แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

19

Click here to load reader

Upload: jiraporn

Post on 28-May-2015

14.289 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัส ว 33101 ชั้น ม.3

สาระท่ี 5 พลังงาน หนวยการเรียนรูท่ี 4 เรื่อง ไฟฟา

จํานวนเวลา 20 คาบ

สาระการเรียนรู 1. การคนพบและชนิดของไฟฟา 2. เซลลไฟฟาเคมี 3. เซลลสุริยะ 4. เคร่ืองกําเนิดไฟฟา 5. ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา 6. วงจรไฟฟาในบาน 7. เคร่ืองใชไฟฟาในบาน 8. การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทาน และคํานวณหาปริมาณท่ีเกี่ยวของ 2. สืบคนขอมูลและคํานวณหาพลังงานไฟฟาของเคร่ืองใชไฟฟาและคาไฟฟา

3. สืบคนขอมูล อภิปรายและเลือกใชเครื่องใช ไฟฟาท่ีใชในชีวิตประจําวันอยางถูกตอง ประหยัด และคุมคา

4. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายหลักการตอวงจรไฟฟาในบาน และสรางแบบจําลองติดต้ังวงจรไฟฟาในบานอยางถูกตอง ปลอด ภัยและประหยัด

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรสถานศึกษา 1. มีระเบียบวินัยในตนเอง 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเมตตากรุณา 4. มีความซื่อสัตย สุจริต 5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย 6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ท้ังของตนเองและสังคม

Page 2: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

กระบวนการจัดการเรียนรู 1. กระบวนการทดลอง 2. การสืบคนขอมูล 3. กระบวนการคิด

สาระสําคัญ นักวิทยาศาสตรชาวกรีกเปนผูคนพบไฟฟาโดยการนําเอาแทงอําพันถูกับผาขนสัตว แทงอําพันจะมี

อํานาจดูดสิ่งของตางๆท่ีเบาๆได เขาจึงใหชื่ออํานาจนี้วา ไฟฟา หรือ อิเล็คตรอน ทาลีสสรุปผลการทดลองวาเกิดจากการถายเทอิเล็คตรอนของวัตถุจากชนิดหนึ่ง ไปสูวัตถุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของกับประจุไฟฟาโดยตรง นั่นคืออะตอมของธาตุแตละชนิดจะประกอบดวยโปรตอนท่ีเปนประจุไฟฟาบวก และอิเล็คตรอนท่ีเปนประจุไฟฟาลบในจํานวนเทากันทําใหธาตุนั้นมีสภาพเปนกลาง แตถานําวัตถุมาเสียดสีกันจะเกิดการถายเทประจุไฟฟาทําใหวัตถุแสดงอํานาจไฟฟาออกมาได นักวิทยาศาสตรชาวอิตาเลียนชื่อวอลตา ไดคนพบไฟฟาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีและเรียกวา เซลลวอลเทอิก (Voltaic cell)

ชั่วโมงท่ี 1-3 การคนพบและชนิดของไฟฟา ขั้นนํา

1. ครูสนทนาพูดคุยกับนักเรียน เพ่ือกระตุนความคิดโดยถามนักเรียนวา ถาโลกนี้ไมมีไฟฟา จะเปน อยางไร ครูเปดโอกาสใหนักเรียนพูดคุยแสดงความคิดเห็นอยางเต็มท่ี หลังจากนั้น ครูถามตอไปวา นักเรียนทราบหรือไมวาไฟฟาท่ีเราใชกันทุกวันนี้ มาจากไหน เกิดขึ้นไดอยางไร 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ขั้นสอน

3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ท่ีมีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก

4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูท่ี 1 เร่ือง การคนพบไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมท่ี 1 5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูท่ี 2 เร่ือง ชนิดของไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2 6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทํากิจกรร ม

ขั้นสรุป 7. นักเรียนทุกคนสรุปความรูจากเรื่องท่ีเรียนมาท้ังหมดเปนแผนผังความคิด 8. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต

ทักษะการทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 9. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ

รับผิดชอบ และเพียรพยายาม

Page 3: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

10. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 1 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 2

3. ใบความรูท่ี 1 เรื่อง การคนพบไฟฟา 4. ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง การเกิดกระแสไฟฟา 5. ใบความรูท่ี 2 เรื่อง ชนิดของไฟฟา 6. ใบกิจกรรมท่ี 2 การเขียนแผนผังความคิด 7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 4-6 เซลลไฟฟาเคม ีขั้นนํา

1. ใหนักเรียนสังเกตตัวอยางเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ จากแผนภาพ 2. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ 3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลักจากเรียนเรื่องเซลลไฟฟาเคมีแลว นักเรียน

สามารถอธิบายหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคม ีขั้นสอน

4. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ท่ีมีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก

5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมท่ี 3 เร่ือง เซลลไฟฟาเคมีพรอมอุปกรณการทดลอง และทํา กิจกรรม พรอมกับบันทึกผลการทดลองในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายในกลุม

6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 7. กลุมท่ีเหลือ ตอบคําถามทายการทดลอง 8. นักเรียนศึกษาใบความรูท่ี 3 เร่ือง เซลลไฟฟาเคมีเพ่ิมเติม

ขั้นสรุป 9. นักเรียนและครูรวมกันสรุปหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคมี 10. ขณะท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต ทักษะ

การทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 11. ขณะท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ

รับผิดชอบ และเพียรพยายาม 12. นักเรียนทุกคนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดลงในสมุดบันทึก และสงครู

Page 4: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู

1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 3 2. ใบกิจกรรมท่ี 3 เร่ือง เซลลไฟฟาเคมี 3. ใบความรูท่ี 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี 4. แบบฝกที ่ 1 เรื่อง เซลลไฟฟาเคม ี5. แบบทดสอบ 6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 7-9 เซลลสุริยะ ขั้นนํา

1. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย การนํามาใชประโยชนและใชคําถามตามแนวคิดดังนี ้1.1 เราสามารถนําแสงอาทิตยมาใชประโยชนอยางไรบาง

(นักเรียนอาจตอบหลากหลาย เชน ใชถนอมอาหาร ใชตากผา ฯลฯ) 1.2 มีอุปกรณท่ีใดท่ีเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยมาเปนพลังงานไฟฟา (เซลลสุริยะ)

ขั้นสอน 2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 – 6 คน ท่ีมีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ

กําหนดหนาที่ของสมาชิก 3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมท่ี 4 เรื่อง เซลลสุริยะ พรอมอุปกรณการทดลอง พรอมกับบันทึก

ผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม 4. สุมตัวตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 5. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง 6. นักเรียนศึกษาใบความรูที4่ เร่ือง เซลลสุริยะ เพ่ิมเติม

ขั้นสรุป 7. นักเรียน และครูรวมกันสรุป หลักการทํางาน ของเซลลสุริยะ 8. ขณะท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในดานการสังเกต ทักษะ

การทดลอง และทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 9. ขณะท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรดานความรับผิดชอบและเพียรพยายาม

และความใจกวาง 10. นักเรียนทําแบบฝกที ่2 เรื่อง เซลลสุริยะ จํานวน 5 ขอ

Page 5: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

11. นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันตรวจ โดยครูคอยใหคําแนะนํา เพ่ือพัฒนาความรูความเขาใจ 12. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 4 2. ใบกิจกรรมท่ี 4 เร่ือง เซลลสุริยะ 3. อุปกรณการทดลองเรื่องเซลลสุริยะ 4. ใบความรูท่ี 4 เรื่องเซลลสุริยะ 5. แบบฝกท่ี 2 เร่ือง เซลลสุริยะ 6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 10-12 เคร่ืองกําเนิดไฟฟา ขั้นนํา

1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานไฟฟาท่ีใชกันอยูในปจจุบัน เพ่ือนําไปสูเครื่องกําเนิด ไฟฟา

2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลังจากเรียนเรื่องเคร่ืองกําเนิดไฟฟาแลวนักเรียน สามารถอธิบายหลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาได ขั้นสอน

3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 –6 คน ท่ีมีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ กําหนดหนาที่ของสมาชิก

4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมท่ี 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนําพรอมอุปกรณการทดลองเรื่องกระแส เหนี่ยวนํา พรอมกับบันทึกผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม

5. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 6. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง 7. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 5 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟาเพ่ิมเติม 8. ตัวแทนกลุมรับใบกิจกรรมท่ี 6 เรื่องเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับและกระแสตรง พรอมท้ังอุปกรณ

การทดลอง และทําการทดลองตามใบกิจกรรม 9. ตัวแทนกลุมรับใบความรูท่ี 6 เร่ือง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง ศึกษาใบความรู

และสงตัวแทนออกมาอภิปรายหนาชั้นเรียน ขั้นสรุป

10. นักเรียนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดในเร่ืองเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟา 11. ขณะท่ีนักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในดานทักษะการสังเกต

Page 6: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

การทดลองและการลงความเห็นจากขอมูล 12. ขณะนักเรียนทํากิจกรรม ครูสังเกตเจตคติทางวิทยาศาสตรดาน ความซื่อสัตย และความมีเหตุผล

13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. ใบกิจกรรมท่ี 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนํา 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 5 3. ใบความรูที่ 5 เรื่อง เคร่ืองกําเนิดไฟฟา 4. ใบกิจกรรมท่ี 6 เรื่อง เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง 5. อุปกรณการทดลอง เรื่อง เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง 6. ใบความรูที่ 6 เรื่อง เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง

7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 13-15 ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา ขั้นนํา

1. นักเรียนและครูทบทวนเรื่อง การผลิตกระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางแหลงกําเนิดไฟฟา กับเคร่ืองใชไฟฟา ขั้นสอน

2. ครูอธิบายเร่ืองความตางศักยของกระแสไฟฟาและการวัดกระแสไฟฟา 3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุมใหและกลุมทดลองตามใบกิจกรรมท่ี 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา

และบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง 4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเรื่อง การตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน การใชแอมมิเตอรและโวลต

มิเตอรในการวัดกระแสไฟฟา 5. ครูอธิบายเร่ือง ความตางศักยของกระแสไฟฟาของเครื่องใชฟาในบาน

6. ครูอธิบายเร่ือง กระแสไฟฟากับความตางศกัย แลวอภิปรายตามประเด็นตอไปนี ้ - น้ําในถังท้ังสองใบ มีพลังงานศักยตางกันหรือไม อยางไร - ในเวลาเทากัน น้ําไหลผานทอเล็กหรือทอใหญ อยางใดจะมีปริมาณมากกวากัน ขนาดของทอมีผลตอการไหลของน้ําหรือไม อยางไร

7. ครูอธิบายการคํานวณเกี่ยวกับความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความ ตานทานไฟฟา

8 ใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และ ความตานทานไฟฟา 9. ครูอธิบายเพ่ิมเติมในสวนท่ีขาด

Page 7: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

ขั้นสรุป 10. นักเรียนและครูสรุปความรูตามประเด็นตอไปนี ้- ความตางศักยของกระแสไฟฟา และการวัดกระแสไฟฟา - การตอไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม - ขอปฏิบัติเกี่ยวกับการใชไฟฟาในบาน 11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเปรียบเทียบการไหลของกระแสไฟฟาผานลวดตัวนํากับการไหล

ของน้ําจากท่ีสูงผานทอท่ีมีขนาดตางกัน 12. นักเรียนแตละคนสรุปความรูท่ีเรียนมาท้ังหมด เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึก

13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. ใบกิจกรรมท่ี 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 7 3. แบบฝกที่ 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความตานทานไฟฟา

4. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 15-16 วงจรไฟฟาในบาน ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ใหนักเรียนสังเกตหลอดไฟฟาและวิธีการตอหลอดไฟฟาในหองเรียนหรือบริเวณโรงเรียนวามี วิธีการตออยางไร มีอุปกรณไฟฟาอะไรบาง รวมกันอภิปราย ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเร่ือง การตอหลอดไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม และความแตกตางของการตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และการตอหลอดไฟฟาท่ีใชในบาน 3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุม แตละกลุมทดลองตามใบ กิจกรรมที่ 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควรตออยางไร พรอมท้ังบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง 4. แตละกลุมนําเสนอผลการทดลองหนาชั้นเรียน 5. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเรื่องการตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และสาธิตการทดลองเพ่ิมเติม

6. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนดหนาที่ของสมาชิก

7. นักเรียนศึกษาจากผังวงจรไฟฟาจากภาพแลวทําแบบฝกท่ี 4 เร่ืองวงจรไฟฟา 8. นักเรียนศึกษาใบความรู ท่ี 8 เรื่องวงจรไฟฟาในบาน 9. ครูกําหนดใหแบงกลุมออกมาสรุปความรูจากใบความรูท่ี 8 หนาชั้นเรียนดังนี้ กลุม 1 และ 5 สรุปความรูเรื่อง สายไฟ

Page 8: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

กลุม 2 และ 6 สรุปความรูเรื่อง สะพานไฟ กลุม 3 และ 7 สรุปความรูเรื่อง ฟวส กลุม 4 และ 8 สรุปความรูเรื่อง เตารับเตาเสียบ โดยแตละกลุมจับคูกันสรุปความรูแลวใหสมาชิกในหองเปนผูตัดสินวากลุมใดสามารถสรุปได

เขาใจมากท่ีสุด 10. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเรื่องการคํานวณหาคากระแสไฟฟาท่ีใชในบาน เพ่ือเลือกใชฟวสใหถูกตอง ขั้นสรุป

11. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงคร ู 12.นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมท่ี 8 2.ใบกิจกรรมท่ี 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควรตออยางไร 3. แบบฝกที่ 4 เรื่องวงจรไฟฟา 4. ใบกิจกรรมท่ี 8 เรื่อง วงจรไฟฟาในบาน

5. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 17 – 18 เคร่ืองใชไฟฟาในบาน ขั้นนํา

1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรยีนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเคร่ืองใชไฟฟาในบานของตนเองท่ีมีอยูท้ังหมด

2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเคร่ืองใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก

3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครือ่งใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑในการจําแนกดวย

4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด ขั้นสอน

5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนดหนาที่ของสมาชิก 6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเคร่ืองใชไฟฟาทุกประเภท 7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเม่ือตนคาบ และสอบถามวา กลุมใดที่แบงประเภทของเคร่ืองใชไฟฟาไดถูกตองบาง ขั้นสรุป

Page 9: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงคร ู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู 1. ใบความรูที่ 9 เร่ืองเครื่องใชไฟฟาในบาน

2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 17 – 18 เคร่ืองใชไฟฟาในบาน ขั้นนํา

1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรียนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเคร่ืองใชไฟฟาในบานของตนเองท่ีมีอยูท้ังหมด

2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเคร่ืองใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก

3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑในการจําแนกดวย

4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด ขั้นสอน

5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนดหนาที่ของสมาชิก 6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเคร่ืองใชไฟฟาทุกประเภท 7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเม่ือตนคาบ และสอบถามวา กลุมใดที่แบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาไดถูกตองบาง ขั้นสรุป

8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงคร ู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู

1. ใบความรูที่ 9 เร่ืองเครือ่งใชไฟฟาในบาน 2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงท่ี 19 - 20 การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา ขั้นนําเขาสูบทเรียน

Page 10: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

1. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการประหยัดไฟฟา เพราะเหตุใดจึงเห็นดวย และนักเรียนมีแนวปฏิบัติอยางไรในการประหยัดไฟฟา

2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนอภิปรายอยางอิสระ ขั้นสอน 3. ครูอธิบายวิธีการคิดคํานวณคาไฟ และใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 6 การคํานวณคาไฟฟา 4. ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ตเร่ือง 108 วิธีประหยัดพลังงานไฟฟา 5. จากขอมูลท่ีสืบคนได ใหแตละกลุมนําขอมูลมาสรุปเปนแผนผังความคิด พรองท้ังตกแตงใหสวยงามนาอาน และนํามาจัดบอรด ขั้นสรุป

8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงคร ู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา 10. ทําแบบทดสอบหลังเรียน

กิจกรรมเพิ่มเติม 1. ทําโครงการฟากกวานรวมใจประหยัดไฟเพ่ือในหลวง โดยใหนักเรียนทุกคนนําบิลคาไฟฟามาสงครูทุกสิ้นเดือน หรือทุกครั้งท่ีจายคาไฟ โดยครูกําหนดใหนักเรียนพยามประหยัดพลังงานไฟฟาที่ใชในบาน ถาหากคาไฟฟาแตละเดือนลดลง จะไดรับคะแนนเพ่ิมเปนกรณีพิเศษ ทํากิจกรรมนี้จนกระท่ังสิ้นปการศึกษา 2. ใหนักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจาก E – Library เร่ืองไฟฟา และสรุปความรูสงครู เพ่ือรับคะแนนเพ่ิมเติมพิเศษ

ส่ือการเรียนรู 1. แบบฝกที่ 6 การคํานวณคาไฟฟา 2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา 3. ทําแบบทดสอบหลังเรียน

การวัดผลและประเมินผล 1. วิธีการวัด

1.1 ประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร 1.2 ประเมินเจตคต ิ1.3 ตรวจแบบฝก 1.4 ตรวจแบบบันทึกการทดลอง 1.5 ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

Page 11: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

2. เคร่ืองมือวัดผลและประเมินผล 2.1 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2.2 แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร 2.3 แบบฝก 2.4 แบบบันทึกการทดลอง 2.5 แบบทดสอบหลังเรียน

3. เกณฑในการวัดผลและประเมินผล 3.1 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง

3.2 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง

3.3 เกณฑประเมินการตรวจแบบฝก คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง

3.4 เกณฑประเมินการตรวจแบบบันทึกการทดลอง คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง

3.5 เกณฑการประเมิน การตรวจแบบทดสอบหลังเรียน คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง

Page 12: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

กลุมท่ี ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1. ……………………………. เลขท่ี ………….. 4. ………………………………. เลขที ่…………… 2. .……………..……………. เลขท่ี ………….. 5. ………………………………. เลขที ่…………… 3. .……………..……………. เลขท่ี ………….. 6. ………………………………. เลขที ่…………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

ระดับคะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

3 2 1 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการทดลอง 3. ทักษะการจําแนกประเภท 4. ทักษะการจัดกระทําขอมูล 5. ทักษะการแปลความหมายจากขอมูล 6. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 7. ทักษะการสรุป

รวม

Page 13: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร

กลุมท่ี ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขท่ี ……….…….. 4. ………………………………. เลขท่ี ……………… 2 ..……………..……………. เลขที ่…………….. 5. ………………………………. เลขท่ี …………….. 3 .……………..……………. เลขท่ี ……….…….. 6. ………………………………. เลขท่ี ……………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

ระดับคะแนน เจตคติทางวิทยาศาสตร

3 2 1 1. ความซื่อสัตย

1.1 ไมเอาผลงานของผูอื่นมาเปนของตน 1.2 ตั้งใจทํางานดวยตนเอง

2. ความรับผิดชอบ และเพียรพยายาม 2.1 ทํางานเต็มความสามารถ 2.2 ทํางานครบถวน

รวม

Page 14: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

แบบประเมินคุณลักษณะ

กลุมท่ี ……………. ชัน้ …………………….. รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขท่ี …….…….. 4. ………………………………. เลขที ่………………… 2 ..……………..……………. เลขที ่………….. 5. ………………………………. เลขที ่………………… 3 .……………..……………. เลขท่ี …………... 6. ………………………………. เลขที ่………………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

ระดับคะแนน คุณลักษณะ

3 2 1 1. มีระเบียบวินัยในตนเอง 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเมตตากรุณา 4. มีความซื่อสัตย สุจริต 5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย 6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ทั้งของตนเองและสังคม

รวม

Page 15: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

เกณฑระดับคุณภาพดานความรูและทักษะ : การทําแผนผังความคิด ( mapping)

เกณฑการประเมิน 1. ใจความหลักถูกตอง 2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด) 3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง 4. สวยงาม นาสนใจ

ระดับคะแนน แปลความหมาย 3

(ด)ี ใจความหลักถูกตอง มีคําสําคัญ ใจความรองสนับสนุนใจความหลัก มีตัวอยางมีเสนโยงสัมพันธถูกตอง สวยงาม มีความคิดสรางสรรค นาสนใจ

2 (พอใช)

ใจความหลักถูกตอง ไมมีคําสําคัญ มีใจความรองอยูบางและสนับสนุนใจความหลัก มีเสนโยงสัมพันธ แตยังไมถูกตองท้ังหมด ออกแบบสวยแตไมแปลกใหม

1 (ปรับปรุง)

ใจความหลักไมถูกตอง ใจความรองไมสนับสนุนใจความหลัก เสนโยงสัมพันธไมถูก การออกแบบธรรมดา

แบบประเมินการทําแผนผังความคิด

กลุมท่ี ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขท่ี ……….. 4. ………………………………. เลขท่ี …………… 2 ..……………..……………. เลขที ่……….. 5. ………………………………. เลขท่ี …………… 3 .……………..……………. เลขท่ี ……….. 6. ………………………………. เลขท่ี ………….… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

ระดับคะแนน คุณลักษณะ

3 2 1 1. ใจความหลักถูกตอง 2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด) 3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง 4. สวยงาม นาสนใจ

รวม

Page 16: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

บันทึกทายแผนการสอน ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………)

Page 17: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

ผูสอน ความเห็นหรือขอเสนอแนะของหัวหนาหมวดวิชา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………)

หัวหนาหมวดวิชา ความเห็นของผูอํานวยการหรือผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการ หรือผูที่ไดรับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………)

Page 18: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
Page 19: แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า