คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

74
คูมือ คามาตรฐาน ทางอาชีวอนามัย Occupational Health Standard Manual กองอาชีวอนามัย กระทรวงสาธารณสุข .. 2545

Upload: nuo-lek

Post on 29-Jul-2015

341 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

คูมือคามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

Occupational Health StandardManual

กองอาชีวอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2545

Page 2: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

คณะผูจัดท ํา

ที่ปรึกษา 1. นายแพทยกํ าจัด รามกุล ผูอ ํานวยการ กองอาชีวอนามยั 2. นายแพทยสมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ ผูชวยผูอ ํานวยการ

กองอาชีวอนามยั

คณะกรรมการพฒันาวิชาการ จัดทํ าเนื้อหา 3. นางสายใจ พินิจเวชการ ประธานกรรมการ

พัฒนาวิชาการ 4. นายส ําเริง สาลีวัฒนพงศกุล รองประธาน 5. นางสุธิดา อุทะพันธ กรรมการ 6. นางชนิกานต สมบุญตนนท กรรมการ 7. นางสาวอรพนัธ อันติมานนท กรรมการ 8. วาที่รอยตรีคัมภีร โพธิลักษณ กรรมการ 9. นางสาวกมลทิพย ทองกวม กรรมการ10. นายกมล จันทรา กรรมการ11. นางสาวณฐัชยา ดํ ารงไทย กรรมการ

กลุมงานอบรมและเผยแพร 1. นางรชันีกร ชมสวน บรรณาธกิาร 2. นางสาวจุไรรัตน ศรีมณี ผูชวยบรรณาธิการ

Page 3: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

ค ํานํ า

วัตถุประสงคของคูมือเลมนี้ คือเพื่อใหผูอานไดใชเปนแนวทางในการปฎิบัติงานบริการอาชีวอนามยั เปนขอเสนอแนะส ําหรบังานทางดานสขุศาสตรอตุสาหกรรม งานทางดานอาชีวเวชศาสตร เพือ่การควบคุมสิง่ท่ีอาจเปนอนัตรายตอสขุภาพผูปฏบัิติงาน ภายในเลมจะกลาวถึง คามาตรฐานสารเคมท่ีีใชในภาคอุตสาหกรรม , ดัชนีวัดการสัมผัสสารเคมทีางชีวภาพ (BEIs) ,มาตรฐานการสมัผสัปจจัยทางกายภาพ คามาตรฐานเหลาน้ีเปนเครือ่งมอืท่ีส ําคัญในการตัดสนิใจ การวางแผนการปฏบัิติงานบรกิารอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอม ผูใชคูมือเลมน้ีควรศึกษาคูมือนี้ในแตละสวนใหเขาใจโดยละเอียดกอน เพื่อจะไดใชคูมือไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการตัดสินใจเก็บขอมูลดวยวิธีท่ีถูกตองและนํ ามาเปรียบเทียบกับคามาตรฐานท่ีเหมาะสม เพื่อสุขภาพอนามยัและความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน

กองอาชีวอนามัยหวังวา “คูมอืคามาตรฐานทางอาชีวอนามัย” เลมน้ีจะเปนประโยชนกับผูท่ีทํ างานทางดานอาชีวอนามัย ทานไมควรพลาดท่ีจะมีคูมือเลมน้ีติดตัว หรืออยูใกลมือที่สุด

หากทานผู อานและใชคู มือเลมน้ีมีขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะเกี่ยวกับคูมือประการใด กรณุาติดตอคณะกรรมการพัฒนาวิชาการ กองอาชีวอนามยั กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 11000 หรอืท่ี [email protected] จักขอบพระคุณอยางสูง

กองอาชีวอนามยั

Page 4: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

สารบัญ

หนา• ! ค ํานํ า I• ! สารบัญ II• ! มาตรฐานสารเคมี 1

1.! สารเคมีทางการเกษตรฯ ( ตาราง 1 ) 12.! สารเคมีท่ัวไป ( ตาราง 2 ) 53.! สารทํ าละลาย ( ตาราง 3 ) 74.! ปริมาณฝุนแรในบรรยากาศ( ตาราง 3 ) 115.! สารเคมีท่ีกํ าหนดเปน “สารเคมีอันตราย” 156.! คามาตรฐานสารเคมีที่เสนอแนะโดย 28

ACGIH (American Conference ofGovernmental Industrial Hygiene )

• ! ดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ 34• ! มาตรฐานการสัมผัสปจจัยทางกายภาพ 51

- เสียง 51- แสง 56- อุณหภูมิ 59

Page 5: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 1 -

มาตรฐานสารเคมี

ตาราง 1 แสดงคามาตรฐานสารเคมตีลอดระยะเวลาทํ างานปกติ ภายในสถานท่ีประกอบการท่ีใหลูกจางทํ างาน จะมีปริมาณความเขมขนของสารเคมใีนบรรยากาศของการทํ างานโดยเฉลี่ยไมเกินกวาคาท่ีกํ าหนดไวในตาราง ดังน้ี

ปริมาณสารเคมีลํ าดับที่

ช่ือสารเคมีสวนในลาน สวนโดยปริมาตร

(ppm)

มิลลิกรัมตออากาศ

1 ลูกบาศกเมตร

(mg/M3)1.2.3.4.5.6.7.8.

9.10.11.12.13.

AldrinAzinphos-methylChlordaneDDTDDVPDichlorvosDieldrinDimethy1,2-dibromo2,2 dichloroethylphosphate(Dibrom)EndrinGuthionLead arsenateLindaneMalathion

--------

-----

0.250.20.5111

0.253

0.10.20.150.515

Page 6: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 2 -

14.15.16.17.

18.19.20.21.22.23.24.25.26.27.28.29.30.

3132.33.34.35.36.37.38

MethoxychlorNicotineSystoxThallium (Solublecompounds) as TIThiramToxapheneParathionPhosdrinPyrethrumWarfarinCarbaryl (Sevin(R))2,4-DEP , FaloneParaquat2, 4, 5 - TAcetic AcidAmmoniaArsenic and Compounds(as As)ArsineBiphenylBisphenol ACarbon dioxideCarbon monoxideChlorineChlorine dioxideโครเม่ียมและสารประกอบของโครเม่ียม

----

----------

1050-

0.050.020.5

5,000501

0.1-

150.50.10.1

50.50.110.15

0.15100.51025350.5

0.21

2.89,000

553

0.31

Page 7: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 3 -

39.40.41.42.43.44.45.46.47.48.49.50.

51.52.53.54.55.56.57.58.59.60.

61.

ฟูมของทองแดงฝุนหรือละอองของทองแดงCotton dust (raw))Cyanide as CNEthyl alcohol (Ethanol)Fluoride (as F)FluorineHydrogen cyanidelron oxide fumeMethyl alcohol (Methanol)Nickel carbonylNickel, Metal and SolubleCompounds, as NiNitric acidNitric oxideNitrogen dioxideNitroglycerinSodium hydroxideSulfur dioxideSulfuric acidTetraethy lead (as Pb)Tetramethyl lead (asPb)ดบีกุ และสารประกอบอนินทรียของดีบุกดบีกุ และสารประกอบอินทรียของดีบุก

----

1,000-

0.110-

2000.001

--2255

0.2-5----

-

0.1115

1,9002.50.21110260

0.0070.51530922131

0.0750.07

2

0.1

Page 8: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 4 -

62.63.

64.65.66.67.68.69.70.71.72.

PhenolPhosgene (Carbonylchloride)PhosphinePhosphoric acidPhosphorus (yellow)Phosphorus pentachloridePhosphorus pentasulfidePhosphorus trichorideXylene (Xylol)Zinc chloride fumeZinc oxide fume

50.1

0.3----

0.5100

--

190.4

0.41

0.1113

43515

Page 9: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 5 -

ตาราง 2 แสดงคามาตรฐานสารเคมไีมวาระยะเวลาใดของการทํ างานปกติ หามมิใหนายจางใหลกูจางทํ างานในท่ีท่ีมีปรมิาณความเขมขน ของสารเคมีในบรรยากาศของการทํ างานเกินกวาคาที่ก ําหนดไวในตาราง ดังน้ี

ปริมาณสารเคมีลํ าดับที่

ชื่อสารเคมี สวนในลานสวนโดยปริมาตร(ppm)

มิลลิกรัมตออากาศ1 ลูกบาศกเมตร

(mg/M3)1.2.3.4.

5.6.7.

8.9.10.11.12.13.

Allyl glycidyl ether (AGE)Boron trifluorideButylamineTert – Buty chromate (asCrO3)Chlorine trifluorideChloroacetaldehydeChloroform(trichloromethane)O-DichlorobenzeneDichloroethyl ether1,1-Dichloro-1-nitroethaneDiglycidyl ether(DGE)Ethyl mercaptanEthylene glycol dinitrateand / or Nitroglycerin

1015

-0.11

505015100.5100.2

45315

0.10.43

24030090602.8261

Page 10: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 6 -

14.15.16.17.18.19.20.

21.22.23.24.

Hydrogen chloride)IodineManganeseMethyl bromideMethyl mercaptanMethyl styreneMethylene bisphenylisocyantate (MDI)Monomethyl hydrazineTerphenylsToluene-2, 4-DiisocyanateVinyl chloride

50.1-

20101000.02

0.21

0.021

71580204800.2

0.359

0.142.8

Page 11: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 7 -

ตาราง 3 แสดงคามาตรฐานสารเคม ีสวนใหญสารทํ าละลายที่หามมิใหนายจางใหลูกจางทํ างานในที่ที่มีปริมาณความเขมขนของสาร เกนิกวาที่ก ําหนดไวในตาราง ดังนี้

ปริมาณสารเคมี

ล ําดับที่ ชื่อสารเคมีปริมาณความเขมขนสูงสุดในชวงเวลาที่จ ํากัด

ปริมาณความเขมขนที่อาจยอมใหมีได

ความเขมขนเฉลี่ยตลอดระยะเวลาทํ างานปกติ ปริมาณความ

เขมขนระยะเวลาที่ก ําหนดใหทํ างานได

1.2.

BenzeneBeryllium andBeryllium compounds

10 ppm2 µg/M3

50 ppm25 µg/M3

10 นาที30 นาที

25 ppm5 µg/M3

Page 12: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 8 -

3.4.5.6.

7.8.

9.10.

Cadmium fumeCadmium dustCarbondisulfideCarbontetrachloride

Ethylene dibromideEthylene dichloride

FomaldehydeFluoride as dust

1.0 mg/ M3

0.2 mg/ M3

20 ppm10 ppm

20 ppm50 ppm

3 ppm2.5 mg/M3

- -100 ppm200 ppm

50 ppm200 ppm

10 ppm-

--

30 นาที5 นาทีในทุกชวงเวลา 4 ชั่วโมง5 นาที5 นาทีในทุกชวงเวลา 3 ชั่วโมง30 นาที

-

3 mg/ M3

0.6 mg/ M3

30 ppm25 ppm

30 ppm100 ppm

5 ppm-

Page 13: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 9 -

11.

12.

Lead and its inorganiccompoundsMethyl chloride

0.2 mg/M3

100 ppm

-

300 ppm

-

5 นาทีในทุกชวงเวลา 3 ชั่วโมง

-

200 ppm

13.

14.15.

16.

Methylene chloride

Organo (alkyl) mercuryStyrene

Trichloroethylene

500 ppm

0.01 mg/M3

100 ppm

100 ppm

2,000 ppm

-600 ppm

300 ppm

5 นาทีในทุกชวงเวลา 2 ชั่วโมง

-5 นาทีในทุกชวงเวลา 3 ชั่วโมง5 นาทีในทุกชวงเวลา 2 ชั่วโมง

1,000 ppm

0.04 mg/M3

200 ppm

200 ppm

Page 14: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 10 -

17.

18.19.20.21.

Tetrachloroethylene

TolueneHydrogen sulfideMercuryกรดโครมิค และเกลือโครเมตส

100ppm

200 ppm - - -

300 ppm

500 ppm50 ppm - -

5 นาทีในทุกชวงเวลา3 ชั่วโมง10 นาที10 นาที - -

200 ppm

300 ppm20 ppm0.05 mg/M3

0.1 mg/M3

Page 15: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 11 - ตาราง 4 แสดงคามาตรฐานสารเคมีที่หามมิใหลูกจางทํ างานในที่ที่มีปริมาณฝุนแรในบรรยากาศของการท ํางาน

ตลอดระยะเวลาการทํ างานปกติโดยเฉลี่ยเกินกวาคาที่ก ําหนดไวในตาราง ดังนี้ลํ าดับ ชือ่สารเคมี ปริมาณฝุนแร, เฉลี่ยตลอดระยะเวลาการท ํางานปกติที่ Mppcf mg/M3

1. Silica Crystalline-! Quartz ฝุนขนาดที่สามารถเขาถึงและสะสมในถงุลมของปอดได (Respirable dust)

-! Quartz ฝุนทุกขนาด (Total dust)

250 % SiO2+ 5

-

10 mg/M3

% SiO2+ 2

30 mg/M3

% SiO2+ 2

Page 16: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 12 -

-! Cristobalite 1 250 2 % SiO2+ 5

1 250 2 % SiO2+ 5

1 10 mg/M3

2 % SiO2+ 2

1 10 mg/M3

2 % SiO2+ 5

2. Amorphus รวมทั้งแรธรรมชาติ 20 80 mg/M3

% SiO2

Page 17: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 13 -

3 Silicates (ที่มผีสมซิลิกาตํ ่ากวา 1% )-! Asbestos-! Tremolite-! Talc พวกที่เปนเสนใย(Asbestos form)-! Talc พวกที่ไมเปนเสนใย(non-asbestos form)-! Mica-! Soapstone-! Portland cement-! Graphite

5*

5*

5*

2020205015

-------

2.4 mg/M3

Page 18: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 14 -

-! Coal dust ที่ม ีSiO2 นอยกวา 5 %-! Coal dust ที่ม ีSiO2 มากกวา 5 %

--

10 mg/M3

% SiO2+ 2

4. ฝุนที่กอใหเกิดความรํ าคาญ(Inert or Nuisance dust)-! ฝุนขนาดที่สามารถเขาถึงและสะสมในถุงลมของปอดได (Respirable dust)

-! ฝุนทุกขนาด (Total dust)

15

50

15 mg/M3

15 mg/M3

Page 19: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 15 -

ตาราง 5 แสดงสารเคมชีนิดและประเภทตอไปน้ี ซึง่มปีริมาณตัง้แตท่ีก ําหนดขึน้ไปเปน “สารเคมอัีนตราย” (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ืองความปลอดภัยในการทํ างานเกีย่วกบัสารเคมอัีนตราย ขอ 2)

ช่ือสาร ปริมาณ1. 4-AMINODIPHENYL2. BENZIDINE3. BENZIDINE SALTS4. DIMETHYLNITROSAMINE5. 2-NAPHYLAMINE6. BERYLLIUM (POWDERS, COMPOUNDS)]7. (BIS (CHLOROMETHYL) ETHER)]8. 1,3-PROPANESULTONE9. (2,3,7,8-TETRACHLORODIBENZO- P-DIOXIN(TCDD)10. ARSENIC PENTOXIDE, ARSENIC (v) ACIDS AND SALTS11. ARSENIC TRIOXIDE, ARSENIC (III) ACIDS AND SALTS12. ARSENIC HYDRIDE(ARSINE)13. DIMETHYLCARBAMOYL CHLORIDE14. 4-(CHLOROFORMYL) MORPHOLINE

1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.10 ก.ก.

1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.

500 ก.ก.

100 ก.ก.

10 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.

Page 20: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 16 -

15. CARBONYL CHLORIDE (PHOSGENE)16. CHLORINE17. HYDROGEN SULPHIDE18. ARCYLONITRILE19. HYDROGEN CYANIDE20. CARBON DISULPHIDE21. BROMINE22. AMMONIA23. ACETYLENE (ETHYNE)

750 ก.ก.

25 ตนั50 ตนั200 ตนั20 ตนั200 ตนั500 ตนั500 ตนั50 ตนั

24. HYDROGEN25. ETHYLENE OXIDE26. PROPYLENE OXIDE27. 2-CYANOPROPAN-2-OL (ACETONE CYANOHYDRIN)28. 2-PROPENAL(ACROLEIN)29. 2-PROPEN-1-OL (ALLYL ALCOHOL)30. ALLYLAMINE31.! ANTIMONY HYDRIDE (STIBINE)32. ETHYLENEIMINE33. FORMALDEHYDE (CONCENTRATION "90 %)

50 ตนั50 ตนั50 ตนั200 ตนั

200 ตนั200 ตนั

200 ตนั100 ก.ก.50 ตนั50 ตนั

Page 21: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 17 -

34. HYDROGEN PHOSPHIDE (PHOSPHINE)35. BROMOMETHANE(METHYL BROMIDE)36. METHYL ISOCYANATE37. NITROGEN OXIDES38. SODIUM SELENITE39. BIS (2-CHLOROETHYL) SULPHIDE)40. PHOSACETIM41. TETRAETHYL LEAD42. TETRAMETHYL LEAD43.! PROMURIT(1-(3,4-

DICHLOROPHENYL)-3- TRIAZENETHIOCARBOXAMIDE

44. CHLOFENVINPHOS44.! CRIMIDINE46. CHLOROMETHYL METHYL ETHER47.! DIMETHYL

PHOSPHORAMIDOCYANIDICACID

48. CARBOPHENOTHION49. DIALIFOS

100 ก.ก.

200 ตนั

150 ก.ก.50 ตนั100 ก.ก.1 กก.

100 ก.ก.50 ตนั50 ตนั100 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.1 กก.

1 ตนั

100 ก.ก.100 ก.ก.

Page 22: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 18 -

ช่ือสาร ปริมาณ50. CYANTHOATE51. AMITON52. OXYDISULFOTON53. OO-DIETHYL S- ETHYLSULPHINYLMETHYL PHOSPHOROTHIOATE54. OO-DIETHYL S- ETHYLSULPHONYLMETHYL PHOPHOROTHIOATE55. DISULFOTON56. DEMETON57. PHORATE58.! OO-DIETHYL S- ETHYLTHIOMETHYL PHOPHOROTHIOATE59. OO-DIETHYL S- ISOPROPYLTHIOMETHYL PHOPHOROTHIOATE60. PYRAZOXON61. PENSULFOTHION62. PARAOXON(DIETHYL-4- NITROPHENYL PHOSPHATE)63. PARATHION

100 ก.ก.1 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

100 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

100 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

100 ก.ก.

Page 23: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 19 -

ช่ือสาร ปริมาณ64. AZINPHOS-ETHYL65. OO-DIETHYL S- PROPYLTHIOMETHYL PHOSPHORODITHIOATE66. THIONAZIN67. CARBOFURAN68. PHOSPHAMIDON69. TIRPATE 2,4-DIMETHYL-1,3- DITHIOLANE-2- CARBOXALDEHYDE O- METHYLCARBAMOYLOXIME70. MEVINPHOS71. PARATHION-METHYL72. AZINPHOS-METHYL73. CYCLOHEXIMIDE74. DIPHACINONE75. TETRAMETHYLENEDISULPHO TETRAMINE76.! O-ethyl-o-p-nitrophenyl

Benzenethiono-phosphonate(EPN )

77.! 4-FLUOROBUTYRIC ACID

100 ก.ก.

100 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.1 ก.ก.

100 ก.ก.

1 ก.ก.

Page 24: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 20 -

ช่ือสาร ปริมาณ78.! 4-FLUOROBUTYRIC ACID,SALTS79. 4-FLUOROBUTYRIC ACID ESTERS80. 4-FLUOROBUTYRIC ACID,

AMIDES81. 4-FLUOROCROTONIC ACID82.! 4-FLUOROCROTONIC ACID, SALTS83. 4-FLUOROCROTONIC ACID,ESTERS84. 4-FLUOROCROTONIC ACID, AMIDES)85. FLUOROACETIC ACID86. FLUOROACETIC ACID,SALTS87. FLUOROACETIC ACID, ESTERS88. FLUOROACETIC ACID, AMIDES89. FLUENTIL90.! 4-FLUORO-2-

HYDROXYBUTYRIC ACID91.! 4-FLUORO-2-

HYDROXYBUTYRIC ACID, SALTS)92.! 4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID,ESTERS

1 ก.ก.1 ก.ก.

1 ก.ก.

1 ก.ก.1 ก.ก.

1 ก.ก.

1 ก.ก.

1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.1 ก.ก.

100 ก.ก.1 ก.ก.

1 ก.ก.

1 ก.ก.

Page 25: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 21 -

93. 4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID, AMIDES94. HYDROGEN FLUORIDE 95. HYDROXYACETONITRILE (GLYCOLONITRILE)96.! 1,2,3,7,8,9- EXACHLORODIBENZO- P-DIOXIN)97. ISODRIN98. HEXAMETHYLPHOSPHORAMIDE99.! JUGLONE(5- YDROXYNAPHTHALENE- 1, 4-DIONE)100. WARFARIN101. 4,4-METHYLENEBIS(2- CHLOROANILINE)102. ETHION103. ALDICARB104. NICKEL TETRACARBONYL105. ISOBENZAN106.! PENTABORANE107. 1-PROPENE-2-CHLORO-1,3- DIOL-DIACETATE108. PROPYLENEIMINE109. OXYGEN DIFLUORIDE110. SULPHUR DICHLORIDE

1 ก.ก.

50 ตัน100 ก.ก.

100 ก.ก.

100 ก.ก.1 ก.ก.

100 ก.ก.

100 ก.ก.10 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.10 ก.ก.

100 ก.ก.100 ก.ก.

10 ก.ก.

50 ตัน10 ก.ก.1 ตัน

Page 26: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 22 -

ช่ือสาร ปริมาณ111. SELENIUM HEXAFLUORIDE112. HYDROGEN SELENIDE113. TEPP114. SULFOTEP115. DIMEFOX116.! 1-TRI(CYCLOHEXYL)

STANNYL-1H-1,2,4-TRIAZOLE117. TRIETHYLENEMELAMINE118. COBALT(METAL,OXIDES, CARBONATES, SULPHIDES AS POWDERS)119.! NICKEL(METAL,OXIDES, CARBONATES,SULPHIDES AS POWDERS)]120.! ANABASINE121.! TELLURIUM HEXAFLUORIDE122.! TRICHLOROMETHANESUL

PHENYL CHLORIDE123.! 1,2-DIBROMOETHANE124.! FLAMMABLE GASES125.! HIGHLY FLAMMABLE LIQUID*

10 ก.ก.10 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

10 ก.ก.1 ตัน

1 ตัน

100 ก.ก.100 ก.ก.100 ก.ก.

50 ตัน200 ตัน

50000ตัน * เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟตํ ่ากวา 20 o ซ. และมีจุดเดอืดท่ีความดันปกติสูงกวา 20 o ซ.

Page 27: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 23 -

ช่ือสาร ปริมาณ126.! DIAZODINITROPHENOL127.! DIETHYLENE GLYCOL DINITRATE128.! DINITROPHENOL, SALTS129.! 1-GUANYL-4-

NITROSAMINOGUANYL–1 – TETRAZENE

130.! BIS(2,4,6-TRINITROPHENYL) AMINE

131.! HYDRAZINE NITRATE132.! NITROGLYCERINE133.! PENTAERYTHRITOL

TETRANITRATE134.! CYCLOTRIMETHYLENE TRINITRAMINE135.! TRINITROANILENE136.! 2,4,6-TRINITROANISOLE137.! TRINITROBENZENE138.! TRINITROBENZOIC ACID139.! CHLOROTRINITROBENZENE140.! N-METHYL-N,2,4,6-N- TETRANITROANILENE141.! 2,4,6-TRINITROPHENOL

(PICRIC ACID)

10 ตัน10 ตัน50 ตัน10 ตัน

50 ตัน

50 ตัน 10 ตัน 50 ตัน

50 ตัน.

50 ตัน50 ตัน50 ตัน50 ตัน50 ตัน50 ตัน

50 ตัน

Page 28: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 24 -

ช่ือสาร ปริมาณ142.! TRINITROCRESOL143.! 2,4,6-TRINITROPHENETOLE144.! 2,4,6-TRINITRORESORCINOL (STYPHNIC ACID)145.! 2,4,6-TRINITROTOLUENE146.! (A) AMMONIUM NITRATES (B) AMMONIUM NITRATES IN THE FORM OF FERTILISERS147.! CELLULOSE NITRATE

(CONTAINING > 12.6 % NITROGEN)

148 SULPHUR DIOXIDE149. HYDROGEN CHLORIDE (LIQUEFIED GAS)150.! FLAMMABLE LIQUID*151.! SODIUM CHLORATE152. TERT-BUTYL PEROXYACETATE (CONCENTRATION " 70 %)

50 ตัน50 ตัน50 ตัน

50 ตัน2500 ตัน5000 ตัน

100 ตัน

250 ตัน250 ตัน

200 ตัน250 ตัน50 ตัน

* เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟตํ ่ากวา 55 o ซ. และยังคงสภาพเปนของเหลวภายใตความดันซึ่งมีสภาวะการผลิตท่ีมลัีกษณะเฉพาะ เชน การใชความดันสูง และอุณหภูมิสูงอาจกอใหเกิดอุบัติภัยรายแรงได

Page 29: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 25 -

153.! TERT-BUTYL PEROXYISOBUTYRATE (CONCENTRATION " 80 %)154. TERT-BUTYL PEROXYMALEATE (CONCENTRATION " 80 %)155.! TERT-BUTYL PEROXYISOPROPYL

CARBONATE (CONCENTRATION " 80 %)

156.! DIBENZYL PEROXYDICARBONATE (CONCENTRATION " 90 %)

157.! 2,2-BIS (TERT-BUTYLPEROXY) BUTANE (CONCENTRATION " 70 %)

158.! 1,1-BIS (TERT-BUTYLPEROXY) CYCLOHEXANE CONCENTRATION " 80 %)

159. DI-SEC- BUTYLPEROXYDICARBONATE (CONCENTRATION " 80 %)160. 2,2-DIHYDROPEROXYPROPANE (CONCENTRATION " 30 %)

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

Page 30: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 26 -

ช่ือสาร ปริมาณ161. DI-N-PROPYL PEROXYDICARBONATE (CONCENTRATION " 80 %)162. 3,3,6,6,9,9,HEXAMETHYL-- 1,2,4,5-TETROXACYCLONONANE (CONCENTRATION " 75 %)163. METHYL ETHYL KETONE PEROXIDE(CONCENTRATION " 60 %)164. PARACETIC ACID (CONCENTRATION " 60 %)165. LEAD AZIDE166. LEAD 2,4,6- TRINITRORESORCINOXIDE (LEAD STYPHNATE)167. MERCURY FULMINATE168. CYCLOTETRAMETHYLENE- TETRANITRAMINE169. 2,2’, 4,4’, 6,6’,- HEXANITROSTILBENE170. 1,,3,5-TRIAMINO-2,4,6- TRINITROBENZENE171. ETHYLENE GLYCOL DINITRATE172. ETHYL NITRATE

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน50 ตัน

10 ตัน50 ตัน

50 ตัน50 ตัน

10 ตัน50 ตัน

Page 31: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 27 -

ช่ือสาร ปริมาณ173. SODIUM PICRAMATE174. BARIUM AZIDE175. DI-ISOBUTYRYL PEROXIDE (CONCENTRATION " 75 %)176.! DIETHYL PEROXYDICARBONATE (CONCENTRATION " 30 %)177. TERT-BUTYL PEROXYPIVALATE (CONCENTRATION " 77 %)178. LIQUID OXYGEN179. SULPHUR TRIOXIDE

50 ตัน50 ตัน50 ตัน

50 ตัน

50 ตัน

2000 ตัน75 ตัน

Page 32: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 28 -

ตาราง 6 แสดงคามาตรฐานสารเคมีที่เสนอแนะโดย ACGIH ในคูมือ 2001 TLVs and BEIs ที่สํ าคัญคาที่ยอมรับชื่อสาร

TWA STELหมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Acetaldehyde - C 25 ppm A3 lrritationAcrolein [107-02-8] - C 0.1 ppm Skin; A4 lrritation;pumonary edemaAcrylic acid [79-10-7] 2 ppm - Skin; A4 lrritation; reproductiveAcrylonitrile [107-13-1] 2 ppm - Skin; A3 CancerAllyl chloride [107-05-11] 1 ppm 2 ppm A3 LiverAmmonia [7664-41-7] 25 ppm 35 ppm - IrritationBenzene [ 71-43-2] 0.5 ppm 2.5 ppm Skin;A1;BEI Cancer

Benzyl chloride [100-44-7] 1 ppm - A3 Irritation;lung

Page 33: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 29 -คาที่ยอมรับชื่อสาร

TWA STELหมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Bromine [7726-95-6] 0.1 ppm 0.2 ppm SEN;A4 อาจท ําใหเกิดการแพ lrritation ทางผิวหนัง และ/หรือทางหายใจ 1,3-Butadiene [106-99-0] 2 ppm - A2 Cancern-Butyl acrylate [141-32-2] 2 ppm - - lrritation ; reproductiveCarbon disulfide [75-15-0] 10 ppm - Skin;BEI CVS:CNSCarbon tetrachloride 5 ppm 10 ppm Skin;A2 Liver ; cancer(Tetrachloromethane) [56-23-5]Chlorine [7782-50-5] 0.5 ppm 1 ppm A4 lrritation

Chlorine trifluoride [7790-91-2] - C 0.1 ppm - lrritation ; lung Chloroacetyl chloride [79-04-9] 0.05 ppm 0.15 ppm Skin lrritation ; lung

Page 34: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 30 -คาที่ยอมรับชื่อสาร

TWA STELหมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Chloropicrin [76-06-2] 0.1 ppm - A4 lrritation ; lungCrotonaldehyde [4170-300-3] - C 0.3 ppm Skin ; A3 lrritationDiborane [19287-45-7] 0.1 ppm - - CNS ; lung functionDimethylamine [ 124-40-3] 5 ppm 15 ppm A4 lrritationEpichlorohydrin [106-89-8] 0.5 ppm - Skin ; A3 lrritation ; liver ; kidneyEthylene oxide [75-21-8] 1 ppm - A2 Cancer; reproductiveFormaldehyde [50-00-0] - C 0.3 ppm SEN:A2 lrritation; cancer

Hexachlorobutdiene [87-68-3] 00.2 ppm - Skin;A3 lrritation; kidneyHexafluoroacetone[648-16-2} 0.1 ppm - Skin Reproductive; kidneyHydrogen chloride [7647-01-0] - C 5 ppm - lrritation; corrosion

Page 35: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 31 -คาที่ยอมรับชื่อสาร

TWA STELหมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Hydrogen cyanide [74-90-8] - C 4.7 ppm Skin CNS; irritation: anoxia; lung: thyroidHydrogen fluoride [7664-39-3] ,as F - C 3 ppm BEI lrritation; bone: teeth; fluorosisHydrogen sulfide [7783-06-4] (10 ppm) (15 ppm) - lrritation; CNSLithium hydride [ 7580-67-8] 0.025 mg/m3 - IrritationMethanol [67-56-1] 200 ppm 250 ppm Skin;BEI Neuropathy;vision; CNSMethyl chloride [74-87-3] 50 ppm 100 ppm Skin;A4 Kidney: CNS: reproductive

Methyl iodine [74-88-4] 2 ppm - Skin CNS : irritationMethyl isocyanate [624-83-9] 0.02 ppm - Skin Irritation : Lung edema ; sensitizationMethyl mercaptan [74-93-1] 0.5 ppm - - Irritation ; CNSPerfluoroisobutylene [382-21-8] - C 0.01 ppm - lrritation; pulmonary edema

Page 36: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 32 -

คาที่ยอมรับชื่อสารTWA STEL

หมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Phenol [108-95-2] 5 ppm - Skin;A4;BEI lrritation; CNS: bloodPhosgene [75-44-5] 0.1 ppm - - lrritation; anoxia; lung edemaPropylene [115-07-1] - (Simple asphyxiant(D) A4 (Asphyxiation)Styrene. Monomer [100-42-5] 20 ppm 40 ppm A4;BIE Neurotoxicity; irritation: CNSSulfur dioxide [7446-09-5] 2 ppm 5 ppm A4 lrritationTitanium dioxide [13463-67-7] 10 mg/m3 - A4 LungToluene [108-88-3] 50 ppm - Skin;A4;BEI CNSTrimethylamine [ 75-50-3] 5 ppm 15 ppm - lrritation

Page 37: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 33 -

คาที่ยอมรับชื่อสารTWA STEL

หมายเหตุ TLV Basis-Critical Effect(S)

Uranium (natural)Soluble and 0.2 mg/m3 0.6 mg/m3 A1 Kidney; blood; cancerInsoluble compoundsVinyl acetate [108-05-4] 10 ppm 15 ppm A3 lrritation

หมายเหตุ A1 = ยืนยันวาเปนสารกอมะเร็งในคน SEN = เปนสารที่อาจท ําใหเกิดการแพที่ผิวหนัง ทางหายใจ หรือทั้งสองทางA2 = สงสัยวาเปนสารกอมะเร็งในคน CVS = cardiovascular system ระบบหลอดโลหิตA3 = สารกอมะเร็งในสัตว CNS = central nervous system ระบบประสาทสวนกลางA4 = ไมจัดวาเปนสารกอมะเร็งในคน Anoxia = ออกซิเจนในรางกายมีไมเพียงพอBEI = ดัชนีชี้วัดการสัมผัสทางชีวภาพ Neuropathy = โรคเสนประสาท ควรทํ าการตรวจยืนยันโดยใช BEI Asphyxiation = ทํ าใหรางกายมีปริมาณของออกซิเจนนอยลง

Page 38: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย
Page 39: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 34 -

2. ดชันวีดัการสัมผัสทางชีวภาพ (Biological Exposure Indese :BEIs)

การตรวจวัดการสัมผัสทางชีวภาพชวยใหบุคลากรดานอาชีวอนามัย สามารถประเมินการสัมผัสสารเคมีของคนงานได ซ่ึงใชผลการตรวจควบคูกับการติดตามตรวจวัดอากาศในสถานท่ีทํ างานซ่ึงประกอบดวยการประเมินการสัมผสัสารเคมีทางหายใจมีคา TLV เปนคาอางอิง ในขณะที่การติดตามตรวจวัดการสัมผัสทางชีวภาพประกอบดวยการประเมินการสัมผัสสารเคมีในสถานท่ีทํ างานโดยรวมใชการตรวจวัดสารบงช้ี (determinant) ในตัวอยางทางชีวภาพท่ีเก็บจากคนงานในเวลาท่ีกํ าหนดและม ีดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) เปนคาอางอิง เปนแนวทางสํ าหรับการประเมินอันตรายตอสุขภาพในงานดานสุขศาสตรอุตสาหกรรมและความปลอดภัย ดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) บงบอกถึงระดับของสารบงชี้ซึ่งสามารถตรวจพบในตัวอยางทางชีวภาพท่ีเก็บจากคนงานท่ีสุขภาพดี ซึ่งการสัมผัสสารเคมีในระดับเดียวกันกับคนงานท่ีสัมผัสสารเคมีทางหายใจท่ีระดับ TLVs สารเคมีบางชนิดซ่ึงมีคา TLVs ของสารเพื่อปองกันคนงานจากผลกระทบแบบเฉพาะท่ี เชน การระคายเคืองและการทํ าอันตรายตอทางเดินหายใจ และอาจดูดซึมผานทางผิวหนังไดอยางมีนัยสํ าคัญ คาดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) สํ าหรับสารเหลานี้อาจมีเพื่อปองกันคนงานจากผลกระทบตอระบบ (Systemic effects) ปรมิาณสารในรางกายจึงมากกวาปริมาณท่ีรับเขาทางหายใจ เปนไป

Page 40: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 35 -

ไดท่ีในการตรวจวัดสารเคมีในคนงานบางคนอาจมีคาเกินกวา BEIs โดยไมเพิ่มความเสี่ยงตอสุขภาพ อยางไรก็ตามหากผลการตรวจวัดตัวอยางทางชีวภาพของคนงานคนหน่ึงในเวลาท่ีตางกันยังคงสูงกวา BEIs หรอืผลการตรวจวัดของคนงานสวนใหญท่ีทํ างานในสถานท่ีเดียวกันมีคาสูงกวา ดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) จะตองทํ าการคนหาสาเหตุท่ีแนชัดและหามาตรการเพื่อลดการสัมผัสสารดังกลาว การตรวจดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) ใชสํ าหรับการสัมผัส 8 ช่ัวโมง/วัน และ 5 วัน/สัปดาห และไมใช ดัชนีวัดการสมัผัสทางชีวภาพ (BEIs) ไมวาโดยตรงหรือปรับมาใช กับระดับความปลอดภัยการสัมผัสสารปนเปอนทางอากาศหรือทางน้ํ าท่ีไมใชจากการประกอบอาชีพ หรอืสารปนเปอนจากอาหาร และดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) ไมไดมีไวเพื่อวัดผลกระทบตอรางกายหรือเพื่อวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ

วตัถปุระสงคของการใชดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEIs) 1. เพื่อการติดตามตรวจวัดอากาศสมบูรณ 2 . เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณป องกันอันตรายสวนบุคคล 3. เพื่อดูศักยภาพของสารเคมีในการดูดซับผานผิวหนังและทางเดินอาหาร 4.เพื่อตรวจหาการสัมผัสที่ไมใชจากการประกอบอาชีพ และการมีคา BEIs ไมใชส่ิงบงช้ีวาจะตองทํ าการติดตามตรวจวัดการสัมผัสทางชีวภาพส ําหรับสารน้ัน ๆ บุคลากร

Page 41: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 36 -

ทางอาชีวอนามัยตองใชวิจารณญาณในการกํ าหนดระเบียบวิธีในการตรวจติดตาม

การแปลความหมายของขอมูล ในการแปลความหมายขอมูลทางชีวภาพเพื่อตรวจติดตามน้ัน ตองพิจารณาถึงความแตกตางของระดับของสารในเน้ือเย้ือท่ีพบในบุคคลเดียวกันและระหวางบุคคลซ่ึงสัมผัสสารในสภาพเดียวกันดวย ตองเก็บตัวอยางหลาย ๆ ตัวอยาง การตรวจติดตามทางชีวภาพอาจยืนยันผลการตรวจสิ่งแวดลอม แตถาผลจากการตรวจทั้งสองขัดแยงกัน ควรทบทวนสภาวะการสัมผัสสารโดยตลอดอยางระมัดระวังแลวจึงอธบิายผลการตรวจวัด ปจจัยท่ีสงผลทํ าใหการตรวจวัดอากาศและทางชีวภาพไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน 1. สถานะทางสรรีะ สุขภาพของคนงาน องคประกอบของของเหลวในรางกาย อายุ เพศ ฯ 2. แหลงการสัมผัสสารจากการทํ างาน 3.แหลงจากสิ่งแวดลอมมลพิษทางอากาศจากบานเรือนและชุมชน 4.ลักษณะการดํ าเนินชีวิตของแตละบุคคล เชน กิจกรรมหลังเลิกงาน สุขวิทยาสวนบุคคลฯ 5. ลักษณะรูปแบบการเก็บตัวอยาง และการวิเคราะห ตัวอยางทางชีวภาพ (Biological specimens) ท่ีควรใชไดแกปสสาวะ ลมหายใจออก และตัวอยางเลือด ตัวอยางแตละชนิดมีความแปรผันท่ีแตกตางกัน ซ่ึงมีผลกระทบตอระดับของสารบงช้ีในตัวอยาง ผม เล็บ ไมแนะนํ าใหใชในท่ีน้ี

Page 42: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 37 -

1. สํ าหรับขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหปสสาวะ การวัดอัตราการขับสารออกมักใหขอมูลท่ีแมนยํ ากวาแตการเก็บปสสาวะในปริมาณท่ีตองการในชวงเวลาท่ีกํ าหนดน้ันเปนไปไดยาก แตเน่ืองจากการแปรผันของอัตราการขับปสสาวะ ความเขมขนของปสสาวะสัมพนัธกับการขับของสารท่ีละลายในปสสาวะ ปสสาวะท่ีเจือจางมากๆ หรือเขมขนมากๆ มักไมเหมาะสํ าหรับการตรวจติดตาม ตัวอยางปสสาวะมีความเขมขนมาก (ถ.พ.>1.030 และครีเอตินิน >3 g/L) หรือเจือจางมาก (ถ.พ.<1.010 และครีเอตินิน <0.5 g/L) การตรวจวัดในตัวอยางปสสาวะไมนาเช่ือถือ จึงควรตรวจซ้ํ า โดยเก็บตัวอยางปสสาวะในโอกาสอ่ืน 2. สํ าหรับขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหลมหายใจออก การเปลี่ยนแปลงความเขมขนในแตละขณะสํ าคัญมาก ในการเก็บตัวอยางตองระบุวาเปนการเก็บ end-exhaled air (ซ่ึงมักเปนลมจากถุงลม) หรอื mixed-exhaled air โดยท่ัวไปในระหวางการสัมผัสความเขมขนของสารใน end-exhaled air มักจะตํ ่ากวา mixed-exhaled air และในชวงหลังจากการสัมผัสความเขมขนของสารใน mixed-exhaled air มักจะเปน 2/3 ของความเขมขนใน end-exhaled air ตัวอยางลมหายใจออกท่ีเก็บจากคนงาน ซ่ึงการทํ างานของปอดไมปกติอาจไมเหมาะสมที่จะน ํามาใชในการตรวจติดตาม 3. สํ าหรับขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหเลือด อัตราสวนของน้ํ าเลือดตอเม็ดเลือดแดง และการกระจายตัวของสารบงช้ีในสวนประกอบของเลือด สามารถสงผลกระทบตอผลการตรวจวัด ตองระบุใหวิเคราะหเลือดทั้งหมด น้ํ า เลือด

Page 43: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 38 -

ซีรัม หรือเม็ดเลือดแดงในการเลือกวิธีการวิเคราะหจะตองพิจารณาถึงการจับตัวกับโปรตีนของสารบงช้ีดวย ความแตกตางของความเขมขนของเลือดแดง (arterial blood) และเลือดดํ า (venous blood) อันเน่ืองมาจากการหายใจเขาในขณะเก็บตัวอยางเลือดเพื่อการตรวจวัดสารระเหย โดยท่ัวไปหากไมไดระบุคา BEIs สํ าหรับสารระเหยใหเก็บตัวอยางจากเสนเลือดดํ า

เวลาเก็บตัวอยาง ตองค ํานึงถึงส่ิงตาง ๆ ดังตอไปน้ี 1. สํ าหรับสารบงชี้ท่ีระบุใหเก็บตัวอยางกอนเขากะ(prior to shift) หมายถึง หลังจาก 16 ช่ัวโมง โดยไมมีการสัมผัสสารระหวางกะ (during shift) หรอืจบกะ (end of shift) หมายถึงในชวง 2 ชั่วโมงสุดทายของการสัมผัส เปนสารท่ีถูกกํ าจัดไปอยางรวดเร็ว คือ ถูกกํ าจัดออกครึ่งหนึ่งภายในเวลาไมเกิน 5 ช่ัวโมง สารบงช้ีเหลาน้ีไมสะสมในรางกายดังน้ันเวลาท่ีเหมาะสมจึงสัมพันธกับเวลาที่สัมผัส และชวงหลังการสัมผัส 2. สํ าหรับสารบงช้ีท่ีระบุใหเก็บตัวอยางเมื่อเริ่มตนสัปดาหการทํ างาน (beginning of workweek) หรอืวันสุดทายของสัปดาห (end of workweek) หมายถึง หลังจากหยุดสัมผัสสาร 2 วันหรือหลังจากการสัมผัสสารอยางตอเนื่อง 4 หรือ 5 วันตามลํ าดับเปนสารท่ีถูกกํ าจัดออกไปครึ่งหนึ่งในเวลาท่ีนานกวา 5 ช่ัวโมงสารบงช้ีดังกลาวสะสมในรางกาย ในระหวางสัปดาหทํ างาน ดังน้ันเวลาท่ีเหมาะสมจึงสัมพันธกับการสัมผัสในครั้งกอน และส ําหรับสารเคมีท่ีมกีารขับออกจากรางกายหลายระยะ เวลาท่ีเหมาะสมดูจากความสัมพันธ

Page 44: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 39 -

กับการสัมผัสในแตละวัน และการสัมผัสทั้งสัปดาหดวย 3. สํ าหรับสารบงช้ีท่ีระบุเวลาการเก็บไมสํ าคัญ (not critical) หรือแลวแตดุลยพินิจ (discretionary) เปนสารท่ีกํ าจัดออกไปไดชาและสะสมในรางกายเปนเวลาหลาย ๆ ปบางชนิดอาจอยูตลอดชีวิตหลังจากการสัมผัส 2-3 สัปดาห สามารถเก็บตัวอยางเพ่ือวิเคราะหหาสารบงช้ีเหลาน้ีได

Page 45: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 40 –

ตาราง 7 แสดงคาดัชนีวัดการสัมผัสทางชีวภาพ (BEI) จํ าแนกตามสารเคมีชนิดตาง ๆ

BEI 2**ชื่อสารเคมี ระยะเวลาในการเก็บ

ตัวอยางทางชีวภาพ

(Biological material)

ดัชนีวัดการสัมผัส(Parameter)

BEI 1*คาอางอิงมาตรฐาน

คาสูงสุดที่อนุญาตใหมีได

1.! ACETONE[67-64-1] (1999)

EOS UrineBlood

AcetoneAcetone

50 mg/L-

< 2 mg/g creat.< 0.2 mg/100ml

30 mg/g creat.5 mg/100ml

2. ACETYLCHOLINES TERASE INHIBITING PESTICIDES

Discretionary Red blood cellsPlasma

CholinesteraseCholinesteraseCholinesterase

70% ofIndividualbaseline

- 30% inhibition50% inhibition30% inhibition

Page 46: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 41 -

3.! ANILINE [62-53-3] (1991)

EOSEOS

Whole bloodUrineBlood

Total p-aminophenolMethemoglobin

50 mg/g creat.15 % of Hb

- 30 mg/g creat.2 % of Hb

4. ARSENIC, ELEMENTAL[ 7440-38-2] AND SOLUBLEINORGANIC COMPOUNDS(2000)

EWW Urine Inorganic arsenic plusmethylated metabolites

35 µgAs/L < 40 µg/g creat. -

5. BENZENE [71-43-2] EOSEOS

UrineUrine

S-Phenylmercapturic acidt,t- Muconic acid

25 µg/g creat.500 µg/g creat.

--

-1.4 mg/g creat.

6.CADMIUM AND INORGANIC COMPOUNDS (1993)

NCNC

UrineBlood

CadmiumCadmium

5 µg/g Creat.5 µg/L

<2 µg/g creat.<0.5 µg/ 100ml

5 µg/g Creat.0.5µg/100ml

Page 47: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 42 -

7. CARBON DISULFIDE [75-15-0] (1988)

EOS Urine 2- thiothiazolidine –4-carboxylic acid (TTCA)

5 mg/g Creat. - 5 mg/g Creat

8. CARBON MONOXIDE [630-08-0] (1993)

EOSEOS

BloodEnd -exhaled air

CarboxyhemoglobnCarbon monoxide

3.5 % of Hb20 ppm

< 1% of Hb< 2 ppm

3.5 % of Hb12 ppm

9. CHLOROBENZENE [108-90-7 ](1992)

EOSEOS

UrineUrine

Total 4- chlirocatecholTotal p- chlorophenol

150 mg/g Creat.25 mg/g

--

--

10. CHROMIUM (VI), Water-Soluble Fume (1990)

DSEOS at EWW

UrineUrine

Total chromiumTotal chromium

10 µg/g Creat.30 µg/g Creat.

--

--

11. COBALT [7440-48-4] (1995)

EOS at EWWEOS at EWW

UrineBlood

CobaltCobalt

15 µg / L1 µg / L

<2 µg/g Creat.<0.2 µg/100ml

30 µg/g Creat.-

Page 48: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 43 -

12. N,N –DIMETHYLACETAMIDE [127-19-5] (1995)

EOS at EWW Urine N- Methylacetamide 30 mg/g Creat. - -

13. N,N-DIMETHYLFORMAMIDE (DMF) [68-12-2] (1999)

EOSPLW

UrineUrine

N-MethylformamideN-Acetyl-S-(N-Methylcarbamoyl)Cysteine

15 mg/L40 mg/L

--

30 mg/g Creat.-

14. 2-ETHOXYETHANOL(EGEE) [110-80-5] and 2-ETHOXYETHYL ACETATE(EGEEA)[111-15-9](1994)

EOS at EWW Urine 2 –Ethoxyacetic acid 100 mg/g Creat. - -

15. ETHYLBENZENE [100-41-4] EOS at EWW Urine Mandelic acid 1.5 g/g Creat. - -16. FLUORIDES (1990) PNS

EOSUrineUrine

FluoridesFluorides

3 mg/g Creat.10 mg/g Creat.

< 0.5mg/g Creat.-

3-4 mg/g Creat.

Page 49: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 44 -

17. FURFURAL [ 98-01-1](1991) EOS Urine Total furoic acid 200 mg/g Creat. <65mg/g Creat. 80 mg/g Creat18. n-HEXANE [110-54-3] (1987) EOS

EOSUrine 2,5-Hexanedione in urine

n-Hexane in end exhaled air5 mg/g Creat.

---

2 mg/g Creat.4 mg/g Creat.

19. LEAD (1998) [See Note below]

NC Blood - 30 µg/100 ml <25µg/100ml 40 µg/100 ml

20. MERCURY (1993) PreshiftEOS at EWW

UrineBlood

Total inorganic mercuryTotal inorganic mercury

35 µg/g Creat.15 µg/g Creat.

<5 µg/g Creat.<1 µg/g Creat.

50 µg/g Creat.2 µg/g Creat

21. METHANOL [67-56-1](1995) EOS UrineUrine

MethanolFormic acid

15mg/L-

<2.5 mg/g Creat< 60 mg/g Creat

25 mg/g Creat-

22. METHEMOGLOBIN INDUCERS During or EOS Blood Methemoglobin 1.5% of Hb - -

Page 50: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 45 -

23.! METHYL CHLOROFORM [71-55-6] (1989) EWW

EOS at EWWEOS at EWW

End-exhaled airUrineUrineBlood

MethylchloformTotal trichloroacetic acid

Total trichloroethanolTotal trichloroethanol

40 ppm10 mg/L30 mg/L1 mg/L

----

-10 mg/g Creat.

-0.1 mg/100 mL

24.! METHYL ETHYL KETONE (MEK) [78-93-3] (1988)

EOS Urine Methyl Ethyl Ketone(MEK)

2 mg/L - 2.5 mg/g Creat.

25. METHYL ISOBUTYL KETONE (MIBK) [108-10-1] (1993)

EOS Urine Methyl Isobutyl Ketone(MIBK)

2 mg/L - 0.5 mg/g Creat.

26.! NITROBENZENE [98-95-3] (1991)

EOS at EWWEOS

UrineBlood

Total p-nitrophenolMethemogobin

5mg/g Creat.1.5% of

hemoglobin

-< 2%

5 mg/g Creat.5%

Page 51: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 46 -

27.! PARATHION[56-38-2] (1989 )

EOS

Discretionary

Urine

Red bloodcells

Total p-nitrophenol in urineCholinesterase

activity

0.5 mg/g Creat.

70% ofindividual’s

baseline

0.5 mg/gCreat.

-

-

-

28.! PENTACHLOROPHENOL (PCP) [87-86-5](1988)

Prior tolast shiftof workweek

EOS

Urine

Plasma

Total PCP

Free PCP

2 mg/g Creat.

5 mg/L

-

-

-

-29. PHENOL [108-95-2] (1987) EOS Urine Total phenol 250 mg/g Creat. < 20 mg/g

Creat.250 mg/g

Creat.

Page 52: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 47 -

30. STYRENE [100-42- 5] (1986)

EOSPNSEOSPNSEOSPNS

Urine

Urine

Blood

Mandelic acid

Phenylglyoxylic acidStyrene

800 mg/g Creat.300 mg /g Creat.240 mg/g Creat.100 mg/g Creat.0.1! mg/100 mL

0.02 mg/L

------

800 mg/g Creat.-

250 mg/g Creat.--

0.002 mg/100 mL31. TETRACHLOROETHYLENE [127-18-4] (1997)

PLWPLW

EOS at EWW

End- exhaled airBloodUrine

PerchloroethylenePerchloroethylene

Trichloroacetic acid

5 ppm0.5 mg/L3.5 mg/L

---

--

5 mg/g Creat.32. TETRAHYDROFURAN [109-99-9] (2000)

EOS Urine Tetrahydrofuran 8 mg/L - -

Page 53: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 48 -

33. TOLUENE [108-88-3 ] (1999) EOSEOSPLW

UrineUrineBlood

O- CresolHippuric acid

Toluene

0.5 mg/L1.6 g/g creat.

0.05 mg/L

<0.3 mg/g Creat.< 1.5 g/g Creat.

-

1 mg/g Creat.2.5 g/g Creat.0.1 mg/100mL

34. TRICHLOROETHYLENE [79-01-6] (1986)

EWWEOS at EWW

EOS at EWW

UrineUrine

Blood

Trichloroacetic acidTrichloroacetic acidand TrichloroethanolFree trichloroethanol

100 mg/g creat.300 mg/g creat.

4 mg/L

--

-

75 mg/g Creat.-

-35.VANADIUM PENTOXIDE [‘1314-62-1] (1995)

EOS at EWW Urine Vanadium 50 µg/g creat. - -

36.XYLENES [13307] (TechnicalGrade ) (1986)

EOS Urine Methylhippuric acids 1.5 g/g creat. - 1.5 g/g Creat.

Page 54: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 49 -

ที่มาของตาราง*Boilogical Exposure Indices (BEI1) : ACGIH Threshold Limit Volues for Chemical Substances and Physical Agents. Biological

Exposure Indices.**Boilogical Exposure Indices (BEI2) : Lauwerys RR. And Hoet P.Industial Chemical Exposure 2 nd Ed. Guidelines for Biological

Monitoring; 1993

คํ าอธิบายตาราง1. End of shift (EOS) = ภายหลังของการเลิกกะของการท ํางาน2. End of work week (EWW) = ภายหลังการเลกิงานตลอดสปัดาห3. Prior to next shift (PNS) = กอนการทํ างานกะตอไป4. During of shift (DS) = ระหวางกะของการท ํางาน

Page 55: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 50 -

5. End of shift at end of work week (EOS and EWW) = ภายหลังของการเลิกกะการท ํางานตลอดสัปดาห6. Not critical (NC) = ไมเจาะจงเวลาในการเก็บเฉพาะ7. Discretionary = ตามความสะดวกของสถานประกอบการที่จะเก็บตัวอยาง8. Prior to last shift of work week (PLW) = กอนการทํ างานกะสุดทายตลอดสัปดาห9. Last 2 hours of shift (L2H) = 2 ชั่วโมงสดุทายของกะของการทํ างาน12.Last 4 hours of shift (L4H) = 4 ชั่วโมงสดุทายของกะของการทํ างาน13. Reference Value = คาอางอิงมาตรฐาน14. Tentative maximum permissible concentration = คาสูงสุดที่อนุญาตใหมีได15. Creat. = Creatinine

Page 56: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 51 -

3. มาตรฐานการสัมผัสปจจัยทางกายภาพ 3.1 เกณฑมาตรฐานความปลอดภัย เรื่อง เสียง 3.1.1 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอด ภัยในการทํ างานเก่ียวกับภาวะแวดลอม หมวด 3 เรื่องเสียง

ขอ 13 ภายในสถานท่ีประกอบการท่ีใหลูกจาง คนหน่ึงทํ างาน ดังตอไปนี้

(1)! ไมเกินวันละเจ็ดช่ัวโมง ตองมีระดับเสียงท่ีลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินเกาสิบเอ็ดเดซิเบล(เอ)

(2)! เกินวันละเจ็ดช่ัวโมง แตไมเกินแปดช่ัวโมง จะตองมีระดับเสียงท่ีลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินเกาสิบเดซิเบล(เอ)

(3)! เ กินวันละแปดช่ัวโมงจะตองมีระดับเสียงท่ีลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินแปดสิบเดซิเบล(เอ)

ขอ 14 นายจางจะใหลูกจางทํ างานในท่ีท่ีมีระดับ เสียงเกินกวาหน่ึงรอยส่ีสิบเดซิเบล(เอ) มิ ได

ขอ 15 ภายในสถานท่ีประกอบการท่ีมีระดับเสียง ท่ีลูกจางไดรับติดตอกันเกินกวาท่ีกํ าหนด ไวในขอ 13 ใหนายจางแกไข หรอืปรบัปรงุ ส่ิงท่ีเปนตนกํ าเนิดของเสยีงหรือทางผาน ของเสียงมิใหมีระดับเสียงดังเกินกวาที่

Page 57: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 52 - กํ าหนดไวในขอ 13

ขอ 16 ในกรณีไมอาจปรับปรุงหรือแกไขตาม ความในขอ 15 ได ใหนายจางจัดให ลูกจางสวมใสปลั๊กลดเสียงหรือครอบ หูลดเสียง ตามมาตรฐานท่ีกํ าหนด ไวในหมวด 4 ตลอดเวลาท่ีทํ างาน คือ ปลั๊กลดเสียง (ear plugs) ตองทํ า ดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอ่ืนใช ใสชองหูทั้งสองขางจะตองสามารถ ลดระดับเสียงลงไดไมนอย กวา 15 เดซิเบล (เอ) และครอบหูลดเสียง (ear muffs) ตองทํ าดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอ่ืนใชครอบหูท้ัง สองขางตองสามารถลดระดับเสียงลง ไดไมนอยกวา 25 เดซิเบล(เอ) 3.1.2 จาก 2001 TLVs and BELs ของ ACGIH คา ในที่นี้แสดงในรูปของระดับความดันเสียง และ ระยะเวลาการสัมผัสซึ่งภายใตเงื่อนไขดังกลาว น้ี เช่ือวา คนงานเกือยท้ังหมดอาจสัมผัสซ่ํ าๆ โดยไมมีผลกระทบในทางลบตอความสามารถ ในการไดยินและเขาใจการพดูปกติ

Page 58: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 53 -

เสยีงตอเนื่องหรือเสียงดังเปนระยะ ๆ(Continuous or Intermittent Noise) ระดับความดังของเสียงควรวัดโดยใชเครื่องวัดระดับเสียง (Sound Level meter) หรือ เครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม(Noise Dosimeter) ซึ่งอยางนอยตองมีคุณลักษณะตามที่กํ าหนด โดย ANSI สํ าหรับเครื่องวัดเสียง คือ S 1.4 – 1983,Type S2A, หรอื ANSI S1.25 – 1991 สํ าหรับเครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม เคร่ืองมือดังกลาวควรต้ังใหวัดคาท่ีเวทต้ิงเนทเวอรท A และการตอบสนองแบบชา ถาในแตละวันทํ างานคนงานตองสัมผัสเสียงดังมากกวาหน่ึงชวงท่ีระดับความดังตางกัน ควรพิจารณาผลกระทบของการสัมผัสน้ันรวมกันมากกวาท่ีจะพิจารณาแแตละคาแยกกัน ซึ่งถาผลรวมของเศษสวนนั้นเกิน 1 หมายความวา การสัมผัสเสียงเหลาน้ันเกินคา TLVs

น่ันคือ C1 C2 Cn

T1 T2 Tn

เมื่อ C1 = ระยะเวลาการสัมผัสเสียงทั้งหมดที่ระดับเสียงหนึ่งและ T1 = ระยะเวลาที่ยอมใหสัมผัสเสียงที่ระดับนั้น ๆ

Page 59: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 54 -

ตาราง 8 คา TLVs สํ าหรับเสียง Υ

ระยะเวลาตอวัน ระดับเสียง (เดซิเบลเอ)*ช่ัวโมง 24 80

15 828 854 882 911 94

นาที 30 9715 100

7.50 # 1033.75 # 1061.88 # 1090.94 # 112

วินาที 28.12 11514.06 1187.03 1243.52 1241.76 1270.88 1300.44 1330.22 1360.11 139

Υ ไมมีการสัมผัสเสียงดังตอเนื่อง เสียงดังเปนระยะ ๆ หรอืเสียงกระแทกที่มีคาสูงสุดในสเกล C เกิน 140 dB

Page 60: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 55 -

* ระดับเสียงในหนวยเดซิเบลวัดโดยเครือ่งวัดระดับเสียงท่ี คุณลักษณะขั้นตํ่ าตามขอกํ าหนดของ ANSI สํ าหรับเครื่อง วัดระดับเสียง (S1.4 –1983) Type S2A โดยต้ังใหวัดคาท่ี สเกล A และการตอบสนองชา#!กํ าหนดที่แหลงของเสียง ไมใชโดยการควบคุมที่การบริหาร จัดการ และเสนอใหใชเครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม!หรอื เครื่องรวมเสียงส ําหรับเสียงท่ีดังเกิน 120 เดซิเบล

เสยีงกระทบหรือเสียงกระแทก(Impulsive or Impact Noise) ในการตรวจวัดเสียงกระทบหรือเสียงกระแทกใหใชเครื่องมือตาม ANSI S1.4 S1.25 หรอื IEC 804 ขอกํ าหนดคือสามารถวัดเสียงในชวง 80 ถึง 140 เดซิเบลเอ และชวงของความตางอยางนอยตองเทากับ 63 เดซิเบล ตองไมใหมีการสัมผัสเสียงสูงสุด (peak) ในสเกลเกิน 140 เดซิเบล โดยไมมีการปองกันหู

ซุบเปอรโซนคิและอัลตาโซนิคคา TLVs ท่ีแสดง คือระดับความดันของเสียง ซ่ึง

เช่ือวาท่ีสภาพดังกลาวคนงานเกือบท้ังหมดอาจสัมผัสไดซ้ํ าๆ โดยไมเกิดผลกระทบในทางลบตอสุขภาพ

Page 61: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 56 -

ตาราง 9 ระดับที่ยอมใหสัมผัสกับเสียงซุบเปอรโซนิคและ อัลตาโซนิค

จุดกึ่งกลางความถี่ของ1/3 octave (KHz)

ระดับเสียงดัง (dB)

10 8012.5 8016 8020 10525 110

31.5 11540 11550 115

3.2 เกณฑมาตรฐานความปลอดภัยเรื่อง แสงสวาง จากประกาศกระทรวงมหาดไทย กํ าหนดเรื่องความเขมแสงสวาง ดังน้ี 3.2.1. งานที่ไมตองการความละเอียด ไมนอยกวา 50 ลักซ 3.2.2 งานที่ตองการความละเอียดเล็กนอย ไมนอย กวา 100 ลักซ 3.2.3 งานท่ีตองการความละเอยีดปานกลาง ไมนอย กวา 200 ลักซ 3.2.4 งานท่ีตองการความละเอียดสูงกวา(3.2.1) แต ไมถึง (3.2.3) ไมนอยกวา 300 ลักซ

Page 62: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 57 -

3.2.5 งานท่ีการความละเอียดมากเปนพิเศษและ ตองใชเวลาทํ างานนาน ไมนอยกวา 1,000 ลักซ 3.2.6 ถนนและทางเดินภายนอกอาคารในบริเวณ สถานท่ีประกอบการตองมีความเขมของ แสงสวาง ไมนอยกวา 20 ลักซ 3.2.7 ในโกดังหรือหองเก็บวัสดุ ทางเดิน เฉลียง และ บันได ไมนอยกวา 50 ลักซ 3.2.8 ใหนายจางปองกันมิใหมีแสงตรงหรือแสง สะทอนของดวงอาทิตย หรือเครื่องกํ าเนิดแสง ท่ีมีแสงจาสองเขาตาลูกจางในขณะทํ างานใน กรณีที่ไมอาจปองกันได ใหนายจางจัดใหลูก จางซ่ึงทํ างานในลักษณะเชนวาน้ันสวมใสแวน ตาหรือกระบังหนาลดแสง ตามมาตรฐานท่ี กํ าหนดไว ตลอดเวลาท่ีทํ างาน 3.2.9 ใหนายจางจัดใหลูกจางซ่ึงทํ างานในถ้ํ าอโุมงค หรือในท่ีท่ีมีแสงสวางไมเพียงพอ สวมหมวก แข็งที่มีอุปกรณสองแสงสวางตามมาตรฐาน และมีความเขมไมนอยกวา 20 ลักซ สองไป ขางหนาติดอยูท่ีหมวกตลอดเวลาท่ีทํ างาน 3.2.10 คาความเขมแสงสวางส ําหรับงานใน โรงพยาบาล ( ตาราง 9 )

Page 63: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 58 -

ตาราง 9 คาความเขมแสงสวางสํ าหรับงานในโรงพยาบาล โดยสมาคมวิศวกรและแสงสวางของประเทศสหรัฐ อเมริกา (Illuminating Engineering Society : IES) ป 1981

ลักษณะงาน/พื้นที่ ความเขมแสงสวาง (ลักซ)

ทางเขา-ออก-! ทางเดินที่นํ าไปสูทางออก (ระดับพื้น)-! บนัไดที่น ําไปสูทางออก (ระดับพื้น)-! ปายแสดงทางออก (ระดับปาย)-! ประตทูางออก (ระดับพื้น)หองผาตัด-! โตะผาตัด-! โตะงานฉุกเฉิน-! หองผาตัดทั่วไปหองคลอด-! เตียงทํ าคลอด-! หองพักฟนหลังคลอดหองเนอสเซอร่ี-! สํ าหรับ infant (ระดับสูง เหนือพ้ืน 30 นิ้ว)พื้นที่เตรียมการดานการแพทย-! หองพักพยาบาล(Nurses’ Station)-! พ้ืนที่ภายในธนาคารเลือด

30305050

27,00022,000

500

27,000100

100

5050

Page 64: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 59 –

ลักษณะงาน/พื้นที่ ความเขมแสงสวาง (ลักซ)

บริเวณเก็บเครื่องดูดของเหลวจากรางกายหนวยจายกลางศูนยควบคุมไฟฟากลางหองชวยชีวิตผูปวยกรณีฉุกเฉินหองปฏิบัติการหนวยดูแลระบบหลอดเลือดหนวยลางไตหองพยาบาลการแพทยฉุกเฉินหออภิบาลผูปวยฉุกเฉิน

50

50505050100300200500

3.3 สภาวะที่เกี่ยวของกับอุณหภูมิ 3.3.1 ประเทศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํ างานเก่ียวภาวะแวดลอม หมวด 1 เรื่องความรอน

ขอ 2 ภายในสถานท่ีประกอบการท่ีมีลูกจาง ทํ างานอยู จะมีสภาพความรอนท่ีทํ าให อุณหภูมิของรางกายของลูกจางสูงเกินกวา 38 องศาเซลเซียส มิได

ขอ 3 ในกรณีท่ีภายในสถานท่ีประกอบการมีสภาพ ความรอนท่ีทํ าใหอุณหภูมิของรางกายของ ลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส ใหนาย

Page 65: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 60 -

จางดํ าเนินการแกไขหรือปรับปรงุ เพื่อลด สภาพความรอนน้ัน หากแกไข หรอืปรบัปรงุ ไมไดนายจางจะตองจัดใหลูกจางมีอุปกรณ ปองกันความรอนมิใหอุณหภูมิของรางกาย ลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส

ขอ 4 ในกรณีที่อุณหภูมิของรางกายลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส นายจางจะตองใหลูกจาง หยุดพักช่ัวคราวจนกวาอุณหภูมิของ รางกายลูกจางจะอยูในสภาพปกติ

ขอ 5 ในท่ีท่ีเปนแหลงกํ าเนิดความรอนท่ีมีสภาพ ความรอนสูงถึงขนาดเปนอันตรายแก สุขภาพอนามยัของบุคคล ใหนายจางปด ประกาศเตือนใหทราบ

ขอ 6 ใหนายจางจัดใหลูกจางซ่ึงทํ างานใกลแหลง กํ าเนิดความรอนท่ีทํ าใหอุณหภูมิในบรเิวณ น้ันสูงกวา 45 องศาเซลเซียส สวมชุด แตงกาย รองเทา และถุงมือส ําหรับปองกัน ความรอน ตามมาตรฐานท่ีกํ าหนดไวใน หมวด 4 ตลอดเวลาท่ีลูกจางทํ างาน คือ ชุด แตงกายรองเทาและถุงมือส ําหรับปองกัน ความรอน ตองทํ าดวยวัตถุท่ีมีน้ํ าหนักเบา สามารถกันความรอนจากแหลงกํ าเนิด ความรอนได

Page 66: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 61 -

3.3.2 อันตรายจากความรอน (Heat Stress) จาก 2001 TLVs and BEIs ของ ACGIH คา TLVสํ าหรับความรอนแสดงใน ตาราง 10 อางอิงถึงสภาพความรอนท่ีเช่ือวาคนงานเกือบท้ังหมดอาจสัมผัสซ้ํ า ๆ โดยไมมีผลกระทบตอสุขภาพ คา TLV น้ีต้ังอยูบนพ้ืนฐานท่ีวาคนงานไดปรับตัวใหคุนเคยกับสภาพความรอนแลว สวมเสื้อผาครบ(เชนสวมเส้ือและกางเกงท่ีไมหนา) มีน้ํ าดื่มและเกลือแรอยางพอเพียงน้ัน ควรสามารถทํ างานไดอยางมีประสทิธิภาพภายใตสภาพ การทํ างานน้ี โดยไมทํ าใหอุณหภูมิของรางกายสูงเกิน 38 องศาเซลเซียส ในกรณีท่ีคนงานจํ าเปนตองสวมเสื้อผา และอุปกรณเพื่อปกปองรางกายจากอันตรายอยางอ่ืนดวยน้ัน จะตองใชคาWBGT ท่ีไดปรับคาแลวเปน TLVs ดังแสดงในตาราง 11 ปจจุบันดัชนี WBGT เปนเทคนิคในการวัดปจจัยในส่ิงแวดลอมท่ีมีความสัมพันธกับอุณหภูมิในรางกายท่ีงายท่ีสุดและเหมาะสมที่สุด คา WBGT คํ านวณไดจากสมการตอไปน้ี 1. นอกอาคารซ่ึงมีแสงอาทิตย WBGT = 0.7 NWB+0.2 GT+0.1 DB

2.! ในอาคารหรือนอกอาคารบริเวณท่ีไมมีแสง อาทิตย

WBGT = 0.7 NWB+0.3 GTเมื่อ WBGT = ดัชนีอุณหภูมิกระเปาะเปยกและโกลบNWB = อุณหภูมิกระเปาะเปยก (ธรรมชาติ)

Page 67: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 62 -

GT = อุณหภูมิโกลบDB = อุณหภูมิกระเปาะแหง

ตาราง 10 ตัวอยางของคาจํ ากัดความรอนท่ียอมใหคนงานสัมผัส ( 0ซ – WBGT)*

ปริมาณงานขอก ําหนดการท ํางาน/การพักเบา ปาน

กลางหนัก

ทํ างานอยางตอเน่ืองทํ างาน 75% พัก 25% ในแตละชั่วโมงทํ างาน 50% พัก 50% ในแตละชั่วโมงทํ างาน 25% พัก 75% ในแตละชั่วโมง

30.030.631.432.4

26.728.029.431.1

25.025.927.930.0

*คนงานท่ียังไมปรับตัวใหเขากับสภาพความรอนและตองทํ างานหนักปานกลางคา TLV ควรลดลงประมาณ 2.5 0ซ

ตาราง 11 คาปรับความถูกตอง (Correction Factor ของTLVs -WBGT (องศาเซลเซียส) สํ าหรับเสื้อผา

ชนิดของเสื้อผา คา Clo* คาปรับ WBGTชุดทํ างานส ําหรับฤดูรอน 0.6 0ชุดหมีทํ าดวยผาฝาย 1.0 - 2ชุดทํ างานส ําหรับฤดูหนาว 1.4 - 4ชุดกันนํ้ า 1.2 - 6

*Clo คือ คาฉนวนของผา 1 Clo = 5.55 kcal/m2/hrคือ การแลกเปลี่ยนความรอน โดยการแผรังสีและการพาสํ าหรับ 1 องศาเซลเซียส ที่แตกตางระหวางผิวและอุณหภูมิ

Page 68: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 63 -

กระเปาะแหงที่ปรับคาแลว(คาเฉลี่ยของอุณหภูมิอากาศและคาเฉลี่ยเลขคณิตของอุณหภูมิจากการแผรังสีtadb = ((ta + tr) /2)

ประเภทของปริมาณงาน (Workload Categories)ประเภทของปริมาณงานอาจกํ าหนดจากการจัด

ลํ าดับของงานแตละงานออกเปนงานเบา ปานกลาง และหนักโดยดูจากชนิดของการทํ างาน

1.! งานเบา (ใชพลังงานไมเกิน 200 kcal/ชม. หรอื800 BTU/ชม.) ไดแก การน่ังหรือยืนควบคุมเครื่องจักร เขยีนหนังสอื ขัดโลหะ

ไสไม พรวนดินตนไม เปนตน2.! งานปานกลาง (200-350 kcal/ชม. หรอื 800-

1,400 BTU/ชม.) ไดแก เดินยกของที่มีนํ ้าหนักปานกลาง การผลักสิ่งของ ทํ าความสะอาดพ้ืนตีพรม เปนตน

3.! งานหนัก (350-500 kcal/ชม. หรอื 400-2,000BTU/ชม.) ไดแก งานท่ีตองเก็บ ขุด หรือตักตอกตะปู งานรางรถไฟ กะเทาะเปลือกไมเปนตน

เมื่อจัดกลุมปริมาณงานลงลํ าดับใดลํ าดับหน่ึงในชนิดการทํ างานท้ังสามน้ีแลว สามารถหาคา TLV สํ าหรับแตละปรมิาณงานไดจากตาราง 10

Page 69: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 64 -

3.3.3 อันตรายจากความเย็น (Cold Stress) จาก 2001TLVs and BEIs ของ ACGIH

วัตถุประสงคของ TLVs คือปองกันอุณหภูมิในรางกาย (deep temperature) คือ อุณหภูมิท่ีวัดจากทางทวารหนัก ไมใหต่ํ ากวา 36 0ซ (96.8 0ฟ) และเพ่ือปองกันการบาดเจ็บ เน่ืองจากความเย็นท่ีปลายมือ ปลายเทา สํ าหรับการสัมผัสความเย็นหน่ึงคร้ัง และเปนการสัมผัสเปนครั้งคราวอุณหภูมิในรางกายของคนงาน ไมควรตํ ่ากวา 35 0ซ (95 0ฟ)

ตาราง 12 อาการแสดงทางคลินิกที่รุนแรงขึ้น เนื่องจาก อุณหภูมิในรางกายลดลง

อุณหภูมิในรางกาย(Core temp)

0C 0F

อาการแสดง

37.637.036.0

35.034.0

33.0

32.0

31.0

99.698.696.8

95.093.2

91.4

89.6

87.8

อุณหภูมิที่วัดทางทวาร “ปกต”ิอุณหภูมิที่วัดทางปาก “ปกต”ิอัตราการเผาผลาญอาหารเพ่ิมขึ้นเพ่ือชดเชยความรอนท่ีเสียไปหนาวสั่นอยางรุนแรงผูปวยยังมีสติและตอบสนองไดมีความดันโลหิตปกติอุณหภูมิรางกายตํ่ าอยางมากเมืออุณหภูมิตํ ่ากวาระดับนี้เร่ิมไมรูสึกตัว ตรวจวัดความดันโลหิตไดยากมายตาขยาย แตตอบสนองตอแสง หยุดสั่น

Page 70: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 65 -

อุณหภูมิในรางกาย(Core temp)

0C 0F

อาการแสดง

30.0

29.028.0

27.0

2625

2422

212018

17

9

86.0

84.282.4

80.6

78.877.8

75.271.6

69.868.064.4

62.6

48.2

ไมรูสึกตัวเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ กลามเนื้อแข็งขึ้น ชีพจรออน ความดันโลหิตตํ ่า อัตราการหายใจลดลง

กลามเนื้อเล็ก ๆ ที่หัวใจกระตุกกลามเนื้อหัวใจถูกรบกวนกลามเนื้อเรียบหยุดการเคลื่อนไหวมานตาไมตอบสนองตอแสง เสนเอ็นไมกระตุกผูปวยเกือบจะไมรูสึกตัวเลยกลามเนื้อมัดเล็ก ๆ ที่หัวใจกระตุนข้ึนมาเองปอดบวมมคีวามเสี่ยงสูงสุดจากลามเนื้อมัดเลก็ ๆ ที่หัวใจกระตุก

หัวใจหยุดเตนโอกาสที่ผูปวยกลับฟนไดเองโดยบังเอิญตํ่ ามากisoelectricelectroencephalogramโอกาสที่ผูปวยกลับฟนโดยไดรับการชวยเหลือตํ ่ามาก

Page 71: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 66 -

ตาราง 13 อิทธิพลของลมตอการสัมผัสความเย็นแสดงเปนอุณหภูมิเทียบเทา (เมื่อลมสงบ)

ความเร็วลม(ม/ช.ม.)

อุณหภูมิที่วัดได ( 0F)

50 40 30 20 10 0 -10 -20 -30 -40 -50 -60 อุณหภูมิเมื่อคิดรวมความเร็วลม

ลมสงบ5101520

50 40 30 20 10 0 -10 -20 -30 -40 -50 -6048 37 27 16 6 -5 -15 -26 -36 -47 -57 -6840 28 16 4 -9 -24 -33 -46 -58 -70 -83 -9536 22 9 -5 -18 -32 -45 -58 -72 -85 -99 -12232 18 4 -10 -25 -39 -53 -67 -82 -96 -110 -121

Page 72: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 67 -

25303540

ความเร็วลมที่สูงกวา 40ม/ช.ม. มีผล

กระทบเพิ่มขึ้นไมมาก

30 16 0 -15 -29 -44 -59 -74 -88 -104 -118 -13328 13 -2 -18 -33 -48 -63 -79 -94 -109 -125 -14027 11 -4 -20 -35 -51 -67 -82 -98 -113 -129 -14526 10 -6 -21 -37 -53 -69 -85 -100 -116 -132 -148อันตรายเล็กนอย เมื่อสัมผัส อันตรายเพิ่มขึ้น จาก อันตรายมากเนื้ออาจแข็งนอยกวาหนึ่งชั่วโมง โดย การเยือกแข็งของเนื้อ ดวยความเย็นภายใน 30ผิวหนังแหง เยื้อซึ่งสัมผัสความเย็น นาที ภายใน 1 นาที

เกดิเปนแผลที่เทาเนื่องจากความเย็นไดทุกขณะในตารางนี้

Page 73: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 68 -

ตาราง 14 TLVs สํ าหรับตารางการทํ างานและทํ าใหรางกายอบอุนสํ าหรับกะ 4 ชั่วโมง

ไมมีความเร็วลม ลม 5 ไมล/ชม. ลม 10 ไมล/ชม. ลม 15 ไมล/ชม. ลม 20 ไมล/ชม.อุณหภูมิอากาศ

0 Cเวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

- 26 ถงึ - 28 1 1 75 นาที 2 55 นาที 3 40 นาที 4- 29 ถงึ – 31 1 75 นาที 2 55 นาที 3 40 นาที 4 30 นาที 5- 32 ถงึ – 34 75 นาที 2 55 นาที 3 40 นาที 4 30 นาที 5- 35 ถงึ - 37 55 นาท 3 75 นาที 4 30 นาที 5 ถาไมใชกรณีฉุกเฉิน

ควรหยุดงาน

ถาไมใชกรณีฉุกเฉินควรหยุดงาน

Page 74: คู่มือค่ามาตรฐานทางอาชีวอนามัย

- 69 -ไมมีความเร็วลม ลม 5 ไมล/ชม. ลม 10 ไมล/ชม. ลม 15 ไมล/ชม. ลม 20 ไมล/ชม.อุณหภูมิ

อากาศ0 C

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

เวลาทํ างานสูงสุด

จํ านวนครั้งที่พัก

- 38 ถึง - 39 40 นาที 4 30 นาที 5 ถาไมใชกรณีฉุกเฉินควรหยุดงาน

- 40 ถึง - 42 30 นาที 5 ถาไมใชกรณีฉุกเฉินควรหยุดงาน

- 43 และตํ่ ากวา ถาไมใชกรณีฉุกเฉินควรหยุดงาน