5022801827 ps 796 (independent study) 2551 .) · pdf fileวิชา ps 796 ......

96
บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เสนอ ผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง โดย สมชาย อุทัยประดิษฐ รหัสประจําตัว 5022801827 วิชา PS 796 การคนควาอิสระ (Independent study) ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2551 สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแกน รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รศ..)

Upload: truongmien

Post on 04-Feb-2018

216 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)

: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

เสนอ ผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง

โดย

สมชาย อุทัยประดิษฐ รหัสประจําตัว 5022801827

วิชา PS 796 การคนควาอิสระ (Independent study) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551

สาขาวิทยบรกิารเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแกน รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รศ.ม.)

บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)

: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

สมชาย อุทัยประดิษฐ รหัสประจําตัว 5022801827

อาจารยผูควบคุมรายงาน

........................................................

(ผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง)

การประเมินผลไดเกรด ผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รศ.ม.)

3

คํานํา

รายงานการวิจัยเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เปนสวนหนึ่งของการศึกษากระบวนวิชา PS 796 การคนควาอิสระ (Independent study) โดยมีวัตถุประสงคที่จะศึกษานโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติ ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ และศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน แนวทางในการแกไข เพื่อลดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนทีอ่าจเกิดขึ้นในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานการวิจัยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูที่ไดศึกษา ในโอกาสตอไป ขอขอบคุณทานผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง ที่ไดใหคําแนะนํา ผูบริหารและผูนําชุมชน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ทุกทานที่ไดใหขอมูล จนทําใหรายงานการวิจัยฉบับนี้สําเร็จสมบูรณ สมชาย อุทัยประดิษฐ

4

(ข) สารบัญ

หนา สารบัญตาราง ..................................................................................................... (ง) สารบัญภาพประกอบการศึกษา............................................................................ (จ) บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................. 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา................................................................. 12 1.3 ขอบเขตของการศึกษา........................................................................ 12 1.4 คําถามในการศึกษา............................................................................. 13 1.5 ระเบียบวิธีวิจัย.................................................................................... 13 1.6 นยิามศัพท........................................................................................... 14 1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ................................................................. 16 บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ

2.1 แนวความคิดเกี่ยวกับนโยบายเชิงกลยุทธและการนํานโยบาย ไปปฏิบตัิ............................................................................................ 17

2.2 แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย.............................. 20 2.3 แนวความคิดเกี่ยวกับการสื่อสาร....................................................... 22 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ............................................................................ 27 บทที่ 3 วิธกีารศึกษาและรวบรวมขอมูล 3.1 วิธีการศึกษา....................................................................................... 30 3.2 ข้ันตอนในการสรางเครื่องมือ........................................................... 31 3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย................................................................... 31 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล...................................................................... 33 3.5 การวิเคราะหขอมูล............................................................................ 33

5

(ค) หนา

บทที่ 4 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของ 4.1 พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546........................................... 34 4.2 พระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522........................... 37 4.3 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหนวยอาสาสมัครปองกันภัย ฝายพลเรือน พ.ศ.2547 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549......... 38 บทที่ 5 ผลของการศึกษาวิเคราะห 5.1 นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่.......................... 48 5.2 การนํานโยบายไปปฏิบัติ.................................................................. 52 บทที่ 6 สรปุผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 6.1 สรุปผลการศึกษา............................................................................. 58 6.2 อภิปรายผล...................................................................................... 62 6.3 ขอเสนอแนะ.................................................................................... 65 ภาคผนวก............................................................................................................ 68 แบบสัมภาษณ..................................................................................................... 69 ประมวลสัญญาณรหัสสากลและคําพูดที่ใชเรียกขานในการติดตอสื่อสาร ระหวางการใชเครื่อง รบั- สงวิทยุ ติดตอกันเปนประจําตามระเบียบ.................. 73 ภาพประกอบการศึกษา........................................................................................ 78 บรรณานุกรม........................................................................................................ 84 ประวัติผูเขียน...................................................................................................... 86 คําปฏิญาณตน...................................................................................................... 87

6

(ง) สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1 แสดงจํานวนสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ที่เพิ่มขึ้น.............................................................................................................. 2 ตารางที่ 2 แสดงถึงการมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกอาสาสมัคร ปองกันภัยฝายพลเรือน (พ.ศ.2547-2549)........................................................... 4

7

(จ)

สารบัญภาพประกอบการศึกษา หนา

ภาพที่ 1 แสดงผังโครงสรางศูนย อปพร. ........................................................... 38 ภาพที่ 2 เครื่องหมายอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)...................... 47 ภาพอาคารที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ สรางป พ.ศ.2551 ปจจุบันใชเปนศูนย อปพร.อบต.โนนธาตุ............................................................ 79 ภาพการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิก อปพร.ประจําจุดบริการประชาชนในชวง เทศกาลปใหม 2551 ............................................................................................ 79 ภาพการปฏิบัติหนาที่ของสมาชกิ อปพร.ประจําจุดบริการประชาชนในชวง เทศกาลปใหม 2551 ............................................................................................ 80 ภาพการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิก อปพร.ประจําจุดบริการประชาชนในชวง เทศกาลปใหม 2552 ............................................................................................ 80 ภาพการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิก อปพร.ในการชวยงานฌาปนกิจศพ................. 81 ภาพการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร. ตามนโยบาย ของกระทรวงมหาดไทย................................................................ 81 ภาพการทดสอบสมรรถภาพรางกาย.................................................................... 82 ภาพการฝกทบทวนสมาชิก อปพร.เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏบิัติหนาที่................. 82 ภาพการฝกทบทวนสมาชิก อปพร.เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏบิัติหนาที่................. 83 ภาพการฝกอบรมการดับเพลิงเบื้องตน................................................................. 83

8

บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)

: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

เสนอ ผูชวยศาสตราจารยศรุดา สมพอง

โดย

สมชาย อุทัยประดิษฐ รหัสประจําตัว 5022801827

วิชา PS 796 การคนควาอิสระ (Independent study) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551

สาขาวิทยบรกิารเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแกน รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.)

9

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เปนรปูแบบการปกครองสวนทองถิ่น ที่ยกฐานะจากสภาตําบล โดยใชเกณฑรายไดไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณที่ลวงมาติดตอกันสามปเฉลี่ยไมต่ํากวาปละหนึ่งแสนหาหมื่นบาทตาม พระราชบัญญัต ิ สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปนศูนยกลาง ในการพฒันาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง มกีารพัฒนา โครงสรางพื้นฐานอยางตอเนื่อง เพื่อใหประชาชนในพื้นที่ไดรับบริการที่สะดวกสบาย แตในขณะเดียวกันสิ่งที่เกิดตามมากับการพัฒนาคือ การเกิดสาธารณภัย ข้ึนในพื้นที่ ปจจุบัน สาธารณภัยหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้น มีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงมากข้ึน สรางความเสียหายตอระบบเศรษฐกิจ สรางความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนเปนจํานวนมากกวาในอดีต ทั้งนี้เนื่องมาจากการใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่ขาดความสมดุล ทําใหเกิดความแปรปรวนของภูมิอากาศ ภาวะโลกรอน และจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 มาตรา 67 (4) กําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจหนาที่ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งการบริหารจัดการสาธารณภัยหรือภัยพิบัติในปจจุบัน จําเปนตองดําเนินการในเชิงรุกและตองมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการบูรณาการความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคม ไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนประชาชนทุกคน มาตรการที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การสรางพลังประชาชนใหมีความเขมแข็ง และมีขีดความสามารถในการจัดการภัยพิบัติตาง ๆ ซึ่งถือเปนหลักการสําคัญของกระบวนการจัดการภัยพิบัติ โดยอาศัยชุมชนเปนฐาน มาตรการดังกลาวคือการพัฒนา

2

ทักษะในการปฏิบัติหนาที่ใหแกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน หรือที่เรียกวา อปพร. คําวา “ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน” หมายถงึ ผูที่ตั้งใจทํางานเพื่อประโยชนของประชาชนและสังคม โดยไมหวังผลตอบแทนเปนเงินหรือสิ่งอื่นใด บุคคลที่อาสาเขามาชวยเหลือสังคมดวยความสมัครใจ เสียสละ เพื่อชวยเหลือผูอ่ืนในการปองกัน แกไขปญหาและพัฒนาสังคม ในดานการปองกันและบรรเทาอันตราย หรือความเสียหายอันเนื่องมาจากสาธารณภัยไมวาการดําเนินการนั้น จะไดกระทํากอนเกิดภัย ขณะเกิดภัยหรือภายหลังที่ภัยไดผานพนไปแลว และใหรวมถึงการอพยพประชาชนและสวนราชการเพื่อการนั้น อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน กําเนดิขึ้น โดยพระราชบัญญัตปิองกันภัยฝายพลเรือน พุทธศักราช 2522 ที่กําหนดใหจัดตั้งหนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนเพื่อชวยเหลือ สนบัสนุนหนวยราชการในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยทั่วราชอาณาจักรตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2547 ซึ่งที่ผานมามีการเพิ่มขึ้นของจํานวนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ มีจํานวน 140 คน ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงจํานวนสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนที่เพิ่มขึ้น

ป รายการ จํานวน หมายเหตุ 2547 สมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 40 เสียชีวิต 1 นาย 2548 สมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 50 2551 สมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 50

- รวม 140 -

ท่ีมา. จาก ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

3

จากขอมูลจํานวนสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนที่เพิ่มขึ้น ในแตละป เนื่องจากนโยบายการเพิ่มจํานวนและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนของกระทรวงมหาดไทย ไมนอยกวารอยละ 2 ของจํานวนประชากร ประกอบกับ ประชาชนไดใหความสนใจและรวมมือในการสมัครเขาเปนสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนที่เพิ่มขึ้นนี้ แสดงใหเห็นวาในอนาคตอันใกล จํานวนสมาชิกในโครงการจะตองมีแนวโนมเพิ่มขึ้นมากอยางแนนอน ขอเท็จจริงสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ทุกวันนี้ นอกจากจะปฏิบัติหนาที่ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแลว ยังปฏิบัตหินาที่เกี่ยวกับดานการบริการประชาชนอีกดวย เชน การปฏิบตัิหนาที่ในงานฌาปนกิจศพ การปฏิบตัิหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยในงานประเพณีตางๆ เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณีบุญบั้งไฟ งานประจําปของอําเภอที่ไดรับการรองขอ งานบริการประชาชนประจําจุดตรวจในชวงเทศกาลปใหม เทศกาลสงกรานต เปนตน แตยังขาดทักษะในการปฏิบติัหนาที่ และขาดการมสีวนรวม การดําเนินโครงการ ไมประสบความสําเร็จและมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะที่ใหเกิดความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนได เชน การเตรียมการปองกันภัยฝายพลเรือน รวมถึงการเตรียมคน วัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชการซอมแผน การฝกอบรมดานการกูภัยและชวยเหลือผูประสบภัย การรวมสาธิตดาน การปองกันและระงับอัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย การซักซอมแผนการปองกันอุบัติภัยตาง ๆ การติดตอสื่อสาร การสงเคราะหผูประสบภัย การฝกอบรม การปฏบิัติเมื่อเกิดภัย รวมถึงการดําเนินการหลังเกิดภัย เนื่องจากตองประสบกับปญหา และอุปสรรคในการดําเนินงานอยูหลายประการ ขาดบุคลากรที่รับผิดชอบในการดําเนินการ วัสดุอุปกรณไมเพียงพอ เปนตน

4

ตารางที่ 2 แสดงถึงการมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (พ.ศ.2547-2549)

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมาย เหตุ

4 ต.ค.47

8 ต.ค.47

10 ต.ค.47

23 ต.ค.47

1 พ.ย.47

-การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายเคน นันทะโย ณ เมรุวัดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -นําสมาชิก อปพร. เขารับการฝกอบรมการปองกันและระงับอัคคีภัย รวมกับเทศบาลตําบลหนองสองหอง ณ หอประชุมอําเภอหนองสองหอง -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพ นางบาง พรมไชยา ณ เมรุวัดหัวหิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -รวมพิธีวางพวงมาลา เนื่องในวันปยมหาราช ณ สนามหนาที่วาการอําเภอหนองสองหอง -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางหนุน ศรีอานเจน ณ เมรุ วัดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

22 นาย

19 นาย 25 นาย

16 นาย 17 นาย

5

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมาย เหตุ

9 พ.ย.47

10 พ.ย.47

5 ธ.ค.47

13 ม.ค.48

24 ก.พ.48

24 ก.พ.48

-การปฏิบัติหนาที่ประจําจุดตรวจยาเสพติด ที่สถานีตํารวจทาพระ ตั้งแตเวลา 20.00-04.00 น. -ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานมหากฐินของหมู 7,8,9,11 ณ บริเวณหนาวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ -ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานอุทิศสวนกุศลใหกับ นางเสงี่ยม ปฏิมณี หมูที่ 10 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางแสง พิมพาต ณ เมรุวัดหัวหิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายอวม แสงภักดี ณ เมรุวัดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -ทําหนาที่ขนหีบบัตรเลือกตั้งจากหอประชุม อําเภอหนองสองหอง ไปที่จังหวัดขอนแกน โดยมีเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการ การเลือกตั้ง เขต 10 สนับสนุน

7 นาย

15 นาย

16 นาย

21 นาย

7 นาย

10 นาย

6

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

25 ก.พ.48 10 มี.ค.48 14 มี.ค.48

20 มี.ค.48

21 ม.ค.48

-เขาประชุมเพื่อรับทราบนโยบาย จาก นายประทีป ศิลปเทศ นายอําเภอหนองสองหอง เวลา 09.30-11.00 น. ณ ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เกีย่วกับการแกไขปญหาภัยแลง ปญหาอัคคีภัย และแนวทางการปองกัน และ การลดอุบตัิเหตุในชวงเทศกาลสงกรานต -ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานทําบุญและอุปสมบทของ นายประภาส แกววงษา ณ บานชาด หมูที่ 10 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางสอ อุทัยประดิษฐ ณ เมรุวัดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางพรม แซโคว ณ เมรวัุดรัตนมงคล บานสําราญนอย หมูที่ 2 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายซวน ไกรแสง ณ เมรุวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

22 นาย

13 นาย

15 นาย

7 นาย

16 นาย

7

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

8-17 เม.ย.48 10 เม.ย.48 27 เม.ย.48 28 เม.ย.48 26 ส.ค.48 5 ต.ค.48

-ปฏิบัติหนาที่ประจําจุดตรวจเพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนในชวงเทศกาลสงกรานต ณ บริเวณสามแยกทางเขาบานโนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานตอนรับผาปาสามัคคีจากกรุงเทพ ณ บานสําราญนอย หมูที่ 2 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายทรวง แซโคว ณ เมรุวัดรัตนมงคล บานสําราญนอย หมูที่ 2 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -รวมงาน 55 ป มหามงคลภิเษกสมรส ณ สนามหนาที่วาการอําเภอหนองสองหอง อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน - การปฏิบัตหินาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ หลวงพอสมพิศ คุณสมปนโณ ณ เมรุวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน - การปฏิบัตหินาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายเลี้ยง เลิศภักดี ณ เมรุวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต. โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

วันละ 7 นาย

16 นาย

11 นาย

7 นาย

33 นาย

28 นาย

8

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

23 ต.ค.48 6 พ.ย.48 12 พ.ย.48 3 ธ.ค.48 5 ธ.ค.48 12 ธ.ค.48 14 ธ.ค.48

- รวมพิธีวางพวงมาลา เนื่องในวันปยมหาราช ณ สนามหนาที่วาการอําเภอ หนองสองหอง จ.ขอนแกน - ปฏิบัติหนาที่ในงานประเพณีหอปราสาทเงินบานชาด หมูที่ 10 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานประเพณีบุญดอกเงิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางจันสี พลสงคราม ณ เมรุวัดหัวหิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่โดยรวมแสดงความจงรักภักดีในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ หอประชุมอําเภอหนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่อํานวยความสะดวกใหกับกลุมผูชุมชุม ณ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อ.พล จ.ขอนแกน -เขารับการฝกอบรมเพื่อทบทวนความรู ณ โรงเรียนชุมชนอําเภอหนองสองหอง อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

77 นาย

16 นาย

9 นาย

19 นาย

80 นาย

22 นาย

47 นาย

9

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

15 ธ.ค.48 17 ธ.ค.48 22 ธ.ค.48 24 ธ.ค.48

15 ก.พ.49 19 ก.พ.49

-การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางจั่น มาปะเต ณ เมรุวัดรัตนมงคล บานสําราญนอย หมูที่ 2 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -ปฏิบัติหนาที่ในการรักษาความสงบงานคอนเสิรตการกุศล อําเภอหนองสองหอง -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางหลุน พรมไชยา ณ เมรุวัดหัวหิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ตามโครงการปองกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชวงเทศกาลปใหม และตอนรับ นายเสริมศักดิ์ พงษพานิช รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย (อบต.หนองเม็ก) -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายเสาร เพ็ชรนอก ณ เมรุวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ในงานทําบุญอุทิศสวนกุศลใหนายเสาร เพ็ชรนอก ณ บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

17 นาย

58 นาย

35 นาย

55 นาย

24 นาย

15 นาย

10

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

10 มี.ค.49 11 มี.ค.49 24 มี.ค.49 2 เม.ย.49 20 พ.ค.49

25 พ.ค.49

-การปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานอุปสมบท บานสวาง หมูที่ 3 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน การปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานอุปสมบท หมูที่ 7,8,9,11 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏบิัติหนาที่ในงานทําบุญอุทิศสวนกุศลให นายประสาน ศรีมหาพรหม บานโนนแต หมูที่ 5 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ในงานทําบุญอุทิศสวนกุศลใหนายอินทร กระโจมทอง บานโนนสวรรค หมูที ่11 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายใจ พลสาํโรง ณ เมรวัุดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายปอย สํานักดี ณ เมรุวัดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

10 นาย

15 นาย

30 นาย

27 นาย

35 นาย

18 นาย

11

วัน/เดือน/ป

การเขารวมกิจกรรม/การปฏิบัติหนาที่ จํานวนสมาชิก อปพร.

หมายเหตุ

6 ก.ย.49 17 ก.ย.49 1 พ.ย.49 16 ธ.ค.49

-การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นายดิษฐ ภิรมกิจ ณ เมรวัุดอัมพวัน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางผอง นันทะโย ณ เมรวัุดสําราญจิต บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ในงานทําบุญกฐินของการไฟฟาสวนภูมิภาค ณ บานสําราญ หมูที่ 4 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน -การปฏิบัติหนาที่ชวยงานฌาปนกิจศพของ นางสาวทองใบ เขียววิเศษ ณ เมรุวัดหัวหิน บานโคกสูง หมูที่ 6 ต.โนนธาตุ อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

20 นาย

15 นาย

24 นาย

29 นาย

ท่ีมา. จาก ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษามีความสนใจที่จะศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ตลอดทั้งปญหา อุปสรรคตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวย

12

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.2.1 เพื่อศึกษานโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติ ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ 1.2.2 เพื่อศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน และแนวทางในการแกไขของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

ในการศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ โดยใชการวิจัยเอกสารที่เกี่ยวของ และใชการสัมภาษณแบบเชิงลึกผูใหขอมูลหลัก ซึ่งผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตของการศึกษาไวดังนี้ 1.3.1 ขอบเขตดานพื้นที่และผูใหขอมูลในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษากลุมเจาะจงที่เกี่ยวกับบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ขององคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ จํานวน 14 คน ประกอบดวย 1.3.1.1 ผูบริหารและผูนําชุมชน รวม 4 คน 1.3.1.2 ผูเกี่ยวของ รวม 10 คน 1.3.2 ขอบเขตของเนื้อหาในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดแบงหัวขอการศึกษาออกเปนประเด็นตาง ๆ เพื่อใหงายและเกิดความครอบคลุมในทุกบริบทของการศึกษา ดังนี้

13

1.3.2.1 นโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบลและการนํานโยบายไปปฏิบัติ ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 1.3.2.2 ปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 1.3.2.3 การแกไขปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 1.3.2.4 ขอเสนอแนะ แนวทางเพื่อการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 1.3.3 ขอบเขตดานเวลา ชวงเวลาที่ทําการศึกษาอยูในชวง เดอืน มกราคม – กุมภาพันธ 2552

1.4 คําถามในการศึกษา

1.4.1 องคการบริหารสวนตําบลมีนโยบายเชิงกลยุทธในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร 1.4.2 อะไรคือเหตุผลและเงื่อนไขที่ทําใหสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ 1.4.3 องคการบริหารสวนตําบลมีแนวทางในการแกไขปญหาและอุปสรรคตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร

1.5 ระเบียบวิธีวิจัย 1.5.1 ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยจะใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดย 1.5.1.1 การสัมภาษณเชิงลึก 1.5.1.2 การสังเกตการณ

14

1.5.2 กลุมผูใหขอมูลหลัก/ผูเกี่ยวของ 1.5.2.1 ผูใหขอมูลหลัก (key informants) จํานวน 4 คน 1.5.2.2 ผูเกี่ยวของ จํานวน 10 คน 1.5.3 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 1.5.3.1 แบบสัมภาษณเชิงลึก (indepth interview) 1.5.3.2 แบบสังเกตการณ (observation form) 1.5.4 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) กรณีศึกษา องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ผูวิจัยจะใชการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนาตามกรอบแนวคิด ทฤษฎีทีเ่กี่ยวของ เปนการนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง มาจัดหมวดหมู แลวทาํการวิเคราะหกับทฤษฎี และนําเสนอผลงานการวิจัยในเชิงพรรณนา

1.6 นิยามศัพท องคการบริหารสวนตําบล หมายถึง รูปแบบการปกครองสวนทองถิ่นที่ยกฐานะจากสภาตําบล โดยใชเกณฑรายไดไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณที่ลวง มาติดตอกันสามปเฉลี่ยไมต่ํากวาปละหนึ่งแสนหาหมื่นบาทตาม พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537

บทบาท หมายถึง การปฏิบตัิตามอํานาจหนาที่ ซึ่งองคการบริหารสวนตําบล มีหนาที่ตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบลในการ ปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติ สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 (4) การพัฒนาทักษะ หมายถึง การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และเพิ่มแนวความคิดในการปฏิบัติงาน ที่ตองใชทั้งสติปญญาและฝมือ ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

15

นโยบายเชิงกลยุทธ หมายถึง วิธีการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบล โนนธาตุ ที่คาดวาจะนําไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคของ ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

การปองกันภัยฝายพลเรือน หมายถึง การดําเนินการโดยเจาหนาที่ปองกันภัยฝายพลเรือนในการปองกันและบรรเทาอันตราย หรือความเสียหายอันเนื่องจากสาธารณภัยไมวาการดําเนินการนั้นจะไดกระทํากอนเกิดภัย ขณะเกิดภัยหรือภายหลังที่ภัยไดผานพนไปแลว และหมายความรวมถึงการอพยพประชาชนและสวนราชการเพื่อการนั้น

สาธารณภัย หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมมีาเปนสาธารณะ ไมวาเกิดจากธรรมชาติหรือมีผูทําใหเกิดขึ้น ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิตและรางกายของประชาชน หรือความเสียหายแกทรัพยสินของประชาชนหรือรัฐ

หนวยอาสาสมัคร หมายถึง หนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน มาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522 ไดบัญญัติวา ใหจัดตั้งหนวยอาสาสมัครขึ้นทุกเขตในกรุงเทพมหานครและทุกอําเภอทั่วราชอาณาจักร เพื่อชวยเหลือในการปองกันภัยฝายพลเรือน

“ อปพร.” หมายถึง อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน

“ ศูนย อปพร.” หมายถึง ศนูย อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

การสั่งใช หมายถึง การสั่งใหสมาชิก อปพร. ไปปฏบิัติหนาที่ตามคําสั่งของ ผูอํานวยการศูนย อปพร. ในเขตหรือนอกเขตรับผิดชอบ เมื่อมีการรองขอ

16

1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.7.1 ไดทราบถึงนโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ 1.7.2 ไดทราบเหตุผลและเงื่อนไขที่ทําใหสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบล โนนธาตุ ขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ 1.7.3 ไดบทเรียนจาการศึกษา ขอเสนอแนะ แนวทาง เพื่อการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

17

บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาเรื่องบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ครั้งนี้ เปนการศึกษาเกี่ยวกับ กลยุทธ สภาพปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน กรณีศึกษา การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ผูศึกษาไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนกรอบแนวทางในการศึกษา โดยนําเสนอ ดังนี้ 1. แนวความคิดเกี่ยวกับนโยบายเชิงกลยุทธและการนํานโยบายไปปฏิบัติ 2. แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย 3. แนวความคิดเกี่ยวกับการสื่อสาร 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 แนวความคิดเกี่ยวกับนโยบายเชิงกลยุทธและการนํานโยบายไปปฏิบัติ

ธีระพงษ แกวหาวงษ (2543 : 261) ไดกลาววา “กลยุทธ” (strategy) เปรียบเทียบไดกับ “ยุทธศาสตร” เพราะเปนทิศทางหลักหรือแนวปฏิบัติอยางกวาง ๆ ของการพัฒนา เปนวิธีการ หรือการปฏบิัติที่จะกอใหเกิดผลดีและทําใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคอันใดอันหนึ่งหรือหลาย ๆ วัตถุประสงคพรอมกัน โดยใหมีความเสี่ยงนอยที่สุด กลยุทธกับกลวิธีหรอื Tactic นั้น ก็มีนัยความหมายคลายคลึงกันเพียงแตกลวิธีมักจะเกี่ยวของหรือใชกับการดําเนินการในระยะสั้น แกไขปญหาที่มีขนาดเล็กกวาและเกิดขึ้นเฉพาะหนา เชน คําวา กลวิธีใชกับโครงการหรือการพัฒนาในดานตางๆ เปนตน สวนกลยทุธ

18

จะมีความสัมพันธกับวัตถุประสงคระยะยาว เกี่ยวของกับการดําเนินการในระดับมหภาค หรือการดําเนินการโดยภาพรวมขององคกรหรือการพัฒนา สมยศ นาวีการ (2540 : 809-812) ไดกลาวถึง องคประกอบกลยุทธของบริษัท วาจะประกอบไปดวยสี่อยางคือ ขอบเขต ความสามารถดีเดน การกระจายทรัพยากร และการเสริมแรง ดวยการพิจารณาสถานการณที่พิเศษของพวกเขาเอง การประเมินทางเลือกของการกระทําและการตัดสินใจเกี่ยวกับองคประกอบเหลานี้ผูบริหารสามารถพัฒนากลยุทธที่เหมาะสมกับสถานการณของบริษัทของพวกเขาขึ้นมาได การรวมองคประกอบสี่อยางเหลานี้เขาดวยกันจะสรางกลยุทธที่กลมกลืนขึ้นมา การบริหารเชิงกลยุทธ เปนการบริหารที่สืบเนื่องมาจากปญหาการบริหารในภาวะวิกฤตปจจุบัน เปนที่ยอมรับกันแลววา การบริหารองคการในทุกวันนี ้ ผูบริหารตางก็ตองประสบกับปญหายุงยากตางๆ มากกวาแตกอนวิกฤตการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดลอม ไดสงผลกระทบทําใหประสิทธิภาพการบริหารงานขององคการตองตกต่ําลงไปจากเดิมเปนอันมาก ปญหาของผูบริหารทั้งหลายที่กําลังเผชิญอยู ก็คือ ปญหาประสิทธิภาพทางการบริหาร โดยเฉพาะในดานที่เกี่ยวกับ ผลผลิต (Productivity) ที่ตกต่ํากวาเดิม กลยุทธการบริหารที่ทรงประสิทธิภาพ จะตองสมบูรณตามความหมายของการบริหารทั้งสองอยาง คือ การมีประสิทธิผล (effectiveness) ที่สามารถกําหนดเปาหมายที่ดี และสามารถบรรลุผลสาํเร็จในเปาหมายนั้น ๆ ได และ การมีประสิทธิภาพ (efficiency) ที่สามารถทําสําเร็จในเปาหมายเหลานั้น โดยมีตนทุนคาใชจายที่ต่ําที่สุดดวย กลยุทธการบริหารที่ทรงประสิทธิภาพนั้นจะตองสรางประสิทธิผล และประสิทธิภาพใหเกิดขึ้นไดทุกแงมุม คือ ทั้งในแงของรายบุคคล กลุม (ทีมงาน) และตลอดทั้งองคการดวย ทัศนีย ตั้งบุญเกษม เขียนจากหนังสือเรื่อง “การบริหาร : Management” แตงโดย ผูชวยศาสตราจารยวิทยา ดานธํารงกูล ไดกลาวถึง กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ ที่ประกอบดวยงานสําคัญ 5 ประการ คือ ข้ันที ่1 กําหนดวิสัยทัศน (vision) และพันธกิจ (mission) ขององคการ วิสัยทัศน หมายถึง ขอความที่บงบอกถึงทิศทางที่องคกรมุงไปสูในอนาคต ผูนําองคการจะตองกําหนด วาอนาคตขององคการที่พึงปรารถนา มีความเปนไปไดนั้นจะมีลักษณะ

19

อยางไร ภาพนี้อาจจะชัดเจนหรือไมก็ตามแตจะเปนภาพที่ชี้ถึงอนาคตที่ตองการจะเดินไปใหถึง เปนสภาพอนาคตที่ดีกวาที่เปนอยูในปจจุบัน พันธกิจ เปนสิ่งสะทอน ถึงคุณคา ความตั้งใจและความมุงมั่นขององคการที่จะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งกําหนดเปาหมายขององคการและแผนตางๆ โดยคํานึงถึงนโยบายของรัฐ ประโยชนของสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ข้ันที ่2 กําหนดเปาหมายเชิงกลยุทธ ตองเปลี่ยนวิสัยทัศนและพันธกิจที่กําหนดไวในขั้นที่หนึ่งใหเปนเปาหมายเชิงกลยุทธ เปาหมายนี้เปนการระบุวาองคการตองการอะไรในอนาคต ตองเปนเปาโดยรวมขององคการไมใชแผนกหรือสวนงาน ข้ันที่ 3 กําหนดกลยุทธเพื่อบรรลุเปาหมายเชิงกลยุทธ กลยุทธคือการปฏิบัติที่จะนําใหองคการไปสูจุดที่ตองการจากจุดที่เปนอยู ณ ปจจุบันภายใต โอกาส อุปสรรค จุดออนและจุดแข็งขององคการ ข้ันที่ 4 นํากลยทุธไปปฏิบัติ เปนขั้นที่นําเอากลยุทธที่กําหนดไวแลวมาเปลี่ยนเปนแผนปฏิบัติการ ในขั้นนี้จําเปนจะตองรวมเอาหนาที่ตางๆ ทางการบริหารเขามาไมวาจะเปนการวางแผน การจัดองคการ การนําและบังคับบัญชา และการควบคุม ข้ันที่ 5 ประเมินผล ข้ันนี้อาจจะเรียกวาเปนการควบคุมเชิงกลยุทธ ซึ่งหมายถึงกระบวนการในการประเมินความกาวหนาของการดําเนินงานตามกลยุทธและการปรับปรุงแกไขในกรณีที่มีความเบี่ยงเบนไปจากแผนที่วางไว ทั้งนี้เพื่อสรางความแนใจวาการใชทรพัยากร ตลอดจนการปฏิบัติงานของทั้งองคการจะไปในทิศทางที่กําหนดไว ซึ่งการควบคุมและประเมินผลนี้จะตองเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยเหตุที่โอกาสและอุปสรรคที่เกิดจากสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา กลาวไดวาการบริหารเชิงกลยุทธมีผลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัตหินาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ผูซึ่งนํานโยบายไปปฏิบัติ นอกจากนี้ผูบริหารที่จะตองใหความสําคัญกับ การวางแผน (planning) การจัดองคการ (organizing) การจัดคนเขาทํางาน (staffing) การสั่งการ (directing) และ การควบคุม (control) อีกดวย

20

2.2 แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนกระบวนการที่สําคัญอยางยิ่งในการพัฒนา

ประเทศแบบยั่งยืน ตราบใดที่การพัฒนาประเทศมุงพัฒนาดานวัตถุ ในขณะที่คุณภาพและจิตสํานึกดานคุณธรรมกาวตามไมทัน ปญหาตางๆ ก็จะตามมาอยางไมหยุดยั้ง เพราะเกิดความไมสมดุลระหวางมนุษยกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนษุยจึงมีความสําคัญที่จะนําไปสูการพัฒนาในดานอื่นดวย สมิหรา จิตตลดากร รศ.ดร. (2550 : 165) ไดกลาวถึงวัตถุประสงคทั่วไปในการพัฒนาบุคลากรวา มคีวามมุงหมายเพื่อการเพิ่มพูนความรูและปรับปรงุตนในดานตางๆดังตอไปนี้ 1. การปรับปรุงตนใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงดานตางๆ เชน ดานเทคนิคดานสังคม หรือดานสภาวะแวดลอม 2. ความสามารถในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหมีความรอบรู เชี่ยวชาญเฉพาะดานเฉพาะเรื่องที่ทํางานรับผิดชอบ หรือดานใดดานหนึ่งเฉพาะดานเดียว 3. ปรับปรุง เพิม่พูนความรูความเขาใจ ความคิดในเรื่องตางๆ จากวงแคบจนกวางขวาง สามารถวิเคราะห กลั่นกรอง สัมพนัธปจจัยตางๆ ใหสอดคลองกันในสภาวะที่แปรเปลี่ยนตลอดเวลา 4. สงเสริมใหบุคลากรเกิดแรงจูงใจดวยตนเอง โดยมิตองใหใครบอก ชี้แนะหรือนําทางอยูตลอดเวลา 5. สงเสริมใหบุคลากรใชความคิดอานอยางรอบคอบของตน ทํางานดวยฝมือและความเต็มใจในการทํางาน โดยไมตองรอแตคําสั่งใหทํางาน 6. ใหมีจิตใจกวางขวาง ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น สามารถทํางานดวยตนเองและพึ่งพาอาศัยผูอ่ืน พรอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะพัฒนาตนเองและงานใหดีข้ึน เจริญงอกงามขึ้น อรัสธรรม พรหมมะ ดร. (2550 : 149-166) ไดกลาวถึง นโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษยจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-ฉบับที่ 8 วา แนวคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยจะปรากฏอยูในนโยบายทางสังคม โดยเฉพาะ

21

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ที่เนนการใชคนเปนศูนยกลาง จึงถือไดวาเปนแผนที่มีนโยบายในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยทั้งแผน บวร ประพฤติดี ดร. (2550 : 96-100) ไดกลาวถึงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในองคกรโดยกําหนดกวางๆ ดงันี้ 1. วัฒนธรรมของคนดี หมายถึง การบรหิารทรัพยากรบุคคลตองตั้งอยูบนพ้ืนฐานของหลักคุณธรรม 2. คานิยมและการมีสวนรวมทางการบริหาร โดยใหทกุคนเขามามีสวนรวมในการเสนอความคิด แนวทางในการปฏิบัติ 3. สนับสนุนการสื่อสารกับทุกคน การสือ่สารเปนเครื่องมือสําคัญทางการบริหาร ไมควรจะเปนการสื่อสารแบบทางเดียว เพราะจะทําใหการทํางานขาดการมีสวนรวม 4. มคีวามรับผิดชอบ แตละคน แตละสวนจะตองมีความรับผิดชอบตอองคกร 5. บาํรุงรักษาคุณภาพชีวิตพนักงาน โดยคํานึงถึงผลกระทบตอการใชชีวิตในองคกรของพนักงาน 6. มกีารอบรมและพัฒนาทรัพยากรอยางตอเนื่อง ซึ่งทรัพยากรบุคคลเปนหัวใจสําคัญ จําเปนที่จะตองมีการอบรมและพัฒนาอยางตอเนื่อง ดวยเหตุวามีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การฝกอบรมจะทําใหประสิทธิภาพในการทํางานสูงขึ้น ลดปญหาในการปฏิบัติงาน มีความรูความรับผิดชอบมากขึ้น และมีทัศนคติที่ดีตอองคกร วัชร ี ทรงประทมุ รศ.ดร. (2550 : 117-119) ไดกลาวถึง การพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่สอดคลองกับปรัชญาของพุทธศาสนา โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนาจิตใจและความสามารถที่จะสรางความสุขความเจริญใหแกตนเองและผูอ่ืนตามสมควรแกอัตภาพมีชีวิตความเปนอยูอยางพอมีพอกิน พ่ึงตนเองได สรางความสุขความเจริญใหแกตนเอง

ไดอยางยั่งยืน รวมทั้งรวมพลังสรางความเขมแข็งใหแกชุมชนและทองถิ่นของตนดวย โดยมีหลักการที่สําคัญคือ การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนจะบรรลุผลสําเร็จไดนั้น จะอาศัยแตเทคโนโลยีและวัตถุไมได จะตองมีการพัฒนาจิตใจ ปญญาและความเห็นที่ถูกตองดวย ที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ

22

เศรษฐกิจพอเพียง (Self-sufficiency economy) หรือระบบเศรษฐกิจพึ่งตนเองตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนแนวคิดเชิงปรัชญาของวิถีชีวิตที่ดีแต ไมใชเรื่องงาย จะตองสรางจิตสํานึกภายในจิตใจใหยึดทางสายกลาง รูจักประหยัดและรูจักประมาณตน

2.3 แนวความคิดเกี่ยวกับการสื่อสาร

“การสื่อสาร” ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา Communication มีผูไดใหความหมายไวดังนี้ ยุพด ี ฐิติกุลเจริญ (2537 : 3) ไดใหความหมายของ การสื่อสาร คือกระบวนการของการถายทอดสาร (message) จากบุคคลฝายหนึ่งซึ่งเรียกวา ผูสงสาร (source) ไปยงับุคคลอีกฝายหนึ่งซึ่งเรียกวาผูรับสาร (receiver) โดยผานสื่อ (channel) เจอรเกน รอยซ และเกรกอรี่ เบทสัน อางถึงใน ยุพดี ฐิติกุลเจริญ (2537 : 2-3 ) ใหความเห็นวา การสื่อสารไมไดหมายถึงการถายทอดสารดวยภาษาพูดและภาษาเขียนที่ชัดแจงและแสดงเจตนารมณเทานั้น แตการสื่อสารยังรวมไปถึงกระบวนการทั้งหลายที่คนมีอิทธิพลตอกันดวย ซึ่งคํานิยามนี้ยึดหลักทีว่าการกระทําและเหตุการณทั้งหลายมีลักษณะเปนการสื่อสารหากมีผูเขาใจการกระทําและเหตุการณเหลานั้น นั่นก็หมายความวาความเขาใจที่เกิดขึ้นแกคนคนหนึ่งนั้นไดเปลี่ยนแปลงขาวสารที่คนคนนั้นมีอยูและมีอิทธิพลตอบุคคลผูนั้น อรนชุ เลิศจรรยารักษ รศ., ดาราวรรณ สขุุมาลชาติ (2533 : 32-34) ไดกลาวถึง การสื่อสารภายในตัวบุคคล หมายถึง การสื่อสารซึ่งเกิดขึ้นในตัวบุคคลแตละคน หรือคนที่พูดกับตัวเอง นั่นเอง ซึ่งการสื่อสารภายในตัวบุคคลเปนไปได เพราะมนุษยสามารถกลายเปนเปาหมายของตัวเองตอสัญลักษณตางๆ ที่ใชในการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารระหวางบุคคล หรือการสื่อสารตัวตอตัว เปนการสื่อสารโดยตรงระหวางบุคคล 2 คน หรอืมากกวานั้น ซึ่งบุคคลเหลานี้จะตองอยูไกลกันพอที่ประสาทสัมผัสทั้ง 5 สามารถจะติดตอกันได และปฏิกิริยาสนองตอบ (Feedback) นั้นมีไดทันที

23

Barnlund (1968 : 8-10 อางถึงใน อรนชุ เลิศจรรยารักษ รศ., ดาราวรรณ สุขุมาลชาติ, 2533 : 32-34) ไดกลาววา การศึกษาเรือ่งการสื่อสารระหวางบุคคลนั้นเกี่ยวของกับการสํารวจเสาะหาความสัมพันธอยางไมเปนทางการของสถานการณทาง สังคมเบื้องตน ซึ่งบุคคลในลักษณะเผชิญหนากันมีปฏิกิริยาตอกันโดยการแลกเปลี่ยนสัญญาณทั้งที่เปนเสียงและไมเปนเสียง (Verbal and nonverbal) นอกจากนี้ยังไดแบงลักษณะของการสื่อสารประเภทนี้เปน 5 ลักษณะ คือ 1. เริม่ตนดวยการมีความเกี่ยวของกันทางดานการรับรู (Perceptual Engagement) ระหวางบุคคลซึ่งอยูใกลกนั 2 คน หรอืมากกวานั้น ในขณะที่พ้ืนฐานการสื่อสารตัวตอตัวยังไมสําเร็จ 2. การมีความเกี่ยวของกันทางดานการรับรู ทําใหการสือ่สารมีอิสระในการยอมใหมีปฏิกิริยาตอกัน ซึ่งจุดแรกคือความเขาใจ (Cognitive) และความสนใจตอสิ่งที่เห็นเหมือนในการสนทนา คือผูที่เกี่ยวของจะตองสงสัญญาณโตตอบโดยตรงไปยังผูที่สงสัญญาณมาใหกอน 3. จุดแหงปฏิกิริยาโตตอบนี้ดําเนินผานการแลกเปลี่ยนขาวสาร (Message) ในการแลกเปลีย่นสารที่ผูเกี่ยวของจะเสนอสัญญาณซึ่งคิดวาผูรับสารจะแปลไดความเหมือนกับสิ่งที่ผูเกี่ยวของตองการสงสัญญาณนี้จะพาเอาสารที่ตั้งใจใหอีกฝายหนึ่งไปถึงฝายนั้น 4. การมีปฏิกิริยาตอกันโดยเผชิญหนา Face-to-Face ดวยเหตุนี้สารที่สงไปใหสามารถนําไปใชไดและผูเกี่ยวของก็จะเผชิญหนากันทั้งหมด 5. การจัดการสื่อสารตัวตอตัวนั้น ไมมีโครงสรางหรือรูปแบบที่แนนอน อรณุีประภา หอมเศรษฐี รศ. (2535 : 5-8) ไดกลาวถึงความสําเร็จในการสื่อสารขึ้นอยูกับ ประสบการณหรือภูมิหลัง (Field Experience) ไดแก อายุ เพศ การศึกษา สถานภาพสังคม วัฒนธรรม การฝกฝนและพัฒนาทักษะตลอดถึงการเรียนรูองคประกอบของการสื่อสาร กระบวนการของการสื่อสาร ตลอดจนวิธีการตางๆ ที่ใชในการติดตอสื่อสารเพื่อความมีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารเพื่อใหผูรับสารเขาใจอยางที่เราตองการ ถึงแมวามนุษยจะใชความระมัดระวังในการสื่อสารเพื่อใหสัมฤทธิ์ผล แตก็

24

อาจจะเกิดขอผิดพลาดทําใหการสื่อสารลมเหลวได ซึ่งความลมเหลวในการสื่อสาร เรียกวา Communication breakdown องคประกอบของการสื่อสาร 1. ผูสงสาร (Sender) 2. สาร (Message) 3. ผูรับสาร(Receiver) วัตถุประสงคของการติดตอสื่อสาร 1. เพื่อแจงขาวสาร หมายถึง การบอกขาวสารใหผูรับสารไดรับทราบขอมูลขาวสารอยางถูกตองและสรางความเขาใจอันดีระหวางกัน 2. เพื่อชักชวนหรอืจูงใจ หมายถึง การสงขาวสารใหผูรับสารยอมรับหรือเห็นดวย เชน ใบปลิว 3. เพื่อประเมิน หมายถึง การสื่อเพื่อประเมินและควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ เชน ประเมินผลการปฏิบัติงาน การรายงาน 4. เพื่อใหความรู หมายถึง การสื่อสารเพื่อใหความรูแกผูรับสาร เชน การใชคูมือการปฏิบัติงาน การอบรม การสัมมนา การใชคูมือการใชสินคา 5. เพื่อสนองความตองการดานวัฒนธรรมและมนุษยสัมพันธ หมายถึง การสื่อสารเพื่อใหผูรับสารเกิดความรูสึกพึงพอใจ มีความสุข เชน การดแสดงความยินดี ประเภทของการติดตอสื่อสาร 1. การติดตอสื่อสารภายใน - การติดตอดวยคําพูด วาจา เชน การพูดคุย การโทรศัพท การใชเครื่องมือสื่อสารภายใน ซึ่งเปนการติดตอสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว ประหยัด ใหความรูสึกเปนกันเอง และไดรับคําตอบทันที - การติดตอดวยการเขียนเปนลายลักษณอักษร เชน ประกาศ บันทึก คําสั่ง การ สื่อสารแบบนี้เปนการสื่อสารแบบทางการ มีหลักฐานชัดเจน สามารถอานบททวนไดทุกเวลาหรือสถานที่ 2. การติดตอสื่อสารภายนอก หมายถึง การติดตอสื่อสารกับบุคคลภายนอก เพื่อเผยแพรขาวสาร สรางภาพลักษณและความสัมพันธอันดีระหวางกัน เชน การนัดหมาย จดหมายออก จดหมายเขา โทรศัพทหรือโทรสาร ฯลฯ

25

รูปแบบของการติดตอสื่อสาร 1. เสียงหรือคําพูด เครื่องมือที่นิยมใช คือ โทรศัพท 2. คํา เปนการติดตอสื่อสารดวยลายลักษณอักษร เชน จดหมายโตตอบ โทรเลข 3. ภาพ เปนการติดตอสื่อสารที่ถายทอดดวยภาพหรือสัญลักษณตาง ๆ เชน ภาพถาย แผนภูมิ เปนตน 4. ขอมูล เปนการติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายโดยใชคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต หลักเกณฑของการติดตอสื่อสาร การสื่อสารดวยลายลักษณอักษร 1. มีความชัดเจน 2. มีความสมบูรณ 3. กะทัดรัด เขาใจงาย 4. มีความเปนกันเอง 5. มีความสุภาพ 6. มีความถูกตอง เปนระเบียบ สะอาด เขียนถูกตองตามหลักไวยากรณ ตัวสะกด การันต เครื่องหมายวรรคตอน และไมควรมีรอยลบ 7. ขอเท็จจริง ขาวสารที่ดีจะตองใหขอเท็จจริง ไมบิดเบือน ไมกลาวเท็จ ไมลําเอียง และไมใชขอความที่แสดงอารมณ การสื่อสารดวยการพูดหรือเสียง 1. ผูพูดควรสรางบรรยากาศในการพูด เพื่อโนมนาวหรือสรางความสนใจในเรื่องที่จะพูดและควรมีตัวอยางประกอบคําพูด 2. หลกีเลี่ยงการถอมตัวมากเกินไปหรือการกลาวตําหนิผูฟง สถานที่ ไมควรกลาวถึงบุคคลหรือสถานบันใดๆ ในทางลบ 3.ไมควรแสดงอารมณโกรธ ไมพอใจผูฟงโดยเด็ดขาด 4. ใชภาษางาย ๆ ในการพูด แตตองเปนภาษาสุภาพ 5. ควรมีอารมณขันสอดแทรกในขณะพูดบาง แตไมควรใชคําผวนหรือคําที่ตีความไดหลายแงหลายมุม

26

วัฒนา พุทธางกูรานนท รศ. (2535 : 153-156) ไดกลาวถึง หลกัสําคัญของการสื่อสาร เพือ่ใหเขาใจในรายละเอียดของกระบวนการสื่อสารมากขึ้น ควรคํานึงถึงองคประกอบที่สําคัญยิ่งของกรรมวิธีการติดตอเพื่องานประชาสัมพันธ ดังนี้ 1. ผูดําเนินการสื่อสาร (Communicator) ตองเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญ มีความรอบรูและนาไววางใจในการติดตอสื่อสารดวย 2. ขาวสาร (Message) เปนสวนประกอบสําคัญประการหนึ่งที่จะทําใหกรรมวิธีการสื่อสารไดรับผลสําเร็จได จะตองใหขอเท็จจริง (Facts) และจะตองสังเกตดวยวามวลชนเปาหมายพรอมที่จะรับสารหรือไม 3. ผูรับสาร (Audience) มวลชนเปาหมายในแตละสังคมยอมมีความสนใจที่แตกตางกัน อาจจะเกิดความพอใจหรือไมพอใจในขาวสารที่ไดรับก็ได สมยศ นาวีการ (2540 : 417) ไดกลาวถึง แนวคิดเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารวา การพัฒนาลาสุดไดใหทางเลือกมากขึ้นแกผูบริหารที่จะติดตอสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพดวยการใชทั้งสื่อทางวาจาและลายลักษณอักษร วิธีการสมัยเดิมของการสนทนาเผชิญหนา การประชุมกลุม การใชโทรศัพท และการติดตอทางจดหมาย ในขณะนี้จะถูกสนับสนนุดวยรูปแบบหลายอยางของการติดตอสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส

ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารที่สําคัญ คือ ทฤษฎีการติดตอแบบสองทิศทาง อางถึงใน วัฒนา พุทธางกูรานนท รศ. (2535 :157) ไดใหความสําคัญกับ ความสัมพันธระหวางบุคคลของผูรับสาร เพราะความสัมพันธระหวางบุคคลในกลุม ยอมใหอิทธิพลซึ่งกันและกันในการจูงใจวาจะยอมรับความเปลี่ยนแปลง หรือตอตานในขาวสารที่สงมานั้น ยิ่งถาเปนขาวสารที่ไดรับการวิพากษวิจารณระหวางสมาชิกในกลุม ยอมทาํใหมวลชนเหลานั้นมีบทบาทในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น

ประโยชนของการติดตอสื่อสาร 1. ชวยใหการทํางานบรรลุวัตถุประสงคไดอยางราบรื่น รวดเร็ว 2. ชวยใหเกิดความรูสึกที่ดีตอกัน มีความสามัคคีเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน

27

3. ชวยเสริมสรางขวัญและกําลังใจในการทํางาน 4. ชวยลดขอขัดแยงตาง ๆ ที่เกิดจากความไมเขาใจกัน 5. ชวยปองกันการทํางานซ้ําซอน 6. ชวยประหยัดทรัพยากรในการทํางาน ประหยัดเวลา แรงงานและคาใชจาย

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ดิชา คงศร ี (2544 : บทคัดยอ) ศกึษาวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคารไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีกรุงเทพมหานคร การศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค เพื่อประเมินประสิทธิผลในการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคารไปปฏิบัติ และเพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอประสิทธิผล ในการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคารไปปฏิบัติ ไดแก ความชัดเจนของนโยบาย การติดตามกํากับดูแล ความเพียงพอดานงบประมาณ ปริมาณและคุณภาพของบุคลากร ความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของและประสิทธิภาพในการติดตอสื่อสาร จากผลการศึกษาพบวา การติดตามกํากับดูแลนโยบาย ปริมาณและคุณภาพของบุคลากร ความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และประสิทธิภาพในการ ติดตอสื่อสาร มีความสัมพันธกับประสิทธิผลในการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคารไปปฏิบัติ ชลวรรณ ไชยวิชติ (2544 : บทคัดยอ) ศกึษาวิจัยเรื่อง ความตองการในการพัฒนาทักษะการบริหารของผูบริหารธนาคารออมสิน : ศึกษาเฉพาะกรณีผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค การศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาทักษะการบริหารที่จําเปนสําหรับผูบริหารธนาคารออมสินจากความคิดเห็นของผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค เพื่อศึกษาความตองการในการพัฒนาทักษะการบริหาร ของผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นความตองการในการพัฒนา ทักษะ การบริหารของผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค ผลการศึกษาวิจัยพบวา ทักษะการบริหารดานเทคนิค และดานแนวความคิด ความตองการในการพัฒนาทักษะการบริหาร มีความสําคัญมาก

28

นภัสสร แนววงศ (2542 : บทคัดยอ) ศกึษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาบุคลากร และความสําเร็จขององคการในภาครัฐ : ศึกษาเฉพาะกรณีของสํานักงบประมาณ การศึกษาวิจัย มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล และปจจัยทางดานความคิดเห็นในเรื่อง บรรยากาศของหนวยงานกับการพัฒนาบุคลากรและความคิดเห็นในเรื่องความสําเร็จขององคการ โดยใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ผลการศึกษาวิจัยพบวา การใหรางวัลตอบแทนในรูปแบบการบริหาร และความสัมพันธระหวางสมาชิกในหนวยงาน มีความสัมพันธเชิง เสนตรงกับความคิดเห็นในเรื่องของความสําเร็จขององคการดานตาง ๆ คือความสามารถในการผลิต ประสิทธิภาพ ความพึงพอใจ การปรับตัว และการพัฒนาบุคลากรดานตางๆ คือ การมอบหมายงานที่มีความสําคัญ การสอนงาน การพัฒนาตนเอง มีการฝกอบรมและเรียนตอนอกเวลาราชการโดยเสียคาใชจายเองมีความสัมพันธเชิงเสนตรงกับความคิดเห็นในเรื่องความสําเร็จขององคการ

29

กรอบวิเคราะหบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีดังนี ้

ปญหา 1.ขาดทักษะในการปฏิบตัิหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) 2. ขาดการมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)

สาเหตุของปญหา 1.การฝกอบรมยังไมเพียงพอ 2.เครื่องแตงกาย,วัสดุอุปกรณในการปฏิบัติหนาที่ 3.ฐานะทางครอบครัว 4.คาตอบแทน, สวัสดิการ, พาหนะรับ-สงในการปฏิบัติหนาที่

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล

แนวทางการแกไขปญหา 1.ทําการฝกอบรมและศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏบิัติหนาที่ 2.การติดตอสื่อสารและ การประสานงานโดยใหมีหัวหนาชุดในการติดตอประสานงาน ในทุกหมูบาน 3.สรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ดี มีจิตสาธารณะมากขึ้น โดยการจัดเลี้ยงสังสรรค มอบรางวัล ยกยองชมเชยผูที่ปฏิบัติงานดีเดนเพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจ หรือมีเบี้ยเลี้ยงเมื่อปฏิบัติหนาที่ที่มีความเสี่ยง 4.จัดทําแผนงาน/โครงการ ตั้งงบประมาณและทําการจัดซื้อวัสดุอุปกรณใหเพียงพอ

30

บทที่ 3 วิธีการศกึษาและรวบรวมขอมูล

การศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ

การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ครั้งนี้ ผูศึกษาไดใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึก เพื่อทราบถึง นโยบายของผูบริหารในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ เหตุผลหรือเงื่อนไขที่มีผลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ศึกษากรณีอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ วามีอะไรบางที่ทําใหขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ และจะมีแนวทางในการแกไขอยางไร

3.1 วิธีการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ ไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลที่ศึกษาจากเอกสาร (Documentary) ไดแก หนังสือ วารสาร บทความ เอกสารตาง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ และขอมูลที่ไดจากการศึกษาภาคสนาม (Field Study) โดยใชวิธีการสัมภาษณแบบเชิงลึก (อยางไมเปนทางการ) และการสังเกตแบบมีสวนรวมเพื่อให ไดขอมูลที่นําไปใชใหเกิดประโยชนตอไป 3.1.1 กลุมเปาหมายและผูใหขอมูลที่สําคัญ (1) ผูใหขอมูลหลัก ไดแก นายกองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ รองนายกองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ จํานวน 2 คน ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ รวมจํานวน 4 คน (2) ผูเกี่ยวของ คือ สมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ จํานวน 10 คน

31

3.2 ข้ันตอนในการสรางเครื่องมือ

การสรางเครื่องมือในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีข้ันตอนการสรางแบบสัมภาษณใหสอดคลองกับเนื้อหา และวัตถุประสงคของการวิจัยโดยศึกษาคนควาทฤษฎี แนวคิดและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

3.3 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยไดสรางแบบสัมภาษณเพื่อใชในการวิจัยครั้งนี้ โดยใชแบบสัมภาษณเปนเครื่องในการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งเปนคําถามลักษณะแบบปลายเปด ไมมีโครงสรางตายตัว โดยมีแนวคําถาม ดังนี้ (สําหรับผูบรหิารและผูนําชุมชน)

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานผูใหสัมภาษณ

1.1 ชื่อ - นามสกุล 1.2 อายุ 1.3 ศาสนา 1.4 อาชีพ

1.5 รายได 1.6 การศึกษา

ตอนที่ 2 ประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชน 1. มีประสบการณชีวิตในการทํางานในชุมชนในเรื่องใดบาง

ตอนที่ 3 นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่

1. มีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่จะนําไปสูความสําเร็จอยางไร

32

2. มีแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพอยางไร 3. มีวิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานอยางไร

ตอนที่ 4 ปญหาในการดําเนินการและแนวทางแกไข 1. มีปญหาในการดําเนินการหรือไมและจะมีแนวทางในการแกไขอยางไร

(สําหรับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน) ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานผูใหสัมภาษณ

1.1 ชื่อ - นามสกุล 1.2 อายุ 1.3 ศาสนา 1.4 อาชีพ

1.5 รายได 1.6 การศึกษา ตอนที่ 2 ประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชน 1. มีประสบการณชีวิตในการทํางานในชุมชนในเรื่องใดบาง 2. แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ตอนที่ 3 การปฏิบัติตามนโยบาย 1. ทีผ่านมาไดรับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการปฏิบัติหนาที่เพียงพอ หรือไม เพราะเหตุใด 2. มปีญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร หรือเขารวมปฏิบัติ หนาที่เมื่อมีการสั่งใชหรอืไม เพราะเหตุใด 3. ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลสนับสนุนในเรื่องใดบาง ตอนที่ 4 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ 1. มปีญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่อยางไรบาง จะมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร

33

3.4 การเกบ็รวบรวมขอมูล

หลังจากที่ไดขอมูลที่ครอบคลุมทุกประเด็นที่ตองการศึกษาแลว ผูศึกษาไดทําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ตรวจสอบขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณดวยวิธีการสังเกตและการจดบันทึก

3.5 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใชทฤษฎีควบคูกับบริบทและใชหลักการพรรณนาเชิงวิเคราะหมาประกอบ โดยสรุปขอมูลและปรากฏการณที่พบเห็นในเชิงบรรยาย

34

บทที่ 4 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของ

4.1 พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพ่ิมเติมถึง ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546

ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 สวนที ่3 อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล มาตรา 67 (4) บัญญัติวา ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลมีหนาที่ตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบลในการ “ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย”ซึ่งที่ผานมา องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ โดยศูนยปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ไดจัดทําแผนปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2550 เพื่อใชในการเตรียมการปองกันภัยฝายพลเรือน โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ (1) เพื่อเตรียมการตาง ๆ ที่จําเปน ใหสามารถเผชญิภัยพิบัติตาง ๆ ตัง้แตยามปกต ิ (2) เพื่อใหการปฏิบัติการปองกันภัยฝายพลเรือนเปนไปอยางมีระบบ ไมสับสนสงผลตอการลดอันตรายและความสญูเสียใหเกิดขึ้นนอยที่สุด (3) เพื่อวางระบบการปองกนัภัยฝายพลเรือนใหสอดคลอง สงเสรมิตอการรักษาความมั่นคงของชาติ หลักปฏิบัติ ศูนยอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ มีหนาที่ในการเตรียมการปองกันภัยต้ังแตยามปกติ โดยเนนความสําคัญของการเตรียมการลวงหนาในรูปแบบวิธีการปองกัน เพือ่ลดผลกระทบที่เกิดจากภัย การจัดระบบหนาที่ความรบัผิดชอบ และการอํานวยการปฏิบัตใิหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนี้

35

1. การเตรียมคน อุปกรณ และเครื่องมือเครื่องใช (1) จัดเตรียมเจาหนาที่รับผิดชอบงานปองกันภัยฝายพลเรือนใหครบถวนทกุหนาที่ ซักซอม ฝกซอม อบรม และกําหนดวิธีการปฏิบัติตามหนาที่และขั้นตอนตางๆ ใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ (2) จัดหาผูเชี่ยวชาญหรือเจาหนาที่สวนราชการ หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของ เพื่อชวยในการฝกอบรมความรูเกี่ยวกับการปองกันภัยฝายพลเรือน หรือ ความรูเกี่ยวกับวิชาชีพพิเศษตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (3) ประสานการเตรียมการกับสวนราชการที่เกี่ยวของ ในการจัดเตรียมกําลังคน วัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชและจัดหางบประมาณสนับสนุนตามความเหมาะสมและจําเปน (4) สํารวจจัดระเบียบ และดําเนินการ ระบบการพิทักษประชาชน และทรัพยากรในเขตพื้นที่ใหมีประสิทธภิาพ สามารถตรวจสอบแยกฝายและใชประโยชนในข้ันตอนตาง ๆ ของการปองกันภัยฝายพลเรือนไดอยางมีประสิทธิภาพ (5) สํารวจและจดัทําบัญชีเตรยีม กําลังคน สถานที ่ วัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชของทางราชการ ฝายพลเรือน รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ในพื้นที่เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการปองกันภัยฝายพลเรือน 2. การจัดระบบปฏิบัติการ (1) ใหมีการจัดทําแผนการปฏิบัติและแผนสํารองของเจาหนาที่ และมีการซักซอมตั้งแตยามปกติ เพื่อใหมีความพรอมที่จะปฏิบัติไดทันที เมื่อมีเหตุการณเกิดขึ้น (2) จัดใหมีการตดิตอสื่อสารอยางมีประสทิธิภาพ ระหวางหนวยปฏบิัติ ตาง ๆ ขององคกรปองกันภัยฝายพลเรือน ตลอดจนการติดตอสื่อสารภายในขององคกรตาง ๆ เหลานั้น (3) กําหนดแนวทางและดําเนินการใชการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทศัน รวมถึงระบบการกระจายขาวทองถิ่น เชน เสยีงตามสาย หอกระจายขาวประจําหมูบาน เพื่อสนับสนุนการปองกันภัยฝายพลเรือนอยางตอเนื่อง

36

(4) กําหนดมาตรการรักษาความปลอดภัย ความสงบเรียบรอย รวมทั้งการควบคุมการจราจร และการสัญจรภายในเขตพื้นที่ (5) จัดใหมีสถานที่หลบภัยสําหรับประชาชนและเจาหนาที่ รวมตลอดถึงกําหนดเสนทางในการอพยพ (6) จัดใหมีขาวแจงเตือน สญัญาณเตือนภัยใหประชาชนและเจาหนาที่ไดรับทราบลวงหนาถึงภัยที่อาจเกิดขึ้น เพื่อสามารถเตรียมปองกันชีวิตและทรัพยสิน ใหปลอดภัยไดทันเวลา (7) จัดใหมีหนวยบรรเทาทุกขและการสงเคราะหผูประสบภัยอยางเพียงพอ และเหมาะสมกับสถานการณ (8) จัดใหมียานพาหนะ อุปกรณ และสิง่อํานวยความสะดวกในการคมนาคมขนสง รวมทั้งกําหนดการใชเสนทางคมนาคมขนสงในการปองกันภัยฝายพลเรือน (9) ประเมินสถานการณ และผลการปฏิบตัิ เพื่อพัฒนาระบบการปองกันภัยฝายพลเรือนใหสามารถลดโอกาสการเกิดภัยไดมากที่สุดเปนสําคัญ รวมทั้งสามารถกูภัย บรรเทาภัย และฟนฟูบูรณะไดรวดเร็วและมีประสิทธิผล (10) รายงานสรุปผลการปฏิบัติข้ันเตรียมการตอกองอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนแหงราชอาณาจักร ตามระยะเวลาที่ผูอํานวยการปองกนัภัยฝายพลเรือนแหงราชอาณาจักรกําหนด เพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบการปองกันภัยฝายพลเรือน 3. จัดใหมีการฝกอบรมเจาหนาที่และอาสาสมัคร (1) ศูนยปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ กําหนดแผน และนโยบายการใหความรู และการฝกอบรม การประชาสัมพันธดานการปองกันภัยฝายพลเรือนภายในพื้นที่ จัดสรรงบประมาณใหการสนับสนุน ประเมินผล พัฒนาและประสานการใหความรู และการฝกอบรมกับหนวยงานที่เกี่ยวของเปนสวนรวม (2) ศูนยปองกันภัยฝายพลเรอืนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ดําเนินการตามแผนและนโยบายการใหความรู และการฝกอบรมเจาหนาทีแ่ละประชาชน (3) การใหความรู และการฝกอบรมเจาหนาที่และประชาชนเพื่อการปองกันภัยฝายพลเรือน

37

4. การฝกซอมแผน ศูนยปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ กาํหนดใหมีการฝกซอมแผนปองกันและบรรเทาภัย ซึ่งมีความเสี่ยงจะเกิดภัยในในพื้นที่เปนประจําทุกป เพื่อไมใหเกิดความสับสนในการปฏิบัติเมื่อเกิดภัย

4.2 พระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522

ตามมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522ไดบัญญัติวา ในพระราชบัญญัตินี ้ “ การปองกันภัยฝายพลเรือน” หมายความวา การดําเนินการโดยเจาหนาที่ปองกันภัยฝายพลเรือนในการปองกันและบรรเทาอันตรายหรือความเสียหายอันเนื่องจากสาธารณภัย ภัยทางอากาศ หรือการกอวินาศกรรม ไมวาการดําเนินการนั้นจะไดกระทํากอนเกิดภัย ขณะเกิดภัยหรือภายหลังที่ภัยไดผานพนไปแลว และหมายความรวมถึงการอพยพประชาชนและสวนราชการเพื่อการนั้น “ สาธารณภัย” หมายความวา อัคคีภัย วาตภัย อุทกภยั ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีมาเปนสาธารณะ ไมวาเกิดจากธรรมชาติหรอืมีผูทําใหเกิดขึ้น ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิตรางกายของประชาชน หรือความเสียหายแกทรัพยสินของประชาชนหรือรัฐ “ ภัยทางอากาศ” หมายความวา ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ “ การกอวินาศกรรม” หมายความวา การกระทําใด ๆ อันเปนการมุงทําลายทรัพยสินของประชาชน หรือของรัฐ หรือสิ่งอันเปนสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหนวงเหนี่ยวระบบการปฏิบตัิงานใดๆ ตลอดจนการประทุษรายตอบุคคลอันเปนการกอใหเกิดความปนปวนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยมุงหมายที่จะกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของรัฐ “ หนวยอาสาสมัคร” หมายความวา หนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน มาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522 ไดบัญญัติวา ใหจัดตั้ง

38

หนวยอาสาสมัครขึ้นทุกเขตในกรุงเทพมหานคร และทุกอําเภอทั่วราชอาณาจักรเพื่อชวยเหลือในการปองกันภัยฝายพลเรือน 4.3 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2547 แกไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 มีสาระสําคัญดังนี ้ ขอ 4 ในระเบียบนี้

“อปพร.” หมายความวา อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน “ศูนย อปพร.” หมายความวา ศูนย อปพร.กลาง ศูนย อปพร.เขต ศูนย อปพร.จังหวัด ศูนย อปพร.อําเภอ ศูนย อปพร.กิ่งอําเภอ ศูนย อปพร.เทศบาล ศูนย อปพร.องคการบริหารสวนตําบล ศูนย อปพร.กรุงเทพมหานคร ศูนย อปพร.เขต ในกรุงเทพมหานคร และศนูย อปพร.เมือง พัทยา

ภาพที่ 1 แสดงผังโครงสรางศูนย อปพร.

ท่ีมา. จาก กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

39

ขอ 6 คุณสมบัติของสมาชิก อปพร. 1. มีสัญชาติไทย 2. มีอายุไมต่ํากวา 18 ปบรบิูรณ 3. มีภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูในเขตศูนย อปพร.นั้น 4. เลื่อมใสการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข 5. ผานการฝกอบรมหลักสูตร อปพร. 6. ไมเปนผูมีรางกายทุพพลภาพ หรือวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ

หรือเปนผูติดยาเสพติดใหโทษ 7. ไมเปนพระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช 8. ไมเปนผูเสื่อมเสียในทางศีลธรรม ทุจริต หรือเปนภัยตอสังคม

ผูรับสมัครสมาชกิ อปพร.ไดแก นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล ผูอํานวยการเขตในกรุงเทพมหานคร และนายกเมืองพัทยา การพนจากสมาชิกภาพ ของสมาชิก อปพร.

1. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางใดอยางหนึ่ง 2. ตาย 3. ลาออก 4. ผูอํานวยการศูนย อปพร.สั่งใหพนจากสมาชิกภาพ เพราะ กระทําผิดวินัย

หรือประพฤติตนไมเหมาะสม ผูมหีนาที่จัดใหมีการฝกอบรม อปพร. ไดแก อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ผูวาราชการจังหวัด และผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูจัดทําทะเบียนและประวัติของสมาชิก อปพร. ไดแก นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล ผูอํานวยการเขตในกรุงเทพนมหานคร และนายกเมืองพัทยา คณะกรรมอํานวยการศูนย อปพร.กลาง ประกอบดวย

- รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หรือ เปนประธานกรรมการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ที่ไดรบัมอบหมาย

- ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนรองประธานกรรมการ

40

- รองปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการหัวหนากลุมภารกิจ ดานสาธารณภัยและพัฒนาเมือง - ปลัดกรุงเทพมหานคร เปนกรรมการ - อธิบดีกรมการปกครอง เปนกรรมการ - อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนกรรมการ

- ผูทรงคุณวุฒิอ่ืนไมเกิน 8 คน เปนกรรมการ - อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนกรรมการและเลขานุการ - ผูอํานวยการสํานักสงเสริมการปองกันสาธารณภัย เปนกรรมการและ ผูชวยเลขานุการ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการอํานวยการศนูย อปพร.กลาง 1. กําหนดนโยบายและแนวทางการบริหารกิจการ อปพร.ทั่วราชอาณาจักร 2. เสนอแนวทางมาตรการเกี่ยวกับกิจการ อปพร.ใหศูนย อปพร.ถอืปฏิบัติ 3. กํากับ ดูแล และสนับสนุนการดําเนินงานของศูนย อปพร.ใหเปนไปดวย ความเรียบรอย คณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.จังหวัด ประกอบดวย - ผูวาราชการจังหวัด เปนประธานกรรมการ - รองผูวาราชการจังหวัด เปนรองประธานกรรมการ - หัวหนาสวนราชการระดับจังหวัดที่เกี่ยวของหรือผูแทน เปนกรรมการ - ผูแทนศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนกรรมการ - ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตจังหวัดไมเกิน 3 คน เปนกรรมการ - ผูทรงคุณวุฒิอ่ืน ไมเกิน 3 คน เปนกรรมการ - หัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เปนกรรมการและ เลขานุการ

คณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.กรุงเทพมหานคร - ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานกรรมการ - ปลัดกรุงเทพมหานคร เปนรองประธาน

41

- หัวหนาสวนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวของ เปนกรรมการ - ผูทรงคุณวุฒิอ่ืน ไมเกิน 3 คน เปนกรรมการ

- ผูอํานวยการกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร เปนกรรมการและเลขานุการ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.จังหวัดและศูนย อปพร.กรุงเทพฯ

1. กําหนดยุทธศาสตร และแนวทางการดําเนินกิจการ อปพร.ใหเปนไปตามนโยบายที่คณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.กลาง กําหนด

2. ใหการสนับสนุนและกํากับดูแลการดําเนินงานของศูนย อปพร.ภายในเขตจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ใหเปนไปดวยความเรียบรอย

3. กําหนดหลักเกณฑวิธีการดําเนินงานที่เกี่ยวของกิจการ อปพร.ที่ไมขัดหรือแยงกับศูนย อปพร.กลาง กําหนด

การจัดหนวยอาสาสมัครและการปกครองบังคับบัญชา ศูนย อปพร.กลาง (กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย)

- ผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนแหงราชอาณาจักร เปน ผูบัญชาการศูนย อปพร.กลาง - รองผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนแหงราชอาณาจักร (ป.มท.) เปน รองผูบัญชาการศูนย อปพร.กลาง - อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนผูอํานวยการศูนย อปพร.กลาง - เจาหนาที่กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

อํานาจหนาที่ของศูนย อปพร.กลาง (1) ดําเนินงานดานธุรการของคณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.กลาง (2) สนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช เอกสารทาง

วิชาการเกี่ยวกับการบริหารกิจการ อปพร. (3) วางระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการดําเนินงานที่เกี่ยวกับ อปพร.

42

(4) ศึกษา คนควาและวิจัยทางดานวิชาการ ตลอดจนเผยแพรความรูเกี่ยวกับ อปพร. (5) จัดทําหลักสูตรการฝกอบรม อปพร. และแผนจัดอัตรากําลังของ อปพร.

รวมทั้งพิจารณาทบทวนหรือปรับปรงุหลักสูตรและแผนจัดอัตรากําลัง (6) จัดใหมีการฝกอบรมและฝกปฏิบัติหลกัสูตร อปพร. และหลักสตูรเพิ่มทักษะ

อ่ืนๆ แกสมาชิก อปพร. (7) สงเสริมใหสมาชิก อปพร.เขามามีศักยภาพในรูปของคณะกรรมการในหนวย อปพร. โดยการจัดตั้ง และอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการในหนวย อปพร. ใหเปนไปตามที่ศูนย อปพร.กลาง กําหนด (8) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัตงิานของสมาชิก อปพร.

ทั่วราชอาณาจักร (9) ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะกรรมการอํานวยการศูนย อปพร.กลาง มอบหมาย

อํานาจหนาที่ของผูบัญชาการศูนย อปพร.กลาง และรองผูบัญชาการศูนย อปพร.กลาง - รับผิดชอบในการปกครองบังคับบัญชา และกํากบัดูแลผูอํานวยการศูนย อปพร. เจาหนาที่ประจําศูนย อปพร.และสมาชิก อปพร.ทั่วราชอาณาจักร

อํานาจหนาที่ของผูอํานวยการศูนย อปพร.กลาง - รับผิดชอบในการปกครองบังคับบัญชา และกํากับดูแลสมาชกิ อปพร. ทัว่ราชอาณาจักร ศูนย อปพร.เขต (ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย)

- ผูอํานวยการศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนผูอํานวยการศูนย อปพร.เขต - เจาหนาที่ของศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

ศูนย อปพร.จังหวดั (สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด) - ผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนจังหวัด (ผูวาราชการจังหวัด) เปนผูอํานวยการ ศูนย อปพร.จังหวัด

43

- เจาหนาที่ของสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เปนเจาหนาที่ ประจําศูนย ศูนย อปพร.อําเภอ (ที่ทําการปกครองอําเภอ) - ผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนอําเภอ (นายอําเภอ) เปนผูอํานวยการ

ศูนย อปพร.อําเภอ - เจาหนาที่ของที่ทําการปกครองอําเภอ เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

ศูนย อปพร.กิ่งอําเภอ - ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ เปนผูอํานวยการศูนย อปพร.กิ่งอําเภอ - เจาหนาที่ของที่ทําการปกครองกิ่งอําเภอ เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

ศูนย อปพร.เทศบาล (สํานักปลัดเทศบาล)

- ผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือนเทศบาล (นายกเทศมนตรี) เปนผูอํานวยการ ศูนย อปพร. เทศบาล

- เจาหนาที่ของสํานักปลัดเทศบาล เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

ศูนย อปพร.องคการบริหารสวนตําบล - นายกองคการบริหารสวนตําบล เปนผูอํานวยการศูนย อปพร.องคการบริหาร

สวนตําบล - เจาหนาที่ของสํานักปลัดองคการบริหารสวนตําบล เปนเจาหนาที่ประจําศูนย

การจัดตั้งหนวย อปพร. ใหศนูย อปพร. เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล เขตในกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา จัดตั้งหนวย อปพร. ดังตอไปนี้

(1) ฝายปองกันและบรรเทาภัย (2) ฝายรักษาความสงบเรียบรอย (3) ฝายสงเคราะหผูประสบภัย

44

(4) ฝายอื่นๆ ตามความจําเปน การปกครองบังคับบัญชา

- สมาชิก อปพร.อยูในบังคับบัญชาของหัวหนาฝาย อปพร. - หัวหนาฝายในศูนย อปพร.แตละแหงอยูในการปกครองบังคับบัญชาของ ผูอํานวยการศูนย อปพร.นั้นๆ - ผูอํานวยการศูนย อปพร.เทศบาลตําบล องคการบริหารสวนตําบล อยูในการ ปกครองบังคับบัญชาของผูอํานวยการศูนย อปพร.อําเภอ หรอืกิ่งอําเภอแลวแตกรณี - ผูอํานวยการศูนย อปพร.อําเภอ กิ่งอําเภอ เทศบาล เขตในกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา อยูในการปกครองบังคับบัญชาของผูอํานวยการศูนย อปพร.จังหวัด หรือศูนย อปพร.กรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี - ผูอํานวยการศูนย อปพร.จังหวัด และศูนย อปพร.กรุงเทพมหานคร อยูในการปกครองบังคับบัญชาของผูบังคับการศูนย อปพร.กลาง

สิทธิของสมาชิก อปพร. มีดังนี้ (1) แตงเครื่องแตงกายและประดับเครื่องหมาย อปพร. (2) ใชอาวุธปนของทางราชการในการปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายเปน

ลายลกัษณอักษร (3) ไดรับสิทธิและการคุมครองการปฏิบัติหนาที่ในการปองกันภัยฝายพลเรือน

ตามคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมายของเจาหนาที่ปองกันภัยฝายพลเรือนและพนักงานปองกันภัย ตามระเบียบและกฎหมายกําหนด

วินัยของสมาชิก อปพร. สมาชิก อปพร. จะตองรักษาและปฏิบัติตามวินัยโดยเครงครัด ดังตอไปนี้

(1) ตองสนับสนุนและดํารงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข

(2) ตองปฏิบัติตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาโดยเครงครัด และสนับสนุนการปฏิบัติงานศูนย อปพร.ที่ตนสังกัด

45

(3) ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย สจุริต อดทน ไมเห็นแกความเหน็ดเหนื่อยและ ไมหวังผลประโยชนใดๆ เปนการตอบแทน

(4) ตองรักษาความสามัคคีในหมูคณะและเสียสละประโยชนสวนตวัเพื่อสวนรวม

(5) ตองประพฤติปฏิบัติตนอยูในศีลธรรมอันดี (6) ตองไมเสพสุราของมึนเมาในขณะปฏิบัติภารกิจ (7) ตองไมใชกิริยาวาจาที่ไมสุภาพตอประชาชน (8) ตองไมรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา (9) ตองไมเปดเผยความลับทางราชการ

(10) ตองไมแสวงหาผลประโยชนอันมิชอบเพื่อตนเอง หรือผูอ่ืนจากการปฏิบัต ิ ภารกิจ อปพร.

หากกระทําผิดวินัย ผูบังคับบัญชามีอํานาจวากลาวตักเตือนได และกรณีกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ผูอํานวยการศูนย อปพร.เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล เขตในกรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยา แลวแตกรณีสั่งใหสมาชิก อปพร. ผูกระทําผิดพนจากสมาชิกภาพได หนาที่ของสมาชิก อปพร.

- ปฏิบัติตามคําสั่งของผูอํานวยการปองกันภัยฝายพลเรือน และผูที่ผูอํานวยการ ปองกันภัยฝายพลเรือนมอบหมายในการปองกันภัยฝายพลเรือน

- ปฏิบัติตามขอบังคับและระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยหนวยอาสาสมัคร ปองกันภัยฝายพลเรือน - ในการปฏิบัติหนาที่ใหประดับเครื่องหมาย หรือแตงเครื่องแตงกาย อปพร. และแสดงบัตรประจําตัวสมาชิก อปพร.โดยใหรีบไปรายงานตัวตอผูบังคับบัญชา หรือพนักงานเจาหนาที่โดยไมชักชา - สมาชิก อปพร.ที่ปฏิบัติงานดีเดนเปนพิเศษ หรือผูที่ใหการสนับสนุนชวยเหลือกิจการปองกันภัยฝายพลเรือนจนเกิดผลดียิ่ง ผูอํานวยการศูนย อปพร.อาจพิจารณามอบ

46

ประกาศเกียรติคุณสรรเสริญและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติตามหลักเกณฑที่ศูนย อปพร.กลาง กําหนด เครื่องหมาย บัตรประจําตัว วุฒิบัตร

- ศูนย อปพร.ที่จัดฝกอบรม ใหจัดทําเครื่องหมาย อปพร. และวุฒิบัตร เพื่อมอบใหแกสมาชิก อปพร.ที่ผานการฝกอบรมตามหลักสูตร อปพร. - ใหผูวาราชการจังหวัด และผูวาราชการกรุงเทพฯ ออกบัตรประจําตัว วุฒิบัตร เพื่อมอบใหแกสมาชิก อปพร.ที่ผานการฝกอบรมตามหลักสูตรที่กําหนด - บัตรประจําตัวสมาชิก อปพร.มีอายุ 4 ป เมื่อบัตรประจําตัวชํารุด สูญหาย หมดอายุ หรือมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสําคัญ เชน ชื่อตัว ชือ่สกุล ใหสมาชิก อปพร.ยื่นคํารองตามแบบที่ศูนย อปพร.กลางกําหนดตอผูอํานวยการศูนย อปพร. เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล เขตในกรุงเทพมหานคร หรือ เมืองพัทยา แลวแตกรณีเพื่อพิจารณาดําเนินการออกบัตรประจําตัวใหม

ใหนายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล ผูอํานวยการเขตในกรุงเทพฯ และนายกเมืองพัทยา จัดทําทะเบียนควบคุมบัตรประจําตัวสมาชิก อปพร.ไว และแกไขเปลี่ยนแปลงใหเปนปจจุบันอยูเสมอ เครื่องหมายอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) - ลักษณะของเครื่องหมายอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เครื่องหมายอาสาสมัครปองกนัภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ภายในมีเครื่องหมายธงชาติไทยแนวนอนอยูทางดานบนตรงกลางมีรูปมือขวา โดยมีลักษณะลูกระเบิด คลื่นน้ํา ลมพายุ และไฟ อยูในอุงมือขวา ดานลางทางซายมือมีชอชัยพฤกษ 1 ชอ - คําอธิบายความหมาย (1) ธงชาติไทย หมายถึง สถาบันสูงสุด คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (2) มือขวา หมายถึง การใหการปองกัน ชวยเหลือ และบรรเทาภัย (3) คลื่นน้ํา หมายถึง อุทกภัย (4) ลมพายุ หมายถึง วาตภัย (5) ไฟ หมายถึง อัคคีภัย

47

(6) ลูกระเบิดหมายถึง ลูกระเบิดนิวเคลียร อาวุธเคมีชีวะ ภัยทางอากาศ และการกอวินาศกรรม (7) ชอชัยพฤกษ หมายถึง ความสําเร็จ ภาพที่ 2 เครื่องหมายอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)

กลาวไดวา ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของ มีความสําคัญตอบทบาทขององคการบริหารสวนตําบล ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เพราะเปนแนวทางในการปฏิบัติสําหรับผูบริหารและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ ในการดําเนินการตามโครงการ ใหมีประสิทธิภาพตอไป

ธงชาติ

มือขวา (สีน้ําเงิน) พ้ืนสีเหลือง

ชอชัยพฤกษ (สีน้ําเงิน)

ลูกระเบิด (สีขาว) ลมพายุ (สีขาว)

คลื่นน้ํา(สีขาว)

ไฟ (สีขาว)

48

บทที่ 5 ผลของการศึกษาวิเคราะห

ในการศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.):กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลที่ศึกษาจากเอกสาร (Documentary) ไดแก หนังสือ วารสาร บทความ เอกสารตาง ๆ งานวิจัยที่เกี่ยวของและขอมูลที่ไดจากการศึกษาภาคสนาม (Field Study) โดยใชวิธีการสัมภาษณแบบเชิงลึก (อยางไมเปนทางการ) และการสังเกตแบบมีสวนรวมจาก ผูบริหารและผูนําชุมชน รวมถึงผูเกี่ยวของซึ่งเปน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) จํานวน 14 คน สามารถนําเสนอผลการศึกษาไดดังนี้ 5.1 นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่มีแนวทางในการสัมภาษณดังนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่จะนําไปสูความสําเร็จ 2. แนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพ 3. วิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงาน 4 . ปญหาในการดําเนินการและแนวทางในการแกไข

1.นายสันต กัมปนาวราวรรณ อายุ 65 ป บานเลขที่ 35 หมูที่ 9 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ปจจุบันดํารงตําแหนง นายกองคการบริหาร

49

สวนตําบลโนนธาตุ เลาใหฟงวา เดิมนั้น เคยเปนผูใหญบาน บานโนนธาตุ หมูที่ 9 ที่เขามาในจุดนี้เพราะ ตองการที่จะใชความรูและประสบการณชวยเหลือสังคมสวนรวม มีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)ที่จะนําไปสูความสําเร็จคือ การฝกอบรมและมีการทบทวนเพื่อใหความรูอยางสม่ําเสมอ ที่ผานมา อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีความสนใจในการฝกทักษะตางๆในการชวยเหลือผูประสบภัยและเพิ่มพูนความรูของตนเองใหมากขึ้น มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อพัฒนาความรูและทักษะในการปฏิบัติหนาที่ดวย สําหรับแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพนั้น ที่ผานมามักจะประสบปญหาการติดตอประสานงาน หรือเปนไปดวยความลาชา ซึ่งแกไขโดยการสรางเครือขายในการปฏิบัติหนาที่ จัดใหมีเครื่องมือในการติดตอสื่อสารใหเพียงพอ วิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานนั้นคือการดูแลเอาใจใสใหความสําคัญกับผูที่ปฏิบัติหนาที่ มีการยกยองชมเชยผูที่ปฏิบัติงานดีเดนในรอบป และมีเบี้ยเลี้ยงหรือคาตอบแทนใหเมื่อมีการสั่งใชใหปฏิบัติหนาที่ สําหรับปญหาในการดําเนินการที่ผานมา คือขาดการมีสวนรวมของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) วัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏบิัติหนาที่ยังไมเพียงพอ และแนวทางในการแกไขคือ มีการแตงตั้งหัวหนาชุดที่รับผิดชอบในแตละหมูบานและมีการจัดซื้อวัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏบิัติหนาที่ใหเพียงพอ

2.นายบุญมา บญุเหลือ อายุ 61 ป บานเลขที่ 83 หมูที่ 6 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ปจจุบันดํารงตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เลาใหฟงวา เดิมนั้นเคยเปนผูใหญบาน บานโคกสูง หมูที่ 6 กรรมการหมูบาน ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ไดมีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ทีจ่ะนําไปสูความสําเร็จวา การฝกอบรมและทบทวนใหกับ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เปนเรื่องที่สําคัญ ซึ่งควรจะจัดใหมีข้ึนอยางนอยปละ

50

3-4 ครั้ง สาํหรับแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพนั้น ควรจะทําเปนหนังสือ ใหมหัีวหนาชุดคอยกํากับดูแล และติดตอประสานงานในทุกหมูบาน มีวิทยุสื่อสารใหกับหัวหนาชุดในทุกหมูบาน ควรใหมีการเลี้ยงสังสรรคระหวางกลุมในบางโอกาส เพื่อสรางเครือขายและความสามัคคี สําหรับวิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานนั้น คือการชี้ใหเห็น ถึงหนาที่และความสําคัญของการเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ปญหาในการดําเนินการที่ผานมาคือ งบประมาณยังไมเพียงพอ ขาดการฝกอบรมและพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ที่ตอเนื่อง

3.นายลวน แกวนอก อายุ 59 ป บานเลขที่ 3/1 หมูที่ 10 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ปจจุบันดํารงตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ มีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่จะนําไปสูความสําเร็จวา ควรใหมีการฝกอบรมและทบทวนใหกับ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) และมีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สําหรับแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสทิธิภาพนั้น ควรจะทําเปนหนังสือ ใหมีหัวหนาชุดคอยกํากับดูแลและติดตอประสานงานในแตละหมูบาน เพื่อใหงายตอการติดตอประสานงาน วิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานนั้น คือการพบปะสังสรรคกันในระหวาง ผูบริหาร อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ผูนําชุมชนเพื่อสรางความรักความสามัคคีอยางนอยปละ 1-2 ครั้ง ปญหาในการดําเนินการ ที่ผานมาคือ งบประมาณยังไมเพียงพอ มีปญหาในเรื่องระเบียบ หนังสือสั่งการที่ไมชัดเจน แกไขไดโดยจัดทําแผนงานโครงการตั้งงบประมาณในการดําเนินการใหเพียงพอ และใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของศึกษาระเบียบใหเขาใจเพื่อจะไดปฏิบัติใหถูกตอง

4. นายเศวต กอบญุ อายุ 68 ป บานเลขที่ 2/1 หมูที่ 5 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เปนขาราชการบํานาญ เคยเปนกรรมการการศึกษา

51

เพื่อพัฒนาชุมชน (กศพช.) ปจจุบันดํารงตําแหนง ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ เลาใหฟงวา จากประสบการณที่เคยเปนผูอํานวยการโรงเรียน ไดมี นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่จะนําไปสูความสําเร็จ สิ่งสําคัญที่สุดคือ การใหความรูในการปฏิบัติหนาที่ โดยการฝกอบรม หรือมกีารอบรมเชิงปฏิบัติการ และมีการศึกษาดูงานหนวยงานนอกสถานที่ที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการ เพื่อใหเกิดความรูใหม มีวิสัยทัศนในการปฏิบตัิหนาที่ สาํหรับแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพนั้น จะตองมีการติดตามประเมินผลหลังการฝกอบรม มีการตั้งคณะทํางาน เพื่อใหรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ในแตละดาน และคณะกรรมการที่ไดรบัการแตงตั้งมีการประชมุอยางสม่ําเสมอ หาแนวทางในการแกไขปญหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ติดตามความเคลื่อนไหวในสถานการณตางๆ เครื่องมือในการติดตอสื่อสาร ตองทันสมัยและใหเพียงพอ ในสวนของวิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มกีารปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานนั้น ควรมีการบํารุงขวัญและมอบรางวัล เกียรติบัตร หรอืดอกไม ใหกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่มีผลงานดีเดนในรอบป ควรมีคาตอบแทนในการปฏิบัติหนาที่ มีสวัสดิการ การตรวจสุขภาพประจําปคาการศึกษาบุตร มกีารจัดเลี้ยงสังสรรคแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการจัดกิจกรรมในวันสําคัญตางๆ เชน วัน อปพร. เปนตน สําหรับปญหาในการดําเนินการ คือ ที่ผานมา ขาดการมีสวนรวมของสมาชิก อปพร. เมื่อมกีารสั่งใชใหปฏิบัติหนาที่ เพราะผูที่เขารวมกิจกรรมตางๆ ยังมีจํานวนนอย และแนวทางในการแกไข ควรเปนหนาที่ของผูบริหารที่จะตองดูแลเอาใจใสอยางสม่ําเสมอผูบริหารควรเปนนักประสานงานที่ดีมีความเมตตากรุณา มีโครงการเยี่ยมบานสมาชิก อปพร. ใหความสําคัญกับครอบครัว ดานวัสดอุุปกรณในการปฏิบัติหนาที่ เชน วิทยุสื่อสาร กระบอง ไฟฉาย ชุดเครื่องแบบในการปฏิบัติหนาที่ เปนตน ควรจัดซื้อใหเพียงพอ จากการศึกษาพบวา ผูบริหารไดมีนโยบาย เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะในการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน สามารถแยกไดดังนี้

52

1. นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ โดยการฝกอบรม อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) หรอืการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ม ีการศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหนาที่ใหเกิดผลดีตอหนวยงาน 2. นโยบายเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร หรือการประสานงาน ซึง่ที่ผานมา สวนใหญแลวจะมีการการติดตอประสานงานทางหนังสือซึ่งบางครั้ง ทําใหเกิดความลาชา จึงมีนโยบายที่จะจัดซื้อวิทยุสื่อสารใหเพียงพอตอการใชงาน มีการตั้งหัวหนาชุด เพื่อคอยกํากับดูแลและประสานงานในทุกหมูบาน 3. นโยบายเกี่ยวกับการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงาน โดย ใหม ีเบี้ยเลี้ยงในการออกปฏิบัติหนาที่ เลี้ยงสังสรรค ยกยองชมเชย บํารุงขวัญ มอบรางวัลหรือชอดอกไมใหกับผูที่ปฏิบัติงานดีเดนในรอบป มโีครงการเยี่ยมบานอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจที่ไดปฏิบัติหนาที่นี้ 4. นโยบายดานงบประมาณ มีการจัดทําแผนงาน/โครงการ และตั้งงบประมาณใหเพียงพอ ทําการจัดซื้อวัสดุอุปกรณใหเพียงพอดวย

5.2 การนํานโยบายไปปฏิบัติ มีแนวทางในการสัมภาษณดังนี้

1. การไดรับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการปฏบิัติหนาที่ 2. ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร หรือเขารวมปฏิบัติ หนาที่เมื่อมีการสั่งใช 3. ความตองการใหองคการบริหารสวนตําบลสนับสนนุ 4. ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ และวิธีการแกไข

53

จากการสัมภาษณแบบเชิงลึก (อยางไมเปนทางการ) และการสังเกตแบบมีสวนรวมจากผูเกี่ยวของซึ่งเปน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) จํานวน 10 คน มีดังนี้ 1. นายกาด เดชโคบุตร อายุ 48 ป บานเลขที่ 21 หมูที่ 7 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน แพทยประจําตําบล, อสม., ทสปช., อาสาสมัครเกษตร แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการชวยเหลือชาวบานที่ไดรับความเดือดรอนในเรื่องตางๆ ชวยเหลือ ทางราชการเทาที่สามารถจะชวยได โดยไมหวังสิ่งตอบแทน เมื่อไดชวยเหลือแลวก ็มีความสบายใจ ปจจุบัน ปฏิบัติหนาที่ รองประธานศูนย อปพร.อบต.โนนธาตุ ในดานการฝกอบรมนั้นสวนตัวแลวคิดวาเพียงพอ แตที่ผานมา การปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.)ที่อยูในความรับผิดชอบยังขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ เพราะผลงานที่ไดยังไมดีเทาที่ควร การปฏิบัติหนาที่สวนตัวแลวยังไมมีปญหา แตกม็ีอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) บางคนฐานะไมคอยดีตองรับภาระทางครอบครัวทําใหขาดการมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่ ตองการใหมี เบี้ยเลี้ยงในการออกปฏิบัติหนาที่ในแตละครั้ง เพราะตองมีคาใชจายในการเดนิทาง ตองการใหสนับสนุนเครื่องแบบอีกคนละ 1 ชุด สําหรับปญหาในการปฏิบัติหนาที่ คือ การรักษาความสงบในงานตางๆ ในเวลากลางคืน ที่มีหมอลําหรือวงดนตรี จะมีการ ทะเลาะวิวาทของกลุมวัยรุน ทําใหเกิดความเสี่ยง ควรใหมีรถ รับ-สง เพื่อความปลอดภัย ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ผูที่ปฏิบัติหนาที่

2. นายสมลือ กอชัย อายุ 50 ป บานเลขที่ 57/1 หมูที่ 4 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน อาสาพัฒนาชุมชนประจําหมูบาน (อช.) แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการชวยเหลืองานสังคมสวนรวม มีความตองการในการฝกอบรมเพิ่มเติม หรือฝก อบรมนอกสถานที่ อยางนอย ปละ 1-2 ครั้ง เพราะการฝกอบรมที่ผานมาใชเวลานอย สําหรับการติดตอประสานงานหรือการสื่อสารนั้น เปนไปดวยดี และไดเขาปฏิบัติหนาที่ทุกครั้งเมื่อมีการสั่งใช มีความตองการใหองคการบริหารสวนตําบล จัดหาชุด

54

เครื่องแบบในการปฏิบัติหนาที่เพิ่ม สวนปญหาและอุปสรรคนอกนั้น ไมมี

3. นางสมภาร ดวงบุญชู อายุ 51 ป บานเลขที่ 115 หมูที ่ 4 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน อสม.ประจําหมูบาน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการทํางานเพื่อสวนรวม ตองการฝกอบรมเพิ่มเติม และอาจมีการฝกอบรมนอกสถานที่ดวยก็จะเปนการดี เพราะที่ผานมา ระยะเวลาในการฝกอบรมนอยเกินไป เมื่อมีการสั่งใช ไดเขา รวมปฏิบัติหนาที่ทุกครั้ง เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น องคการบริหารสวนตําบลควรจะจัดหาวัสดุอุปกรณในการปฏิบัติหนาที่ใหเพียงพอ เชน ไฟฉาย ชุดเครื่องแบบ และมีคาตอบแทนหรือสวัสดิการอื่นๆ ดวย ปญหาที่พบเมื่อมีการปฏิบัติ หนาที่ที่ผานมา คือ การปฏิบัติหนาที่ประจําจุดบริการประชาชนในชวงเทศกาลปใหม สงกรานต ควรใหมีเจาหนาที่ตํารวจรวมปฏิบัติหนาที่ตลอด 24 ชั่วโมงดวย เพราะจะ ทําใหลดความเสี่ยงได

4. นายเขียว เขยีววิเศษ อายุ 55 ป บานเลขที่ 50 หมูที่ 6 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน กรรมการหมูบาน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ อยากชวยเหลือและมีสวนรวมในสังคม มีความตองการฝกอบรมในการปฏิบัติหนาที่เฉพาะดาน เชน การดับเพลิง การชวยเหลือผูประสบภัย เปนตน มีการเขาปฏิบัติหนาที่ทุกครั้งเมื่อมีการ สั่งใช สําหรับความตองการที่อยากใหองคการบริหารสวนตําบลดําเนินการคือ ใหม ีรถกูภัย เพื่อใหสามารถชวยเหลือประชาชนไดมากขึ้น ที่ผานมายังไมพบปญหาในการปฏิบัติหนาที่

5. นางสมจิตร โสดนอก อายุ 46 ป บานเลขที่ 56 หมูที่ 9 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน สมาชิก อบต., รองประธานกลุมแมบาน ,สมาชิกกลุมปุยอัดเม็ดชีวภาพ หมูที่ 9 แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการมีสวนรวมในการชวยเหลือสงัคมและชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู ในเรื่องการฝกอบรมนั้นยงัไมเพียงพอ เวลาในการฝกอบรม

55

นอย สวนใหญแลวเปนหลักสูตรเรงรัดซึ่งมีบางเรื่องที่ยังไมเขาใจ ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลจัดฝกอบรม ทั้งในและนอกสถานที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทํางาน ในการติดตอประสานงานหรือการสื่อสารนั้น สวนใหญแลวเปนหนังสือมีวันเวลาที่แนนอน ยังไมพบปญหา

6. นางกนกอร เพ็ชรรักษา อายุ 59 ป บานเลขที่ 73 หมูที่ 9 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน ประธานกลุมแมบาน ,สมาชิกกลุมปุยอัดเม็ดชีวภาพ หมูที่ 9 สมาชิกกลุมน้ํายาลางจาน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ พอใจไปชวยเหลือสังคม ในเรื่องการฝกอบรมนั้นตองการใหฝกอบรมหรือศึกษาดูงานนอกสถานที่ และตองการใหมีคาตอบแทน ไมมีปญหาในการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร

7. นางมะลิ พรมประเสริฐ อายุ 39 ป บานเลขที่ 27 หมูที่ 11 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน อสม.ประจําหมูบาน, สมาชิก อบต., ประธาน กพสอ., กรรมการกองทุนหมูบาน, ประธานกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ เพื่อชวย เหลือเพื่อนบาน ชวยเหลอืผูที่ดอยโอกาส เพราะทําใหเกิดความภาคภูมิใจและมีความสุข ดานการฝกอบรมคิดวา ยังไมเพียงพอ ตองการใหมีการฝกอบรมดานระเบียบวินัยและการปองกันสาธารณภัยตางๆ สําหรับการติดตอประสานงานนั้นยังไมพบปญหา ตองการใหมีการตรงตอเวลาเมื่อมีการปฏิบัติหนาที่ และจัดชุดเครื่องแบบเพิ่มเติม

8. นายเภา หารศรี อายุ 53 ป บานเลขที่ 95 หมูที่ 6 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เคยเปน กรรมการประชาคมหมูบาน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ เพื่อชวยเหลือ สังคมสวนรวม ไมมีปญหาดานการฝกอบรมและเขารวมปฏิบัติหนาที่เมื่อมีการสั่งใช ตามนโยบายของผูบริหารทุกครั้ง สิ่งที่ตองการคือคาตอบแทนและเบี้ยเลี้ยงในการปฏิบตัิหนาที่ในแตละครั้ง

56

9. นายสมาน กันแตง อายุ 46 ป บานเลขที่ 86 หมูที่ 6 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการชวยเหลืองานสวนรวมที่สามารถชวยได และอยากเห็นความสงบในหมูบาน ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลจัดฝกอบรมเพิ่มเติมเพื่อหาประสบการณและทักษะในการปฏิบัติหนาที่ นอกนั้นคือ ตองการชุดเครื่องแบบเพิ่มเติม และใหมีเงินเดือนประจํา

10. นายสมจิตร กางนอก อายุ 48 ป บานเลขที่ 12 หมูที่ 8 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ ตองการชวยเหลืองานสวนรวม มีความตองการ ฝกอบรมทบทวนเพื่อเพิ่มประสบการณ และเงินคาเบี้ยเลี้ยงในการออกปฏิบัติหนาที่ ในเรื่องเรื่องความปลอดภัย หากมีรถรับ-สง อาจจะลดความเสี่ยงไดมาก จากการศึกษาพบวา อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) สวนใหญแลวมีประสบการณชีวิตในการทํางานในชุมชน เชน แพทยประจําตําบล, อสม., ทสปช., อาสาสมัครเกษตร, อาสาพัฒนาชุมชนประจําหมูบาน (อช.), สมาชิก อบต., ประธาน กพสอ., กรรมการกองทุนหมูบาน, ประธานกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต, กรรมการหมูบาน, กรรมการประชาคม เปนตน แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) คือ เพื่อชวยเหลือชาวบานที่ไดรับความเดือดรอน ชวยเหลืองานสังคม ในการปฏิบัติตามนโยบายนั้นจําเปนที่จะตองใชทั้งความรู ทักษะและประสบการณในการปฏิบัติหนาที่ สามารถแยกไดดังนี้ 1. การไดรับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการปฏบิัติหนาที่ สวนใหญแลว ยังไมเพียงพอ หลักสูตรในการฝกอบรมนอยเกินไป ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลทําการฝกอบรมทบทวนใหอยางนอยปละ 1-2 ครั้ง ที่สําคัญคือ เกี่ยวกับระเบียบแถว ระเบียบวินัย ดานสวัสดิการ การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัยในดานตางๆ ควรมีการฝกอบรมนอกสถานที่ดวย 2. ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร หรือเขารวมปฏิบัติ

57

หนาที่เมื่อมีการสั่งใช สวนใหญแลวไมมี แตกม็ีอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) บางรายที่มีฐานะไมคอยดี ตองรับภาระทางบาน จําเปนที่จะตองหารายไดใหกับครอบครัว ทําใหไมสามารถที่จะเขารวมกิจกรรมที่มีการสั่งใชใหปฏิบัติหนาที่ ทุกครั้งที่มีการสั่งใชได 3. ความตองการใหองคการบริหารสวนตําบลสนับสนุน ในเรื่องตางๆ เชน ตองการเบี้ยเลี้ยง คาตอบแทน ในการออกปฏิบัติหนาที่เมื่อมีการสั่งใช ดานสวัสดิการการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปวย การชวยเหลือในกรณีที่มีการเสียชีวิต ทุนการศึกษาบุตร ชุดเครื่องแบบในการปฏบิัติหนาที่ มีรถกูภัยสนบัสนุน ถังดับเพลิง กระบอง ไฟฉาย การคุมครองชีวิตในการออกปฏิบัติหนาที่ การศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหนาที่ เปนตน 4. ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบตัิหนาที่ ที่ผานมาเกี่ยวกับ การตรงตอเวลาการแตงกายในเรื่องของเครื่องแบบสวนใหญแลวจะมีชุดเดียว ความปลอดภัยของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ในกรณีที่ปฏบิัติหนาที่รักษาความสงบในงานที่มีมหรสพสมโภชน มักจะมีปญหาการทะเลาะวิวาทของวันรุน และวิธีการแกไขคือการจัดใหมีรถ รับ-สงเมื่อออกปฏิบัติหนาที่ ประการสุดทายคือการปฏิบัติหนาที่ประจํา จุดตรวจหรือจุดบริการประชาชน ในชวงเทศกาลปใหม สงกรานต จะไมมีเจาหนาที่ตํารวจประจําตลอด 24 ชั่วโมง ทําใหเกิดความเสี่ยง

บทที่ 6

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

6.1 สรุปผลการศึกษา

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) :กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาต ุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน โดยมีสาระสําคัญคือ ไดกลาวถึงความเปนมาและความสําคัญของปญหา โดยที่

58

สาธารณภัยหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นมีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้นสรางความเสียหายตอระบบเศรษฐกิจ ชีวิตและทรัพยสินของประชาชนเปนจํานวนมากกวา ในอดีต ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 มาตรา 67 (4) กําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีอํานาจหนาที่ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มาตรการที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การสรางพลังประชาชนใหมีความเขมแข็ง และมีขีดความสามารถในการจัดการภัยพิบัติตาง ๆ ซึ่งถือเปนหลักการสาํคัญของกระบวนการจัดการภัยพิบัติ โดยอาศัยชุมชนเปนฐาน มาตรการดังกลาวคือ การพัฒนาทักษะในการปฏิบัติหนาที่ ใหแกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน หรือที่เรียกวา อปพร. วัตถปุระสงคของการศึกษาเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) :กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน ไดตั้งวัตถุประสงคของการศึกษาออกเปนสองประการ คือ (1) เพื่อศึกษานโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติ ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนของศูนยอาสาสมัคร

59

ปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ (2) เพื่อศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค ขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนและแนวทางในการแกไขของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ขอบเขตของการศึกษาสําหรับเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) :กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน โดยใชการศกึษาเอกสารที่เกี่ยวของ และใชการสัมภาษณแบบเจาะลึกผูใหขอมูลหลัก มีขอบเขตของเนื้อหาเกี่ยวกับ นโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติ ปญหาอุปสรรค แนวทางการแกไขปญหาและขอเสนอแนะ ซึ่งใชระยะเวลาในการศึกษาในชวงเดือน มกราคม – กุมภาพันธ 2552 ผูทําวิจัยไดตั้งคําถามในการวิจัยวา องคการบริหารสวนตําบลมีนโยบาย เชิงกลยุทธในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร อะไรคือเหตุผลและเงื่อนไขที่ทําใหสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่เมื่อนํานโยบายไปปฏิบัติ และองคการบริหารสวนตําบลมีแนวทางในการแกไขปญหาและอุปสรรคตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร ระเบียบวิธีวิจัยที่ใชเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทําการวิจัยเอกสารและสัมภาษณเชิงลึก ซึ่งจําแนกกลุมตัวอยางในการสัมภาษณออกเปนสองกลุม คือ (1) ผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูบริหารและผูนําชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน จํานวน 4 คน (2) ผูเกี่ยวของซึ่งเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) จํานวน 10 คน ไดใหคํานิยามศัพทที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ (1) องคการบริหารสวนตําบล (2) บทบาท (3) การพัฒนาทักษะ (4) นโยบายเชิงกลยุทธ (5) การปองกนัภัยฝายพลเรือน (6) สาธารณภัย (7) หนวยอาสาสมัคร (8) อปพร. (9) ศูนยอปพร. (10) การสั่งใช สําหรับประโยชนที่คาดวาจะไดรับ คือ ไดทราบถึงนโยบายเชิงกลยุทธขององคการบริหารสวนตําบล และการนํานโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่

60

ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ไดทราบเหตุผลและเงื่อนไข ที่ทําใหสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ และไดบทเรียนจาการศึกษา ขอเสนอแนะ แนวทาง เพื่อการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ของศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ สําหรับแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของเกี่ยวกับบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ โดยใชแนวความคิดในการวิจัยสามแนวความคิด ดังนี้ (1) แนวความคิดเกี่ยวกับนโยบายเชิงกลยุทธและการนํานโยบายไปปฏิบัติตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (2) แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (3) แนวความคิดเกี่ยวกับการสื่อสาร สวนทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสาร คือ ทฤษฎีการติดตอแบบสองทิศทาง งานวิจัยที่เกี่ยวของมีดังนี้คือ (1) ประสิทธิผลของการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคารไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีกรุงเทพมหานคร (2) ความตองการในการพัฒนาทักษะการบริหารของผูบริหารธนาคารออมสิน : ศึกษาเฉพาะกรณีผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค (3) ปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาบุคลากรและความสําเร็จขององคการในภาครัฐ : ศึกษาเฉพาะกรณีของสํานักงบประมาณ ซึ่งงานวิจัยที่เกี่ยวของที่ไดนํามากลาวไวขางตนนั้นยังไมสามารถที่จะตอบคําถามเกี่ยวกับบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ไดอยางชัดเจน เนื่องจาก งานวิจัยดังกลาวจะเนนศึกษาเฉพาะการนํานโยบายไปปฏิบัติเพียงดานเดียว ศึกษาเฉพาะการพัฒนาทักษะของผูบริหาร แตยังขาดการศึกษาในเรื่องนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่และการนํานโยบายไปปฏิบัติของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงไดทําการวิจัยเรื่องบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัคร

61

ปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) :กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน เพื่อตอบคําถามวา องคการบริหารสวนตําบลมี นโยบายเชิงกลยุทธในการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร อะไรคือเหตุผลและเงื่อนไขที่ทําใหสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนขาดทักษะในการปฏิบัติหนาที่ และองคการบริหารสวนตําบลมีแนวทางในการแกไขปญหาและอุปสรรคตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนอยางไร ในเรื่องของ วิธีการศึกษาและรวบรวมขอมูล โดยวิธกีารศึกษาไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลที่ศึกษาจากเอกสาร (Documentary) ไดแก หนังสือ วารสาร บทความ เอกสารตาง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวของและขอมูลที่ไดจากการศึกษาภาคสนาม (Field Study) โดยใชวิธกีารสัมภาษณแบบเชิงลึก (อยางไมเปนทางการ) และการสังเกตแบบมีสวนรวม ข้ันตอนในการสรางเครื่องมือมีข้ันตอนการสรางแบบสัมภาษณใหสอดคลองกับเนื้อหา และวัตถุประสงคของการวิจัยโดยศึกษาคนควาทฤษฎี แนวคดิและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ แบบสัมภาษณเพื่อใชในการวิจัยครั้งนี้ ใชแบบสัมภาษณ ซึ่งเปนคําถามลักษณะแบบปลายเปดไมมีโครงสรางตายตัว โดยมีแนวคําถาม สําหรับผูบริหารและผูนําชุมชน แบงเปน 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 เปนขอมูลพ้ืนฐานของผูใหสัมภาษณ ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชนของผูให สัมภาษณ ตอนที่ 3 นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ ตอนที่ 4 ปญหาในการดําเนินการและแนวทางแกไข สําหรับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน มีแนวคําถามแบงเปน 4 ตอน เชนเดียวกันคือ ตอนที่ 1 เปนขอมูลพ้ืนฐานของผูใหสัมภาษณ ตอนที่ 2 ประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชน ตอนที่ 3 การปฏิบัติตามนโยบาย ตอนที ่4 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ หลังจากที่ไดขอมูลที่ครอบคลุมทุกประเด็นที่ตองการศึกษาแลว ผูศึกษาไดทําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูลในการศึกษาวิจัยโดยใชทฤษฎีควบคูกับบริบทและใชหลักการพรรณนาเชิงวิเคราะหมาประกอบพรอมทั้งสรุปขอมูลและปรากฏการณที่พบเห็นในเชิงบรรยาย และนําเสนอขอมูลในการวิจัย

62

สําหรับระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของนั้น กลาวไดวา มีความสําคัญตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เพราะเปนแนวทางในการปฏิบัติสําหรับผูบริหาร เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ตลอดจนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ซึ่งประกอบดวย (1) พระราชบัญญตัิสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 มาตรา 67 (4) บัญญัติวา ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตําบลมีหนาที่ตองทําในเขตองคการบริหารสวนตําบลในการ “ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย” (2) พระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522 ตามมาตรา 4 ไดบัญญัติเกี่ยวกับความหมายของ การปองกันภัยฝายพลเรือน สาธารณภัย ภัยทางอากาศ การกอวินาศกรรม หนวยอาสาสมัคร มาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2522 ไดบัญญัติวา ใหจัดตั้งหนวยอาสาสมัครขึ้นทุกเขตในกรุงเทพมหานคร และทุกอําเภอทั่วราชอาณาจักรเพื่อชวยเหลือในการปองกันภัยฝายพลเรือน (3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหนวยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2547 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549

6.2 อภิปรายผล ผลการศึกษา นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) โดยศึกษาจากผูบริหารและผูนําชุมชนจากผลการศึกษาพบวา มีนโยบายดังนี้ 1. จะใหความสําคัญเกี่ยวกับการฝกอบรมและมีการทบทวนเพื่อใหความรู กับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการอบรมเชิงปฏิบัติการการศึกษาดูงานหนวยงานนอกสถานที่ที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการ เพื่อใหเกิดความรูใหม มีวิสัยทัศนในการปฏิบัติหนาที่ สอดคลองกับแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (...ซึง่ทรัพยากรบุคคลเปนหัวใจสําคัญ จําเปนที่จะตองมีการอบรมและพัฒนาอยางตอเนื่อง ดวยเหตุวามีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การ

63

ฝกอบรมจะทําใหประสิทธิภาพในการทํางานสูงขึ้น ลดปญหาในการปฏิบัติงาน มีความรูความรับผิดชอบมากขึ้น และมีทัศนคติที่ดีตอองคกร...) บวร ประพฤติดี ดร. (2550 : 96-100) โดยสงเสริมใหบุคลากรเกิดแรงจูงใจดวยตนเองมิตองใหใครบอก ชี้แนะหรือนําทางอยูตลอดเวลา (สมหิรา จิตตลดากร รศ.ดร.2550 : 165) 2. นโยบายเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร หรือการประสานงาน ที่ผานมา สวนใหญแลวจะมีการการติดตอประสานงานทางหนังสือ ซึ่งบางครั้ง ทําใหเกิดความลาชา ถึงแมวาจะใชความระมัดระวังในการสื่อสารเพื่อใหสัมฤทธิ์ผล แตกอ็าจจะเกิดขอผิดพลาดทําใหการสื่อสารลมเหลวได ซึ่งความลมเหลวในการสื่อสาร เรียกวา Communication breakdown (อรุณีประภา หอมเศรษฐี รศ. 2535 : 5-8) จึงมีนโยบาย ที่จะจัดซื้อวิทยุสื่อสารใหเพียงพอตอการใชงาน มีการตั้งหัวหนาชุดเพื่อคอยกํากับดูแลและประสานงานในทุกหมูบาน โดยที่ผูบริหารไดใหความสําคัญกับ ความสัมพันธระหวางบุคคลของผูรับสาร เพราะความสัมพันธระหวางบุคคลในกลุม ยอมใหอิทธิพลซึ่งกันและกันในการจูงใจวาจะยอมรับความเปลี่ยนแปลง หรือตอตานในขาวสารที่สงมานั้น ยิ่งถาเปนขาวสารที่ไดรับการวิพากษวิจารณระหวางสมาชิกในกลุม ยอมทําใหมวลชนเหลานั้นมีบทบาทในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคลองกับ ทฤษฎกีารติดตอแบบสองทิศทาง อางถึงใน วัฒนา พุทธางกูรานนท รศ. (2535 :157) 3. นโยบายเกี่ยวกับการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงาน โดย ใหม ีเบี้ยเลี้ยงในการออกปฏิบัติหนาที่ เลี้ยงสังสรรค ยกยองชมเชย บํารุงขวัญ มอบรางวัลหรือชอดอกไมใหกับผูที่ปฏิบัติงานดีเดนในรอบป มโีครงการเยี่ยมบานอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจที่ไดปฏิบัติหนาที่นี้ ซึ่ง การใหรางวัลตอบแทนในรูปแบบการบริหาร และความสัมพันธระหวางสมาชิกในหนวยงาน มีความสัมพันธกับความสําเร็จขององคการดานตาง ๆ จากลักษณะดังกลาว ขางตนสอดคลองกับผลการวิจัยของ นภัสสร แนววงศ (2542 : บทคัดยอ) 4. นโยบายดานงบประมาณ มีการจัดทําแผนงาน/โครงการ และตั้งงบประมาณใหเพียงพอ ทําการจัดซื้อวัสดุอุปกรณใหเพียงพอดวย โดยใชงบประมาณนอยที่สุด

64

สําหรับปญหาในการดําเนินการ คือ การขาดการมีสวนรวมของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เมื่อมีการสั่งใชใหปฏิบัติหนาที่ และแนวทางในการแกไข ควรเปนหนาที่ของผูบริหารที่จะตองดูแลเอาใจใสอยางสม่ําเสมอผูบริหารควรเปนนักประสานงานที่ดีมีความเมตตากรุณา มโีครงการเยี่ยมบานสมาชิก อปพร. ใหความสําคัญกับครอบครัว ดานวัสดอุุปกรณในการปฏิบัติหนาที่ เชน วิทยุสื่อสาร กระบอง ไฟฉาย ชุดเครื่องแบบในการปฏิบัติหนาที่ เปนตน ควรจัดซื้อใหเพียงพอ แตนโยบายทั้งหมดนี้ตองอยูภายใตกรอบของกฎหมาย ระเบียบและหนังสือสั่งการที่เกี่ยวของดวย การนํานโยบายไปปฏิบัติ จากการสัมภาษณแบบเชิงลึก (อยางไมเปนทางการ) และการสังเกตแบบมีสวนรวมจากผูเกี่ยวของซึ่งเปน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) จํานวน 10 คน ในการนํานโยบายไปปฏิบัตินั้นจําเปนที่จะตองใชทั้งความรู ทักษะและประสบการณในการปฏบิัติหนาที่ สามารถแยกไดดังนี้ 1. การไดรับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการปฏบิัติหนาที่ สวนใหญแลว ยังไมเพียงพอ หลักสูตรในการฝกอบรมนอยเกินไป ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลทําการฝกอบรมทบทวนใหอยางนอยปละ 1-2 ครั้ง ที่สําคัญคือ เกี่ยวกับระเบียบแถว ระเบียบวินัย ดานสวัสดิการ การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัยในดานตางๆ ควรมีการฝกอบรมนอกสถานที่ดวยจากลักษณะดังกลาวขางตนสอดคลองกับผลการวิจัยของ ชลวรรณ ไชยวชิิต (2544 : บทคัดยอ) 2. ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร หรือเขารวมปฏิบัติ หนาที่เมื่อมีการสั่งใช สวนใหญแลวไมมี เนื่องจากมีการกํากับดูแลนโยบายที่ดี และมีการวางแผน การจัดองคการ การนําและบังคับบัญชา การควบคุม ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ดิชา คงศรี (2544 : บทคัดยอ) และ ทัศนีย ตั้งบุญเกษม เขียนจากหนังสือเรื่อง “การบริหาร :Management”แตงโดย ผูชวยศาสตราจารยวิทยา ดานธํารงกูล แตก็มีอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) บางรายที่มีฐานะไมคอยดี ตองรับภาระทางบาน จําเปนที่จะตองหารายไดใหกับครอบครัว ทาํใหไมสามารถที่จะเขารวมกิจกรรมทุกครั้งที่มีการสั่งใชได

65

3. ความตองการใหองคการบริหารสวนตําบลสนับสนุน ในเรื่องตางๆ เชน ตองการเบี้ยเลี้ยง คาตอบแทน ในการออกปฏิบัติหนาที่เมื่อมีการสั่งใช ดานสวัสดิการการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปวย การชวยเหลือในกรณีที่มีการเสียชีวิต ทุนการศึกษาบุตร ชุดเครื่องแบบในการปฏบิัติหนาที่ มีรถกูภัยสนบัสนุน ถังดับเพลิง กระบอง ไฟฉาย การคุมครองชีวิตในการออกปฏิบัติหนาที่ การศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหนาที่ เปนตน 4. ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ ที่ผานมามีปญหาเกี่ยวกับ การตรงตอเวลาการแตงกาย ในเรื่องของเครื่องแบบสวนใหญแลวจะมีชุดเดียวซึ่งไมเพียงพอ ความปลอดภัยของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน ในกรณีที่ปฏิบัติหนาที่รักษาความสงบในงานที่มีมหรสพสมโภชนหรือหมอลําซิ่ง มักจะมีปญหาการทะเลาะวิวาทของวันรุน และวิธีการแกไขคือการจัดใหมีรถ รบั-สงเมื่อออกปฏิบัติหนาที่ ประการสุดทายคือการปฏิบัติหนาที่ประจําจุดตรวจหรือจุดบริการประชาชน ในชวงเทศกาลปใหม สงกรานต จะไมมีเจาหนาที่ตํารวจประจําตลอด 24 ชั่วโมง ทําใหเกิดความเสี่ยง

6.3 ขอเสนอแนะ การศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.): กรณีศกึษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน สามารถตอบคําถามเกี่ยวกับบทบาทขององคการบริหารสวนตําบล ตอการพัฒนาทักษะการปฏิบัติ หนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ซึ่งมอีงคประกอบที่สําคัญคือ การกําหนดนโยบายของผูบริหาร ที่จะนําไปสูความสําเร็จ การติดตอประสานงานและการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มกีารปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทัศนคติใหเกิดผลดีตอหนวยงานได สําหรับการนํานโยบายไปปฏิบัตินั้น มีปญหาในการปฏิบัติอยูบางแตก็มีแนวทางในการแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพ และม ีทักษะในการปฏิบัติหนาที่ สามารถชวยเหลือประชาชนในดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ ดงันั้น เพื่อใหการชวยเหลอืประชาชนในดานการ

66

ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเปนไปอยางทั่วถึง ซึ่งผูทําการศึกษามีขอเสนอแนะในการนําไปใช และการศึกษาวิจัยในครั้งตอไป ดังนี้

6.3.1 ขอเสนอแนะในการนําไปใช 6.3.1.1 ผูบรหิารควรเขามามีบทบาทและใหความสําคัญกับ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) อยางจริงจัง เพื่อสรางขวัญและกําลังใจใหสามารถ ปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ ควรมีเบี้ยเลี้ยง หรือการประกันภัยในกรณีที่เปน งานที่มีความเสี่ยงสูง

6.3.1.2 ควรมีเจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่รับผิดชอบงาน ในดานนี้โดยตรง มีการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหนาที่อยางตอเนื่อง พรอมที่จะออกปฏิบัติหนาที่ไดตลอดเวลาเมื่อมีการรองขอ

6.3.1.3 ควรมีการจัดกิจกรรมพบปะสังสรรค ระหวาง ผูบริหาร เจาหนาที่ และอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เพื่อสรางความสัมพันธอันดี เกิดความสามัคคีภายในกลุม 6.3.1.4 ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานของ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ ถอืวาอยูในระดับปานกลาง เชน ขาดการมีสวนรวมและขาดวัสดุอุปกรณในการปฏิบัติหนาที่ ผูบริหารและผูเกี่ยวของควรจะรวมมือในการแกไขปญหา

6.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาวิจัยคร้ังตอไป 6.3.2.1 ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) กบังานหนึ่งตําบลหนึ่งทีมกูภัย (OTOS) ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย เพื่อเตรียมความพรอมในการเผชิญเหตุหากเกิดภัยพิบัติข้ึนในพื้นที่และสามารถใช

67

เครื่องมืออุปกรณในการคนหาผูเสียชีวิตและชวยเหลือผูประสบภัยไดอยางถูกวิธีและรวดเร็ว ซึ่งสามารถลดอัตราการเสียชีวิตของผูประสบภัยไดเปนจํานวนมากในอนาคต 6.3.2.2 ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ องคประกอบตาง ๆ ที่ทําใหงานอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ประสบผลสําเร็จในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อเปนแนวทางในการสงเสริมและพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหกาวหนายิ่งขึ้น

68

ภาคผนวก

69

แบบสมัภาษณ โครงการวิจัย เรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ

การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

สัมภาษณวันที่...........เดือน.........................พ.ศ............ระหวางเวลา..............ถึง............... ผูสัมภาษณชื่อ.....................................................................................................................

(สําหรับผูบรหิารและผูนําชุมชน)

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานผูใหสัมภาษณ

ผูใหสัมภาษณชื่อ...........................................นามสกุล....................................................... วัน เดือน ป เกิด............................................อายุ..............ป อยูบานเลขที่........................ หมูที่..............ตําบล..............................อําเภอ...............................จังหวัด......................... นับถือศาสนา...................................สถานภาพ.................................................................. อาชีพ........................................................................รายได...............................บาท/เดือน การศึกษา............................................................................................................................ ...........................................................................................................................................

ตอนที่ 2 ประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชน

1. มีประสบการณชีวิตในการทํางานในชุมชนในเรื่องใดบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

70

ตอนที่ 3 นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่

1. มีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ที่จะนําไปสูความสําเร็จอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... 2. มีแนวทางในการประสานงานกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ใหมีประสิทธิภาพอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... 3. มีวิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อใหเกิดผลดีตอหนวยงานอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................

ตอนที่ 4 ปญหาในการดําเนินการและแนวทางแกไข 1. มีปญหาในการดําเนินการหรือไมและจะมีแนวทางในการแกไขอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ขอบพระคุณท่ีใหความรวมมือ

71

แบบสมัภาษณ โครงการวิจัย เรื่อง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลตอการพัฒนาทักษะ

การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ

สัมภาษณวันที่...........เดือน.........................พ.ศ............ระหวางเวลา..............ถึง............... ผูสัมภาษณชื่อ.....................................................................................................................

(สําหรับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน) ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานผูใหสัมภาษณ

ผูใหสัมภาษณชื่อ...........................................นามสกุล....................................................... วัน เดือน ป เกิด............................................อายุ..............ป อยูบานเลขที่........................ หมูที่..............ตําบล..............................อําเภอ...............................จังหวัด......................... นับถือศาสนา...................................สถานภาพ.................................................................. อาชีพ........................................................................รายได...............................บาท/เดือน การศึกษา............................................................................................................................ ........................................................................................................................................... ตอนที่ 2 ประสบการณชีวิตการทํางานในชุมชน 1. มีประสบการณชีวิตในการทํางานในชุมชนในเรื่องใดบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................................... 2. แรงจูงใจในการสมัครเขาเปนอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

72

ตอนที่ 3 การนํานโยบายไปปฏิบัติ 1. ทีผ่านมาไดรับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการปฏิบัติหนาที่เพียงพอ หรือไม เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... 2. มปีญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร หรือเขารวมปฏิบัติ หนาที่เมื่อมีการสั่งใชหรอืไม เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... 3. ตองการใหองคการบริหารสวนตําบลสนับสนุนในเรื่องใดบาง ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ตอนที่ 4 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ 5. มปีญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่อยางไรบาง จะมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอบพระคุณท่ีใหความรวมมือ

73

ประมวลสัญญาณรหัสสากลและคําพูดที่ใชเรียกขานในการติดตอสื่อสาร ระหวางการใชเครื่อง รบั- สงวิทยุ ติดตอกันเปนประจําตามระเบียบ

ประมวลสัญญาณ ความหมาย ตัวเลขที่ใช

ในการเรียกขาน

เขามาได ทราบ

รับปฏิบัต ิเปลี่ยน

เลิก

ศูนยบอกเวลา

ว 0 ว 00 ว 1 ว 2 ว 3

- ถาเปนตัวเลขของประมวลสัญญาณ ว.ใหอานเต็มจํานวน เชน ว61 ใหอานวาหกสิบเอ็ดหรือ ว 500 ใหอานวา หารอย เปนการอานหมายเลขโทรศัพท 2 ใหอานสองไมใหอาน โทร ถาเปนการนับ นับจํานวนใหอานเลขเปนหลักเชน 11 ใหอานวา สิบหนึ่ง หรือ 21 ใหอาน ยี่สิบหนึ่ง แตถาเปนนามขาย ที่เปนตัวเลขใหอานเปนตัวเลข เชน ท01 ใหอาน ท ศูนยหนึ่ง หรือวิศนุ 10 ใหอาน วิศนุหนึ่งศูนย - ความหมายวา ใหสงขาวที่ตองการนั้นเขามาได ใชเฉพาะแมขาย - ไดรับขอความสุดทายดีแลว - ไดรับทราบขอความดีแลวปฏิบัติ - เปนการจบขอความที่สงวิทยุตอนหนึ่ง และตองการคําตอบ อีกฝายหนึง่ - เปนการจบขอความสงและไมตองการคอยรับอีก (ถาเปนศูนยวิทยุ แมขายใหบอกเวลาแทน) - เมื่อรับ – สงเสร็จแลวศูนยแมขายจะบอกเวลาทุกครั้งแสดงวาศูนย ติดตอวิทยกุับลูกขายเสร็จเรียบรอยแลว หากมีลกูขายอื่นใด จะติดตอเขาไปใหติดตอได - คําสั่ง - คอยกอนหรือใหหยุดไวกอน - ขอทราบที่อยู , อยูที่ไหน , ที่อยูที่ - ไดยินหรือไม - ใหทวนขอความใหม

74

ประมวลสัญญาณ ความหมาย ว 4 ว 5 ว 6 ว 7 ว 8 ว 9 ว 10

ว 11 ว 12

ว 13 สถานที่

ว 02 ว 03 ว 06 ว 09

เปาหมาย ลอหมุน ว 14 ว 15 ว 16 16 1 16 2 16 3 16 4

- ออกปฏิบตัิงาน, ทํางาน - กําลังปฏิบตัิราชการลับ ไมสามารถจะบอกไดเปนเรื่องปกปด - รายงานติดตอ - ประสบเหตุคับขัน หรือขอกําลังเพิ่ม - สงขอความ , หนังสือราชการ, จดหมาย - มีเหตุฉุกเฉิน , หรือมีเหตุเพลิงไหม - หยุดปฏิบตัิราชการ (กรณีการปฏิบตัิงานดับเพลิง หมายถึง หยุดใชน้ํา ) - พักรบ (กรณีการปฏิบตัิงานดับเพลิงหมายถึงเก็บอุปกรณทั้งหมด) - ใหหยุดใชวิทยุ - ใหติดตอทางโทรศัพท ,โทรศัพท

- บานพัก - บริการ - หองทํางาน - สถานีดับเพลิง - สถานที่, บุคคล ,หรือสิ่งของ ,ที่ตองการทราบ - รถยนต - เลิกปฏิบตัิการหรือเสร็จภารกิจ - ใหไปพบ, มาพบ, เห็น,มาดู - ขอใหทราบเสียงวิทยุ, ทดสอบเสียง - มีเสียงรบกวนมาก - เสียงไมชัดเจน เสียงขาดหาย - เสียงชัดเจนพอใช - เสียงชัดเจนดี

75

ประมวลสัญญาณ ความหมาย 16 5 ว 17

ว 18 ว 19 ว 20 ว 21 ว 22 ว 23 ว 24 ว 25 ว 26 ว 27 ว 28 ว 29 ว 30 ว 31 ว 32 ว 33 ว 34 ว 35 ว 36 ว 37 ว 38 ว 39

- เสียงชัดเจนดีมาก - มีเหตุอันตรายจุดใดจุดหนึ่งหามผาน (กรณีการปฏิบัติการ ดบัเพลิง หมายถึง มีเหตุเพลิงไหมรายใหญ ) - รถออกทดลองเครื่อง , ซอมรถ ,ซอมวิทยุ มีสิ่งชํารุดเสียหาย - สถานีวิทยุอยูในภาวะคับขัน หรือเสียหายชํารุด - จับกุม ,ตรวจคนสถานที่ , ตรวจคนผูสงสัย - ออกจาก - ถึง - ผาน - เทียบเวลา,ขอทราบเวลา - จะไปที่ - ติดตอทางวิทยุใหนอยที่สุด , ใหใชรหัสวิทยุติดตอ - โทรพิมพ , เครื่องพิมพดีด , พิมพดีด - มีการประชุม - มีขอราชการ,มีราชการ - คน,จํานวนคน - ใหเปลี่ยนความถี่ชองที่ 1 - ใหเปลี่ยนความถี่ชองที่ 2 - ใหเปลี่ยนความถี่ชองที่ 3 - ใหเปลี่ยนความถี่ชองที่ 4 - ใหเตรียมพรอมที่จะปฏิบัติการทันที่ - ใหเตรียมพรอมเต็มอัตรา - ใหเตรียมพรอมครึ่งอัตรา - ใหเตรียมพรอมที่หนึ่งในสาม - การจราจรคับคั่ง การจราจรติดขัดไมสะดวก

76

ประมวลสัญญาณ ความหมาย ว 40 ว 41 ว 42 ว 43 ว 45 ว 49 ว 50 ว 51 ว 60 ว 61 ว 62 ว 64 ว 88 ว 89 ว 90 ว 98 ว 100 ว 200 ว 606

ว 607 ว 2 ว 8 ว 6 ไม ว ว 211

ว 221 ว 231

- อุบัติเหตุรถชนกัน (ระบุเปนรถอะไร) - สัญญาณไพจราจรเสีย - รถนําขบวน - ดานตรวจ - ขออนุญาตออกนอกสถานที่เกินกวาหนึ่งชั่วโมง - ขอทราบความเสียหาย, ความเสียหาย - อาหาร, รับประทานอาหาร - ขอลางาน,หยุดงาน - ภรรยา ( ก,ข,ค, ) - ขอขอบคุณ - เงิน - ปวย - มีการดื่มสุรา,เหลา - มีการเลนการพนัน, ไพ , ไฮโล ฯลฯ - จุดนัดหมาย,ที่นัดหมาย - จะเขาหองน้ํา - มีการประทุษภัยตอทรัพยสิน (ขโมยสิ่งของ ) - มีการประทุษรายแกรางกาย มีการทะเลาะวิวาท - มีเหตุทะเลาะวิวาททํารายรางกายไมถึงบาดเจ็บ - มีเหตุทํารายรางกายไดรับบาดเจ็บ - ทํารายรางกายใด - ทํารายรางกายจนถึงแกความตาย - คนรายมอีาวุธปน - บุตรชาย หญิง - ขโมยทรพัยสิน 1 ลานบาท

77

ประมวลสัญญาณ ความหมาย ว 241

ว 250 ว 300 ว 334 ว 400 ว 505 ว 510 ว 511 ว 512 ว 600 ว 601 ว 602 ว 603 ว 604 ว 6052 ว 2 ว 0

- ญาติ เพื่อน - ถูกตอง - สงสัยวาจะมีระเบิด - ไดเกิดระเบิดขึ้นแลวมีการระเบิด - วัตถุไมระเบิด - มีผูมาพบมีผูมาคิดกอการราย - มีนักเรียนรวมกลุมจะกอเหตุ - มีนักเรียนกอเหตุรายจะหลบหนีไป - มีนักเรียนยกพวก - กําลังมีการละเลนบันเทิงภาพยนตร ทีวี - กินเลี้ยงดืม่สุราอาหารในภัตตาคารหรือไนคลับ งานกินเลี้ยง - ไมถูกตอง - มีธรุะสวนตัว - ทราบขอความแลวเลิกติดตอ - ติดตอไปแลวแตไมตอบรับ - รับทราบคําสั่งนั่นดีแลวใชในกรณีผูบังคับบัญชาสั่งงาน

78

ภาพประกอบการศึกษา

79

ภาพอาคารที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ สรางป พ.ศ.2551 ปจจุบันใชเปนศูนย อปพร.อบต.โนนธาตุ

ภาพการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร.ประจําจุดบริการประชาชน ในชวงเทศกาลปใหม 2551

80

ภาพการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร.ประจําจุดบริการประชาชน ในชวงเทศกาลปใหม 2551

ภาพการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร.ประจําจุดบริการประชาชน ในชวงเทศกาลปใหม 2552

81

ภาพการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร.ในการชวยงานฌาปนกิจศพ

ภาพการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติหนาที่ของ สมาชิก อปพร. ตามนโยบาย ของกระทรวงมหาดไทย

82

ภาพการทดสอบสมรรถภาพรางกาย

ภาพการฝกทบทวนสมาชิก อปพร.เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏบิัติหนาที่

83

ภาพการฝกทบทวนสมาชิก อปพร.เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏบิัติหนาที่

ภาพการฝกอบรมการดับเพลิงเบื้องตน

84

บรรณานุกรม ชลวรรณ ไชยวิชิต. (2544). ความตองการในการพัฒนาทักษะการบริหารของผูบริหาร ธนาคารออมสิน:ศึกษาเฉพาะกรณีผูบริหารในสังกัดธนาคารออมสินภาค. คนเมื่อ 15 มกราคม 2552, จาก http://dcms.lib.ru.ac.th/detail.nsp ดิชา คงศรี. (2544). ประสิทธิผลของการนํานโยบายการปองกันอัคคีภัยในอาคาร ไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีกรุงเทพมหานคร. คนเมื่อ 15 มกราคม 2552, จาก http://dcms.lib.ru.ac.th/detail.nsp ทัศนีย ตั้งบุญเกษม. (ม.ป.ป.). การบริหารเชิงกลยุทธ. คนเมื่อ 7 กุมภาพันธ 2552, จาก http://www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=1251 นภัสสร แนววงศ. (2542). ปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาบุคลากรและความสําเร็จ ขององคการในภาครัฐ : ศึกษาเฉพาะกรณีของสํานักงบประมาณ. คนเมื่อ 15 มกราคม 2552, จาก http://dcms.lib.ru.ac.th/detail.nsp ธีรพงษ แกวหาวงษ. (2543). กระบวนการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง (พิมพครั้งที่ 4). ขอนแกน : โรงพิมพคลังนานาวิทยา. บวร ประพฤติดี ดร. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร : ศูนยเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง. ยุพดี ฐิติกุลเจริญ. (2537). ทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ชวนพิมพ. วัชรี ทรงประทุม รศ.ดร. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร : ศูนยเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง. วัฒนา พุทธางกูรานนท รศ. (2535). หลักการประชาสัมพันธ (พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.

85

ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนกลาง. (2547). คูมือการปฏิบัติงานอาสาสมัคร ปองกันภัยฝายพลเรือน. กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย. ศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ. (2550). แผนปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.2550. งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย. สมยศ นาวกีาร. (2540). การบริหารและพฤติกรรมองคการ (พิมพครั้งแรก). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพตะวันออก. สมิหรา จิตตลดากร รศ.ดร. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร : ศูนยเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง. สํานักเลขาธิการปองกันภัยฝายพลเรือน. รวมระเบียบกฎหมายการปองกันภัย ฝายพลเรือน. กรมการปกครอง. อรนุช เลิศจรรยารักษ รศ., ดาราวรรณ สุขุมาลชาติ. (2533). ทฤษฎีการสื่อสารเบื้องตน. (พิมพครั้งที่ 8). กรงุเทพมหานคร : โรงพิมพ สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. อรัสธรรม พรหมมะ ดร. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร : ศูนยเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง. อรุณีประภา หอมเศรษฐี รศ. (2535). การสื่อสารมวลชนเบื้องตน (พิมพครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.

86

ประวัติผูเขียน

ชื่อ ชื่อสกุล นายสมชาย อุทัยประดษิฐ วัน เดือน ป เกิด 1 พฤษภาคม 2506 สถานที่เกิด จังหวัดขอนแกน วุฒิการศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนหนองสองหองวิทยา จังหวัดขอนแกน ปการศึกษา 2528 ปรญิญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปการศึกษา 2538 ตําแหนงหนาที่ การงานในปจจุบัน ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงาน อบต.7) องคการบริหารสวนตําบลโนนธาตุ หมูที่ 9 ตําบลโนนธาตุ อําเภอหนองสองหอง จังหวัดขอนแกน 40190

87

คําปฏิญาณตน ขาพเจาขอรับรองวาเอกสารชิ้นนี้เปนผลงานเขียนของขาพเจา หากมหาวิทยาลัย ตรวจสอบพบในภายหลังวาเปนเอกสารที่ลอกเลยีนจากแหลงใดแหลงหนึ่ง หรือจาก เอกสารของผูอ่ืน ขาพเจายอมที่จะใหมหาวิทยาลัยเพิกถอนปริญญาบัตรของขาพเจา โดยไมขอทักทวงแตประการใด (ลงชื่อ)................................................ (นายสมชาย อุทัยประดิษฐ) รหัสประจําตัว 5022801827

88