ดนตรีอิมเพรสชั่นพู่กัน

2
ณัชพล ชูสกุล ดนตรีอิมเพรสชั่น อิทธิพลที่มีผลต่อดนตรี แนวคิดอิมเพรสชั่น คือความคิดต่อต้านศิลปะทุกแขนงในแบบเยอรมัน มีลักษณะมัว เบลอ เลือนลาง ไม่แน่นอนว่าสิ่งนั้นคืออะไร เกิดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศสช่วงทศวรรษปีค.. 1870 ในงานจิตรกรรม ตัวอย่างนักจิตรกรที่สำคัญของแนวคิดนี้ได้แก่ โคลด โมเนต์ (Claude Monet, 1840-1926) คามิเอล พิซซาโค (Camille Pissarro, 1830-1903) ออกุส เคอนัวร์ (Auguste Renoir, 1841-1919) เป็นต้น งานของพวกเขา จะมีลักษณะกำกวม คลุมเครือ ไม่ชัดเจน และให้ความสำคัญกับบรรยากาศ แสง สี และเงามากกว่า องค์ประกอบอื่น มีความเป็นนามธรรม ซึ่งแตกต่างจากแนวคิดรูปธรรมแบบเยอรมันหรือยุคโรแมนติก ตอนปลาย ส่วนวรรณกรรมที่มีแนวคิด เหมือนอิมเพรสชั่น เรียกว่า ซิมโบลลิซึ่ม มีการใช้คำหรือประโยค ที่กำกวม คลุมเครือและมีความเป็น นามธรรมจนยากที่จะหาความหมายได้ ศิลปินที่สำคัญได้แก่ สเตฟาน เมลา-คเม (Stephane Mallarme,1842-1898) พอล แวแลนด์ (Paul Verlaine, 1844-1896) อาเธอร์ ครัมโบว์ (Arthur Rimbaud, 1854-1891) เป็นต้น นักประพันธ์ที่สำคัญและลักษณะเฉพาะทางดนตรีของนักประพันธ์ ในด้านดนตรีอิมเพรสชั่น เกิดขึ้นตามมาทีหลังในช่วงปลายศตวรรษที19 โดยมี โคลด เดอบุชชี(Claude Debussy, 1862-1918) ซึ่งเป็นชาวฝรั่งเศสที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักประพันธ์ดนตรีอิมเพรสชั่น คนแรก และยังมีนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศสที่สำคัญอีกท่านคือ โมริส ราเวล (Maurice Ravel, 1875-1937) ลักษณะดนตรีอิมเพรสชั่นแตกต่างจากดนตรียุคที่ผ่านมา มีการใช้บันไดเสียงประดิษฐ์ บันไดเสียงโฮลโทน ซึ่งโน้ตทั้งหมดมีระยะห่างเต็มเสียงระหว่างกันทำให้หาโทนิกที่ชัดเจนไม่เจอ ออกตาโทนิกเป็นบันไดเสียง ที่มีลีดดิ้งโทนเยอะจนไม่รู้แน่ชัดว่าตัวใดคือโทนิก โมดโบราณถูกนำกลับมาใช้ และเพนทาโทนิคที่พบมาก ในดนตรีตะวันออกแต่เป็นสิ่งแปลกใหม่ในดนตรีตะวันตก พบเห็นการใช้เสียงประสานแบบขนาน คอร์ด เทนชั่น ค้างเสียงกระด้างแล้วไม่เกลาลง หรือสร้างคอร์ดชนิดใหม่ขึ้นมา ทั้งหมดนี้เพื่อสร้างบรรยากาศความ คลุมเครือ กำกวม ความไม่แน่นอนของเสียง ประสานดนตรีตามแนวคิดแบบอิมเพรสชั่น แต่ยังมีความเป็น โทนาลเพราะมีศูนย์กลางเสียง เพียงแต่วิธีการจัดเรียงระดับเสียงไม่ได้ใช้กฎเดิมของเสียงประสานในยุค ที่ผ่านมา (ยุคบาโรกถึงยุคโรแมนติก)

Upload: nutchapon-choosakul

Post on 05-Jan-2016

218 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

lj

TRANSCRIPT

Page 1: ดนตรีอิมเพรสชั่นพู่กัน

ณชพล ชสกล

ดนตรอมเพรสชน

อทธพลทมผลตอดนตร

แนวคดอมเพรสชน คอความคดตอตานศลปะทกแขนงในแบบเยอรมน มลกษณะมว เบลอ

เลอนลาง ไมแนนอนวาสงนนคออะไร เกดขนทประเทศฝรงเศสชวงทศวรรษปค.ศ. 1870 ในงานจตรกรรม

ตวอยางนกจตรกรทสำคญของแนวคดนไดแก โคลด โมเนต (Claude Monet, 1840-1926) คามเอล พซซาโค

(Camille Pissarro, 1830-1903) ออกส เคอนวร (Auguste Renoir, 1841-1919) เปนตน งานของพวกเขา

จะมลกษณะกำกวม คลมเครอ ไมชดเจน และใหความสำคญกบบรรยากาศ แสง ส และเงามากกวา

องคประกอบอน มความเปนนามธรรม ซงแตกตางจากแนวคดรปธรรมแบบเยอรมนหรอยคโรแมนตก

ตอนปลาย สวนวรรณกรรมทมแนวคด เหมอนอมเพรสชน เรยกวา ซมโบลลซม มการใชคำหรอประโยค

ทกำกวม คลมเครอและมความเปน นามธรรมจนยากทจะหาความหมายได ศลปนทสำคญไดแก สเตฟาน

เมลา-คเม (Stephane Mallarme,1842-1898) พอล แวแลนด (Paul Verlaine, 1844-1896) อาเธอร ครมโบว

(Arthur Rimbaud, 1854-1891) เปนตน

นกประพนธทสำคญและลกษณะเฉพาะทางดนตรของนกประพนธ

ในดานดนตรอมเพรสชน เกดขนตามมาทหลงในชวงปลายศตวรรษท 19 โดยม โคลด เดอบชช

(Claude Debussy, 1862-1918) ซงเปนชาวฝรงเศสทไดรบการยอมรบวาเปนนกประพนธดนตรอมเพรสชน

คนแรก และยงมนกประพนธชาวฝรงเศสทสำคญอกทานคอ โมรส ราเวล (Maurice Ravel, 1875-1937)

ลกษณะดนตรอมเพรสชนแตกตางจากดนตรยคทผานมา มการใชบนไดเสยงประดษฐ บนไดเสยงโฮลโทน

ซงโนตทงหมดมระยะหางเตมเสยงระหวางกนทำใหหาโทนกทชดเจนไมเจอ ออกตาโทนกเปนบนไดเสยง

ทมลดดงโทนเยอะจนไมรแนชดวาตวใดคอโทนก โมดโบราณถกนำกลบมาใช และเพนทาโทนคทพบมาก

ในดนตรตะวนออกแตเปนสงแปลกใหมในดนตรตะวนตก พบเหนการใชเสยงประสานแบบขนาน คอรด

เทนชน คางเสยงกระดางแลวไมเกลาลง หรอสรางคอรดชนดใหมขนมา ทงหมดนเพอสรางบรรยากาศความ

คลมเครอ กำกวม ความไมแนนอนของเสยง ประสานดนตรตามแนวคดแบบอมเพรสชน แตยงมความเปน

โทนาลเพราะมศนยกลางเสยง เพยงแตวธการจดเรยงระดบเสยงไมไดใชกฎเดมของเสยงประสานในยค

ทผานมา (ยคบาโรกถงยคโรแมนตก)

Page 2: ดนตรีอิมเพรสชั่นพู่กัน

ณชพล ชสกล

ดนตรของเดอบชชมการใชศนยกลางเสยงและเสยงประสานแบบขนาน สงเกตไดในเพลง La Soiree

dans Grenade (1903) มการใชศนยกลางเสยง เสยงประสานแบบขนานโดยอยในบนไดเสยงโฮลโทน

ใชทำนองอยในโมดฟรเจยน ในอกหลายๆเพลง เดอบชชไดใชบนไดเสยงเพนทาโทนกในการประพนธ

โดยมแรงบนดาลใจมาจากดนตรพนบานกาเมลนของประเทศอนโดนเซย อตราจงหวะและการแบงกลมของ

โนตในเพลงมกจะไมปกต ไมเนนตามจงหวะปกต แบงกลมโนตขามหอง โดยรวมทงหมดน

เดอบชชพยายามสรางบรรยากาศแบบคลมเครอ ลองลอย ตามแนวคดอมเพรสชน ทงเสยงประสาน ทำนอง

จงหวะ รวมไปถงการจดวางเครองดนตรในการบรรเลง พบวาเขาพยายามหลกเลยงการบรรเลงพรอมกน

เพอใหเสยงไมเปนกลมกอนใหญ ตวอยางบทประพนธทสำคญเชน Prelude to the Afternoon of a Faun

(1894), Clair de lune (Moonlight, 1890), Pour le piano (Suite for Piano, 1894-1901), Estampes for piano

(1903), La mer (1903-1905) เปนตน

โมรส ราเวล (Maurice Ravel, 1875-1937) เปนนกประพนธดนตรอมเพรสชนอกทานหนง

แตลกษณะการประพนธไมเหมอนกบ เดอบชช ดนตรของเขามแบบแผนดงเดมมากกวาเดอบชช

สงเกตจากเสยงประสานของเขา มการใชคอรดทบเจดและเทนชนโดยไมเกลา แตยงบอกความสมพนธของ

คอรดได มโดมนนท ซบโดมนนทและโทนก พบการใชสงคตลกษณแบบดงเดมเยอะ ใชบนไดเสยงโฮลโทน

คางเสยงกระดางแลวเกลาลงโดยไมคางยาวเหมอนเดอบชช นอกจากนเพลงของราเวลยงไดรบแรงบนดาลใจ

จากดนตรชาตอน ยกตวอยางเชน Piano Concerto in G Major (1929-1931) ไดรบแรงบนดาลใจ

จากดนตรแจสของประเทศสหรฐอเมรกาและเพลง Spanish Rhapsody (1908) ไดรบแรงบนดาลใจจาก

ดนตรของประเทศสเปน และเพลงอนๆ อกมากมาย

ดนตรอมเพรสชนคอการแหกกฎเสยงประสานแบบเดม ใชเทคนคการประพนธใหมทไมไดองแบบ

ดงเดม ใชบนไดเสยงโฮลโทน ออกตาโทนก บนไดเสยงประดษฐใหมๆ มากมายในการประพนธ จดเรยงหรอ

เนนกลมโนตแบบไมเปนไปตามธรรมชาต โดยรวมทงหมดนกเพอสรางบรรยากาศแบบขนมว เลอนลาง

คลมเครอตามแนวคดอมเพรสชนทปรากฎในงานจตรกรรมและวรรณกรรม แตอยางไรกตามดนตรอมเพรส-

ชนยงคงเปนดนตรแบบโทนาล เพราะพบศนยกลางเสยงคอยบอกความสำคญของโทนก แตการจดเรยง

ระบบไมไดเปนไปตามแบบแผนดงเดม ตวอยางนกประพนธทานอนๆ ทไดรบอทธพลจาก เดอบชช เชน

นกประพนธชาวองกฤษ ราลฟ วอน วลเลยม (Ralph Vaughan Williams, 1862-1958) เปนตน