50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf ·...

37

Upload: others

Post on 05-Oct-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
Page 2: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

50

บทที่ 3 ผลการประเมินตนเอง

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้ด าเนินการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 6 มาตรฐาน 23 ตัวบ่งชี้ สามารถสรุปผลได้เป็น 2 ส่วน คือ

1. การสรุปผลการประเมินตนเองรายมาตรฐาน 2. การสรุปผลการประเมินโดยภาพรวม

รายละเอียดทั้ง 2 ส่วน จะขออธิบายตามตัวอย่าง ดังต่อไปนี้

สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 1 ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 1 ได้ผลดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ 1.1 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5 4.85 ดีมาก

1.2 ผู้เรียนคิดเป็น/ท าเป็น (ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) 5 5 ดีมาก 1.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง(ผ่าน เกณฑ)์

5 4.19 ดี

1.4 ผู้เรียนมีงานท าหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้

5 4.57 ดีมาก

1.5 ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษา 15 13.66 ดีมาก ผลรวมคะแนนคุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ 35 32.27 ดีมาก

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 32.27 ระดับคุณภาพ ดีมาก ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิดจากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้

ข้อมูลความตระหนัก

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง เป็นสถานศึกษาที่ให้บริการ การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ ทั้งนักเรียนในระบบ นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนและประชาชนทั่วไป โดยการให้บริการจะเน้นผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นส าคัญ ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความรู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็น/ท าเป็น ผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี มีงานท าหรือมีรายได้เสริม และสามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

1.1 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ

1. การสรุปผลการประเมินตนเองรายมาตรฐาน

Page 3: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

51

ข้อมูลความพยายาม

มีการประชุม ปรึกษา หารือ เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม หลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ สื่อ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการมีการบันทึกผลการเรียนรู้ตลอดการท ากิจกรรม ซึ่งจะมีการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ เพ่ือน ามาใช้ในการพัฒนางานให้ดีขึ้น และมีการก ากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลเพื่อพัฒนางานการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 1

1. แบบประเมินผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามทีก่ าหนดในแผนการเรียนรู้ 2. บันทึกสรุปผลการประเมินผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติกิจกรรมตามที่ก าหนดใน

แผนการเรียนรู้ 3. รายละเอียดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. สมุดบันทึกการเรียนรู ้ของผู้เรียน 5. ภาพถ่าย ผลงาน การจัดกิจกรรม 6. แบบประเมินผู้เรียนบันทึกผลการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ 7. บันทึกสรุปผลการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ 8. รายละเอียดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. สมุดบันทึกการเรียนรู ้ของผู้เรียน 10. ภาพถ่าย ผลงาน การจัดกิจกรรม 11. แบบประเมินผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 12. บันทึกสรุปผลการประเมินผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้านทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ 13. รายละเอียดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 14. สมุดบันทึกการเรียนรู ้ของผู้เรียน 15. ภาพถ่าย ผลงาน การจัดกิจกรรม 16. แบบประเมินผู้เรียนสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ 17. บันทึกสรุปผลการประเมินผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ 18. ภาพถ่าย ผลงาน การจัดกิจกรรม 19. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์

19.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ 19.2 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ 19.3 โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ 19.4 รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ 19.5 รายงานผลการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้

20. โครงการอบรมครู กศน.เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้การศึกษานอกโรงเรียน "การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน"

Page 4: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

52

20.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการอบรมครู กศน.การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (กศน.อ าเภอแจ้ห่ม จ.ล าปาง ระหว่างวันที่ 13-16 มิถุนายน 2555 )

20.2 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการอบรมครู กศน.การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 18-21 มิถุนายน 2555 และ รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 26-29 มิถุนายน 2555)

20.3 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการอบรมครู กศน .การจัดการเรียนรู้ด้วยการท าโครงงาน (กศน.อ าเภอแม่ทะ จ.ล าปาง ระหว่างวันที่ 10-13 กรกฎาคม 2555)

20.4 รายงานผลการด าเนินงานโครงการอบรมครู กศน.เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้การศึกษานอกโรงเรียน "การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน" ปีงบประมาณ 2555

20.5 รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ"การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน" ส าหรับ ครู กศน.อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง

20.6 รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ"การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน" รุ่นที่ 1 ส าหรับ ครู กศน.

20.7 รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ"การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน" รุ่นที่ 2 ส าหรับ ครู กศน.

20.8 รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ"การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน" ส าหรับ ครู กศน.อ าเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง

20.9 ประกาศเกียรติคุณบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประจ าปี 2555

21. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ อิเล็กทรอนิกส์และหุ่นยนต์สู่การแข่งขัน Robot Challenge

21.1 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และหุ่นยนต์สู่การแข่งขัน Robot Challenge

21.2 ค าสั่งคณะกรรมการด าเนินงานการโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และหุ่นยนต์สู่การแข่งขัน Robot Challenge

21.3 ค าสั่งคณะกรรมการด าเนินการแข่งขันหุ่นยนต์ Robot Challenge ระดับภาคเหนือ 21.4 รายงานผลการด าเนินงานโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และ

หุ่นยนต์สู่การแข่งขัน Robot Challenge 22. โครงการค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

22.1 ค าสั่งคณะกรรมการคัดเลือกโรงเรียนในเขต 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

22.2 ค าสั่งคณะกรรมการด าเนินการอบรมโครงการค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

22.3 รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

23. โครงการอบรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้และใกล้ตัว

Page 5: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

53

23.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการจัดอบรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้และใกล้ตัว

23.2 รายงานผลด าเนินการจัดอบรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ จากวัสดุเหลือใช้และใกล้ตัว

24. โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน.เพ่ือการเทียบโอน 24.1 ขออนุมัติจัดกิจกรรมโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ส าหรับนักศึกษา กศน.เพ่ือเทียบโอ 24.2 รายงานผลการด าเนินงาน โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน.เทียบโอน

25. กิจกรรมประกวดแข่งขัน 25.1 โครงการ/กิจกรรมประกวดแข่งขัน 25.2 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ร่วมกับมหาวิทยาลัย

ราชภัฎล าปาง 25.3 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการประกวดโครงงานระดับภาคเหนือตอนบน 25.4 รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมประกวดแข่งขัน 25.5 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการพัฒนาวิชาการ 25.6 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ 25.7 สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวัดและประเมินผลกิจกรรมการเรียนรู้ 25.8 ตัวอย่างแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 25.9 สรุปผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องโดยภาพรวม

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 1 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 1 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 1 ที่ก าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้ จุดเด่น

1. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ คิดเป็น/ท าเป็น ผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 5.00 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ มีการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรม มีการเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ทักษะการสังเกต , การคิดวิเคราะห์ , การตั้งสมมติฐาน ,การรวบรวมข้อมูล ,ทดลองและสรุปผล) ซึ่งผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถท าได้ส าเร็จ บรรลุแผนการจัดกิจกรรมที่ตั้งไว้

2. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 4.85 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความกระตือรือร้น รู้จักซักถาม ค้นหาค าตอบตั้งใจมุ่งมั่นในการเรียน ปฏิบัติกิจกรรมตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมาย กล้าคิด กล้าท า กล้าแสดงออก มีคุณธรรม จริยธรรม และมีการจดบันทึกผลการเรียนรู้ตามที่วิทยากรบรรยายและเรื่องราวที่น่าใจเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้เรียนเอง

3. ผู้เรียนมีงานท าหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 4.57 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียนกล้าที่จะร่วมแสดงความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน มีความสุขเมื่อผู้รับการได้ท างานร่วมกับเพ่ือน มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อเพ่ือนร่วมกลุ่มและมีความสามัคคีร่วมกันในการเรียนรู้และการท ากิจกรรม

Page 6: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

54

4. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีค่าคะแนนที่ได้ 13.66 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ในทุกๆโครงการและกิจกรรมที่จัดอบรมให้กับผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2555 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้บริการกิจกรรมการเรียนรู้ การอบรมต่างๆ ในโครงการ/กิจกรรมของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

5. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มีค่าคะแนนที่ได้ 4.19 มีคุณภาพระดับมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในทุกกิจกรรมการเรียนรู้ การอบรมในโครงการ/กิจกรรมต่างๆที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางจัดขึ้น

จุดควรพัฒนา ควรจัดท าเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลให้เหมาะสมกับผู้เรียน เพ่ือจะได้ข้อมูลที่แท้จริง และน าข้อมูลดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรมให้มีคุณภาพมากยิ่งข้ึน ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ควรมีการจัดท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษาของผู้เรียนและการตั้งค าถามควรเป็นลักษณะที่ผู้เรียนสามารถน าความรู้ไปใช้ได้จริงทั้งการเรียนและในชีวิตประจ าวัน สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 2 ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 2 ได้ผลดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ 3 3.00 ดีมาก 2.2 คุณภาพของครู/ผู้สอน/วิทยากร 4 3.20 ดี 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ ผู้รับบริการเป็นส าคัญ

3 2.40 ดี

2.4 คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง 4 3.20 ดี 2.5 คุณภาพสื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 4 2.40 พอใช้ 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 4 4.00 ดีมาก 2.7 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3 3.00 ดีมาก

ผลรวมคะแนนคุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ 25 21.20 ดี

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 21.20 ระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิดจากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้

1.2 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพจัดการศึกษา/การให้บริการ

Page 7: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

55

ข้อมูลความตระหนัก ในปีงบประมาณ 2555 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้ให้ความส าคัญกับคุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ทั้งการจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยได้จัดท าหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ ที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละช่วงชั้น ตลอดจนด าเนินการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ โดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ให้มีคุณภาพครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะขบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้นผู้เรียน /ผู้รับบริการเป็นส าคัญ ตลอดจนการเลือกใช้สื่อ เทคโนโลยีที่หลากหลายและเหมาะสม ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายตลอดจนก าหนดเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการที่ชัดเจน ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และได้รับการอนุมัติเพ่ือน ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

ข้อมูลความพยายาม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ เพ่ือด าเนินการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ โดยได้จัดท าหลักสูตรสถานศึกษา (7 หลักสูตร) และหลักสูตรค่าย 4 หลักสูตร (ระดับประถม/ม.ต้น/ม.ปลาย/ กศน) เพ่ือน าไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ นอกจากนี้ยังได้ด าเนินการรวบรวมและจัดท าเนียบสื่อและแหล่งการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง อย่างหลากหลาย ที่มีผู้รับผิดชอบสามารถให้บริการ มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการที่สามารถเข้าถึงและใช้บริการได้ง่าย ตลอดจนมีการประเมินและสรุปผลความพึงพอใจการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ ส าหรับน าข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ให้ดีขึ้นต่อไป การพัฒนาครู/ผู้สอน/วิทยากร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้ส่งครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้ารับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา ทั้งด้านเนื้อหาวิชา การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม และน าความรู้ ความสามารถที่ได้จากการพัฒนาไปพัฒนางาน นอกจากนี้ได้ด าเนินการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพ่ือน าผลการประเมินไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดฐานการเรียนรู้ภายในศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้มีการจัดฐานการเรียนรู้ ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการพัฒนาทักษะความสามารถในการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยวิธีที่หลากหลาย หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 2

1. บันทึกการลงนามการอนุมัติหลักสูตรของคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร

2. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ 3. หลักสูตรสถานศึกษา (7 หลักสูตร) 4. หลักสูตรค่าย 4 หลักสูตร (ระดับประถม /ม.ต้น/ม.ปลาย/ กศน. 5. บันทึกการประชุมพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ 6. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (7 หลักสูตร) 7. โครงสร้างหลักสูตรค่าย 4 หลักสูตร (ระดับประถม /ม.ต้น/ม.ปลาย/ กศน.

Page 8: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

56

8. หลักสูตรสถานศึกษา 10.1 โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน.เพ่ือการเทียบโอน 10.2 รายงานการเตรียมการจัดกิจกรรมโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน .

เพ่ือการเทียบโอน 10.3 บันทึกขออนุมัติจัดค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน.เพ่ือการเทียบโอน 10.4 หนังสือขอใช้บริการ 10.5 เอกสารประกอบการสอนค่ายวิทย์ฯ เทียบโอน 10.6 รายงานผลการด าเนินงาน โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน.เพ่ือการ

เทียบโอน 10.7 รายงานการติดตาม

9. หลักสูตรค่ายวิทยาศาสตร์ 11.1 โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ 11.2 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน 11.3 หนังสือขอใช้บริการ 11.4 รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2555 11.5 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรค่าย 11.6 เอกสารกิจกรรมและบริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง

10. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของผู้เรียน/ผู้รับบริการค่ายวิทยาศาสตร์ 11. ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของผู้เรียน/ผู้รับบริการค่ายวิทยาศาสตร์ 12. บันทึกเสนอผลการประเมินให้ผู้บริหารทราบ 13. บันทึกเสนอแนวทางการปรับปรุง พัฒนางาน 14. รายงานการประเมินโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ส าหรับ นศ.กศน.เพ่ือการเทียบโอน 15. รายงานผลการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ 16. โปรแกรมการเรียนรู้ค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับประถม /ม.ต้น/ม.ปลาย/ กศน.) 17. เอกสารกิจกรรมและบริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง 18. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ 19. ใบประกอบวิชาชีพครูของบุคลากร 20. รายงานการประชุม/อบรม/สัมมนา 21. ค าสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน 22. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพครู/ผู้สอน/วิทยากร 23. แบบประเมินคร/ูผู้สอน/วิทยากรมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 24. รายงานการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู/ผู้สอน/วิทยากร 25. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 26. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพครู/ผู้สอน/วิทยากร 27. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพครู/ผู้สอน/วิทยากร 28. หนังสือขอความร่วมมือตอบแบบติดตาม 29. แบบติดตามผู้จบหลักสูตรปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน. 30. สรุปผลการติดตามผู้จบหลักสูตรปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ส าหรับนักศึกษา กศน. 31. แบบส ารวจความต้องการพัฒนาของบุคลากร

Page 9: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

57

32. รายงานความต้องการพัฒนาบุคลากร ศว.ล าปาง ปี 2555 33. สมุดบันทึกความดี 34. บันทึกข้อความขออนุญาตศึกษาต่อนอกเวลาราชการ 35. รายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 36. เกียรติบัตร/วุฒิบัตร/โล่รางวัล 37. รายงานการประชุม/สัมมนา/อบรม 38. รูปถ่ายร่วมกิจกรรม 39. บันทึกการลงนามการอนุมัติหลักสูตรของคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการพัฒนา

หลักสูตร 40. บันทึกการลงนามให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

และงานวิชาการ 41. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรผลการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 42. รายงานการประชุมวิเคราะห์หลักสูตรปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 43. สรุปผลการประชุมติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาหลักสูตรปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 44. กิจกรรมการเรียนรู้และบริการการศึกษา 45. e- learning 46. รายการวิทยุ 47. จ านวนผู้ใช้บริการ e- learning 48. หลักสูตรการอบรมต่างๆ 49. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม 50. ภาพถ่ายภูมิทัศน์ ศว.ล าปาง 51. รายงานจ านวนผู้เข้าใช้บริการเว็ปไซต์ 52. สรุปผลความพึงพอใจความต้องการใช้บริหารเว็ปไซต์ 53. ท าเนียบสื่อ 54. ทะเบียนหนังสือ 55. ทะเบียนวีซีดี 56. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม 57. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้เปิดโลกวิทยาศาสตร์ 58. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้ประยุกต์วิทยาศาสตร์ 59. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้ไดโนแลนด์ 60. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้ดาราศาสตร์ 61. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ 62. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้สวนวิทยาศาสตร์ 63. ภาพถ่ายฐานการเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพ 64. ภาพถ่ายนิทรรศการเคลื่อนที่ 65. e- learning 66. รายการวิทยุ 67. เครื่องมือวัดผลประเมิน 68. รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

Page 10: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

58

69. บันทึกข้อความการน าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน 70. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพครู/ผู้สอน/วิทยากร 71. แบบประเมินครูผู้สอน/วิทยากร 72. รายงานการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน/วิทยากร 73. ผลการพิจารณากลั่นกรองการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ 74. ผลการประเมินบุคลากร 75. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 76. แบบประเมินครู/ผู้สอน/วิทยากร 77. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 78. รายงานการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน 79. สรุปผลการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของผู้รับบริการ 80. บันทึกข้อความการน าผลการประเมินแต่ละกิจกรรมไปพัฒนาการเรียนการสอน 81. ท าเนียบสื่อนิทรรศการต่าง ๆ 82. ท าเนียบแหล่งเรียนรู้ 83. แบบส ารวจความต้องการใช้สื่อ/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา 84. รายงานการส ารวจความต้องการใช้/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา 85. บันทึกข้อความเสนอผู้บริหารเพ่ือปรับปรุง/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา 86. ข้อเสนอแนะของผู้รับบริการในเรื่อง/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา 87. สถิติผู้ใช้บริการใน Website, วิทยุ ,จดหมายข่าว, facebook 88. ค าสั่งแต่งตั้งบุคลากรหน้าที่ ให้ความรู้ แนะน า ให้ข้อมูลสารสนเทศในการใช้สื่อและแหล่ง

เรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการ 89. แบบประเมินความพึงพอใจการใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 90. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 91. บันทึกสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 92. ความคิดเห็นผู้บริหารในการน าข้อมูลผลการประเมินมาพัฒนาสื่อ แหล่งเรียนรู้ ให้มี

ประสิทธิภาพ 93. ภาพถ่ายสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา 94. จดหมายข่าว (ส้ม/แจ็ค ทุกรายการ) 95. สคริปรายการวิทยุ 96. บทเรียน online 97. website 98. facebook 99. แผ่นพับ 100. ป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ 101. กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร 102. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

111.1 โครงการประชาสัมพันธ์

Page 11: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

59

111.2 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารผ่านทางเฟสบุ๊ค 111.3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อเฟสบุ๊ค 111.4 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซด์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ

การศึกษาล าปาง 111.5 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการเว็บไซด์ 111.6 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผลิตรายการวิทยุ 111.7 บันทึกการพิจารณาบทวิทยุ 111.8 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อรายการวิทยุ 111.9 จดหมายจากผู้รับฟังรายการวิทยุ 111.10 รายงานผังรายการวิทยุ 111.11 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าจดหมายข่าว 111.12 จดหมายจากผู้รับบริการจดหมายข่าว 111.13 รายงานจ านวนผู้ใช้บริการเว็บไซต์ 111.14 รายงานจ านวนผู้ใช้บริการจดหมายข่าว 111.15 รายงานจ านวนผู้รับฟังรายการวิทยุประชาสัมพันธ์ต่างๆรายไตรมาส/ทั้งป ี111.16 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ การศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวม 111.17 รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมประชาสัมพันธ์ 111.18 รายงานการอัพโหลดข่าวสารกิจกรรมข้ึนเว็บไซต์ 111.19 รายงานการอัพโหลดข่าวสารกิจกรรมข้ึนเฟสบุ๊ค

103. โครงการเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 112.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 112.2 หนังสือขอใช้บริการเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้ 112.3 บันทึกเสนอผลการเยี่ยมชม 112.4 รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมเยี่ยมชมฐานกาเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ

2555 104. โครงการวิทยาศาสตร์สัญจร

113.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร 113.2 หนังสือขอใช้บริการวิทยาศาสตร์สัญจร/นิทรรศการเคลื่อนที/่โดมฉายดาวเคลื่อนที ่113.3 บันทึกเสนอผลการจัดวิทยาศาสตร์สัญจร/นิทรรศการเคลื่อนที่/โดมฉายดาวเคลื่อนที ่113.4 เครื่องมือประเมินความพึงพอใจโครงการค่ายวิทยาศาสตร์สัญจร 113.5 ผลการประเมินความพึงพอใจโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร 113.6 รายงานผลการด าเนินงานโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร 113.7 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมงานวันเด็ก

105. โครงการประชาสัมพันธ์

Page 12: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

60

114.1 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารผ่านทางเฟสบุ๊ค 114.2 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อเฟสบุ๊ค 114.3 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซด์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ

การศึกษาล าปาง 114.4 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการเว็บไซต์ 114.5 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผลิตรายการวิทยุ 114.6 บันทึกการพิจารณาบทวิทยุ 114.7 สคริปรายการวิทยุ 114.8 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อรายการวิทยุ 114.9 จดหมายจากผู้รับฟังรายการวิทยุ 114.10 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าจดหมาย ข่าว 114.11 จดหมายข่าว 114.12 จดหมายจากผู้อ่านจดหมายข่าว 114.13 รายงานจ านวนผู้ใช้บริการเว็บไซต์ 114.14 รายงานจ านวนผู้รับฟังรายการวิทยุ 114.15 รายงานจ านวนผู้ใช้บริการจดหมายข่าว 114.16 รายงานการอัพโหลดข่าวสารขึ้นเว็บ 114.17 รายงานการอพโหลดข่าวสารกิจกรรมข้ึนเฟสบุ๊ค 114.18 พิจารณาข่าวประชาสัมพันธ์ผ่านทางหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น 114.19 รายงานการเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ทางถ่ิน 114.20 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวม

106. สรุปผลอบรมคอมพิวเตอร์ที่ราชภัฎล าปาง 107. เกียรติบัตรผู้ผ่านการอบรม 108. ส่งบุคลากรอบรม Stopmotion 109. ท าเนยีบสื่อและแหล่งเรียนรู้ภายใน ศว.ล าปาง 110. ท าเนียบแหล่งเรียนรู้ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 111. ระบบการให้บริการ การเข้าถึงบริการ และวิธีการสืบค้น 112. รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมบริการวิชาการ 113. รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมประชาสัมพันธ์ 114. รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 115. รายงานผลการด าเนินงานวิทยาศาสตร์สัญจร 116. ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 117. บันทึกการน าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 118. ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานต่างๆ

Page 13: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

61

119. โครงการ/กิจกรรมต่างๆ 120. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา 121. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับมัธยมศึกษา 122. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับ กศน. 123. บันทึกการวางแผนการพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ 124. สรุปผลการประชุมการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ 125. ใบงานประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ 126. ผลงานผู้เรียน/ผู้รับบริการ 127. รายงานประชุม การมอบนโยบายของผู้บริหารในการจัดสภาพแวดล้อม การจัดสถานที่

ให้บริการ 128. แผนการกิจกรรมการเรียนรู้ 129. ใบงานประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ 130. ใบความรู้ 131. ผลงานผู้เรียน 132. แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนผู้รับบริการ 133. ใบงานวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 134. ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงการ /กิจกรรมต่างๆ 135. ผลการประเมินความพึงพอใจโครงการ/กิจกรรมต่างๆ 136. รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 137. รายงานผลการด าเนินงาน โครงการงานวิจัยและพัฒนาปีงบประมาณ ๒๕๕๕ 138. รายงานผลการด าเนินงาน โครงการอบรมครู กศน. เพ่ือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การศึกษานอกโรงเรียน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ 139. รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีฯ 140. รายงานผลการด าเนินงาน โครงการวิทยาศาสตร์สัญจร 141. รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมการสร้างโรงเรือนระบบน้ าล้อม 142. รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ๒๕๕๕ 143. รายงานผลการด าเนินงาน กิจกรรมประกวดแข่งขัน 144. บันทึกการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ 145. บันทึกการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจากการประเมิน 146. รายงานการประชุมการพัฒนาสภาพแวดล้อม 147. ภาพถ่ายกิจกรรมต่างๆ ที่เก่ียวข้อง 148. ภาพถ่ายสถานที่จริง

Page 14: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

62

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 2 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 2 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 2 ที่ก าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้ จุดเด่น 1.คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีการจัดและ ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีการจัดท า ท าเนียบสื่อแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ที่หลากหลาย ตลอดจนมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้สื่อ จึงท าให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงและเลือกใช้บริการได้อย่างเหมาะสมตามความต้องการ นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลและน าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปางมีหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ที่หลากหลายที่สอดคล้องเหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ

3. การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้เข้าถึงและเรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ประกอบด้วยการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการภายใน สื่อนิทรรศการเคลื่อนที่ รวมถึงการเรียนรู้ผ่านเวปไซต์ รายการวิทยุ จดหมายข่าว การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์บทเรียนออนไลน์ (E-Learning) facebook แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ ท าให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถเลือกใช้บริการได้อย่างเหมาะสมและตรงตามความต้องการตลอดจนมีการส่งเสริมการใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ น าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

4. คุณภาพของครู/ผู้สอน/วิทยากร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีครู/ผู้สอน/วิทยากร ที่มีใบประกอบวิชาชีพครู หรือมีวุฒิทางการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพมีครูที่มีความทุ่มเท เสียสละ มีคุณธรรม จริยธรรม มุ่งมั่นในการท างาน ได้รับการพัฒนาทั้งด้านวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรมอย่างพอเพียง ต่อเนื่องและสม่ าเสมอ มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถสร้าง องค์ความรู้น ามาแก้ไขปัญหา และปรับปรุงการพัฒนาทักษะวิชาชีพอย่างต่อเนื่องทันต่อเหตุการณ์ มีการท า Pre-test และPost-test ผู้เรียน และน าผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาทั้งตนเองและผู้เรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และน าผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ครูผู้สอนส่วนใหญ่เขียนแผนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และเขียนให้ครบถ้วนตามหัวข้อที่ก าหนด 5. คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีผู้สอนและวิทยากรทีมี่วุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าข้ึนไป ครูสอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด สามารถด าเนินการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ครอบคลุมเนื้อหาตามที่หลักสูตรก าหนด จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตลอดจนมีการประเมินผลและน าผลการประเมิ นมาปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 6. คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ ผู้รับบริการเป็นส าคัญ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ตามรายวิชา โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีฐานการเรียนรู้และบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ต่อผู้เรียนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะผู้สอนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับวิชาที่สอน อาทิเช่น ฐานการเรียนรู้เปิดโลกวิทยาศาสตร์ ฐานประยุกต์วิทยาศาสตร์ ฐานไดโนแลนด์ ฐานดาราศาสตร์ และฐาน

Page 15: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

63

อ่ืนๆ อีกมากมาย โดยฐานต่างๆ เหล่านี้ได้ให้ผู้รับบริการที่เข้ามาใช้บริการร่วมกันประเมินสื่อการเรียนรู้ เพ่ือจะน าผลการประเมินดังกล่าวไปใช้พัฒนาปรับปรุงในการเรียนการสอนต่อไปในครั้งหน้า จุดควรพัฒนา คุณภาพสื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ สื่อการเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพ่ือการศึกษาล าปาง มีจ านวนมาก บางชิ้นมีการช ารุด เสียหาย ขาดการซ่อมแซมบ ารุงรักษา ผู้เรียนและผู้รับบริการจึงไม่สามารถใช้สื่อประกอบการเรียนได้เท่าที่ควร ผู้สอนควรศึกษาสื่อการเรียนรู้ใหม่ๆ เพ่ื อจะได้น ามาใช้ในการเรียนการสอน

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. คุณภาพสื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ควรจัดท าแบบส ารวจความต้องการสื่อ/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาในแต่ละปี เพ่ือจะได้ทราบว่าสื่อชิ้นใดที่ช ารุด ต้องซ่อมแซม หรือควรจัดหาสื่อที่ทนัสมัยเพ่ิมเติม เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถรับความรู้ได้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน

2. คุณภาพของครู/ผู้สอน/วิทยากร ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้เข้ารับการอบรมการใช้สื่อ การสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอนให้มีประสิทธิผลดียิ่งขึ้น

3. การจัดท าหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ ควรจัดท าหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ในการเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของกลุ่มประเทศอาเซียน เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 3 ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 3 ได้ผลดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศึกษา 3.1 คุณภาพของการบริหารการศึกษา 2 1.60 ดี 3.2 ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ 2 2 ดีมาก 3.3 ผลการบริหารความเสี่ยง 2 2 ดีมาก 3.4 ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา 2 2 ดีมาก 3.5 ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา 2 1 ดี

ผลรวมคะแนน การบริหารการศึกษา 10 8.60 ดี

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 8.60 ระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิด0จากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้

1.3 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศึกษา

Page 16: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

64

ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง เห็นความส าคัญของการบริหารการศึกษา ในเรื่องของคุณภาพของการบริหารสถานศึกษา มีระบบของฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ ให้ความส าคัญกับการบริหารความเสี่ยงภายในสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามีการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ในทุกด้านทั้งคุณธรรมและจริยธรรมและคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความส าคัญและปฏิบัติหน้าที่ได้ค่อนข้างดี ข้อมูลความพยายาม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางได้มีการใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการ มีความพยายามในการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี โดยก าหนดนโยบายการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ตามแผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผู้บริหารบริหารสถานศึกษามีการบริการงาน โดยการนิเทศ ก ากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และน าข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาในการบริหารงานมีความพยายามในการใช้ระบบฐานข้อมูลในการบริหารด้านวิชาการ งบประมาณ บุคคล และบริหารทั่วไป โดยมีการติดตามและประเมินผลการใช้ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง มีความพยามในการบริหารความเสี่ยง โดยมีระบบควบคุมภายในสถานศึกษาอย่างชัดเจน ในการด าเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีคณะกรรมการสถานศึกษาให้ค าปรึกษา ข้อเสนอแนะ และให้ความเห็นชอบในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนพัฒนาบุคลากร และอนุมัติหลักสูตรของสถานศึกษา และน าข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษาน ามาปรับปรุงในการบริหารงาน หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 3

1. แผนปฏิบัติการประจ าปี ในส่วนของการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างโครงการ/กิจกรรม ศว.ล าปาง และมาตรฐาน กศน.

2. เอกสารหลักฐานวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี 2555 ศว.ล าปาง กับ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

3. แบบรายงานโปรแกรม Stang pro 4. E-mail : [email protected] 5. แบบรายงานโปรแกรมบริหารงานพัสดุ Store pro 6. แบบรายงาน GFMIS 7. แบบรายงานงบทดลอง รายการบัญชี 8. เอกสารคู่มือการด าเนินงานต่าง ๆ 9. เอกสารกิจกรมและบริการการศึกษา ศว.ล าปาง 10. Facebook 11. Website : http://lpsci.nfe.go.th 12. โปรแกรมบริหารงานบุคลากร 13. โปรแกรมข้อมูลผู้รับบริการ (ส่วนส่งเสริมฯ)ค าสั่งแต่งตั้งคณะนิเทศการจัดกิจกรรม ศว.

ล าปาง 14. แผนการนิเทศการจัดกิจกรรม ศว.ล าปาง 15. รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม 16. รายงานการประชุมประจ าเดือน

Page 17: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

65

17. เอกสารการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ 18. รายงานการนิเทศ 19. รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ 20. สมุดเยี่ยมชม 21. กิจกรรมพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ 22. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 23. แผนปฎิบัติการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ 24. รายงานการประชุม 25. โปรแกรมระบบบริหารงานบุคลากร (PSB) 26. โปรแกรมระบบบริหารงบประมาณ (StangPro) 27. โปรแกรมบริหารงานพัสดุ (StorePro) 28. GFMIS 29. ค าสั่งมอบหมายบุคลากรรับผิดชอบฐานข้อมูล 30. รายงานผลการใช้ระบบฐานข้อมูล

- โปรแกรมระบบบริหารงานบุคลากร (PSB) - โปรแกรมระบบบริหารงบประมาณ (StangPro) - โปรแกรมบริหารงานพัสดุ(StorePro) - GFMIS

31. แบบประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ 32. รายงานผลการประเมินการใช้ระบบฐานข้อมูลโปรแกรมระบบบริหารงาน

บุคลากร (PSB) 33. รายงานผลการประเมินการใช้ระบบฐานข้อมูลโปรแกรมระบบบริหาร งบประมาณ

(StangPro ) 34. รายงานผลการประเมินการใช้ระบบฐานข้อมูลโปรแกรมบริหารงานพัสดุ (StorePro) 35. รายงานผลการประเมินการใช้ระบบ 36. ฐานข้อมูล GFMIS 37. บันทึกสั่งการในการน าผลการประเมินไปปรับปรุงการด าเนินงานระบบฐานข้อมูล 38. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมภายในของสถานศึกษา 39. รายงานการควบคุมภายใน ครั้งที่ 1 ปี 2555 40. รายงานการควบคุมภายใน ครั้งที่ 2 ปี 2555 41. เครื่องมือในการเก็บข้อมูล 42. ผลการวิเคราะห์การจัดล าดับความส าคัญของความเสี่ยง 43. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 44. แผนบริหารความเสี่ยง 45. บันทึกข้อความการน าผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาแผนบริหารความเสี่ยง 46. ผลความส าเร็จในการบริหารความเสี่ยง 47. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 48. ค าสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน 49. รายงานประชุมเรื่องหลักสูตรสถานศึกษา

Page 18: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

66

50. หลักสูตรสถานศึกษา 7 หลักสูตร 51. หลักสูตรค่าย 4 หลักสูตร (ระดับประถม/ ม.ต้น/ม.ปลาย/กศน.) 52. บันทึกข้อความการจัดสรรงบประมาณ 53. รายงานการใช้ข้อมูลงบประมาณโปรแกรมการบริหารงบประมาณ stang pro ประจ าปี 2555 54. ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 55. คู่มือการปฏิบัติงานพัสดุ 56. รายงานผลการติดตามการด าเนินงานไตรมาสที่ 1-4 57. ระบบบริหารงานบุคลากร (โปรแกรม PSB) 58. รายงานความต้องการพัฒนาของบุคลากร 59. เกียรติบัตร/โล่รางวัลของบุคลากร 60. สมุดบันทึกความดี 61. แผนพัฒนาบุคลากร ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2555-2558) 62. โครงการพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ 2555 63. รายงานการประชุม/อบรม/สัมมนาของบุคลากร 64. สรุปผลการอบรมเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และนันทนาการ 65. สรุปผลการอบรมการประเมินโครงการ 66. ผลการประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากร 67. หนังสือเชิญจากเครือข่าย 68. แบบประเมินผู้บริหาร 69. ผลการประเมินผู้บริหาร 70. ภาพถ่ายกิจกรรม 71. ภาพถ่ายการประชุมของบุคลากร 72. เกียรติบัตร/โล่รางวัลจากหน่วยงานเครือข่าย 73. หนังสือเชิญประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน 74. รายงานการประชุม 75. รายงานการประเมินตนเอง 76. โครงสร้างการบริหารงาน 77. ภาพถ่ายภูมิทัศน์ ศว.ล าปาง 78. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารผ่านทางเฟสบุ๊ค 79. โครงการประชาสัมพันธ์ 80. รายงานผลการด าเนินงานโครงการประชาสัมพันธ์และพัฒนาสื่อเว็ปไซต์ 81. เอกสาร, แผ่นพับ, จดหมายข่าว 82. เว็ปไซต์ 83. ข้อความผู้รับบริการผ่านทาง Facebook 84. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา 85. ระเบียบวาระและรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 86. บันทึกการลงนามเห็นชอบการอนุมัติหลักสูตรของคณะกรรมการสถานศึกษา 87. หนังสือเชิญประชุม 88. หนังสือเชิญร่วมเป็นคณะกรรมการจัดกิจกรรม

Page 19: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

67

89. บันทึกการลงนามเห็นชอบการอนุมัติหลักสูตรของคณะกรรมการสถานศึกษา 90. หนังสือราชการขอความเห็นชอบหลักสูตรจากคณะกรรมการสถานศึกษา 91. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 92. บันทึกการลงนามเห็นชอบการอนุมัติแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 93. บันทึกการลงนามเห็นชอบการอนุมัติแผนปฏิบัติการประจ าปี 94. บันทึกการลงนามเห็นชอบการอนุมัติแผนพัฒนาบุคลากร 95. รายงานการประชุม 96. บันทึกข้อความสรุปผลการประชุมเพ่ือหาแนวทางในการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของ

คณะกรรมการสถานศึกษา 97. หนังสือราชการจัดส่ง SAR 98. หนังสือราชการจัดส่งผลการด าเนินงานประจ าปี 99. ภาพถ่ายการประชุม 100. สมุดหมายเหตุรายวัน 101. สมุดเยี่ยมชม

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 3 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 3 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 3 ที่ก าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้

จุดเด่น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการบริหารการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีการใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการ ในด้านยุทธศาสตร์ ตามแผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารที่มีความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน มีระบบก ากับติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และน าผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลน าไปใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจและปรับปรุง พัฒนาการบริหารสถานศึกษา

1. ผู้บริหารสถานศึกษามีการปฏิบัติหน้าที่ได้ดีในเรื่องของการพัฒนาวิชาการ โดยผู้บริหารมีการพัฒนาและด าเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนงานด้ านวิชาการ กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล พัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ ในด้านงบประมาณผู้บริหารมีการจัดท าแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณและพัสดุ และมีการตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้งบประมาณ ด้านการบริหารบุคคลผู้บริหารมีการจัดท าฐานข้อมูลบุคคล ส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรในหน่วยงาน จากนั้นมีการประเมินผล ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารมีการประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การวางแผนการบริหารงานการศึกษา การด าเนินธุรการ ดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม และมีการประชาสัมพันธ์การศึกษา

2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการบริหารจัดการโดยการวางแผนน าฐานข้อมูลบริหารด้านวิชาการ งบประมาณ บุคคล และการบริหารทั่วไป โดยมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอย่างมีส่วนร่วมเพ่ือจัดการศึกษาให้เป็นปัจจุบันและสะดวกต่อการเข้าถึง และน าระบบฐานข้อมูลที่พัฒนา มาใช้ในการบริหาร

Page 20: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

68

จัดการ จากนั้นจึงมีการติดตามและประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูล และน าผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาระบบฐานข้อมูลต่อไป

3. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปางมีการจัดการเรื่องการบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษา โดยมีระบบควบคุมภายในสถานศึกษา มีการวิเคราะห์ จัดล าดับความส าคัญของความเสี่ยง ระบุความเสี่ยงและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงตามบริบทบทบาทหน้าที มีการติดตาม ประเมินผล น าผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงตามแผนและรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา โดยมีผลความส าเร็จในการบริหารความเสี่ยงระดับดีข้ึนไป จุดควรพัฒนา ควรน าข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษามาใช้ เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ควรน าข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษามาพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและความต้องการของผู้ เรียน /ผู้รับบริการ ชุมชนและท้องถิ่นให้สมบูรณ์ข้ึน

สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 4 ไว้ที่ค่าระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 4 ได้ผลดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา 4.1 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5 4.00 ดี 4.2 การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด 5 4.35 ดี

ผลรวมคะแนน การประกันคุณภาพการศึกษา 10 8.35 ดี

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 8.35 ระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิดจากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง เห็นความส าคัญของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและตัวบ่งชี้เป็นกรอบแนวทาง การด าเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ก าหนดให้ใช้มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ในทันที ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ลงวันที่ 19 เมษายน 2555 มีการก าหนดบุคลากรให้ผู้รับผิดชอบด าเนินงานประกันคุณภาพอย่างชัดเจน ได้จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ในระยะ 4 ปีและแผนปฏิบัติการประจ าปี ที่สอดคล้องกับมาตรฐานของสถานศึกษา มีการจัดท ารายงานการประเมินตนเอง 3 ปีย้อนหลัง และ ผลการประเมินสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

1.4 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา

Page 21: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

69

ข้อมูลความพยายาม มีการชี้แจงให้บุคลากรเข้าใจมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและตัวบ่งชี้ที่มีการเปลี่ยนใหม่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการท าให้บุคลากรเห็นความส าคัญและมีความพยายามปฏิบัติงาน รวบรวมเอกสาร/หลักฐานตามระบบประกันคุณภาพ มีการมอบบุคลากรให้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพเป็นรายตัวบ่งชี้เพ่ือให้สอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ มีการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างโครงการ/กิจกรรมกับมาตรฐานตัวบ่งชี้ เพ่ือเป็นการตรวจสอบว่าสถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรมที่ครอบคลุมทุกตัวบ่งชี้ มีการด าเนินงานประกันคุณภาพตามระบบ PDCA กล่าวคือ มีการวางแผนการด าเนินงานในระยะยาว (แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา) มีการด าเนินงานตามแผน (แผนปฏิบัติการประจ าปี) มีระบบการติดตามเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง มีสรุปผลการด าเนินงานรายโครงการ/กิจกรรมซึ่งผลการด าเนินงานส่วนใหญ่บรรลุเป้าหมาย และ มีการประชุมเพื่อปรับปรุงและพัฒนางานตามผลการประเมิน หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 4

1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐาน กศน. 2. มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 3. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2555-2558) 4. แผนปฏิบัติการประจ าปี 2555 5. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 6. กิจกรรมการพัฒนาระบบบริหารและสารสนเทศ 7. ผลการด าเนินงานปีงบประมาณ 2555 8. ผลการด าเนินงานโครงการต่างๆ 9. รายงานการประชุม 10. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพสถานศึกษา 11. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 12. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา 13. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐาน กศน. 14. มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาแฟ้มเอกสาร 15. รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 16. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา 17. รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี 2555 18. หนังสือส่งรายงานการประเมินตนเอง 19. การเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองผ่านเว็ปไซต ์20. แผนการพัฒนางานตามผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยต้นสังกัด 21. สรุปผลการประชุมเพ่ือหาแนวทางในการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ

สถานศึกษา 22. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 23. หนังสือเชิญคณะกรรมการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 24. รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 25. รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี 2553 26. รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี 2554 27. รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี 2555

Page 22: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

70

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 4 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 4 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 4 ที่ก าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้

จุดเด่น 1. การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้รับการ

ประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด เมื่อปี 2554 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยผลการประเมิน 3.91 มีคุณภาพระดับ ดี โดยมีจุดเด่น คือ ให้ความส าคัญกับการจัดท าแผนการด าเนินงาน เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากร มีสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย น่าสนใจสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ภูมิทัศน์สวยงาม ส่งเสริมการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ครูและบุคลากรมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทั้งการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย มีการประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของผู้รับบริการอย่างเป็นระบบ มีหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น หลากหลาย

2. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการน ามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาเป็นกรอบแนวทางการด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม และสอดคล้องกับแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการ และเป้าหมายการด าเนินงาน มีการจดัท ารายงานการประเมินตนเองทุกปี ตั้งแต่ปี 2551 และผลการประเมินตนเองสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

จุดควรพัฒนา 1. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ควรจัดท าคู่มือการด าเนินงานประกันคุณภาพของ

สถานศึกษา ให้เป็นแนวทางการด าเนินงานที่ชัดเจนและเข้าใจตรงกัน การรวบรวมหลักฐาน/เอกสารต่างๆ ควรท าตั้งแต่ต้นปี ให้การประกันคุณภาพเป็นการด าเนินงานประจ า

2. การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ควรน าผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้มาพัฒนาและปรับปรุงการด าเนินงานอย่างจริงจัง

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. ควรมีการจัดท าคู่มือการด าเนินงาน โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณาให้สอดคล้องกับพันธกิจของ

สถานศึกษา จัดท าเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ก าหนดแนวทางการจัดเก็บเอกสาร/หลักฐาน ที่สอดคล้องกับเกณฑ์พิจารณา และควรท า

ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 3. ควรมีการทบทวนผลการประเมิน น าผลการประเมินมาพัฒนางาน พัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพ

โครงการ/กิจกรรม อย่างเป็นรูปธรรม

Page 23: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

71

สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 5 ไว้ที่ค่าระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 5 ได้ผลดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 5.1 ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา

5 4 ดี

5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา

5 3.90 ดี

ผลรวมคะแนน อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 10 7.90 ดี

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 7.90 ระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิดจากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอกในการมีส่วนร่วมในการก าหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนปฏิบัติงานโดยระบุเป้าหมาย และกลยุทธ์ รวมถึง จุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ การด าเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้น าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558 น ามาใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงาน เพ่ือให้การด าเนินงานมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลความพยายาม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้จัดประชุม และแต่งตั้งคณะกรรมการในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558 โดยร่วมกันระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุมชนและองค์กรภายนอก เพ่ือจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558 และได้มีการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี 2555 ให้สามารถน าไปปฏิบัติได้จริง เพ่ือผู้เรียน / ผู้รับบริการเกิดเจตคติ ความรู้ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์ และสามารถน ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ตลอดจนเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาต่อเนื่องให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 5

1. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 -2558 2. รายการประชุมคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 -2558 3. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 –2558 ได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการ

สถานศึกษา 4. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555

1.5 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา

Page 24: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

72

5. รายการประชุมคณะกรรมการจัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555 6. แผนปฏิบัติการประจ า 2555 ได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 7. ภาพถ่ายปรัชญา อัตลักษณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ 8. รายงานการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย

ของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับพ.ร.บ.ศึกษาแห่งชาติ พ.ร.บ.กศน. นโยบายของส านักงาน กศน. 2555

9. บันทึกการประชุมในการก าหนดอัตลักษณ์ 10. บันทึกประชุมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2555-2558 11. บันทึกการประชุมการก าหนดกลยุทธ์ 12. บันทึกประชุมการก าหนดผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม 13. แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2555 ที่ระบุโครงการ/กิจกรรมตามกลยุทธ์ 14. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการก ากับติดตามการด าเนินงาน 15. รายงานผลการการก ากับติดตามการด าเนินงาน 16. รายละเอียดการก าหนดผู้รับผิดชอบการปฏิบัติตามกลยุทธ์ ศว.ล าปาง ปีงบประมาณ

2555 17. แบบประเมินความพึงพอใจ 18. ผลการประเมินความพึงพอใจการศึกษาต่อเนื่องในภาพรวม 19. ผลการประเมินความพึงพอใจการศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวม 20. ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา 21. ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับดีขึ้นไปร้อยละ 70 22. รายงานการประเมินตนเองประจ าปี 2555 23. รายงานผลการด าเนินงานประจ าปี 2555 24. สรุปผลการบรรลุตัวชี้วัดความส าเร็จตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ 2555

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง 25. แบบประเมินทักษะด้านวิทยาศาสตร์ 26. สรุปผลการประเมินทักษะด้านวิทยาศาสตร์ 27. รายงานการประชุมในการก าหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 28. บันทึกประชุมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 –2448 (ต่อเนื่อง) 29. รายงานผลการการก ากับติดตามการด าเนินงาน ไตรมาส 1 - 4 ปีงบประมาณ 2555 30. แบบประเมินความพึงพอใจ 31. ผลการประเมินความพึงพอใจการศึกษาต่อเนื่องในภาพรวม 32. ผลการประเมินความพึงพอใจการศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวม 33. เกียรติบัตร/วุฒิบัตร/โล่รางวัล ของสถานศึกษา 34. เกียรติบัตร/วุฒิบัตร/โล่รางวัล ของบุคลากร 35. หนังสือตอบขอบคุณ

Page 25: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

73

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 5 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 5 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 5 ทีก่ าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้

จุดเด่น 1. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558

และมีแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555 เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และสะท้อนเอกลักษณ์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง

2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีการประสานความร่วมมือ สนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน / ผู้รับบริการครบถ้วน สมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง

จุดควรพัฒนา 1. ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชุมชนได้

2. ควรจัดท าแผนของบประมาณและบุคลากรให้เพียงพอในการด าเนินการพัฒนาการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. ควรเพ่ิมกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู ชุมชน และองค์กรภายนอก ตั้งแต่การ

วางแผน ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามประเมินผล และร่วมรับผิดชอบอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น 2. ควรมีการสร้างเครื่องมือเพ่ือประเมินผู้เรียน/ผู้รับบริการ และพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมใหม่ ๆ

เพ่ือส่งเสริมให้ ผู้เรียน / ผู้รับบริการ ให้เกิดทักษะด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้น 3. ควรจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของสถานศึกษาให้แล้วเสร็จรวดเร็วยิ่งขึ้น เพ่ือที่จะได้ใช้

เป็นแนวทางในการด าเนินงาน

สถานศึกษาก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 6 ไว้ที่ค่าระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 6 ได้ผล ดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 6 มาตรการส่งเสริม 6.1 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐานและพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

5 4 ดี

6.2 ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

5 4 ดี

1.6 ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 6 มาตรการส่งเสริม

Page 26: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

74

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ผลรวมคะแนน มาตรการส่งเสริม 10 8 ดี

ผลการประเมินตนเอง ได้คะแนนคุณภาพ 8 ระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าวเกิดจากความตระหนักและความพยายามในการด าเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง ได้น าผลรายงานการประเมินตนเอง รวมถึง ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ไปใช้ในในการก าหนดเป็นมาตรการ นโยบาย โครงการ/กิจกรรมต่างๆ โดยได้จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี และแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2555-2558) ให้สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการด าเนินงานของ ส านักงาน กศน. และนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ นอกจากนี้ยังได้ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพ่ือมุ่งไปสู่สถานศึกษาท่ีมีคุณภาพ ข้อมูลความพยายาม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้ด าเนินการกิจกรรม/โครงการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ร่วมกับภาคีเครือข่าย เช่น โครงการศูนย์วิทย์ใกล้ชิดชุมชน โครงการเทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และหุ่นยนต์สู่การแข่งขัน Robot Challenge โครงการค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาวพีวีซีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอบรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้และใกล้ตัว เป็นต้น ตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (ระยะ 4 ปี พ.ศ.2555-2558)และแผนปฏิบัติการประจ าปี 2555 การด าเนินการกิจกรรม/โครงการ มีคณะกรรมการนิเทศ มีแผนการนิเทศติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานตามแผน และรายงานผลการจัดกิจกรรม/โครงการครบทุกกิจกรรม/โครงการ และน าข้อมูลและผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนางาน และปรับกลยุทธ์การด าเนินงาน ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ตามรูปแบบการบริหารโดยให้กระบวนการ PDCA หลักฐานประกอบการด้าเนินงาน มาตรฐานที่ 6

1. รายงานการวิเคราะห์ความสอดคล้องนโยบายจุดเน้นการด าเนินงาน ของ ส านักงาน กศน. ปี 2555 กับแผนปฏิบัติการประจ าปี

2. ข้อเสนอแนะจากผลรายงานการประเมินตนเอง 3. รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด 4. ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัดน าไปใช้ในการพัฒนา 5. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา2555-2558 6. แผนพัฒนาบุคลากร 2555-2558 7. แผนปฏิบัติการประจ าปี 2555 8. โครงการพัฒนาความรู้ความสามารถ 9. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ ประจ าปีงบประมาณ 2555 10. MOU ร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย (สสวท.) 11. หนังสือขอความร่วมมือในการจัดกิจกรรมค่ายกล้องดูดาว พีวีซี เฉลิมพระเกียรติฯ 84 พรรษา

Page 27: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

75

12. หนังสืออนุเคราะห์ของรางวัลในการแข่งขัน Robot Challenge ระดับภาค 13. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 -2558 14. รายการประชุมคณะกรรมการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558 15. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555 16. รายการประชุมคณะกรรมการจัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555 17. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการก ากับติดตามการด าเนินงาน 18. รายงานผลการการก ากับติดตามการด าเนินงานไตรมาส 1 – 4 ปีงบประมาณ 2555 19. รายงานผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดย

ต้นสังกัด 20. สรุปความพึงพอใจ 21. เกียรติบัตร/วุฒิบัตร 22. หนังสือตอบขอบคุณ 23. รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปี 2555 24. แบบติดตามค่ายวิศวกรรมกล้องดูดาว PVC 25. แบบติดตาม lab กศน. 26. แบบติดตามโครงการอบรม ผลิตสื่อ 27. ท าเนียบภาคีเครือข่าย ปี 2555 28. หนังสือเชิญเครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม 29. สรุปผลการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนกิจกรรมปี 2555 30. รายงานสรุปผลการจัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องสมุด 31. หนังสือการขอมาศึกษาดูงาน 32. หนังสือเชิญเป็นวิทยากร 33. หนังสือขอยืมวัสดุอุปกรณ์ 34. สมุดเยี่ยมชม 35. หนังสือตอบขอบคุณ 36. โล่ รางวัล ประกาศเกียรติคุณ

สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 6 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 6 พบว่า สถานศึกษา บรรลุตามเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ 6 ที่ก าหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้

จุดเด่น 1. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง ได้น าผลรายงานการประเมินตนเอง รวมถึง ข้อเสนอแนะ

ของคณะกรรมการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ไปใช้ในในการก าหนดเป็นมาตรการ นโยบาย โครงการ/กิจกรรมต่างๆ โดยได้จัดท าเป็นแผนปฏิบัติการประจ าปี และแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2555-2558) ให้สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการด าเนินงานของ ส านักงาน กศน. และนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มีการประเมิน นิเทศก ากับติดตาม และน าผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง และสรุปผลการด าเนินงาน เผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ

Page 28: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

76

2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง มีแผนและแนวทางในการด าเนินงานที่ชัดเจน โดยได้มีการท างานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายเป็นอย่างดี ทั้งด้านขอสนับสนุนวิทยากร สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงมีส่วนร่วมในผลการด าเนินงานการติดตามผล ประเมินผล และน าผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีคุณภาพต่อไป

จุดควรพัฒนา ควรด าเนินการจัดท าบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานเครือข่ายที่ ให้การสนับสนุนอื่นๆเพ่ิมมากข้ึน ข้อเสนอแนะในการพัฒนา

1. ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมถึงมีส่วนร่วมในการประเมินผลการจัดกิจกรรม

2. ควรส่งเสริมสนับสนุน รวมถึงการประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานเครือข่ายเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเครือข่ายอ่ืนมากขึ้น

เมื่อสถานศึกษาได้ประเมินตนเองตามรายมาตรฐานแล้ว สถานศึกษาต้องตอบให้ได้ว่า ผลการด าเนินมีผลสัมฤทธิ์โดยภาพรวมตามจุดมุ่งหมาย ของกฎกระทรวงเป็นอย่างไร ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ผลการจัดการศึกษา ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ 1.1 – 1.5 , มาตรฐานที่ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1-5.2 และมาตรฐานที่ 6 ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ด้านที่ 2 การบริหารจัดการศึกษา ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1-3.5 และมาตรฐานที่ 6 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ด้านที่ 3 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 2.1-2.7 ด้านที่ 4 ด้านการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 4.1-4.2

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ด้านที่ 1 ผลการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5 4.85 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนคิดเป็น/ท าเป็น(ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์)

5 5 ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง (ผ่านตามเกณฑ์)

5 4.19 ดี

2. การสรุปผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม

2.1 สรุปผลด้านการจัดการศึกษา

Page 29: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

77

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรียนมีงานท าหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

5 4.57 ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษา 15 13.66 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา

5 4 ดี

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

5 3.90 ดี

ตัวบ่งชี้ 6.2 ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

5 4 ดี

รวมคะแนนผลการจัดการศึกษา 50 44.17 ดี สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด้านผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ดี ซึ่งบรรลุ ตามเป้าหมายความส าเร็จที่ตั้งไว้ ดังนี้ จุดเด่น

1. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ คิดเป็น/ท าเป็น ผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 5.00 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ มีการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรม มีการเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ทักษะการสังเกต , การคิดวิเคราะห์ , การตั้งสมมติฐาน ,การรวบรวมข้อมูล ,ทดลองและสรุปผล) ซึ่งผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถท าได้ส าเร็จ บรรลุแผนการจัดกิจกรรมที่ตั้งไว้

2. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 4.85 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการมีความกระตือรือร้น รู้จักซักถาม ค้นหาค าตอบตั้งใจมุ่งมั่นในการเรียน ปฏิบัติกิจกรรมตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมาย กล้าคิด กล้าท า กล้าแสดงออก มีคุณธรรม จริยธรรม และมีการจดบันทึกผลการเรียนรู้ตามที่วิทยากรบรรยายและเรื่องราวที่น่าใจเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้เรียนเอง

3. ผู้เรียนมีงานท าหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ จากการประเมินจากครูผู้สอน มีค่าคะแนนที่ได้ 4.57 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียนกล้าที่จะร่วมแสดงความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน มีความสุขเมื่อผู้รับการได้ท างานร่วมกับเพ่ือน มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อเพ่ือนร่วมกลุ่มและมีความสามัคคีร่วมกันในการเรียนรู้และการท ากิจกรรม

4. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีค่าคะแนนที่ได้ 13.66 มีคุณภาพระดับดีมาก โดยมีจุดเด่น คือ ในทุกๆโครงการและกิจกรรมที่จัดอบรมให้กับผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2555 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใช้บริการกิจกรรมการเรียนรู้ การอบรมต่างๆ ในโครงการ/กิจกรรมของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

5. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มีค่าคะแนนที่ได้ 4.19 มีคุณภาพระดับมาก โดยมีจุดเด่น คือ ผู้เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในทุกกิจกรรมการเรียนรู้ การอบรมในโครงการ/กิจกรรมต่างๆที่ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางจัดขึ้น

Page 30: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

78

6. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2555 – 2558 และมีแผนปฏิบัติการ ประจ าปี 2555 เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และสะท้อนเอกลักษณ์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง

7. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง มีการประสานความร่วมมือ สนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน / ผู้รับบริการครบถ้วน สมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง

8. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง มีแผนและแนวทางในการด าเนินงานที่ชัดเจน โดยได้มีการท างานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายเป็นอย่างดี ทั้งด้านขอสนับสนุนวิทยากร สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงมีส่วนร่วมในผลการด าเนินงานการติดตามผล ประเมินผล และน าผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีคุณภาพต่อไป จุดควรพัฒนา

1. ควรจัดท าเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลให้เหมาะสมกับผู้เรียน เพ่ือจะได้ข้อมูลที่แท้จริง และน าข้อมูลดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรมให้มีคุณภาพมากยิ่งข้ึน

2. ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชุมชนได้

3. ควรจัดท าแผนของบประมาณและบุคลากรให้เพียงพอในการด าเนินการพัฒนาการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. ควรมีการจัดท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษาของผู้เรียนและการตั้งค าถามควรเป็นลักษณะที่ผู้เรียนสามารถน าความรู้ไปใช้ได้จริงทั้งการเรียนและในชีวิตประจ าวัน

2. ควรจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของสถานศึกษาให้แล้วเสร็จรวดเร็วยิ่งขึ้น เพ่ือที่จะได้ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงาน ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ปรากฏผลต่อผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมการน าเทคโนโลยีและสื่อต่าง ๆ มาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น

2. จัดกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

Page 31: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

79

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ด้านที่ 2 ผลการบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา 2 1.60 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ 2 2 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลการบริหารความเสี่ยง 2 2 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา 2 2 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา 2 1 ดี ตัวบ่งชี้ 6.1 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาอย่างยั่งยืนเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

5 4 ดี

รวมคะแนนผลการบริหารจัดการ 15 12.60 ดี สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด้านผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ดี ซึ่งบรรลุ ตามเป้าหมายความส าเร็จที่ตั้งไว้ ดังนี้ จุดเด่น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการบริหารการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีการใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการ ในด้านยุทธศาสตร์ ตามแผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารที่มีความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน มีระบบก ากับติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และน าผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลน าไปใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจและปรับปรุง พัฒนาการบริหารสถานศึกษา

1. ผู้บริหารสถานศึกษามีการปฏิบัติหน้าที่ได้ดีในเรื่องของการพัฒนาวิชาการ โดยผู้บริหารมีการพัฒนาและด าเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนงานด้านวิชาการ กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล พัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ ในด้านงบประมาณผู้บริหารมีการจัดท าแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณและพัสดุ และมีการตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้งบประมาณ ด้านการบริหารบุคคลผู้บริหารมีการจัดท าฐานข้อมูลบุคคล ส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรในหน่วยงาน จากนั้นมีการประเมินผล ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารมีการประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การวางแผนการบริหารงานการศึกษา การด าเนินธุรการ ดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม และมีการประชาสัมพันธ์การศึกษา

2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการบริหารจัดการโดยการวางแผนน าฐานข้อมูลบริหารด้านวิชาการ งบประมาณ บุคคล และการบริหารทั่วไป โดยมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอย่างมีส่วนร่วมเพ่ือจัดการศึกษาให้เป็นปัจจุบันและสะดวกต่อการเข้าถึง และน าระบบฐานข้อมูลที่พัฒนา มาใช้ในการบริหาร

2.2 สรุปผลด้านการบริหารจัดการ

Page 32: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

80

จัดการ จากนั้นจึงมีการติดตามและประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูล และน าผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาระบบฐานข้อมูลต่อไป

3. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปางมีการจัดการเรื่องการบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษา โดยมีระบบควบคุมภายในสถานศึกษา มีการวิเคราะห์ จัดล าดับความส าคัญของความเสี่ยง ระบุความเสี่ยงและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงตามบริบทบทบาทหน้าที มีการติดตาม ประเมินผล น าผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงตามแผนและรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา โดยมีผลความส าเร็จในการบริหารความเสี่ยงระดับดีข้ึนไป จุดควรพัฒนา ควรน าข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. ควรน าข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศึกษามาพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและความต้องการของผู้ เรียน /ผู้รับบริการ ชุมชนและท้องถิ่นให้สมบูรณ์ข้ึน

2. ควรเพ่ิมกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู ชุมชน และองค์กรภายนอก ตั้งแต่การวางแผน ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามประเมินผล และร่วมรับผิดชอบอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น

3. ควรมีการสร้างเครื่องมือเพ่ือประเมินผู้เรียน/ผู้รับบริการ และพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมใหม่ ๆ เพ่ือส่งเสริมให้ ผู้เรียน / ผู้รับบริการ ให้เกิดทักษะด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้น

4. ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมถึงมีส่วนร่วมในการประเมินผลการจัดกิจกรรม

5. ควรส่งเสริมสนับสนุน รวมถึงการประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานเครือข่ายเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเครือข่ายอ่ืนมากขึ้น ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต สถานศึกษามีการนิเทศติดตาม ตรวจสอบ ทบทวน และประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสม่ าเสมอและตอเนื่อง

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ด้านที่ 3 ผลการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ 3 3 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพครูผู้สอนวิทยากร 4 3.20 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นส าคัญ

3 2.40 ดี

2.3 สรุปผลด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญจัดการศึกษา

Page 33: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

81

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพครูผู้สอน/วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง 4 3.20 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพสื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 4 2.40 พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 4 4 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3 3 ดีมาก

รวมคะแนนผลการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ 25 21.2 ดี สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด้านผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ดี ซึ่งบรรลุ ตามเป้าหมายความส าเร็จที่ตั้งไว้ ดังนี้ จุดเด่น 1.คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีการจัดและ ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีการจัดท า ท าเนียบสื่อแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ที่หลากหลาย ตลอดจนมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้สื่อ จึงท าให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงและเลือกใช้บริการได้อย่างเหมาะสมตามความต้องการ นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลและน าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปางมีหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ที่หลากหลายที่สอดคล้องเหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ

3. การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปางมีการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้เข้าถึงและเรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ประกอบด้วยการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการภายใน สื่อนิทรรศการเคลื่อนที่ รวมถึงการเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ รายการวิทยุ จดหมายข่าว การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์บทเรียนออนไลน์ (E-Learning) facebook แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ ท าให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถเลือกใช้บริการได้อย่างเหมาะสมและตรงตามความต้องการตลอดจนมีการส่งเสริมการใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ น าผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

4. คุณภาพของครู/ผู้สอน/วิทยากร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีครู/ผู้สอน/วิทยากร ที่มีใบประกอบวิชาชีพครู หรือมีวุฒิทางการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพมีครูที่มีความทุ่มเท เสียสละ มีคุณธรรม จริยธรรม มุ่งมั่นในการท างาน ได้รับการพัฒนาทั้งด้านวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรมอย่างพอเพียง ต่อเนื่องและสม่ าเสมอ มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถสร้าง องค์ความรู้น ามาแก้ไขปัญหา และปรับปรุงการพัฒนาทักษะวิชาชีพอย่างต่อเนื่องทันต่อเหตุการณ์ มีการท า Pre-test และPost-test ผู้เรียน และน าผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาทั้งตนเองและผู้เรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และน าผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ครูผู้สอนส่วนใหญ่เขียนแผนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และเขียนให้ครบถ้วนตามหัวข้อที่ก าหนด

Page 34: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

82

5. คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีผู้สอนและวิทยากรทีมี่วุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าข้ึนไป ครูสอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด สามารถด าเนินการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ครอบคลุมเนื้อหาตามที่หลักสูตรก าหนด จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตลอดจนมีการประเมินผลและน าผลการประเมินมาปรับปรุ งและพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 6. คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ ผู้รับบริการเป็นส าคัญ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง มีการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ตามรายวิชา โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีฐานการเรียนรู้และบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ต่อผู้เรียนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะผู้สอนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับวิชาที่สอน อาทิเช่น ฐานการเรียนรู้เปิดโลกวิทยาศาสตร์ ฐานประยุกต์วิทยาศาสตร์ ฐานไดโนแลนด์ ฐานดาราศาสตร์ และฐานอ่ืนๆ อีกมากมาย โดยฐานต่างๆ เหล่านี้ได้ให้ผู้รับบริการที่เข้ามาใช้บริการร่วมกันประเมินสื่อการเรียนรู้ เพ่ือจะน าผลการประเมินดังกล่าวไปใช้พัฒนาปรับปรุงในการเรียนการสอนต่อไปในครั้งต่อไป จุดควรพัฒนา คุณภาพสื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ สื่อการเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์ เพ่ือการศึกษาล าปาง มีจ านวนมาก บางชิ้นมีการช ารุด เสียหาย ขาดการซ่อมแซมบ ารุงรักษา ผู้เรียนและผู้รับบริการจึงไม่สามารถใช้สื่อประกอบการเรียนได้เท่าที่ควร ผู้สอนควรศึกษาสื่อการเรียนรู้ใหม่ๆ เพ่ือจะได้น ามาใช้ในการเรียนการสอน แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. ควรจัดท าแบบส ารวจความต้องการสื่อ/แหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาในแต่ละปี เพ่ือจะได้ทราบว่าสื่อชนิดใดตรงกับความต้องการของผู้เรียน หรือควรจัดหาสื่อที่ทันสมัยเพ่ิมเติม

2. ควรส่งเสริมและสนับสนุนบุคลากรให้เข้ารับการอบรมการใช้สื่อการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอนให้มีประสิทธิผลดียิ่งขึ้น

3. ควรจัดท าหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ในการเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของกลุ่มประเทศอาเซียน เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

1. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน บุคลากรให้ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญอย่างต่อเนื่อง เพ่ือที่บุคลากรจะได้น าความรู้ที่ได้รับมาพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น

2. สถานศึกษาควรจัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัย มีความคงทน และสามารถสัมผัสได้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี และได้รับความรู้ที่ทันสมัยมากขึ้น

3. สถานศึกษาควรจัดหา หรือขอสนับสนุนวิทยากรที่มีความรู้ความช านาญเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ให้แก่บุคลกรในหน่วยงานเพ่ือเป็นการเปิดโลกทัศน์ของบุคลากรให้มากขึ้น

Page 35: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

83

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ด้านที่ 4 ผลการประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5 4.00 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 การประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด 5 4.35 ดี

รวมคะแนนผลการการประกันคุณภาพภายใน 10 8.35 ดี สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด้านผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ดี ซึ่งบรรลุ ตามเป้าหมายความส าเร็จที่ตั้งไว้ ดังนี้ จุดเด่น

1. การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาล าปาง ได้รับการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด เมื่อปี 2554 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยผลการประเมิน 3.91 มีคุณภาพระดับ ดี โดยมีจุดเด่น คือ ให้ความส าคัญกับการจัดท าแผนการด าเนินงาน เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากร มีสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย น่าสนใจสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ภูมิทัศน์สวยงาม ส่งเสริมการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ครูและบุคลากรมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทั้งการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัย มีการประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของผู้รับบริการอย่างเป็นระบบ มีหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น หลากหลาย

2. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการน ามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาเป็นกรอบแนวทางการด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม และสอดคล้องกับแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการ และเป้าหมายการด าเนินงาน มีการจัดท ารายงานการประเมินตนเองทุกปี ตั้งแต่ปี 2551 และผลการประเมินตนเองสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จุดควรพัฒนา

1. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ควรจัดท าคู่มือการด าเนินงานประกันคุณภาพของสถานศึกษา ให้เป็นแนวทางการด าเนินงานที่ชัดเจนและเข้าใจตรงกัน การรวบรวมหลักฐาน/เอกสารต่างๆ ควรท าตั้งแต่ต้นปี ให้การประกันคุณภาพเป็นการด าเนินงานประจ า

2. การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ควรน าผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้มาพัฒนาและปรับปรุงการด าเนินงานอย่างจริงจัง แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. ควรมีการจัดท าคู่มือการด าเนินงาน โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณาให้สอดคล้องกับพันธกิจของสถานศึกษา จัดท าเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

2. ก าหนดแนวทางการจัดเก็บเอกสาร/หลักฐาน ที่สอดคล้องกับเกณฑ์พิจารณา และควรท าตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ

2.4 สรุปผลด้านการประกันคุณภาพภายใน

Page 36: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

84

3. ควรมีการทบทวนผลการประเมิน น าผลการประเมินมาพัฒนางาน พัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพโครงการ/กิจกรรม อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

1. ควรพัฒนาความรู้ความเข้าใจของบุคลากรในการด าเนินงานตามระบบบริการงานคุณภาพ (PDCA) เพ่ือพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2. ควรส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรท าความเข้าใจเกี่ยวกับระบบประกัน และมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ให้ชัดเจน และให้บุคลากรตระหนักและเห็นความส าคัญของการท างานอย่างเป็นระบบ

สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดังนี้

มาตรฐาน น ้าหนัก (คะแนน)

ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ

ด้านที่ 1 ผลการจัดการศึกษา 50 44.17 ดี ด้านที่ 2 ผลการบริหารจัดการศึกษา 15 12.6 ดี ด้านที่ 3 ผลการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 25 21.2 ดี ด้านที่ 4 ผลการประกันคุณภาพภายใน 10 8.35 ดี

รวมคะแนนผลการประกันคุณภาพภายใน 100 86.32 ดี

2.5 สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาทั ง 4 ด้านการจัดการศึกษา

Page 37: 50 - lpsci.nfe.go.thlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/560_part 3.pdf · การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

85

การเขียนบทสรุปผู้บริหาร จากการประเมินตนเองสามารถสรุปเป็นข้อมูลในการก าหนดนโยบายส าหรับพัฒนาสถานศึกษา ดังนี้

1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ปรากฏผลต่อผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมการน าเทคโนโลยีและสื่อต่าง ๆ มาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น

2. พัฒนาครูและบุคลากรในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

3. จัดท าระบบนิเทศก ากับติดตาม ตรวจสอบ ทบทวน และประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง

4. ส่งเสริม สนับสนุน บุคลากรให้ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่บุคลากรจะได้น าความรู้ที่ได้รับมาพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ มีคุณภาพมากขึ้น

5. จัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัย มีความคงทน และสามารถสัมผัสได้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี และได้รับความรู้ที่ทันสมัย

6. ประสานภาคีเครือข่าย ที่มีความรู้ความช านาญเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ให้แก่บุคลากรในหน่วยงานเพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ และเปิดโลกทัศน์ของบุคลากร

7. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงานตามระบบบริการงานคุณภาพ (PDCA) เพ่ือพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

8. ส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบประกัน และมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ให้ชัดเจน และเห็นความส าคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา