9: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

35

รำยกำรประเมิน ระดับควำมคิดเห็น ข้อคิดเห็น

เพิ่มเติม 5 4 3 2 1 ด้ำนเทคนิค 18. บทเรียนมีการออกแบบทางเทคนิคท่ีดี 19.บทเรียนใช้หลักของการออกแบบการสอนที่ดี 20.การพัฒนาโปรแกรมมีความคิดสร้างสรรค์ ใช้แนวคิดใหม่ๆ

สรุปคะแนน ข้อดีของบทเรียนคอมพิวเตอร์ที่น่ำชมเชย............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ................................................................... ข้อเสนอแนะท่ีควรปรับปรุงแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ................................................................... (....................................................) ผู้ประเมิน วันที่.........เดือน...........พ.ศ. ............

Page 10: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

36

3.2.2 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาโปรแกรมกราฟิก โดยมีขั้นตอนการสร้างดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาวิชาโปรแกรมกราฟิก เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี มีเนื้อหาดังต่อไปนี้ 1. ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เบื้องต้น 3. ภาพกราฟิกและการน ามาใช้ 4. การสร้าง Selection 5. การใช้เลเยอร์ การใช้ Mask 6. การปรับรูปทรงออบเจ็คด้วยค าสั่ง Transform 7. การใช้สีในโปรแกรม Photoshop 8. การวาดภาพ การสร้าง Path 9. การสร้างตัวอักษรและข้อความ 10. การปรับแต่งสีและแสงเงาของรูปภาพ 11. การใช้ Channel เพ่ือสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษ 12. การใช้ฟิลเตอร์ (Filter) 13. การตกแต่งและแก้ไขภาพ, การท างานอัตโนมัติโดยใช้ Action 14. การน าภาพไปใช้กับเว็บ 15. การใช้โปรแกรม Image Ready 16. Workshop 2. วิเคราะห์เนื้อหาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม น าไปสร้างแบบทดสอบชนิด เลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลือก จ านวน 80 ข้อเพ่ือใช้จริง 40 ข้อ โดยให้มีค าตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว ให้ค าถามสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และครอบคลุมเนื้อหาในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 3. น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างเสนอผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเนื้อหา ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา โดยหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบ แต่ละข้อกับจุดประสงค์ โดยก าหนดเกณฑ์ของคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป ถือว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์นั้นจริง (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2533:138) ค านวณจากสูตรดังนี้

Page 11: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

37

𝐈𝐎𝐂 =∑ 𝐑

𝐍 (3.1)

เมื่อ IOC คือ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อกับจุดประสงค์เชิง พฤติกรรม ∑ 𝐑 คือ ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ N คือ จ านวนผู้ทรงคุณวุฒิทางเนื้อหาวิชา การให้คะแนนเป็นดังนี้ +1 มีความเห็นว่าแบบทดสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 0 ไม่แน่ใจว่าแบบทดสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม -1 มีความเห็นว่าแบบทดสอบข้อนั้นไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. หาดัชนีความยากง่าย และอ านาจจ าแนกของแบบทดสอบ ซึ่งท าการทดสอบกับนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัย เทคนิคสระบุรี ซึ่งเคยเรียนวิชาโปรแกรมกราฟิกมาก่อนแล้วจ านวน 20 คน ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผ่านการหาค่าความตรงของเนื้อหามาแล้ว จากนั้นน าผลที่ได้มาวิเคราะห์ (รวีวรรณ ชินะตระกูล. 2535:237) โดยใช้สูตร

𝑷 =𝒇𝑯+ 𝒇𝑳

𝑵𝑯+ 𝑵𝑳 (3.2)

𝒓 =𝒇𝑯− 𝒇𝑳

𝑵𝑯 (3.3)

เมื่อ P คือ ดัชนีความยากง่ายของแบบทดสอบ r คือ ค่าอ านาจจ าแนกของแบบทดสอบ fH คือ จ านวนผู้ตอบถูกในกลุ่มสูง fL คือ จ านวนผู้ตอบถูกในกลุ่มต่ า NH คือ จ านวนนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มสูง NL คือ จ านวนนักเรียนทั้งหมดในกลุ่มต่ า ขอบเขตของค่าความยากง่ายและความหมาย 0.80-1.00 เป็นข้อสอบที่ง่ายมาก 0.60-0.79 เป็นข้อสอบที่ค่อนข้างง่าย 0.40-0.59 เป็นข้อสอบที่ง่ายพอเหมาะ 0.20-0.39 เป็นข้อสอบที่ค่อนข้างยาก 0.00-0.19 เป็นข้อสอบที่ยากมาก การเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ อยู่ในช่วง 0.20-0.80

Page 12: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

38

ขอบเขตของค่าอ านาจจ าแนกและความหมาย 0.40 ขึ้นไป อ านาจจ าแนกสูง คุณภาพแบบทดสอบดีมาก 0.30-0.39 อ านาจจ าแนกปานกลาง คุณภาพแบบทดสอบดี 0.20-0.29 อ านาจจ าแนกค่อนข้างต่ า คุณภาพแบบทดสอบพอใช้ 0.00-0.19 อ านาจจ าแนกต่ า คุณภาพแบบทดสอบใช้ไม่ได้ เลือกข้อสอบที่มีค่าอ านาจจ าแนกที่ยอมรับคือ ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป 5. หาค่าความเชื่อมั่นหรือความเที่ยงตรงของแบบทดสอบจ านวน 40 ข้อ ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ผลของข้อมูล การท าแบบทดสอบที่ ได้จากกลุ่มทดลอง ใช้สูตรการค านวณ KR-20 ของ Kuder-Richardson (อ้างอิงในรวีวรรณ ชินะตระกูล. 2535 : 142) สูตร KR-20

𝒓𝒕𝒕 = 𝑲

(𝑲−𝟏){

𝟏−𝚺𝒑𝒒

𝑺𝟐 } (3.4)

เมื่อ rtt คือ สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ K คือ จ านวนข้อสอบทั้งหมด p คือ สัดส่วนของผู้ที่ตอบถูกในแต่ละข้อ q คือ สัดส่วนของผู้ที่ตอบผิดในแต่ละข้อ (1-p) S2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนทั้งหมด

Page 13: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

39

รูปที่ 3.2 ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS6

ศึกษาหลักสูตร, วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาโปรแกรมกราฟิก

สร้างแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 80 ข้อ ใช้จริง 40 ข้อ

น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ความเท่ียงตรงของเนื้อหา

น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างเสนอผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเนื้อหา ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ความเท่ียงตรงของเนื้อหา

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบ

น าไปทดลองกับนักเรียนที่เคยเรียนวิชาโปรแกรมกราฟิกมาแล้ว จ านวน 20 คน

ปรับปรุงแก้ไข

ไม่ผ่าน

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบ

ตดัทิ้งหรือ ปรับปรุงแกไ้ข

แกไ้ข

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ผ่าน

น าไปหาความยาก (p), ค่าอ านาจจ าแนก (r)

เลือกข้อสอบที่ใช้ได้ทั้งหมด 40 ข้อ น ามาหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ได้น าแบบทดสอบเพ่ือน าไปใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของบทเรียน

จบ

เริ่ม

Page 14: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

40

3.2.3 แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย การสร้างแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เป็นแบบประเมิน ส าหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา ด้านเทคนิคการผลิตสื่อ ใช้เพ่ือให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 และน ามาแก้ไขข้อบกพร่อง ซึ่งท าการประเมินด้านละ 3 ท่าน โดยหาประสิทธิภาพจากน้ าหนักคะแนน (Rating Scale) ของแบบประเมินด้านเนื้อหา และเทคนิคด้านผลิตสื่อ มีข้ันตอนดังนี้ 1. ก าหนดวัตถุประสงค์และหัวข้อของแบบประเมิน 2. สร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ส าหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา และแบบประเมินส าหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตสื่อ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ ในการให้คะแนน มีเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 ระดับความคิดเห็น 5 ระดับ ระดับ 5 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับดีมาก ระดับ 4 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับดี ระดับ 3 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับควรปรับปรุง 2.2 เกณฑ์การประเมินคุณภาพของ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 4.50-5.00 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับดีมาก 3.50-4.49 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับดี 2.50-3.49 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับพอใช้ 1.00-1.49 หมายถึง คุณภาพของบทเรียนอยู่ในระดับควรปรับปรุง 2.3 น าแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ตรวจสอบ เพื่อน าไปปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน า 2.4 ให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคการผลิตสื่อท าการประเมิน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 2.5 น าแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ที่ประเมินแล้วมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย �̅� ซ่ึงการวิจัยในครั้งนี้คุณภาพจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในระดับดีขึ้นไป

Page 15: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

41

เริ่ม

ก าหนดหัวข้อและสร้างแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนด้านเนื้อหาและเทคนิคการผลิตสื่อ

เสนอแบบประเมินที่สร้างขึ้นให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม

น าข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย

จบ

เสนอแบบประเมินที่สร้ำงขึ้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน

เสนอผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินบทเรียน

สูตรหาค่าเฉลี่ย �̅� = ∑

𝐱

𝐧

เมื่อ �̅� แทน ค่าเฉลี่ย Σ𝑥 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดของกลุ่ม n แทน จ านวนของคะแนนในกลุ่ม รูปที่ 3.3 ขั้นตอนการสร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้ โปรแกรม Adobe Photoshop CS6

ปรับปรุงแก้ไข เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ์

และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธร์่วมตรวจสอบ

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ปรับปรุงแก้ไข

ไม่ผ่าน

ผ่าน

Page 16: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

42

3.3 แบบแผนกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เพ่ือพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย วิชาโปรแกรมกราฟิก เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 โดยมีแบบแผนการวิจัยแบบ Static Group Comparison ซึ่งมีแบบแผนการวิจัย ดังนี้ วิธีทดลอง:

กลุ่มตัวอย่ำง สอบก่อนเรียน ท ำกำรทดลอง สอบหลังเรียน E C

- -

X -

O2 O2

เมื่อ E คือ กลุ่มท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่อง การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 C คือ กลุ่มท่ีเรียนด้วยวิธีปกติ X คือ การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่อง การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 O2 คือ การท าแบบทดสอบหลังจากเรียนจบในแต่ละบท 3.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ขอ้มูล การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย วิชาโปรแกรมกราฟิก เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ด้านเนื้อหา ด้านเทคนิคการผลิตสื่อ โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 ส าหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ 1. สูตรการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. 2538:73) ใช้สูตร

N

xx

(3.5)

เมื่อ คือ คะแนนเฉลี่ย x คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N คือ จ านวนข้อมูล

(1) การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (รวีวรรณ ชินะตระกูล. 2540 : 204) ใช้สูตร

(3.6)

เมื่อ S.D. คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง

x

1

..

22

nn

fxfxnDS

Page 17: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

43

x คือ ข้อมูลแต่ละจ านวน f คือ ความถี ่ n คือ จ านวนข้อมูลทั้งหมด คือ ผลรวม หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย ตามเกณฑ์ E1:E2 โดยใช้สูตรการ หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80:80 เพ่ือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีปกติกับนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 (ชัยยงค์ พรหมวงศ ์และคณะ. 2543:136) ดังนี้

(3.7)

(3.8)

เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการท าแบบทดสอบวัดผลทางการเรียน ก่อนเรียน

E2 คือ ประสิทธิภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการท าแบบทดสอบวัดผลทางการเรียนหลังจากเรียนครบทุกบทเรียน

x คือ คะแนนรวมของผู้เรียนจากการท าแบบทดสอบแต่ละบทเรียน F คือ คะแนนรวมของผู้ เรียนจากการท าแบบทดสอบหลังเรียนครบทุก

บทเรียน N คือ จ านวนผู้เรียน A คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบทุกบทเรียนรวมกัน B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียนครบทุกบทเรียน เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 กับกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติ โดยใช้สูตร t-test for Independent Sample ที่ตั้งไว้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมีเดีย เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS 6 กลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติ ดังนี้

100/

1

A

nxE

100/

2

B

nFE

Page 18: บทที่3 แก้ไขครั้งที่ 2 (6-6-2557)

44

ใช้สูตร t = x̅1−x̅2

√Sp2 (

1

n1+

1

n2)

df = n1 + n2 − 2

เมื่อ �̅�1 , �̅�2 แทนค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มท่ี 1, 2 Sp

2 แทนความแปรปรวนร่วม (Pooled variance)

Sp2 =

(n1−1)S12+(n2−1)S2

2

n1+n2−2

n1 , n2 แทนขนาดของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ 1, 2 df แทนชั้นแห่งความเป็นอิสระ (degree of freedom)