การจัดตั้งองค์กรธุรกิจ/บริษัท...

3
Page | 3 3.3 การจัดตั้งองค์กรธุรกิจ/บริษัท และการลงทุนในเวียดนาม 3.3.1 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจในเวียดนาม การลงทุนโดยตรงในเวียดนามของนักลงทุน ต่างชาติสามารถเข้ามาลงทุนในรูปแบบต่างๆ ได้ ดังนี1) กิจการที่ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด (Wholly Foreign-Owned Enterprise) เป็นการลงทุนขององค์กรหรือเอกชนจาก ต่างประเทศทั้งหมด การลงทุนในลักษณะนี้มี สถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของเวียดนาม ซึ่งได้รับอนุมัติจาก MPI หรือเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น การ ลงทุนแบบนี้เป็นการลงทุนที่มีการบริหารงาน คล่องตัวเนื่องจากผู้ลงทุนมีอานาจเต็มที่ในการ บริหาร ระยะเวลาใน การลงทุนสามารถถึง 50 ปี และไม่มีการจากัดในเงินลงทุน 2) สานักงานตัวแทน ( Representative Office: RO) สานักงานตัวแทนทาหน้าที่เป็นผู้แทนของ บริษัทแม่ในการเจรจาต่อรองและลงนามขอสัญญา ซื้อขาย ควบคุมการดาเนินของสัญญา บริการข้อมูล ด้านการตลาดติดตามและให้คาปรึกษาด้าน กฎหมาย แสวงหาโอกาสในการลงทุน/คู่ค้า ทา กิจกรรมทางการตลาดประชาสัมพันธ์และส่งเสริม สินค้า/บริการของบริษัท 3) สาขาบริษัทต่างชาติ ( Foreign Company Branch) สาขาบริษัทต่างชาติ กฎหมายของเวียดนาม อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติเปิดบริษัทสาขาเพื่อ ดาเนินธุรกิจได้หากมีการ จดทะเบียนอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย หรือมีใบสาคัญแสดงการจดทะเบียน ในประเทศของนักลงทุนมาแล้ว มากกว่า 5 ปี สาขาบริษัทต่างชาติ สามารถดาเนินการค้าได้ 2 ประเภทคือ สินค้าเพื่อส่งออก อาทิ งาน หัตถกรรม ผลไม้ การแปรรูปอาหาร สินค้า อุตสาหกรรมของ ผู้บริโภค เนื้อสัตว์และเนื้อสัตว์ ปีก สินค้าเกษตร (ยกเว้นข้าวและกาแฟ) สินค้า นาเข้าจากต่างประเทศอาทิ เครื่องจักรและอุปกรณ์ สาหรับการทาเหมือง การแปรรูปสินค้า เกษตร วัสดุในการผลิตยา ปุ๋ย และยาฆ่าแมลง 4) บริษัทร่วมทุน (Joint Venture) ระหว่าง นักลงทุนต่างชาติกับคนชาติ กิจการร่วมทุนก่อตั้งโดยสัญญาร่วมทุนระหว่าง นักลงทุนต่างชาติรายเดียวหรือหลายรายกับ นักลงทุนของเวียดนามรายเดียวหรือหลายราย เพื่อ ดาเนินธุรกิจร่วมกัน หรือบางกรณีอาจเป็นการ ดาเนินการระหว่างรัฐบาลต่างประเทศกับรัฐบาล เวียดนาม การลงทุนในรูปแบบกิจการร่วมทุนนีเป็นการตั้งบริษัทใหม่ในรูปหุ้นส่วนที่จากัดความ รับผิดชอบ มีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของ เวียดนาม การจัดตั้งต้องจดทะเบียนและได้รับ อ นุ มั ติ จ า ก Ministry of Planning and Investment (MPI) มีการกาหนดระยะเวลาของ การลงทุนไว้ชัดเจนในสัญญา หากไม่สามารถทาได้ ตามเวลาที่กาหนดอาจถูกยกเลิกสัญญาทันที

Upload: clmv

Post on 23-Jul-2016

212 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page | 3

3.3 การจัดตั้งองค์กรธุรกิจ/บริษัท และการลงทุนในเวียดนาม

3.3.1 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจในเวียดนาม การลงทุนโดยตรงในเวียดนามของนักลงทุนต่างชาติสามารถเข้ามาลงทุนในรูปแบบต่างๆ ได้ดังนี้

1) กิจการที่ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด (Wholly Foreign-Owned Enterprise)

เป็นการลงทุนขององค์กรหรือเอกชนจากต่างประเทศทั้งหมด การลงทุนในลักษณะนี้มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของเวียดนาม ซึ่งได้รับอนุมัติจาก MPI หรือเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น การลงทุนแบบนี้ เป็นการลงทุนที่มีการบริหารงานคล่องตัวเนื่องจากผู้ลงทุนมีอ านาจเต็มที่ในการบริหาร ระยะเวลาใน การลงทุนสามารถถึง 50 ปี และไม่มีการจ ากัดในเงินลงทุน

2) ส า นั ก ง า น ตั ว แ ท น ( Representative Office: RO)

ส านักงานตัวแทนท าหน้าที่ เป็นผู้แทนของบริษัทแม่ในการเจรจาต่อรองและลงนามขอสัญญาซื้อขาย ควบคุมการด าเนินของสัญญา บริการข้อมูลด้ านการตลาดติดตามและให้ค าปรึกษาด้านกฎหมาย แสวงหาโอกาสในการลงทุน/คู่ค้า ท ากิจกรรมทางการตลาดประชาสัมพันธ์และส่งเสริมสินค้า/บริการของบริษัท

3) สาขาบริษัทต่างชาติ (Foreign Company Branch)

สาขาบริษัทต่างชาติ กฎหมายของเวียดนามอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติเปิดบริษัทสาขาเพ่ือด าเนินธุรกิจได้หากมีการ จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือมีใบส าคัญแสดงการจดทะเบียนในประเทศของนักลงทุนมาแล้ว มากกว่า 5 ปี

สาขาบริษัทต่างชาติ สามารถด าเนินการค้าได้ 2 ประ เภทคือ สิ นค้ า เ พ่ือส่ งออก อาทิ ง านหัตถกรรม ผลไม้ การแปรรูปอาหาร สินค้าอุตสาหกรรมของ ผู้บริโภค เนื้อสัตว์และเนื้อสัตว์ปีก สินค้าเกษตร (ยกเว้นข้าวและกาแฟ) สินค้าน าเข้าจากต่างประเทศอาทิ เครื่องจักรและอุปกรณ์ส าหรับการท าเหมือง การแปรรูปสินค้า เกษตร วัสดุในการผลิตยา ปุ๋ย และยาฆ่าแมลง

4) บริษัทร่วมทุน (Joint Venture) ระหว่างนักลงทุนต่างชาติกับคนชาติ

กิจการร่วมทุนก่อตั้งโดยสัญญาร่วมทุนระหว่างนักลงทุนต่างชาติรายเดียวหรือหลายรายกับ นักลงทุนของเวียดนามรายเดียวหรือหลายราย เพ่ือด าเนินธุรกิจร่วมกัน หรือบางกรณีอาจเป็นการด าเนินการระหว่างรัฐบาลต่างประเทศกับรัฐบาลเวียดนาม การลงทุนในรูปแบบกิจการร่วมทุนนี้ เป็นการตั้งบริษัทใหม่ในรูปหุ้นส่วนที่จ ากัดความรับผิดชอบ มีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของเวียดนาม การจัดตั้งต้องจดทะเบียนและได้รับอ นุ มั ติ จ า ก Ministry of Planning and Investment (MPI) มีการก าหนดระยะเวลาของการลงทุนไว้ชัดเจนในสัญญา หากไม่สามารถท าได้ตามเวลาที่ก าหนดอาจถูกยกเลิกสัญญาทันที

Page | 4

ทั้งนี้ ระยะเวลาของสัญญามีก าหนดไว้ไม่เกิน 50 ปี แต่ข้ึนกับเงินลงทุนด้วย

กิ จ ก า ร ร่ ว มทุ น จ ะด า เ นิ น ก า ร โ ดยคณะกร รมกา รบริ ห า ร ( Board of Management: BOM) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากนักลงทุนแต่ละฝ่ายตามสัดส่วนของเงินลงทุน ทั้งนี้ สมาชิกอย่างน้อย 2 คน ใน BOM จะต้องมาจากฝ่ายเวียดนาม ส่วนประธานของ BOM มาจากการแต่งตั้งโดยผู้ร่วมทุนทั้งสองฝ่ายซึ่งเห็นชอบร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และ BOM จะแต่งตั้งผู้อ านวยการทั่วไปและรองผู้อ านวยการทั่วไป เพ่ือรับผิดชอบในการบริหารกิจการ ซึ่งผู้อ านวยการทั่วไปหรือรองผู้อ านวยการทั่วไป คนใดคนหนึ่งจะต้องเป็นตัวแทนจากฝ่ายเวียดนาม

การลงทุนในรูปแบบนี้เป็นรูปแบบการลงทุนที่รัฐบาลเวียดนามให้การส่งเสริมมากที่สุด นอกจากนี้นักลงทุนต่ างชาติสามารถอาศัยหุ้นส่ วนชาวเวียดนามเป็นผู้ติดต่อประสานงานกับหน่วยราชการต่างๆ ของเวียดนาม ท าให้ได้รับความสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งนักลงทุนท้องถิ่นชาวเวียดนามมักร่วมทุนโดยใช้ที่ดินและสิ่งก่อสร้างในเวียดนามตีค่าออกมาเป็นเงินลงทุน ซึ่งมักจะประเมินสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริง ท าให้นักลงทุนชาวต่างชาติเสียเปรียบ อีกทั้งอาจมีปัญหาด้านการบริหารงานและการขยายธุรกิจ

5) สัญญาร่ วมลงทุนธุ รกิ จ (Business Co-operation Contract: BCC)

สัญญาร่วมลงทุนธุรกิจเป็นการร่วมทุนทางธุ รกิจระหว่างนักลงทุนต่ างชาติกับนักลงทุนเวียดนาม ซึ่งอาจมีมากกว่า 1 รายเข้าร่วมท าธุรกิจด้วย มีความยืดหยุ่นมากที่สุด สัญญาร่วมลงทุนธุรกิจสามารถเปิดส านักงานเป็นตัวแทนที่เวียดนาม การลงทุนในรูปแบบนี้ไม่มีข้อก าหนดเรื่องเงินลงทุนขั้นต่ าของต่างชาติ รวมทั้งไม่ได้ก าหนดสัดส่วนการ

ถือหุ้นของต่างชาติ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการตกลงท าสั ญ ญ า ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง นักลงทุนต่างชาติกับนักลงทุนเวียดนาม ส่วนระยะเวลาของสัญญาขึ้นอยู่ กับการตกลงกัน อย่างไรก็ตามแม้จะไม่มีข้อจ ากัดเรื่องระยะเวลา แต่โดยส่วนใหญ่แล้วสัญญาชนิดนี้จะเป็นสัญญาระยะสั้น ข้อเสียของการลงทุนประเภทนี้ คือ ไม่มีการจ ากัดความรับผิดชอบหากเกิดการขาดทุน อีกทั้งนักลงทุนต่างชาติยังขาดความเป็นอิสระในการบ ริ ห า ร ง า น ใ น สั ญ ญ า ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ยวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ เนื้อหาของความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างหุ้นส่วน ระยะทางธุรกิจ ความรับผิดชอบของหุ้นส่วน เป็นต้น แต่นักลงทุนต่างชาติสามารถโอนเงินที่เป็นผลก าไรกลับประเทศได้ค่อนข้างง่าย

6) กิ จการที่ ท าสัญญากับภาครั ฐ (Public-Private Partnership: PPP)

กิจการที่ท าสัญญากับภาครัฐเป็นรูปแบบการลงทุนที่เป็นข้อตกลงระหว่างหน่วยงาน ราชการของเวียดนามกับนักลงทุนต่างชาติซึ่งอาจเป็นบริษัทต่างชาติถือหุ้นทั้งหมดหรือบริษัทร่วมทุนกับเวียดนามก็ได้เ พ่ือที่จะสร้างหรือด าเนินการในโครงการสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน เช่น สะพาน ถนน สนามบิน ท่าเรือ ประปา ไฟฟ้า เป็นต้น ผู้ลงทุนจะได้รับอนุญาตให้ด า เนินโครงก ารในระยะเวลาที่จะท าให้สามารถได้รับเงินลงทุนคืนพร้อมก าไรที่สมเหตุสมผล ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับข้อก าหนดในสัญญา ดังนี้

Page | 5

(1) Build-Operate-Transfer ( BOT) คื อ เ มื่ อก่อสร้างเสร็จแล้วสามารถหาผลประโยชน์ได้ในช่วงเวลาหนึ่งก่อนโอนกิจการเป็นของรัฐ

(2) Build-Transfer-Operate (BTO) คื อ เ มื่ อก่อสร้างเสร็จแล้วต้องโอนให้รัฐก่อน จึงเปิดด าเนินการเพ่ือหาผลประโยชน์ได้ในช่วงเวลาหนึ่ง

(3) Build-Transfer-Contract (BT) คือ รั ฐบาลเ วี ยดนามอนุญาต ให้ นั กล งทุ นต่ า ง ช าติด าเนินการก่อสร้างโครงการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ หลังจากนั้นนักลงทุนต่างชาติต้องโอนโครงการก่อสร้ า งดั งกล่ าว ให้ กับรั ฐบาลเวียดนาม โดยรัฐบาลเวียดนามจะอนุญาตให้ นักลงทุนต่างชาติไปด าเนินการก่อสร้างหรือบริหารโครงการลงทุนอ่ืนๆ เพ่ือให้นักลงทุนต่างชาติได้รับผลตอบแทนคุ้มกับต้นทุนค่าก่อสร้างและมีผลก าไรตามสมควร

กิจการที่ท าสัญญากับภาครัฐ มีหน่วยงานรับผิดชอบหลักคือ กระทรวงการวางแผนและการลงทุน (MPI) ท าหน้าที่เป็นที่ปรึกษาส าหรับนักลงทุน เอกชนในการ เตรี ยม โคร งการ และประสานงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ท าหน้าที่รายงานข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรี

เพ่ือขออนุมัติโครงการ ซึ่งรัฐบาลเวียดนามได้จัดตั้งคณะกรรมการอ านวยการด้านการลงทุนรูปแบบ PPP เ พ่ือให้ความช่วยเหลือหน่วยงานภาครัฐเจ้าของโครงการ นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามจะให้การสนับสนุนการลงทุนต่างชาติ โดยการให้สิทธิพิเศษในการใช้ที่ดินและสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งสิทธิพิเศษทางด้านภาษี เป็นต้น

7) รูปแบบการลงทุนอ่ืนๆ นอกจากที่กล่าวมาแล้ว

(1) การตั้งส านักงานตัวแทนทางการค้าและการลงทุนในเวียดนาม เพ่ือท าหน้าที่แทนบริษัทแม่ในต่างประเทศ

(2) การขยายสาขาของธุรกิจบางประเภท เช่น ธนาคาร ประกันภัย การบัญชี หรื อกฎหมาย เป็นต้น แต่จะมีขอบเขตการด าเนินกิจการที่ค่อนข้างจ ากัด

(3) ก า ร ค ว บ ร ว ม บ ริ ษั ท ( Merger and Acquisition: M & A)

(4) กา รช่ ว ย เ หลื อท า ง เ งิ นทุ น ( Capital Contribution) ใ นก า รบริ ห า ร จั ด ก า รบริษัท