6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร...

51

Upload: others

Post on 01-Nov-2019

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ
Page 2: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

รวมบทความ

การประชมุวชิาการประจําป�ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

ครัง้ที่ ๗

ชีวติกับการเรยีนรู�ในฐานะโรงเรียนแพทย�

(Life and Learning on the Premises of Medical School)

จัดโดย

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

มหาวิทยาลัยมหิดล

ป� ๒๕๖๒

Page 3: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

รวมบทความ

การประชมุวชิาการประจาํป�ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งที ่๗

เรือ่ง “ชีวติกบัการเรยีนรู�ในฐานะโรงเรยีนแพทย�

(Life and Learning on the Premises of Medical School)”

กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย�นายแพทย�ธีระ กลลดาเรืองไกร

ดร.มาศโมฬ ี จิตวิริยธรรม

นางสาวศลิษา ธาระสวัสดิ์

นางสาววนิดา ธนากรกุล

นายธนะเมศฐ� เชาว�จินดารัชต�

นางสาวกัญญาภัค เงินอินต�ะ

และคณะกรรมการดําเนินการจัดประชุมวิชาการประจาํป�

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๖๒

จัดพิมพ�โดย ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

๙๙๙ ถนนบรมราชชนนี ตําบลศาลายา

อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐

โทรศัพท� / โทรสาร ๐ ๒๘๔๙ ๖๖๐๐ ต�อ ๔๒๔๑

เว็บไซต� www.gj.mahidol.ac.th

Page 4: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

สารจากกองบรรณาธิการ

เนื่องด�วยศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ได�รับการโอนย�ายให�เป�นส�วนหนึ่งของคณะ

แพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีวัตถุประสงค�ในการเติม

เต็มการให�บริการ และส�งเสริมการเรียนการสอน การวิจัย ของคณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล

ให�ครอบคลุมการจัดตั้งเขตสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข

พันธกิจของโรงเรียนแพทย� ของคณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล คือการผลิตแพทย�

และบุคลากรทางการแพทย� เพื่อออกไปทํางานให�ประชาชนมีสุขภาพที่ดีและได�รับบริการจาก

บุคลากรทางการแพทย�ที่มีคุณภาพ การที่ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ได�เป�นส�วนต�อขยายด�าน

การเรียนการสอน จะทําให�นักศึกษาแพทย� และบุคลากรทางการแพทย� รวมไปถึงนักศึกษาทาง

สาธารณสุขอื่นๆ เช�น กายภาพบําบัด เทคนิคการแพทย� พยาบาล รังสีเทคนิค เภสัชกร และทันต

แพทย� จะได�ปฏิบัติงานร�วมกัน และเรียนรู�ที่จะทํางานร�วมกันอย�างมีประสิทธิภาพ

สถานที่ตั้งของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษกอยู�ในรอยต�อระหว�างกรุงเทพมหานครกับ

จังหวัดนครปฐม จึงเป�นสถานที่เหมาะสมในการเรียนรู�การแพทย�บริบทรอบเมืองใหญ� ซึ่งอาจมี

ภาวะความเจ็บป�วยและความต�องการทางการแพทย�แตกต�างจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยใน

กรุงเทพมหานคร และการได�มีโอกาสร�วมดูแลชุมชนในรอบต�อดังกล�าว จะสามารถทําให�นักศึกษา

ได�มีประสบการณ�ที่เป�นชีวิตจริง และสามารถนําความรู�ไปใช�ในอนาคตต�อไป

การดําเนินงานของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษกจะเป�นต�นแบบของการเรียนการสอน

และการบริการในระดับทุติยภูมิและยังเป�นการดูแลแบบผสมผสานท้ังทางด�านศาสตร�และด�าน

บคุลากร และก�อให�เกิดประโยชน�แก�สังคมอย�างแท�จริงต�อไป

การประชุมวิชาการในป�น้ีจึงสอดรับวิสัยทัศน� และพันธกิจใหม�ของศูนย�การแพทย�

กาญจนาภิเษก ใน หัวข�อเรื่อง"ชีวิตกับการเรียนรู�ในฐานะโรงเรียนแพทย�" (Life and Learning

on the Premises of Medical School)” เพื่อส�ง เสริมการพัฒนาครู แพทย� ให�มีความรู�

ความสามารถตลอดจนเจตคติในการเป�นครู โดยมีการถ�ายทอดองค�ความรู�ในหลากหลายวิชาชีพ

อีกทั้งเป�นเวทีทางวิชาการในการนําเสนอแนวคิดและผลงานวิจัยระดับประเทศ ซึ่งรูปแบบการ

ตีพิมพ�เผยแพร�ในรูปออนไลด�เพ่ือความรวดเร็วในการเผยแพร� และความง�าย สะดวกในการสืบค�น

รองศาสตราจารย�นายแพทย�ธีระ กลลดาเรืองไกร

บรรณาธิการ

Page 5: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

สารบัญ

หน�า

บทนาํ

รายละเอียดโครงการการประชุมวิชาการประจําป�

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งที่ ๗

กําหนดการประชุม ๕

บทความวชิาการ

โรคหัวใจและหลอดเลือดในผู�ป�วยเบาหวาน

Cardiovascular Disease in Diabetic Patients

นายแพทย�สมชาย ดุษฎีเวทกลุ

ฝ�ายการแพทย� ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

๑๐

บทความวจิยั

Rate and Factors Influencing of Influenza Vaccination for

High Risk Outpatients in Golden Jubilee Medical Center

Chenchira Thongdee

ฝ�ายการแพทย� ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

๒๒

รูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่เป�นเลิศของ MUSIS ของ

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

ศลษิา ธาระสวสัดิ ์และคณะ

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

๓๒

Page 6: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑ ~

การประชมุวชิาการประจาํป�ศนูย�การแพทย�กาญจนาภเิษก ป� ๒๕๖๒

เรื่อง “การดแูลทางจติวญิญาณของผู�สงูอาย ุ(Spiritual Care of the Elderly)”

วันที่ ๓ และ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห�องประชุมใหญ� ชั้น G ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ตําบลศาลายา จังหวัดนครปฐม

********************************

หลกัการและเหตุผล

ด� วยศู นย�การแพทย�กาญจนาภิ เษก คณะแพทยศาสตรศิ ริ ร าชพยาบ าล มหาวิทยาลัยมหิดล ได�ปรับโครงสร�างและนโยบายการดําเนินงาน โดยมีวิสัยทัศน�ใหม�ในการเป�นโรงพยาบาลทุติยภูมิชั้นเลิศของประเทศ ให�บริการแบบบูรณาการและมุ�งมั่นสนับสนุนการเรียนการสอนและการวิจัยของคณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล จึงเห็นควรมุ�งเน�นเพิ่มพูนศาสตร� “ความเป�นครู” ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนา “ครูแพทย�” ด�วยเหตุที่ว�า บทบาทสําคัญของครูแพทย�คือการสร�างศิษย�ให�เป�นแพทย�ที่ดี ครูแพทย�จึงต�องมีเจตคติในการเป�น “คร”ู มีความรู�ความเข�าใจในเชิงวิชาครู พร�อมกับมีความเป�นเลิศในเชิงวิชาการทางแพทย� สามารถประยุกต�ใช�หลักวิชาครูในการจัดการเรียนการสอนทางการแพทย�ได�อย�างมีประสิทธิภาพ เพราะองค�ประกอบที่สําคัญที่สุดในการผลิตแพทย� คือ "ครู" ในกระบวนการผลิตแพทย� มี ๓ ประการ ได�แก� หลักสูตร ครูแพทย�และนักศึกษาแพทย� ซึ่งมีความสัมพันธ�ซึ่งกันและกันอย�างใกล�ชิด ครูแพทย�เป�นผู�อบรมสั่งสอน นักศึกษาแพทย�ให�มีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรต�องการ อาจกล�าวได�ว�าคุณภาพของครูแพทย�จึงเป�นป�จจัยสําคัญต�อกระบวนการผลิตแพทย� ส�วนใหญ�ครูแพทย�มักจะมีความรู�ความสามารถในด�าน วิชาชีพแพทย� แต�อาจด�อยในวิชาครุศาสตร�หรือความเป�นครู ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ได�ตระหนักถึงความสําคัญของครูแพทย� ดังนั้นในการประชุมวิชาการประจําป�ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ป� ๒๕๖๒ จึงได�นําประเด็น "ชีวิตกับการเรียนรู�ในฐานะโรงเรียนแพทย�" (Life and Learning on the Premises of Medical School)” มาเป�นหัวข�อหลักของประชุมวิชาการประจําป� ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๗ เพื่อ

Page 7: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒ ~

ส�งเสริมการพัฒนาครูแพทย�ให�มีความรู�ความสามารถตลอดจนเจตคติในการเป�นครู โดยมีการถ�ายทอดองค�ความรู� ในหลากหลายวิชาชีพ อาทิ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๒ Lunch conference เรื่อง Control chart in Quality Improvement และวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ปาฐกถาเกียรติยศในหัวข�อหลัก "ชีวิตกับการเรียนรู� ในฐานะโรงเรียนแพทย� " โดย ศาสตราจารย� ดร.นายแพทย�ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล และเวทีอภิปรายปุจฉา-วิสัชนา เรื่อง “บทบาทและความรับผิดชอบของโรงเรียนแพทย�ต�อแผ�นดิน” โดยอาจารย�แพทย�ผู�เชี่ยวชาญ ผู�วางนโยบายระดับประเทศ และผู�นําชุมชน พบกับการบรรยายพิเศษในแต�ละห�องประชุมย�อย ได�แก� หัวข�อ Interprofessional Education ( IPE) Workshop Collaborative Practice , สถิ ติ ป ร ะยุ กต� Biostatistics in Clinical Research: Made Easy ห น� วยร ะบาดวิ ทยาคลิ นิ ก สถานส� ง เ สริ มการวิ จั ย คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล, ศาสตร�การแพทย�แผนไทยในฐานะภูมิป�ญญาของชาติ เรื่อง “เวชศาสตร�เชิงประจักษ�และการบูรณาการ” โดยสถานการแพทย�แผนไทยประยุกต�ศิริราช , “บทบาทเภสัชกรในโรงเรียนแพทย�” โดย คณะเภสัชศาสตร� มหาวิทยาลัยมหิดล “Learning style ความแตกต�างระหว�างบุคคลด�านพัฒนาการและการเรียนรู�” โดยภาควิชาเวชศาตร�ฟ��นฟู คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล โดยนอกจากนี้ยังมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู�ทางวิชาการ แสดงผลงานวิจัยทั้งจากบุคลากรและบุคคลภายนอก ตลอดจนกิจกรรมที่น�าสนใจต�างๆ

วัตถปุระสงค� ๑. เพื่อดํารงอัตลักษณ�ความเป�นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่มีงานวิจัยและวิชาการเป�นพ้ืนฐานในการดูแลสุขภาพ

๒. เพื่อเพิ่มพูนองค�ความรู�การดูแลสุขภาพผู�สูงอายุในมิติจิตวญิญาณ ๓. เพื่อให�บุคลากรมีเวทีในการแสดงผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัย และแลกเปลี่ยน

เรียนรู�ทางวิชาการ

Page 8: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓ ~

กลุ�มเป�าหมาย จํานวนประมาณ ๔๐๐ คน ประกอบด�วย ๑. แพทย� พยาบาล กลุ�มสหสาขาวิชาชีพทางสาธารณสุข ๒. คณาจารย� นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล และ

สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน ๓. เจ�าหน�าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู�บ�าน (อสม.) สมาชิกชมรม

ผู�สูงอายุ และบุคคลทั่วไปที่สนใจ

รูปแบบการจัดประชุมวิชาการ ๑. จัดให�มีปาฐกถาเกียรติยศศาสตราจารย�คลินิกนายแพทย�ป�ยะสกล สกลสัตยาทร

ครั้งท่ี ๖ หัวข�อ “การดูแลทางจิตวิญญาณของผู�สูงอายุ (Spiritual Care of the Elderly)” ๒. การบรรยายเพิ่มเติมความรู�ในส�วนที่ขาด เวทีอภิปรายแบบปุจฉา-วิสัชนา เรื่อง

เล�าจากประสบการณ� และอื่นๆ โดยอาจารย�วิทยากรผู�ทรงวุฒิ ๓. แสดงนิทรรศการ Academic Profile ของทุกหน�วยงานและเวทีนําเสนอผลงาน

ทางวิชาการ พร�อมพบกับ Experts

ขอเชญิส�งผลงานวชิาการ /วจิัย ขอเชิญนักวิชาการและนักศึกษาส�งผลงานวิชาการเข�าร�วมการประชุม โดยเป�นบทความที่มีความเกี่ยวข�องและสอดคล�อง กับหัวข�อการประชุม ด�าน Scientific Research ด�าน Social Research หรือผลงาน R2R ขนาดความยาวไม�เกิน ๑๒ หน�า A๔ พร�อมบทคัดย�อภาษาไทยและอังกฤษ โดยส�งถึงงานการศึกษา วิจัยและวิชาการ ภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ� พ.ศ.๒๕๖๒ สําหรับบทความที่ได�รับการพิจารณาจะได�รับการตีพิมพ�เผยแพร�บนเว็บไซต�และนําเสนอในเวทีการประชุม การพิจารณาคัดเลือกบทความเข�าร�วมการประชุม ทางศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล จะแต�งตั้งคณะกรรมการทางวิชาการเพื่อพิจารณากลั่นกรอง และให�ความเห็นเพื่อการปรับปรุงบทความ ทั้งนี้บทความที่ตีพิมพ� จะต�องผ�านการรับรองคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนจากหน�วยงานของท�าน และไม�เคยตีพิมพ�ในเอกสารใดหรือนําเสนอมาก�อน

Page 9: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔ ~

ประโยชน�ทีค่าดว�าจะได�รบั ๑. ผู�เข�าร�วมประชุมมีความรู�ในวิชาการที่ก�าวหน�า และเทคโนโลยีที่ทันสมัยทางการแพทย�

๒. ผู�เข�าร�วมประชุมได�มีโอกาสเสนอผลงานทางวิชาการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู� ข�อคิดเห็น ประสบการณ� กับผู�ร�วมงานในสาขาวิชาชีพเดียวกันและที่เกี่ยวข�องกัน

๓. ผู�เข�าร�วมประชุมทราบถึงความสําคัญของการพัฒนางาน และนําความรู�ที่ได�รับจากการประชุมไปประยุกต�ใช�กับการปฏิบัติงานได�

๔. เพิ่มศักยภาพทางวิชาการ การวิจัย เกี่ยวกับผู�สูงอายุ เพื่อเป�นพื้นฐานในบริการดูแลสุขภาพต�อไป

การลงทะเบยีน และสาํรองที่นัง่ ผู�เข�าร�วมการประชุม ชําระเงิน ๓๐๐ บาท สําหรับผู�ส�งบทความเข�าร�วม ชําระเงิน ๖๐๐ บาท ซึ่งผู�ลงทะเบียนจะได�รับ กระเป�า คูปองอาหาร เอกสาร ปากกา ฯลฯ ลงทะเบียนสํารองที่นั่งได�ที่ http://www.gj.mahidol.ac.th/tech/ ตั้งแต�วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ ถึงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๒ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได�ที่งานการศึกษา วิจัยและวิชาการ โทรศัพท� / โทรสาร ๐๒-๘๔๙๖๖๐๐ ต�อ ๔๒๔๑, ๔๒๔๒

หมายเหตุ ทั้งนี้ ผู�เข�าร�วมประชุมสามารถเบิกค�าเดินทาง, ค�าที่พักและค�าใช�จ�ายอื่น ๆ ได� ตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค.๐๔๐๙.๖/ว.๙๕ ลว. ๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ ตามระเบียบของทางราชการในสังกัด การประชุมดังกล�าวให�สามารถเข�าร�วมได�โดยไม�ถือเป�นวันลา เมื่อได�รับอนุมัติจากผู�บังคับบัญชาแล�ว และสําหรับพยาบาลวิชาชีพจะได�รับหน�วยคะแนนทางการพยาบาล (CNEU) สําหรับวิชาชีพด�านอื่นๆ อาทิ นักกายภาพบําบัด นักเภสัชกร อยู�ระหว�างดําเนินการประสานงานด�านหน�วยคะแนนทางการศึกษาต�อเนื่อง

Page 10: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๕ ~

กาํหนดการ การประชมุวชิาการประจาํป�ศนูย�การแพทย�กาญจนาภเิษก ครัง้ที ่๗ ประจาํป� ๒๕๖๒

เรือ่ง “ชวีติกบัการเรยีนรู�ในฐานะโรงเรยีนแพทย�” (Life and Learning on the Premises of Medical School)

วันศุกร�ที ่๕ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ห�องประชุมอเนกประสงค� สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชยี มหาวิทยาลัยมหดิล

เวลา ห�องประชมุย�อย B* (ห�อง ๕๑๓) ชัน้ ๕

๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน พร�อมรับเอกสาร

๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. พิธีเป�ดการประชมุ

๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. ปาฐกถาเกยีรตยิศศาสตราจารย�คลินกินายแพทย�ป�ยะสกล สกลสัตยาทร ครั้งที่ ๗ เรื่อง “ชีวิตกับการเรยีนรู�ในฐานะโรงเรียนแพทย� (Life and Learning on the Premises of Medical School)” โดย รศ.นพ.รัฐพล ตวงทอง รองคณบดีฝ�ายกิจการนกัศึกษา คณะแพทยศาสตร�ศริิราชพยาบาล

๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. พักเบรก ๑๕ นาที บริเวณห�องอาหารชั้น ๑

๑๐.๑๕ - ๑๒.๑๕ น. เวทีอภิปรายแบบปุจฉา-วิสชันา เรื่อง “บทบาทและความรับผิดชอบของโรงเรียนแพทย�ต�อแผ�นดิน” โดย แพทย�หญิงสิรินทร ฉันศริิกาญจน อาจารย�แพทย�เชี่ยวชาญโรคผู�สูงอายุ สาขาอายุรศาสตร� คณะแพทยศาสตร�โรงพยาบาลรามาธิบด ีนายแพทย�ธงธน เพิ่มบถศรี ผู�อํานวยการกลุ�มขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร�ชาติและการสร�างความสามัคคปีรองดอง (กลุ�ม ป.ย.ป.) กระทรวงสาธารณสุข นางจงดี เศรษฐอํานวย ผู�นาํชมุชนคลองมหาสวัสดิ์ ตําบลศาลายา ผู�ดําเนินการอภปิราย: นายแพทย�อภิรัติ พูลสวัสดิ์ อายุรแพทย�ผู�สูงอายุ ฝ�ายการแพทย� ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

๑๒.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวันและเยี่ยมชมบูธผู�สนับสนุน พร�อมรบัของที่ระลึก (จํานวนจํากัด)

Page 11: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๖ ~

เวลา ห�องประชุมย�อย A* (ห�อง ๕๑๕) ชัน้ ๕

๑๓.๐๐ - ๑๔.๑๕ น. . ศาสตร�การแพทย�แผนไทยในฐานะภมูิป�ญญาของชาติ “เวชศาสตร�เชิงประจักษ� กับงานการแพทย�แผนไทย” โดย อ.ดร.ณัชกร ล้ําเลิศกิจ และ อ.ดร.สุกก�สลลิ บูรณะทรัพย�ขจร สถานการแพทย�แผนไทยประยกุต� คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล

๑๔.๓๐ – ๑๕.๔๕ น.

“บทบาทเภสัชกรในโรงเรียนแพทย�” โดย อาจารย�เภสัชกรศุภทัต ชมุนุมวัฒน� และเภสัชกรกฤษณ� สรวมชพี คณะเภสัชศาสตร� มหาวิทยาลัยมหิดล เภสัชกรสถาพร ขนันไทย ศูนย�การแพทย�กาญจนาภเิษก

เวลา ห�องประชมุย�อย B* (ห�อง ๕๑๓) ชัน้ ๕ ๑๓.๐๐ - ๑๔.๑๕ น. . Biostatistics in Clinical Research: Made Easy

โดย ผศ.ดร.จุฬาลักษณ� โกมลตรี หน�วยระบาดวทิยาคลนิิก สถานส�งเสริมการวิจัย คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล

๑๔.๓๐ – ๑๕.๔๕ น. “Learning style ความแตกต�างระหว�างบคุคลด�านพัฒนาการและการเรียนรู�” โดย รองศาสตราจารย� แพทย�หญิงกิ่งแก�ว ปาจรีย� ภาควิชาเวชศาสตร�ฟ��นฟู คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล

เวลา ห�องประชุมย�อย C (ห�อง ๕๑๔) ชัน้ ๕

๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. .

การวิจัยทางการพยาบาลในศตวรรษที่ ๒๑ โดย ผศ. ดร. อาภา ภัคภิญโญ (ยังประดิษฐ) รองผู�อํานวยการฝ�ายบรกิารวิชาการ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

๑๔.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.

นําเสนอผลงานวิชาการ/งานวิจัย Oral Presentations อาจารย�ผู�ทรงวุฒิวิพากษ� : ศ.เกียรติคุณ พญ.ชูศรี พิศลยบุตร กรรมการจรยิธรรมการวิจัยในคน คณะแพทยศาสตร�ศิรริาชฯ ดร.สมสิทธิ์ อัสดรนิธี และดร.สปุรียส� กาญจนพิศศาล ศูนย�จิตตป�ญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 12: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๗ ~

*************************************

เวลา ห�องประชมุย�อย B* (ห�อง ๕๑๓) ชัน้ ๕ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. . Interprofessional Education (IPE) Workshop Collaborative Practice

โดย ผศ.นพ.กาํธร ตนัติวิทยาทนัต� รองผู�อํานวยการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

Page 13: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

บทความวชิาการ

Page 14: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๑ ~

Page 15: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๐ ~

โรคหวัใจและหลอดเลอืดในผู�ป�วยเบาหวาน

Cardiovascular Disease in Diabetic Patients

นายแพทย�สมชาย ดุษฎีเวทกุล ฝ�ายการแพทย� ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

คณะแพทยศาสตร�ศิรริาชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ข�อมูลจากการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร�าง กายครั้งที่ 5 (Thai

National Health Examination Survey, NHES V) พบความชุกของโรคเบาหวานในประเทศไทยในผู�ที่มีอายุ ต�งแต� 15 ป�ขึ้นไปเพิ่มขึ้นจากร�อยละ 6.9 ในป� พ.ศ.2552 เป�น ร�อยละ 8.9 ในป� พ.ศ.25571 ซึ่งคาดว�ามีแนวโน�มจะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ หากไม�มีการดําเนินการใดๆ ความท�าทายที่รออยู�ข�างหน�า คือคนไทยที่เป�นผู�ใหญ�จํานวน 7.5 ล�านคนที่มีความเสี่ยงต�อการเกิดโรคเบาหวานในป�จจุบัน1,2 มีแนวโน�มที่จะเป�นโรคเบาหวานในอนาคตถึงร�อยละ 70 และข�อมูลระดับ นานาชาติซึ่งประมาณการโดย International Diabetes Federation Project เป�ดเผยว�า 1 คนใน 10 คน ของประชากรทั่วโลกจะเป�นโรคเบาหวานในป� ค.ศ. 2035 (พ.ศ. 2578)3

จากข�อมูลทางการแพทย�พบว�าโรคหัวใจและหลอดเลือดมีความเกี่ยวข�องกับผู�ป�วยเบาหวานดังนี้

1. ผู�ป�วยเบาหวานที่มีอายุ 65 ป�ขึ้นไป ร�อยละ 68 เสียชีวิตจากโรคหัวใจ และร�อยละ 16 เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง

2. ผู�ป�วยเบาหวานเสียชีวิตจากโรคหัวใจสงูกว�าผู�ป�วยที่ไม�ได�เป�นเบาหวาน 2-4 เท�า 3. ในทางการแพทย�ได�กําหนดให�โรคเบาหวานเป�นหนึ่งในป�จจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ

และหลอดเลือด โรคเบาหวานเป�นโรคที่เราสามารถดูแลรักษาให�ดีได�โดยการควบคุมระดับน้ําตาลใน

เลือดไม�ให�สูงเกินไป แต�ผู�ป�วยเบาหวานชนิดที่ 2 ส�วนใหญ�จะมีภาวะอื่นร�วมอยู�ด�วยเช�น ความดันโลหิตสูง (Hypertension), ไขมันในเลือดผิดปกติ (Abnormal cholesterol: high LDL, low HDL, high triglycerides), โรคอ�วน (Obesity), ขาดการออกกําลังกาย (Lack of physical activity), สูบบุหรี่(Smoking) ป�จจัยต�างๆเหล�านี้เป�นสาเหตุทําให�เกิดโรคหรือภาวะแทรกซ�อนจาก การเป�นเบาหวานที่สําคัญได�แก� โรคหลอดเลือดหัวใจ(Coronary heart disease), โรค

Page 16: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๑ ~

หลอดเลือดสมอง(Stroke), หลอดเลือดแดงส�วนปลายที่ขาตบี (Peripheral arterial disease), ไตวาย(Nephropathy) , หลอด เลื อดที่ ต าผิ ดปกติ (Retinopathy) , โ รคหั ว ใ จว า ย (Cardiomyopathy), เส�นประสาทเสื่อม(Neuropathy)

ในบทความนี้จะกล�าวถึงโรคหัวใจที่พบบ�อยในผู�ป�วยเบาหวานได�แก� โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ(Atherosclerotic Coronary heart disease),โรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ และภาวะหัวใจวายจากเบาหวาน(Diabetic Cardiomyopathy)

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (Atherosclerotic Coronary Heart Disease)

หลอดเลือดหัวใจ หรือ Coronary arteries คือ หลอดเลือดแดงของหัวใจซึ่งเป�นระบบไหลเวียนโลหิตนําเลือดแดงซึ่งมีออกซิเจนสูงไปหล�อเลี้ยงกล�ามเนื้อหัวใจ โดยหลอดเลือดแดงนี้จะอยู�ที่ผิวชั้นนอกของหัวใจประกอบด�วยหลอดเลือด 3 เส�น เป�นหลอดเลือดด�านซ�าย 2 เส�น และด�านขวา 1 เส�น4

โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery disease (CAD)) หรือที่เรียกว�าโรคหลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง (Atherosclerotic heart disease หรือ Atherosclerotic cardiovascular disease หรือ coronary heart disease) หรือ โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease (IHD)) เป�นชนิดที่พบบ�อยที่สุดของโรคหัวใจ5,6 และ เป�น สาเหตุของโรคหัวใจล�มเหลว โรคนี้มีสาเหตุมาจากการมีคราบตะกอน (plaque) ขึ้นตามผนังด�านในของหลอดเลือดแดงของหัวใจ ทําให� หลอดเลือดแดงแคบลงและลดการไหลเวียนของเลือดไปยังหัวใจ

ภาพที่ 1 ด�านซ�าย แสดงหลอดเลอืดแดงหัวใจ Coronary

Page 17: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๒ ~

arteries ประกอบด�วย Left main coronary artery ซึ่งจะแตกแขนง ออกเป�น Left

anterior descending artery (LAD) และ Left circumflex artery (LCX), Right coronary artery ด�านขวาแสดง กายภาพภายในหัวใจซึ่งประกอบด�วย ห�องหัวใจ 4 ห�อง (Right atrium, Right ventricle, Left atrium, Left ventricle) ลิ้นหัวใจ 4 ลิ้น (Tricuspid valve, Pulmonic valve, Mitral valve, Aortic valve)

Acute coronary syndrome (ACS) เป�นภาวะฉุกเฉินของ โรคหลอดเลือดหัวใจและมีอัตราการเสียชีวิตสูงในรายที่ทีอาการรุนแรงเช�น มีภาวะช็อกหรือความดันโลหิตต่ําร�วมด�วย การวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต�องรวดเร็ว จึงเป�นกุญแจสําคัญในการดูแลรักษาผู�ป�วย โดยทั่วไปการวินิจฉัย ACS อาศัยองค�ประกอบที่สําคัญ 3 อย�างคือ 1.อาการแน�นหน�าอก 2.การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ�าหัวใจ (Electrocardiography หรือ ECG) 3.การตรวจเลือดดูเอนไซม�หัวใจ (Cardiac biomarker)7

อาการเจ็บหน�าอกที่น�าจะเกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตันได�แก� 1. เจ็บแน�นๆ เหมือนมีของหนักๆมาทับที่หน�าอก อึดอัด บริเวณกลางหน�าอกหรืออาจ

เยื้องมาตรงบริเวณหน�าอกด�านซ�าย (มักจะไม�เป�นที่หน�าอกด�านขวาด�านเดียว) อาการเจ็บอาจจะร�าวไปที่แขนซ�าย กรามด�านซ�าย หรือที่คอ แต�ในผู�ป�วยสูงอายุอาการที่เป�นอาจจะซักประวัติได�ไม�ชัดเจนเช�นนี้ (Atypical chest pain)

2. อาการเจ็บหน�าอกดังกล�าวมักจะเป�นขณะที่ผู�ป�วยออกแรง หรือใช�กําลัง เช�น เป�นขณะออกกําลังกาย โมโห โกรธ ตื่นเต�น และหลังจากหยุดกิจกรรมนั้นๆแล�วอาการเจ็บหน�าอกดีขึ้น

3. ในผู�ป�วยบางรายที่หลอดเลือดหัวใจตีบรุนแรง อาการเจ็บหน�าอกอาจเกิดขณะพักเช�น นั่ง นอน หรือหลังอาหาร เป�นต�น

4. ในกรณีที่หลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลัน จนทําให�กล�ามเนื้อหัวใจตาย อาจมีอาการอื่นๆร�วมด�วยเช�น เหงื่อออก ใจสั่น หอบเหนื่อย หน�ามืด เป�นลมหมดสติได�

อย�างไรก็ตามผู�ป�วยบางรายอาจจะมีอาการที่ไม�จําเพาะ หรือไม�มีอาการแน�นหน�าอกเลย การศึกษาของ Thai Acute Coronary Syndrome Registry พบว�าผู�ป�วย ACS ประมาณร�อยละ 12.8 มีอาการแน�นหน�าอกที่ไม�ชัดเจน8 การศึกษาของ Culic และคณะ9 พบว�าอาการแน�นหน�าอกที่ไม�ชัดเจน จะพบได�บ�อยในผู�ป�วยต�อไปนี้ 1. ผู�ป�วยที่อายุมากกว�า 75 ป� 2. ผู�ป�วยเบาหวาน 3. เพศหญิง

ทั้งนี้ผู�ป�วยส�วนใหญ�ที่เป�นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบมักจะมีป�จจัยเสี่ยงของโรคร�วมอยู�ด�วยได�แก�

Page 18: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๓ ~

1. อายุ : เพศชายอายุมากกว�า 45 ป�, เพศหญิงอายุมากกว�า 55 ป�

2. สูบบุหรี่

3. มีโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ไขมันในเลือดสูง

4. อ�วน

5. มีประวัติสมาชิกในครอบครัวเดียวกันเป�นโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือหลอดเลือด

สมองตีบก�อนวัยอันควร เช�น บิดาเป�นโรคตอนอายุน�อยกว�า 55 ป� หรือมารดาเป�น

โรคตอนอายุน�อยกว�า 65 ป�

อาการเจ็บหน�าอกที่ไม�น�าจะเกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน ได�แก� 1. เจ็บแปล็บๆคล�ายมีของแหลมมาทิ่มแทง เจ็บเวลากดที่หน�าอก เจ็บเวลาหายใจเป�นต�น

2. อาการเจ็บเกิดขึ้นในขณะพัก มีอาการเจ็บนานเป�นเวลาหลายชั่วโมงหรือเป�นวัน

3. อาการเจ็บเป�นมากขึ้นเมื่อเปลี่ยนท�า หรือขยับตัว หรือหายใจเข�าลึกๆ

4. อาการเจ็บร�าวขึ้นศีรษะ ปลายมือ ปลายเท�า

อาการเจ็บตามข�อ 1,2 และ 3 อาจเกิดจากพยาธิสภาพที่กระดูก กล�ามเนื้อ เยื่อหุ�มปอด เยื่อหุ�มหัวใจอักเสบอย�างไรก็ตามถ�าผู�ป�วยมีป�จจัยเสี่ยงร�วมด�วยดังที่กล�าวมาแล�ว อาจต�องตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมเพราะการที่มีป�จจัยเสี่ยงหลายข�อก็เป�นเหตใุห�เกิดโรคหลอดเลอืดแดงตีบได�อยู�แล�ว

การตรวจวินิจฉยัเพิ่มเติม 1. การตรวจกราฟไฟฟ�าหัวใจ (Electrocardiography)

2. การเดินสายพาน (Exercise stress test)

3. การตรวจอัลตราซาวน�หัวใจ (Echocardiography)

4. การตรวจหัวใจและหลอดเลือดหัวใจด�วย CT-scan หรือ MRI

5. การฉีดสารทึบรังสีเพื่อดูหลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiography)

การรักษาในกรณีที่เป�นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 1. การใช�ยารับประทานเช�น ยาต�านเกร็ดเลือด (Aspirin, Clopidogrel, Ticagrelor),

ยาลดไขมัน, ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ, ยารักษาเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงถ�า

ผู�ป�วยมีโรคร�วมด�วย

Page 19: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๔ ~

2. การขยายหลอดเลือดหัวใจด�วยบอลลูนและการใส�ขดลวด (Stent)

3. การผ�าตัดต�อหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery bypass graft)

โรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral Arterial Disease)

โรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) สามารถเกิดได�กับหลอดเลือดที่แขนและขา แต�มักจะเกิดป�ญหาที่หลอดเลือดที่ขามากกว�าเพราะเป�นหลอดเลือดที่ยาว และห�างไกลจากหัวใจมากที่สุด ผู�ป�วยอาจมีอาการปวดขาข�างที่หลอดเลือดแดงตีบเวลาเดิน หรือเป�นแผลเรื้อรังรักษาแล�วไม�หาย ผลกระทบที่น�ากลัวที่สุดของโรคคืออาการขาดเลือดรุนแรงจนเสี่ยงต�อการสูญเสียอวัยวะที่นําไปสู�การต�องตัดแขนหรือขา แต�ผู�ป�วยบางรายก็ไม�แสดงอาการแม�ว�าจะมีการตีบของหลอดเลือดแล�วก็ตาม ซึ่งสาเหตุหรือป�จจัยเสี่ยงของ โรคนี้ก็เช�นเดียวกับ Atherosclerosis(ภาวะหลอดเลือดแข็ง) เช�น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันสูง สูบบุหรี่ อายุที่มากขึ้น10

การตรวจหาโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) สามารถทําได�โดยการตรวจ Ankle-Brachial Index (ABI) คือการหาอัตราส�วนระหว�าง ความดันโลหิตช�วง Systolic ของข�อเท�าหารด�วยความดันโลหิตช�วง Systolic ของแขน โดยใช�การวัดจาก Doppler ultrasonography ค�าปกติของค�า ABI มีค�าเท�ากับ 0.91-1.30 ถ�าค�า ABI น�อยกว�า 0.9 แสดงว�ามีการอุดตันของหลอดเลือดแดงส�วนปลาย11

ผู�ที่ควรได�รับการตรวจ Ankle-Brachial Index (ABI) ได�แก�12 1. ผู�ป�วยที่มีอาการเข�าได�กับโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial

disease) • คลําชีพจรที่ข�อเท�าหรือที่เท�าไม�ได� • มีอาการปวดขาเวลาเดิน • เป�นแผลเรื้อรังที่เท�าหรือที่ขารักษาแล�วไม�หาย

2. ผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงต�อการเป�นโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease)

• ผู� ป� วยที่ มี ปร ะวัติการ เป�น โรคหลอดเลือดหัว ใจตีบ(Atherosclerotic coronary heart disease), หลอดเลือดแดงใหญ�ในช�องท�องโป�งพอง (Abdominal aortic aneurysm), โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic kidney disease), โรคหัวใจวาย (Heart failure)

Page 20: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๕ ~

3. ผู�ที่มีความเสี่ยงต�อการเป�นโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) แต�ยังไม�มีอาการแสดงของโรคได�แก�

• เพศชายและหญิงที่มีอายุมากกว�า 65 ป� • เพศชายและหญิงที่มีอายุน�อยกว�ากว�า 65 ป� แต�มีความเสี่ยงสูงต�อการเกิด

โรคหัวใจและหลอดเลือดเช�น มีป�จจัยเสี่ยงต�อการเกิดโรคหลอดเลือดแดงตีบ 3 ป�จจัยขึ้นไป (เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, สูบบุหรี่, อ�วน เป�นต�น)

• เพศชายและหญิงที่มีอายุมากกว�า 50 ป� และมีประวัติคนใน ครอบครัวเป�นโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease)

ภาพที่ 2 แสดงการตรวจ Ankle-Brachial Index (ABI) ABI > 1.30 : ภาวะที่ไม�สามารถบีบกดเส�นเลือดได� (Non-compressible vessels) ซึ่งพบได�ในผู�ที่มีภาวะหลอดเลือดแข็งตัว, ABI = 0.91 – 1.30 : ค�าทีอ่ยู�ในเกณฑ�ปกต,ิ ABI = หรือ < 0.9 : มีการตีบของหลอด

เลือดแดงที่ขา, ABI < 0.4 : มีการตบีของหลอดเลือดแดงที่ขาขั้นรุนแรง

การตรวจวินิจฉัยนอกจากการตรวจด�วย Ankle-Brachial Index (ABI) แล�วยังมีการตรวจอื่นๆเพื่อช�วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได�แก� อัลตร�าซาวด� (Duplex ultrasound) , การฉีด

Page 21: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๖ ~

สารทึบรังสี (Digital subtraction angiography), Multidetector computed tomography angiography (CTA) , Magnetic resonance angiography(MRA)

มีการศึกษาการตรวจหาโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) ในผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงสูงต�อภาวะ โรคหัวใจและหลอดเลือด13 โดยเป�นผู�ป�วยที่ยังไม�มีอาการแสดงของโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) เช�น ปวดขาเวลาเดิน เป�นแผลที่เท�าเรื้อรัง จากการวิจัยนี้พบว�าร�อยละ 11.9 ของผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงสูงต�อภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด มีโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) โดยยังไม�แสดงอาการ ซึ่งจากการทบทวนงานวิจัยที่ใกล�เคียงกันนี้ พบว�าความชุกของโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) ในผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงสูงต�อภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือดนั้นเท�ากับร�อยละ 10.4 ในผู�ป�วยที่ยังไม�มีอาการแสดงของโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ แต�จะพบความชุกสูงขึ้นถึงร�อยละ 38 ในผู�ป�วยที่มีอาการแสดงของโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบแล�ว14,15,16,17,18

การรักษาโรคหลอดเลือดแดงส�วนปลายตีบ (Peripheral arterial disease) ได�แก�19,20 1. การใช�ยาเช�น ยาต�านเกล็ดเลือด (Antiplatelet), ยาป�องกันการเกิดลิ่มเลือด ( Oral

anticoagulant), ยาลดไขมัน (Statin) และยาควบคุมป�จจัยเสี่ยงอื่นๆที่ผู�ป�วยมีร�วม

ด�วยได�แก� เบาหวาน ความดันโลหิตสูง แนะนําการหยุดสูบบุหรี่ถ�าผู�ป�วยสูบบุหรี่

2. การขยายหลอดเลือดด�วยบอลลูน (Angioplasty)

3. การผ�าตัดต�อหลอดเลือด (Bypass surgery)

ภาวะหัวใจวายจากเบาหวาน (Diabetic Cardiomyopathy) ภาวะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล�มเหลว (Heart Failure) หมายถึง ภาวะที่หัวใจไม�

สามารถสูบฉีดโลหิตให�เพียงพอต�อการตอบสนอง ความต�องการของร�างกาย21 อาการและอาการแสดงโดยทั่วไปมีอาการหายใจเร็ว หอบเหนื่อย อัตราการหายใจมากกว�าปกติ อาจมีค�าออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation) ต่ํากว�าปกติเช�น น�อยกว�าร�อยละ 95 อาการหอบเหนื่อยนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเช�น แต�ก�อนเคยออกกําลังกายได�ดี แต�ช�วงหลังไม�สามารถทํากิจกรรมแบบเดิมได�อย�างชัดเจน อาการหอบเหนื่อยมักแย�ลงเมื่อนอนราบและอาจต�องลุกจากท�านอนมาเป�นท�านั่งในตอนกลางคืนขณะหลับ บางรายมีอาการมากถึงข้ันเหนื่อยจนนอนราบไม�ได� (นอนแล�วจะเหนื่อย ไอ) ต�องนอนโดยใช�หมอนหลายใบหนุนให�ศีรษะสูง หรือต�องนั่งหลับ ขาบวม ท�องโต ตับโต มีน้ําในช�องท�อง22

Page 22: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๗ ~

ผู�ป�วยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงต�อหวัใจวายหรือหัวใจล�มเหลวเพิ่มขึ้น 2-4 เท�าในผู�ป�วยชาย และเพิ่ม 5 เท�าในผู�ป�วยหญิง โดยสาเหตุที่พบบ�อยที่สุดคือ ภาวะหัวใจวายจากหลอดเลือดหัวใจตีบรุนแรง (Ischemic cardiomyopathy) และ การเป�นโรคความดันโลหิตสูงมาเป�นเวลายาวนาน(Prolonged hypertension) นอกจากภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบและความดันโลหิตสูง จะเป�นสาเหตุของภาวะหัวใจวายในผู�ป�วยเบาหวานแล�วน้ัน ตัวโรคเบาหวานเองซึ่งมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงเรื้องรัง(Chronic hyperglycemia) ก็เป�นสาเหตุให�เกิดภาวะหัวใจวายได�โดยที่ไม�มีหลอดเลือดหัวใจตีบ เนื่องจากสภาวะดื้ออินสุลินในผู�ป�วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีส�วนทําให�โครงสร�างและการทํางานของกล�าม เนื้อหัวใจเกิดความผิดปกติ ในทางกลับกันผู�ป�วยที่มีภาวะหัวใจวาย (Heart failure) ก็มีความเสี่ยงต�อโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น โดยมีรายงาน ว�าประมาณสองในสามของผู�ป�วยหัวใจวายมีภาวะดื้ออินสุลิน23,24 และในผู�ป�วยเหล�านี้ปรากฏว�าภาวะดื้ออินสุลินเป�นป�จจัยเสี่ยงสําคัญของการเสียชีวิต และภาวะระบบประสาทอัตโนมัติเสื่อม (Autonomic neuropathy) ก็เป�นอีกป�จจัยหนึ่งที่ทําให�เกิดภาวะหัวใจล�มเหลวในผู�ป�วยเบาหวานได�

การป�องกันและการรักษาภาวะหัวใจวายจากเบาหวาน (Diabetic cardiomyopathy) 1. ควรควบคุมระดับน้ําตาลให�ดี ให�ระดับน้ําตาลในเลือดสะสม (HbA1c) ลงมาใกล�

ปกติ (< 7.0%)

2. ควรควบคุมความดันโลหิตในผู�ป�วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูงโดยมีเป�าหมาย

ระดับความดันโลหิตที่ < 130/80 มม.ปรอท

3. ผู�ป�วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงสูงต�อการเกิดโรคหลอดเลือดแดงตีบ ควรได�รับการ

รักษาด�วยยา Statins ให�ได� LDL-C เป�าหมายที่ < 100 มก./ดล.

4. ควรให�ยาในกลุ�ม Angiotensin-converting enzyme (ACE) inhibitors ร�วมกับ

Beta-blockers ในผู�ป�วยเบาหวานที่มี Systolic heart failure ทุกรายเพื่อลด

การเสียชีวิตและการเข�านอนโรงพยาบาล

เอกสารอ�างอิง 1. Thai National Health Examination Survey V Study Group. Thai National

Health Examination Survey, NHES V. Nonthaburi, Thailand: National Health Examination Survey Office, Health System Research Institute, 2016.

2. Tabak AG, et al. Prediabetes: a high- risk state for diabetes development. The Lancet 2012; 379: 2279-90.

Page 23: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๘ ~

3. Aguiree F, Brown A, Cho NH, et al. International Diabetes Federation. Diabetes Atlas 2013:29-48.

4. Valentin Fuster, Robert A. Harrington, Jagat Narula. Hurst's The Heart (14th ed.). McGraw-Hill. p. 53

5. David P. Faxon, Mark A. Creager, Sidney C. Smith, Jr. "Atherosclerotic Vascular Disease Conference: Executive Summary: Atherosclerotic Vascular Disease Conference Proceeding for Healthcare Professionals From a Special Writing Group of the American Heart Association" . Circulation 2004;109(21): 2595–2604.

6. Bhatia, Sujata K. Biomaterials for clinical applications. New York: Springer 2010 :23.

7. Sabatine MS. Approach to patient with chest pain. In: Mann DL, ed. Braunwald’ s Heart Disease. 1 0 ed. Phi;adelphia: Elsevier Saunders; 2015:1057-67.

8. Srimahachota S, Kanjanavanit R, Boonyaratavej S, et al. , management practices and in- hospital outcomes of Thai Acute Coronary Syndrome Registry (TACSR): the difference from the Western world. J Med Assoc Thai 2007;90 Suppl 1:1-11.

9. Culic V, Eterovic D, Miric D, Silic N. Symptom presentation of acute myocardial infarction: influence of sex, age, and risk factors. Am Heart J 2002;144:1012-7.

10. Hirsch AT, Haskal ZJ, Hertzer NR et al. ACC AHA 2 0 0 5 Practice Guidelines for the management of patients with peripheral arterial disease ( lower extremity, renal, mesenteric, and abdominal aortic) . Circulation 2006;113: e463–654.

11. Heald CL, Fowkes FG, Murray GD et al. Risk of mortality and cardiovascular disease associated with the ankle- brachial index: systematic review. Atherosclerosis 2006; 189: 61–9.

Page 24: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๑๙ ~

12. Vlachopoulos C, Xaplanteris P, Aboyans V, et al. A position paper from the European Society of Cardiology Working Group on peripheral circulation: endorsed by the Association for Research into Arterial Structure and Physiology (ARTERY) Society. Atherosclerosis 2015;241:507–532.

13. สมชาย ดุษฎีเวทกุล. Prevalence of Peripheral Arterial Disease in Patient with High Risk for Cardiovascular Events.

14. Fowkes FG, Low LP, Tuta S, et al. Ankle- brachial index and extent of atherothrombosis in 8891 patients with or at risk of vascular disease: results of the international AGATHA study. Eur Heart J 2006; 27: 1861–7.

15. P. Cacoub, J. - P. Cambou, S. Kownator, et al. Prevalence of peripheral arterial disease in high- risk patients using ankle-brachial index in general practice:a cross-sectional study. Int J Clin Pract 2009; 63:1: 63–70.

16. Brevetti G, Oliva G, Silvestro A, et al. Prevalence, risk factors and cardiovascular comorbidity of symptomatic peripheral arterial disease in Italy. Atherosclerosis 2004; 175: 131–8.

17. Hirsch AT, Criqui MH, Treat- Jacobson D, et al. Peripheral arterial disease detection, awareness, and treatment in primary care. JAMA 2001 ; 286 : 1317–24.

18. Boccalon H, Lehert P, Mosnier M. Assessment of the prevalence of atherosclerotic lower limb arteriopathy in France as a systolic index in a vascular risk population. J Mal Vasc 2000; 25: 38–46.

19. Belch JJ, Dormandy J, Biasi GM, et al. Results of the randomized, placebo-controlled clopidogrel and acetylsalicylic acid in bypass surgery for peripheral arterial disease (CASPAR) trial. J Vasc Surg 2010;52:825–833.

20. Cacoub PP, Bhatt DL, Steg PG, Topol EJ, Creager MA. Patients with peripheral arterial disease in the CHARISMA trial. Eur Heart J 2009;30:192–201.

21. “Definition of Heart failure” . Medical Dictionary. MedicineNet. 27 April 2011.

Page 25: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๐ ~

22. “ Chronic Heart Failure: National Clinical Guideline for Diagnosis and Management in Primary and Secondary Care: Partial Update” . National Clinical Guideline Centre: 19-24. Aug 2010.

23. Doehner W, Rauchhaus M, Ponikowski P,et al. Impaired insulin sensitivity as an independent risk factor for mortality in patients with stable chronic heart failure. J Am Coll Cardiol 2005;46:1019-26.

24. Bertoni AG, Tsai A, Kasper EK, Brancati FL. Diabetes and idiopathic cardiomyopathy: a nationwide case- control study. Diabetic Care 2003;26:2791.

*********************************

Page 26: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๑ ~

บทความวจิยั

Page 27: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๒ ~

อัตราการได�รับวัคซีนไข�หวัดใหญ�ในผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงสูงทีเ่ข�ารับบริการที่แผนก

ผู�ป�วยนอกอายุรกรรม ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหดิล Rate and Factors Influencing of Influenza Vaccination for High Risk Outpatients

in Golden Jubilee Medical Center

Chenchira Thongdee MD*. *Department of Medicine, Golden Jubilee Medical Center,

Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University

บทคดัย�อ

วัตถุประสงค�: เพื่อศึกษาอุบัติการณ�การได�รับวัคซีนไข�หวัดใหญ�และป�จจัยที่มีผลต�อการได�รับวัคซีนไข�หวัดใหญ�ในผู�ป�วยกลุ�มเสี่ยง แผนกผู�ป�วยนอกอายุรกรรม ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล วัสดุและวิธีการ: การศึกษานี้เป�น การศึกษาแบบพรรณนาย�อนหลัง โดยใช�เวชระเบียนของผู�ป�วยแผนกอายุรกรรม ที่มีการติดตามการรักษาต�อเนื่อง และมีข�อบ�งชี้ที่ต�องได�รับวัคซีนไข�หวัดใหญ� ระหว�างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ผลการศกึษา: เวชระเบียนของผู�ป�วยกลุ�มเสี่ยงจํานวน 207 เวชระเบียนถูกสุ�มเข�าการศึกษา พบอัตราการสั่งจ�ายวัคซีนไข�หวัดใหญ�เพียงร�อยละ 34.3 ซึ่งป�จจัยที่มีผลต�อการฉีดวัคซีน ไข�หวัดใหญ�ในผู�ป�วยกลุ�มเสี่ยง ได�แก� แพทย�ผู�ตรวจและสิทธิการรักษาของผู�ป�วย โดยพบว�าอายุรแพทย�มีการสั่งจ�ายวัคซีนไข�หวัดใหญ�มากกว�าแพทย�เวชปฏิบัติทั่วไปอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติ (อายุรแพทย�สั่งจ�ายวัคซีนร�อยละ 45.7 เทียบกับ แพทย�เวชปฏิบัติทั่วไปสั่งจ�ายวัคซีนร�อยละ 3.6; odds ratio 22.97 [ 5.22-101.13 ]; p <0.001) และผู�ป�วยสิทธิเบิกจ�ายตรงและรัฐวิสาหกิจได�รับวัคซีนไข�หวัดใหญ�มากกว�าผู�ป�วยที่จ�ายค�ารักษาพยาบาลเองอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติ (ผู�ป�วยสิทธิเบิกจ�ายตรงและรัฐวิสาหกิจได�รับวัคซีน ร�อยละ 39.2 เทียบกับ ผู�ป�วยที่จ�ายค�ารักษาพยาบาลเองได�รับวัคซีนร�อยละ 11.1; odds ratio 4.86 [1.53-15.44]; p 0.007)

Page 28: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๓ ~

สรุป: อัตราการสั่งจ�ายวัคซีนไข�หวัดใหญ�ในผู�ป�วยกลุ�มที่มีความเสี่ยงสูงอยู�ในระดับที่ต่ํา ป�จจัยมีผลต�อการสั่งจ�ายวัคซีนนั้นมีหลายป�จจัย ได�แก� แพทย�ผู�รักษา, ความตระหนักรู�ของผู�ป�วยและป�ญหาเรื่องการเบิกจ�ายค�ารักษาพยาบาล ดังนั้นการจัดแนวทางการพัฒนาอย�างเป�นระบบและเพิ่มการฝ�กอบรมแพทย�เป�นสิ่งสําคัญ ที่จะนําไปสู�การสั่งจ�ายวัคซีนที่เพิ่มขึ้นในกลุ�มผู�ป�วยที่มีความเสี่ยงสูง Abstract

Objective: This research aims to demonstrate rate of influenza vaccine prescribing and possible influencing factors on influenza vaccine prescription for high- risk patients at the outpatient medicine department, Golden Jubilee Medical Center, Mahidol University.

Material and Method: The author retrospectively reviewed medical records of the patients that indicated the need for influenza vaccination from June 2013 to May 2014.

Results: Two hundred and seven medical records were met inclusion criteria and reviewed. The rates of influenza vaccine prescribing in high- risk patients were 34.3 percent. The factors that affected influenza vaccination include physicians who ordering vaccine ( Internist ordering vaccine 45 .7% vs General practitioner ordering vaccine 3.6% odds ratio 22.97 [5.22-101.13]; p < 0.001) and health privilege (reimbursement 39.2% vs self-paying 11.1% odds ratio 4.86 [1.53-15.44]; p 0.007)

Conclusion: Influenza vaccine coverage remained low for all high- risk patients. There are various factors that influenced vaccine prescribing include physicians and reimbursement issue. Therefore, a systematic approach, physician entraining and patient education are important ways to increase influenza vaccine prescribing in high-risk patients.

Keywords : Influenza vaccine, Golden Jubilee Medical Center, Prescribing

Page 29: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๔ ~

Ethics consideration This project was approved by the Center of Ethical Reinforcement of Human Research of Mahidol University. Backgrounds Influenza is an acute respiratory disease caused by influenza viruses. The viruses are transmitted via aerosols generated by coughing, sneezing or hand-to-hand contact. Patients usually have mild and self-limited symptoms, but high-risk patients may have serious complications including pneumonia, myocarditis, pericarditis, encephalitis and deaths1. The average global burden of influenza was 3–5 million cases of severe illness and 300,000–500,000 deaths annually, losing money on patient care 71,000-167,000 million dollars US2. The incident influenza in Thailand was 40,000 - 70,000 patients per year, which is 111.33 per hundred thousand populations per year3. The estimated annual incidence of hospitalized influenza cases was 136 per 100,000, highest in ages <5 years (477 per 100,000) and >75 years (407 per 100,000) which caused of 81 death cases in 2014 (0.13 deaths per hundred thousand populations)4. Influenza vaccine can reduce the rate of hospitalization due to influenza in all age groups up to 71.4% especially over 50 years-old patients5,6. Furthermore, influenza vaccine can also reduce the complications of heart disease in influenza patients7. Population indicated for obtaining influenza vaccine include in two groups. First, groups at high-risk of potential complications from influenza which have following factors included elderly patients (65 years old or more), patients with chronic illness (DM, COPD, asthma, Thalassemia, CKD more than stage 2, immunocompromised and heart disease patients) pediatric patients treated with the drug acetylsalicylic acid for a long time, pregnant women and pediatric patients aged 6-23 months. The second is person likely to transmit influenza to those at high risk groups, including health personnel8.

Page 30: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๕ ~

The World Health Organization (WHO) targets in influenza vaccination at least 75% of the population at risk. However, the survey data in Thailand showed the rate of influenza vaccination in patients at risk is only 13.9% among patients with chronic diseases and 19.5% among patients older than 65 years7. Thus, the author is interested in studying the rate of influenza vaccination and factors that influence prescribing influenza vaccine of high- risk patients in outpatient, medical department, Golden Jubilee Medical Center, Mahidol University. The results in this study are also can lead to further information on planning and development of the vaccine program in patients. Methods Patients and methods The study design was a descriptive study, using retrospective charts review from patients’ medical records at outpatient medicine department, Golden Jubilee Medical Department, Mahidol University from 1st June 2013 to 31st May 2014. First, medical records of the patients who have been followed up more than two visits were selected. Secondly, the author recruited medical records of over 65 years-old patients and have been recorded in the DRG (Diagnosis Related Group) with any of the following type 2 diabetes mellitus (DM), thalassemia, chronic kidney disease (CKD) stage 3 or more, asthma, chronic obstructive pulmonary disease (COPD), heart disease, morbid obesity (BMI > 40 kg/m2) and immunocompromised host. Finally, the author randomly selected of these medical records by hospital number up to 210 charts. The author assessed the quality of all charts and excluded incomplete medical records. The information about baseline characteristics, underlying disease, health privilege and physicians who ordered vaccine was obtained.

Page 31: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๖ ~

Sample size calculation Review of the literature about Seasonal influenza vaccine coverage among high-risk populations in Thailand, 2010-2012 by Owasu JT. et al published in the journal Vaccine 2012 reported that the rate of influenza vaccination in patients at risk in Thailand was 15.7%. The estimate of setting the error tolerance was 5% of the proportion and the standard and Z on the table equal to 1.96 at 95% confidence level.

2

d

P)P(1Zn

2

2

(0.05)

0.157)(1 0.157 (1.96)n

203n

The calculation of the sample size used in this study, the medical records to collect data for at least 203 people, so the sample size used in this study was 210. Statistical and data analysis The qualitative variables were expressed as the number and percentage whereas quantitative data as the mean and standard deviation. To compare differences between groups, the author used Chi-square test or fisher exact test for qualitative data and the t-test or Mann-Whitney U test for quantitative data. Initially, each risk factor was examined independently, which produced the unadjusted odds ratio (OR) and 95% confidence interval (CI). Independent risk factors that affect prescribing influenza vaccine in high-risk patients were determined by logistic regression. All statistical analyses were performed using SPSS software (version 18.0). For all analyses, a p-value of less than 0.05 was considered to be statistical significance.

Page 32: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๗ ~

Outcomes The primary outcome was the rates of influenza vaccine prescribing of high-risk patients at the outpatient internal medicine department from 1st June 2013 to 31st May 2014 in Golden Jubilee Medical Center. Secondary outcome was the factors influencing decisions of influenza vaccine prescribing. Results Two hundred and ten medical records of high-risk patients from outpatient medicine department Golden Jubilee Medical Center were collected. Only two hundred and seven charts of high-risk medical patients were met inclusion criteria. Three charts were excluded due to incomplete data according to the exclusion criteria. The patient’s mean age was 73.2±7.4 years, with 49.8% being female. One hundred and forty-seven patients (86.5%) were over 65 years old. All patients followed up with general practitioner or internist at the outpatient clinic, medical department, Golden Jubilee Medical Center. One hundred and seventy-five patients (84.5%) were diagnosed as diabetes mellitus (DM). Other diseases were chronic kidney disease stage 3 or more (24.6%), heart disease (4.3%), chest disease (5.8%), obesity which BMI ≥ 35 kg/m2 (3.1%) and thalassemia (1.0%). The characteristics of all high-risk medical patients who received influenza vaccine or not are shown in table 1. The influenza vaccine prescription rate was 34.3% in outpatient medical department, Golden Jubilee Medical Center. Reimbursement patients were significantly higher in influenza vaccine receiving than self-paying patients (39.1% vs. 11.1%; p = 0.007). Odds ratio (OR) for vaccine prescription in reimbursement patients was 4.86; [95% CI 1.53-15.44]. The author also found that the internist prescribing influenza vaccine significantly higher than general practitioner (45.7% vs. 3.6%, OR 22.97 [5.22-101.13]; p<0.001). The results of factors associated with influenza prescription are shown in Table 2.

Page 33: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๘ ~

The reasons that physicians did not prescribe the influenza vaccine were recorded only seven charts (5.2%). Two patients (1.5%) refused to receive influenza vaccine and five patients (3.7%) received from other hospital. Table 1 the characteristics of high risk medical patients and comparison between the patients who receive and non-receive influenza vaccine.

Table 2 Factor predicted receive vaccine.

Page 34: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๒๙ ~

Discussion The illness caused by seasonal influenza in adult age more than 65 years old and person with chronic medical conditions is typically more severe and results more frequently in hospitalization, as compared with healthy adult. Therefore, World Health Organization (WHO) and Center of disease control and prevention ( CDC) recommended influenza vaccine for patients at risk for medical complications due to influenza and caregivers living near high-risk patients9. The vaccine injection should be done every year, because influenza strains change easily and frequently. WHO targets in influenza vaccination at least 75% of the population at risk. This study’s results show that rate of influenza vaccine prescription in high- risk patients was only 3 4 . 3 %. Internist ordered influenza vaccine 4 5 . 7 % , while general practitioner ordered influenza vaccine only 3.6% among high-risk patients. The influenza vaccine prescribing rate of general practitioner is similar to other study, which rate of influenza vaccination was 6 . 5 % 6. Both influenza vaccine prescribing rates were still low when compared with rate of vaccine prescribing among high-risk patients in the United State (53.5%)10. This study could not find that underlying diseases could affect the influenza vaccine prescribing that probably due to inadequate sample data. In contrast, Annunziata K et al found that the strongest predictors of influenza vaccination in United State were the diagnosis of renal disease, diabetes and asthma1 0. Srivanichakorn W et al found that asthma and COPD patients were received influenza vaccine more than other disease group in outpatient continuum care, Siriraj hospital1 1 . The most likely explanation for this result is the number of chest patients may be too low to show statistical significant. According to the study, there are two factors affecting influenza vaccination. They are physicians who ordering flu vaccine and reimburstment issue. We found that the internist ordered influenza vaccine more than general practitioner (45.7% vs. 3.6%, OR 22.97 [5.22-101.13]; p<0 . 0 0 1 ) . This result is correlated to previous study that physicians who had high vaccine knowledge and vaccine recognition were significantly higher in effective vaccinator11. Self-paying groups were received influenza vaccine less than reimbursement groups. These patients were probably received vaccine from free vaccine campaigns of the Ministry of Public Health. Additional explanation of this result is previous study found that 5 2 percent of physicians also concerned about cost and universal coverage of their patients11. This study had several limitations. First, a retrospective review is not as strong as a prospective randomized trial. Second, these medical records may be incomplete, particularly vaccine history and recommendation part. Third, we did not collect data about attitude and

Page 35: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๐ ~

knowledge about influenza vaccine of physicians and patients that might affected rate of vaccine prescribing. This may lead to underestimation of vaccination rates in these patients. Conclusion Rates of influenza vaccination among high- risk patients are low. Physicians have a significant influence on the uptake of influenza vaccine among high-risk patients in Golden Jubilee Medical Center. Patients who follow up with internists were significantly more likely to be vaccinated than those who follow up with general practitioner. Furthermore, reimbursement issues also have significantly influence on influenza vaccination. Self- paying patients receiving vaccine significantly lower than reimbursement patients. Therefore, a systematic approach, physician entraining and patient education are important way to increase influenza vaccine prescribing in high risk patients.

What is already known on this topic? We are already known that influenza immunization is important way to reduce hospitalization, complication and death due to influenza infection, especially in high risk group.

What this study adds? The rate of influenza vaccine prescribing remained low ( about 3 4 . 3 % ) due to multiple factors. Acknowledgement

The present study was supported by Golden Jubilee Medical Center fund. The authors wish to thank Khemajira Karaketklang for statistical data analysis, Preyapat Aunsamrong and Sopita Nontacomjan for assistance in data collection. Potential conflicts of interest None. Reference

1. Dolin R. Influenza. In: Fauci AS, Kasper DL, editors. Harrison‘s infectious disease 17th ed. New York: The McGraw-Hill Companies; 2010. p. 776-784.

2. World Health Organization. Immunization, vaccines and biological: Influenza; 2008 [cited 2 0 1 5 Jan 2 2 ] Available from http: / / www. who. int/ immunization/ topics/ influenza/ en/index.html

Page 36: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๑ ~

3. Bureau of Epidemiology, Department of disease control, Ministry of Public Health, 5 0 6 influenza surveillance; 2 0 1 4 . [ cited 2 0 1 5 Jan 2 2 ] Available from http://www.boe.moph.go.th/boedb/surdata/506wk/y57/d15_5157.pdf

4. Baggett HC, Chittaganpitch M, Thamthitiwat S, Prapasiri P, Naorat S, Sawatwong P, et al. Incidence and Epidemiology of Hospitalized Influenza Cases in Rural Thailand during the Influenza A (H1N1) pdm09 Pandemic, 2009–2010. PLoS ONE. [Internet]. 2012. [cited 2 0 1 5 Jan 2 2 ] ; 7 . Available from: http: / / journals. plos. org/ plosone/ article? id=10.1371/journal.pone.0048609

5. Talbot HK, Zhu Y, Chen Q, Williams JV, Thomson MG, Griffin MR. Effectiveness of Influenza Vaccine for Preventing Laboratory Confirmed Influenza Hospitalizations in Adults, 2011–2012 Influenza Season. Clin Infect Dis. [Internet]. 2013 [cited 2015 Jan 22];56:1774-7. Available from: http://cid.oxfordjournals.org/content/56/12/1774.long

6. Dawood FS, Prapasiri P, Areerat P, Ruayajin A, Chittaganpitch M, Muangchana C, et al. Effectiveness of the 2010 and 2011 Southern Hemisphere trivalent inactivated influenza vaccines against hospitalization with influenza- associated acute respiratory infection among Thai adults aged ≥50 years. Influenza and Other Respiratory Viruses. 2014;8:463-8.

7. Owusu JT, Prapasiri P, Ditsungnoen D, Leetongin G, Yoocharoen P, Rattanayot J, et al. Seasonal influenza vaccine coverage among high- risk populations in Thailand, 2 0 1 0 –2 0 1 2 . Vaccine [ internet] . 2 0 1 4 [ cited 2 0 1 5 Jan 2 2 ] ;3 3 : 7 4 2 - 7 . Available from: http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0264410X14014042

8. The Royal of college of Physicians of Thailand. Recommended Adult and Elderly Immunization Schedule 2014 [internet]. 2014 [cited 2015 Jan 22] Available from:

http://www.rcpt.org/index.php/2012-10-03-16-53-39/category/6-2013-02-02-09-02-52.html 9. Centers for Disease Control and Prevention ( CDC) . Prevention and control of seasonal

influenza with vaccines. Recommendations of the Advisory Committee on Immunization Practices—United States, 2013-2014. MMWR Recomm Rep 2013; 62: 1-43.

10. Annunziata K, Rak A, Del Buono H, DiBonaventura M, Krishnarajah G. Vaccination rates among the general adult population and high-risk groups in the United States. PLoS One 2012; 7: e50553

11. Srivanichakorn W, Asavathitanonta K, Washirasaksiri C, Chaisathaphon T, Chouriyagune C, Phisalprapa P, et al. Prescribing Rate of Influenza Vaccine among Internal Medicine Residents for Outpatient Continuum Care. J Med Assoc Thai. 2014;97:1281-9.

*********************************

Page 37: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๒ ~

รูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่เป�นเลิศของ MUSIS ของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก*

A model of best practice of MUSIS , Golden Jubilee Medical Center

ศลิษา ธาระสวัสดิ์1 วิมลทิพย� วัตรผลดั2 มาลี เที่ยงตรง3 เบญจวรรณ สุดประเสริฐ4

กรชนก วงษ�คํา5 และสภุัสสร อมรป�ยะฤกษ�6 ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลยัมหิดล

บทคัดย�อ

แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด คือ องค�ประกอบหนึ่งของการจัดการความรู� ซึ่งเป�นการประยุกต�ใช�ความรู�นั้นในกระบวนการสู�การปฏิบัติจริง แล�วสรุปความรู� และประสบการณ�นั้นเป�นแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดขององค�กร หรือมีความชัดเจนในรูปแบบต�าง ๆ เพื่อให�ผู�อื่นสามารถนําไปใช�ได�

วัตถุประสงค� : เพื่อศึกษารูปแบบการปฏิบัติที่ดีที่สุดจากหน�วยสนับสนุนในโรงพยาบาล

วิธีการศึกษา : กลุ�มตัวอย�างเป�นตัวแทนของทุกหน�วยงานผู�ใช�ระบบ MUSIS ที่มีประสบการณ�อย�างน�อย 1 เดือนในศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มีจํานวน 19 คน และจํานวน 1 คน จากโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร (ศาลายา) โดยดําเนินการเป�น 2 ระยะ ได�แก� ระยะที่ 1 เป�นการรวบรวมข�อมูลความคิดเห็นประโยชน�ข�อดี และข�อเสียของการใช� MUSIS แบ�งป�นการพัฒนาระบบจากชุมชนผู�ปฏิบัติงาน (CoP ชุมชนนักปฏิบัติ) เพื่อให�ได�มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ระยะที่ 2 เป�นการสังเกตผู�ใช�งานเกี่ยวกับเวลา และขั้นตอนการทํางาน เช�น ระยะเวลาเฉลี่ยของการลาออนไลน� การจองห�องประชมุ อัตราความผิดพลาดการบันทึก เป�นต�น จากนั้นจะสัมภาษณ� โดยมีประเด็นข�อคําถาม 3 คําถาม ได�แก� 1) ความพึงพอใจต�อการใช�แนวทาง 2) ป�ญหาอุปสรรคใด ๆ และ 3) คําแนะนําอื่น ๆ

ผลการศึกษา : พบว�า แนวทางปฏิบัติงานมีความสอดคล�อง 98 เปอร�เซ็นต� มีประสิทธิภาพในแง�ของเวลาอัตราความผิดพลาดความคุ�มทุน และความพึงพอใจในระดับที่ดีที่สุด วิธีนี้ถือได�ว�าเป�นแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดเนื่องจากเป�นผลมาจากการแบ�งป�นความรู�ของสมาชิกของชุมชนนักปฏิบัติที่สามารถนําไปใช�จริงในการทํางานประจําวันของตนเองได�จริง เป�นความรู�ที่ได�รับจากองค�กรที่ได�จากการสังเคราะห�โดยชุมชนนักปฏิบัติ

Page 38: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๓ ~

คําสําคัญ : การปฏิบัติที่เป�นเลิศ, ชุมชนนักปฏิบัติ , ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส� Abstract Background : The best practice is one component of knowledge management, which is the application of that knowledge in the process to the real practice and summarizes it and experience as the best practice of the organization or being self-clear in different ways so that others can apply. Objective : To study a model of the best practice derivation from the supporting units in a hospital.

Method : The sample was representatives of all departments. Users of the MUSIS system having at least 1 month of experience in the unit at Golden Jubilee Medical Center, Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University, were 19 people and 1 from Maha Chakri Sirindhorn Dental Hospital ( Salaya) This design was descriptive which was conducted in two phases: phase 1 was the data collection of opinions, benefits, advantages and disadvantages of using the MUSIS, sharing on the development of the system from the community of practitioners ( CoP, community of practice) to derive the best practice. Phase 2 was to observe the users on timing and work flow such as average duration of online leave, meeting room booking, error rate, saving, etc. Then they were asked 3 questions: 1) satisfaction with using guidelines, 2) any problem and obstacle and 3) other suggestions.

Results : It was found that the operational guidelines had 98 percent compliance, effective in terms of time, error rate, cost-effectiveness and satisfaction on the best level. This approach could be considered a best practice, for it was the result from the knowledge sharing of the members of the community that could actually be

Page 39: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๔ ~

implemented in their daily work. It was the knowledge gain of the organization derived from the synthesis by CoP.

Keyword : Best practice, Community of practice, Electronic document บทนํา ป�จจุบันทั้งภาครัฐและเอกชนให�ความสําคัญกับการบริหารจัดการความรู�ภายในองค�กรกันมากขึ้น การปฏิบัติที่เป�นเลิศ (Best practice) เป�นองค�ประกอบหนึ่งของการจัดการความรู� ซึ่งเป�นการนําความรู�ไปใช�ในกระบวนการสู�การปฏิบัติจริง แล�วสรุปความรู�และประสบการณ�นั้นเป�นแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดขององค�กรหรือตนเอง วิจารณ� พานิช (อ�างถึงใน วันทนา เมืองจันทร� และเต็มจิต จันทคา 2548 : 12) กล�าวว�า วิธีการจัดการความรู�อย�างง�าย คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู�จากวิธีการทํางานแบบ Best practice องค�ประกอบสําคัญประการหนึ่งของการจัดการความรู� คือ การมีฐานข�อมูลเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่เป�นเลิศของหน�วยงานต�าง ๆ ที่มีผลงานดีเด�นเป�นที่ยอมรับด�านต�าง ๆ (เช�น ด�านแนวคิด กระบวนการวางแผน การดําเนินงานตามแผน การประเมินผล และการมีส�วนร�วมของชุมชน) โดยมีการเผยแพร�วิธีปฏิบัติงานที่เป�นเลิศ เพื่อให�หน�วยงานอื่นได�นําไปปรับใช� ซึ่งเป�นไปตามพระราชกฤษฎีกาว�าด�วยหลักเกณฑ�และวิธีการบริหารกิจการบ�านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ในมาตรา 11 ระบุว�า “ส�วนราชการมีหน�าที่พัฒนาความรู�ในส�วนราชการ เพื่อให�มีลักษณะเป�นองค�กรแห�งการเรียนรู� อย�างสม่ําเสมอ” Best Practice จึ ง เป�นบทสรุปของวิธีการปฏิบัติที่ เ ป�นความรู� ในตัวคน (Tacit knowledge) ซึ่ ง เผยแพร� เป�นความรู�ที่ ปรากฏให� เห็นชัดแจ�ง ในรูปแบบต�างๆ (Explicit knowledge) เพื่อให�บุคคลอื่นได�นําไปปฏิบัติ การดึงความรู�ในตัวผู�ปฏิบัติ ซึ่งเป�นความรู�แบบ Tacit knowledge หรือ ความรู�แบบฝ�งลึก ให�กลายเป�น Explicit knowledge หรือความรู�ที่ปรากฏแจ�งชัด เพื่อสร�าง Best practice หรือวิธีปฏิบัติที่เป�นเลิศในการทํางาน ให�บุคคลอื่นได�ทดลองนําไปใช� การจะไปถึงเป�าหมายนี้ได� ต�องอาศัยเครื่องมือในการจดัการความรู�แบบต�างๆ และเครื่องมือที่นิยมใช�เพื่อจัดการความรู�อย�างง�ายๆ ไม�ซับซ�อน คือ ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of practice, CoP)

Page 40: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๕ ~

ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป�นส�วนงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดล จึงได�นําระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการดําเนินงานภายในมหาวิทยาลัย มหิดล (Mahidol University Shared Information Service System : MUSIS) ซึ่งเป�นระบบสารสนเทศที่รองรับการปฏิบัติงานด�านการบริการ ด�านงานเอกสาร ด�านการเรียนการสอน ด�านการวิจัยมาใช� โดยศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก เริ่มใช�ระบบเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2560 เป�นต�นมา ซึ่งกลุ�มที่ใช�งานส�วนใหญ�เป�นกลุ�มผู�ปฏิบัติงานธุรการของหน�วยงาน และพบว�าเจ�าหน�าที่ ธุรการและสารบรรณมีการใช�ระบบ MUSIS ที่หลากหลายในแนวทางปฏิบัติ ทําให�เกิดข�อผิดพลาดได�ง�ายและยากในการปรับปรุงและแก�ป�ญหา นอกเหนือจากคู�มือของมหาวิทยาลัย มหิดล จากแนวคิด เหตุผล ดังที่กล�าวมาข�างต�น และความสําคัญของการจัดการความรู� รวมถึงประโยชน�ที่กลุ�มผู�ปฏิบัติงานธุรการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษกได�รับจากการใช�ระบบสารสนเทศ ผู�วิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะทําให�เป�นแนวทางปฏิบัติเป�นมาตรฐาน (Standardized) โดยถือเป�นแนวทางปฏิบัติที่เป�นเลิศ (Best practice) ในบริบทของงานธุรการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก และหน�วยงานอื่นสามารถนําไปประยุกต�ในการทําแนวทางปฏิบัติที่เป�นเลิศ MUSIS ได� วัตถุประสงค�การวิจัย เพื่อศึกษารูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่ เป�นเลิศ (Best practice) ของหน�วยงานสนับสนุนในโรงพยาบาล นิยามศัพท�เฉพาะ MUSIS หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการดําเนินงานภายในมหาวิทยาลัย มหิดล (Mahidol University Shared Information Service System: MUSIS) เป�นระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส�ที่ใช�ในมหาวิทยาลัยมหิดล แนวปฏิบัติที่ดี (Best practice) หมายถึง วธิีการ ขั้นตอน การดําเนินงานที่ดีที่สุดแล�วส�งผลให�การดําเนินงานสามารถบรรลุสู�เป�าหมายหรือความเป�นเลิศได� ด�วยเทคนิควิธีการที่เหมาะสม โดยมีการบันทึกความที่ชัดแจ�ง (Explicit Knowledge) ในการดําเนินงานไว�อย�างเป�นระบบและสามารถเผยแพร�องค�ความรู�ที่ได�รับสู�หน�วยงานภายนอกได� ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of practice - CoP) หมายถึง ชุมชนแห�งการเรียนรู�ที่รวบรวมกลุ�มคนซึ่งมีความรู�ความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร�วมแลกเปลี่ยน แบ�งป�น เรียนรู�ในเรื่องนั้นๆ ร�วมกัน เพื่อให�ได�มาในเรื่องชุมชนความรู�ในเรื่องนั้นๆ ( Knowledge assets ) สําหรับคนใน

Page 41: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๖ ~

ชุมชนนําไปทดลองใช� แล�วนําผลที่ได�มาแลกเปลี่ยนเรียนรู�ระหว�างสมาชิก ส�งผลให�ความรู�นั้นๆ ได�รับการยกระดับขึ้นเรื่อยๆ ผ�านการปฏิบัติ ประยุกต� และปรับใช�ตามแต�สภาพแวดล�อมและสถานการณ�ที่หลากหลาย อันทําให�งานบรรลุผลดีขึ้นเรื่อยๆ ขอบเขตและวิธีการศึกษา

เป�นการวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive research) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่เป�นเลิศ (Best practice) ของหน�วยงานสนับสนุน ประชากรและกลุ�มตัวอย�าง

ประชากร ได�แก� ตัวแทนของทุกหน�วยงานผู�ปฏิบัติงานที่ใช�ระบบ MUSIS มีประสบการณ�การใช�งานอย�างน�อย 1 เดือนที่อยู� ในหน�วยงานศูนย�การแพทย�กาญจนาภิ เษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวน 25 หน�วยงาน กลุ�มตั วอย�าง เป�นตัวแทนของทุกหน�วยงานผู�ปฏิบัติงานที่ ใช�ระบบ MUSIS มีประสบการณ�การใช�งานอย�างน�อย 1 เดือนที่อยู�ในหน�วยงานศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวน 19 คน และโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร จํานวน 1 คน รวมจํานวนทั้งสิ้น 20 คน จาก 25 หน�วยงาน เครื่องมือที่ใช�ในการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใช�ในการเก็บรวบรวมข�อมูล ได�แก� 1.1 แบบสอบถามความคิดเห็นในการเข�าร�วมพบปะสังสรรค�แลกเปลี่ยนเรียนรู�บุคลากรผู�ใช�ระบบ “MUSIS” ได�แก� จุดประสงค�ของ MUSIS ระบบ MUSIS มีเพื่อใคร ขั้นตอนสําคัญมีกี่ขั้นตอน พิจารณาประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ประโยชน� ข�อดีข�อเสียของการใช�ระบบ MUSIS เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการพัฒนาระบบจากชุมชนนักปฏิบัติ

1.2 แบบสังเกตบันทึกเวลา ได�แก� จํานวนคลิก และระยะเวลา 1.3 แบบสัมภาษณ� โดยมีประเด็นข�อคําถามรวม 3 ข�อ

1.3.1 ความพึงพอใจต�อการใช�แนวปฏิบัติ 1.3.2 ป�ญหาและอุปสรรค 1.3.3 ข�อเสนอแนะอื่น ๆ

Page 42: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๗ ~

2. เครื่องมือที่ใช�ในการทดลอง ได�แก� แนวทางปฏิบัติการใช�ระบบ MUSIS การลาออนไลน�และการจองห�องประชุม การเก็บรวบรวมข�อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู�วิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมข�อมูลเป�น 2 ระยะ ได�แก� ระยะที่ 1 เป�นการวิจัยเอกสาร แบบสอบถามความคิดเห็นในการเข�าร�วมพบปะสังสรรค�แลกเปลี่ยนเรียนรู�บุคลากรผู�ใช�ระบบ “MUSIS” เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 และวันที่ 18 กันยายน 2560 เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการพัฒนาระบบจากชุมชนนักปฏิบัติ ระยะที่ 2

1. เป�นการสังเกตและสัมภาษณ�การใช�ระบบ MUSIS จากการปฏิบัติงานจริงตามแนวทาง

Best practice กับผู�ปฏิบัติงานธุรการและสารบรรณของหน�วยงาน (ตัวแทน 1 คน) ดังนี้ การสังเกต

ได�แก� การทดลองใช�ระบบ ด�านเวลา การไหลของการปฏิบัติ ระยะเวลาเฉลี่ยของการลาออนไลน�

และการจองห�องประชุม อัตราความผิดพลาด การประหยัดเอกสาร การสัมภาษณ� โดยมีประเด็น

ข�อคําถามรวม 3 ข�อ 1) ความพึงพอใจต�อการใช�แนวปฏิบัติ 2) ป�ญหาและอุปสรรค 3)

ข�อเสนอแนะอื่น ๆ

2. การระดมสมอง สรุปผลให�ผู�ปฏิบัติงานทราบ นําเสนอให�สมาชิกในกลุ�มได�รับและ

เพิ่มเติมทั้งโดยตรงและจดหมายอิเล็กทรอนิกส�จนได�แนวทางปฏิบัติที่ดี (Best practice)

ขั้นตอนการวิจัยดังนี้ ผู�วิจัยขอนัดหมายวัน/เวลา เพื่อนัดหมายประชุม จํานวน 2 ครั้ง และขอเข�าสังเกตการปฏิบัติงานที่หน�วยงานที่อนุญาตให�เก็บข�อมูลทั้งหมด 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ใช�เวลาประมาณ 30 นาที ณ ห�องประชุมฝ�ายการแพทย� ชั้น 3 อาคารศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก เมื่อถึงเวลานัดหมาย ผู�วิจัยขอชี้แจงวัตถุประสงค�ในการวิจัย และชี้แจงแนวปฏิบัติร�วมกันของธุรการของหน�วยงานในศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษกในหัวข�อ “การจองห�องประชุมและการลาออนไลน�”

Page 43: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๘ ~

ครั้งที่ 2 ใช�เวลาประมาณ 15 นาที

- ผู�วิจัยจะขอเข�าสังเกตการปฏิบัติงานของตัวแทนของหน�วยงานในการจองห�อง

ประชุมและการลาออนไลน� ใช�เวลาประมาณ 10 นาที

- ผู�วิจัยขอการสัมภาษณ�ตัวแทนของหน�วยงาน โดยมีประเด็นข�อคําถามรวม 3 ข�อ

ดังนี้ 1) ความพึงพอใจต�อการใช�แนวปฏิบัติ 2) ป�ญหาและอุปสรรค 3) ข�อเสนอแนะ

อื่น ๆ ใช�เวลาประมาณ 5 นาที

ครั้งที่ 3 ใช�เวลาประมาณ 30 นาที - ผู�วิจัยขอนัดหมายวัน/เวลา เพื่อการระดมสมองในการหา Best practice ในหัวข�อ

“การจองห�องประชุมและการลาออนไลน�” ผู�วิจัยนําเสนอข�อมูลที่ได�จากการสังเกต

และการสัมภาษณ�ในภาพรวม และให�สมาชิกกลุ�มอภิปราย และหาข�อสรุปแนวทาง

ปฏิบัติที่ดีที่สุด

การวิเคราะห�ข�อมูล การวิเคราะห�ข�อมูลเป�นการวิเคราะห�ข�อมูลเชิงคุณภาพ (Content Analysis) โดยกําหนดแนวทางการแก�ป�ญหาร�วมกัน มีการจัดประชุมชี้แจง และคืนข�อมูลรวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร�วมกัน ให�แก�ชุมชนนักปฏิบัติ และทดสอบแนวทางปฏิบัติการใช�ระบบ MUSIS ว�าการที่จะเป�น Best practice ได�จะต�องมีประสิทธิผล (Effectiveness) และประสิทธิภาพ (Efficiency) ถึงจะเรียกว�าเป�น Best practice ณ เวลานั้น โดยประสิทธิผลของ Best practice จะคํานึงด�านเวลา อัตราการเกิความผิดพลาด รวมทั้งความพึงพอใจของผู�ใช�ที่ทําตามแนวทางปฏิบัติ ส�วนประสิทธิภาพ จะคํานึงถึงต�นทุน คุณค�าของต�นทุน ผลการศึกษา

ระยะที่ 1 จากกลุ�มประชากรที่ทําการศึกษาได�เก็บรวบรวมแบบแสดงความคิดเห็น ประโยชน� ข�อดีข�อเสียของการใช�ระบบ MUSIS เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการพัฒนาระบบจากชุมชนนักปฏิบัติ มีการระดมสมองสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ MUSIS ของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก จํานวน 25 คน จาก 25 หน�วยงาน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 และวันที่ 18 กันยายน 2560 โดยรวบรวมความคิดเห็นด�วยการเสนออย�างอิสระผ�านกระดาษโพสต�อิท ใน

Page 44: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๓๙ ~

ประเด็นความหมายของคําว�า MUSIS เป�าหมายของระบบ MUSIS วัตถุประสงค�ของการใช�ระบบ และแนวทางที่แต�ละบุคคลได�ปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ใช�ระบบ โดยความคิดเห็นของสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ MUSIS ของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ส�วนใหญ�ทราบถึงวัตถุประสงค�ของการใช�ระบบ MUSIS โดยเห็นถึงประโยชน�ของระบบ MUSIS ว�าช�วยประหยัดเวลา ลดขั้นตอน ลดต�นทนุ สามารถติดตามสถานะของเอกสารได� โดยมีการจัดกลุ�มความเห็นเป�นหัวข�อการปฏิบัติ และนําเสนอให�สมาชิกในกลุ�มได�ปรับและเพิ่มเติมทั้งโดยตรงและจดหมายอิเล็กทรอนิกส� จนได�แนวทางที่ดีดังนี้

ขั้นตอน แบ�งแนวทางเป�น 3 ส�วน ได�แก�

1. ทั่วไป ได�แก� ลงรับหนังสือ ออกเลขหนังสือ ออกเลขคําสั่ง ออกเลขประกาศ/ข�อบังคับ

ส�งหนังสือให�กับหน�วยงานที่เกี่ยวข�อง/ภายใน ส�งหนังสือให�กับหน�วยงานในมหาวิทยาลัย ค�นหา/

ตรวจสอบ/ติดตามหนังสือที่รับเข�าและส�งออกไปให�หน�วยงานที่เกี่ยวข�องได� ดังแผนภาพที ่1

2. การใช�ระบบ (ตามคู�มือของมหาวิทยาลัย)

- เป�ดเว็บ MUSIS

- log in เข�าใช�ระบบ

- เข�าดูเอกสาร

- แจ�งเวียน/พิมพ�ออกมาให�ผู�ที่เกี่ยวข�อง

- ส�งหนังสือ

- สืบค�นหนังสือ

- ตรวจสอบ/ติดตามหนังสือ

3. การใช�ที่จําเพาะในบริบทของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

- แนวปฏิบัติการลาออนไลน� (ยกตัวอย�างการลาป�วย)

- แนวปฏิบัติการจองห�องประชุม (GJ)

Page 45: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๐ ~

แผนภาพ 1 แสดง Flow chart การลงทะเบียนรับเอกสาร

Page 46: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๑ ~

แผนภาพ 2 แนวปฏิบัติการลาออนไลน� (ยกตัวอย�างการลาป�วย)

แผนภาพ 3 แนวปฏิบัติการห�องประชมุ (GJ)

Page 47: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๒ ~

ระยะที่ 2 จากการสังเกตและสัมภาษณ�การใช�ระบบ MUSIS จากการปฏิบัติงานจริงตามแนวทาง Best practice กับผู�ปฏิบัติงานธุรการและสารบรรณของหน�วยงาน (ตัวแทน 1 คน ) ดังนี้ ผลการปฏิบัติตามแนวทางในการใช�ระบบ MUSIS การลาออนไลน� (ยกตัวอย�างการลาป�วย) และ การจองห�องประชุม (GJ) ในศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ตั้งแต�วันที่ 22 สิงหาคม 2561 ถึงวันที่ 27 สิงหาคม 2561 โดยการสังเกตและสัมภาษณ� ดังนี้ การสังเกต เป�นการสังเกตแบบส�วนร�วม (Participant Observation) โดยผู�ถูกสังเกตรู�ตัวโดยให�ปฏิบัติตามแบบแนวทางในการใช�ระบบ MUSIS การลาออนไลน� (ยกตัวอย�างการลาป�วย) และ การจองห�องประชุม (GJ) ในศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก และผู�วิจัยจับเวลา และนับจํานวนคลิกในการปฏิบัติตามแนวทาง โดยมีรายละเอียดดังนี้ การลื่นไหลของการปฏิบัติ

- แนวทางปฏิบัติสามารถอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานได�ดีขึ้น ใช�งานง�ายไม�ซับซ�อน ทําได�ง�ายรวดเร็ว

ระยะเวลาเฉลี่ยของการลาออนไลน�และการจองห�องประชุม - ระยะเวลาเฉลี่ยของการลาออนไลน� 00.49.10 วินาที จํานวน 10 คลิก

- ระยะเวลาเฉลี่ยการจองห�องประชุม 00.56.08 วินาที จํานวน 14 คลิก

- แนวทางปฏิบัติสามารถช�วยลดระยะเวลาการปฏิบัติให�เร็วมากขึ้น อัตราความผิดพลาด

- น�อยกว�าร�อยละ 1

การประหยัดเอกสาร - ลดปริมาณการใช�กระดาษ

การสัมภาษณ� - ความพึงพอใจผู�ใช�แนวทางปฏิบัติการใช�ระบบ MUSIS ในภาพรวม

มีการประเมินระดับความพึงพอใจในภาพรวม คือ วิธี Facial scales คือ การใช�รูปภาพแสดงสีหน�าความพึงพอใจ มีผู�ตอบแบบสัมภาษณ�ทั้งหมด 20 ราย โดยการให�คะแนน 1- 10 (เรียงจากไม�พึงพอใจย�างยิ่งจนถึงพอใจอย�างยิ่ง พบว�า ค�าเฉลี่ยความพึงพอใจในการ

Page 48: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๓ ~

แนวทางปฏิบัติการใช�ระบบ MUSIS เฉลี่ย 9.85 คะแนน จากเต็ม 10 คะแนน แปลว�า ผู�ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจระดับดีที่สุด

แผนภาพ 4 ความพงึพอใจแนวปฏิบตัิการใช�ระบบ MUSIS ในระดับใด

- ความเห็นอื่นๆ การประมวลผลบางช�วงใช�ระยะเวลานาน

ประโยชน�ที่ได�จากการวิจัย

1. ได�รูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่เป�นเลิศของ MUSIS ของศูนย�การแพทย�กาญจนา

ภิเษกที่เป�นมาตรฐานเดียวกัน จากเดิมที่มีการใช�ระบบ MUSIS แบบหลากหลาย

2. เป�นแนวทางสําหรับหน�วยงานอื่นสามารถนําไปประยุกต�ในการทําแนวทางปฏิบัติที่เป�น

เลิศของระบบ MUSIS ผ�าน CoP

การอภิปรายผล ผลที่ได�จากการวิจัยในครั้งนี้ พบว�า แนวทางปฏิบัติการใช�ระบบ MUSIS ของ CoP ศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก มีการปฏิบัติตามร�อยละ 98 พบว�ามีประสิทธิภาพทั้งด�านระยะเวลา อัตราความผิดพลาด ความคุ�มทุนและความพึงพอใจในระดับดีที่สุด แนวทางนี้ถือได�ว�าเป�นการปฏิบัติที่เป�นเลิศ คือผลที่ได�จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู�ของชุมชนสมาชิกซึ่งสามารถนําไปปฏิบัติในงานของตนเองได�จริง เป�นคลังความรู�ขององค�กรที่ได�จากการ สังเคราะห�โดยชุมชนนักปฏิบัติ ปรับปรุง ถ�ายทอดโดยชุมชนนักปฏิบัติเองในบริบทของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

นอกจากนี้ Best practice ที่เป�นความรู�ในตัวบุคคล กลายเป�นความรู�ที่ปรากฏแจ�ง โดยช�วยยกระดับความคิดเห็นให�มีความแตกต�าง มีความหลากหลายในมุมมองมากขึ้นเพื่อเป�นประโยชน�ต�อองค�กร

Page 49: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๔ ~

ข�อเสนอแนะ ผู�วิจัยขอเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงพัฒนารูปแบบการจัดทําการปฏิบัติที่เป�นเลิศของ MUSIS ของศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก

1. ควรมีการพัฒนาและถอดบทเรียนออกมาเพื่อใช�ประโยชน� ต�อยอดและขับเคลื่อนองค�กร

2. ควรจัดงบประมาณฝ�กอบรมเจ�าหน�าที่ผู�ปฏิบัติงานอย�างต�อเนื่องและสม่ําเสมอ เพื่อเพิ่มทักษะการทํางาน และรองรับการทํางานระบบอิเล็กทรอนิกส�ที่ก�าวหน�าอย�างต�อเนื่อง

3. ควรมีกิจกรรมที่สามารถสร�างความรู�ความเข�าใจให�แก�บุคลากรอย�างต�อเนื่อง เพราะว�าระบบงานแต�ละด�านควรต�องได�รับการปรับปรุง แก�ไข พัฒนาเพิ่มเติมให�มีความเหมาะสมต�อการใช�งานอยู�เสมอ กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยครั้งนี้ ผู�เขียนขอกราบขอบพระคุณ ผศ.นพ.กําธร ตันติวิทยาทันต� รองผู�อํ านวยการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิ เษก คณะแพทยศาสตร�ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ให�ข�อเสนอแนะแนวทางในการดําเนินการ ผู�วิจัยขอกราบขอบพระคุณอย�างสูงไว� ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ขอขอบพระคุณ ดร.มาศโมฬี จิตวิริยธรรม หัวหน�างานการศึกษา วิจัยและบริการวิชาการ ที่ได�ส�งเสริม สนับสนุน แนะนําและให�ความช�วยเหลือในด�านต�าง ๆ อย�างดียิ่งตลอดจนสมาชิก CoP ที่ให�ความอนุเคราะห�และให�ความร�วมมือเป�นอย�างดียิ่ง ในการเก็บข�อมูลและตอบแบบสัมภาษณ�ในการทําวิจัยครั้งนี้ รวมถึงคณะผู�ร�วมวิจัยทุกท�านที่ให�ความร�วมมือเก็บข�อมูลงานวิจัย เอกสารอ�างอิง

1. ธัญวรัตม� กระจ�าง. (2557). ป�จจัยทีเ่กี่ยวข�องกับการใช�ระบบสารบรรณอเิล็กทรอนิกส�

อย�างมีประสิทธิภาพของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร�การแพทย� มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วารสารมนุษยศาสตร�และสังคมศาสตร� มหาวิทยาลัยพะเยา. ป�ที่ 2(ฉบับที่ 2) :37-45.

2. วิจารณ� พานิช, (2546, พฤศจิกายน – ธันวาคม). การจัดการความรู�. วารสารเพือ่

การเพิ่มผลผลิต : Productivity world.8 (47). หน�า 17-28.

Page 50: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๕ ~

3. วันทนา เมืองจันทร� และเต็มจติ จันทคา.(2548). บทความเรือ่ง การจัดการความรู�ที่

ฝ�งลึกในตัวคน.วารสารสถาบันพัฒนาผู�บรหิารการศึกษา.ป�ที่ 22 ฉบับที่ 4 เมษายน –

พฤษภาคม 2548.

4. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห�งชาติ. (2554). Best Practice คืออะไร. [ออนไลน�]. สืบค�น

เมื่อวันท่ี 13 มีนาคม 2562, จาก https://www.ftpi.or.th

5. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีแห�งชาติ (สวทช.). (2557). ชุมชมชนนัก

ปฏิบัติ. [ออนไลน�]. สืบค�นเมือ่วันที่ 29 มีนาคม 2562, จาก https://www.nstda.

or.th

6. สุโกศล วนนทยาพิทักษ�, (2560). รูปแบบการเรียนรู�ของสะสมงานอเิล็กทรอนิกส�แบบ

ร�วมมือกันบนคลาวด� เพื่อ

7. ส�งเสริมทักษะการเรียนรู�แบบกาํกับตนเอง, วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตยีน. ป�ที่ 23(

ฉบับที่ 4) :599-611.

8. เอกสิทธิ์ เผ�าวัฒนา, และรจนา คงสุข. (2559). คู�มือปฏิบัตงิานระบบสารบรรณอิล

เกทรอกนิกส�ในระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร (MUSIS).งานบรหิารเอกสาร กอง

บริหารงานทั่วไปมหาวิทยาลัยมหิดล.

9. เอกสิทธิ์ เผ�าวัฒนา, และรจนา คงสุข. (2559). ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานสาร

บรรณด�วยระบบสารบรรณอเิล็กทรอนิกส� (งานวิเคราะห�).งานบรหิารเอกสาร กอง

บริหารงานทั่วไปมหาวิทยาลัยมหิดล.

10. Best practice. Retrieved October 12, 2017, from Web site :

http://m.infoentrepreneurs.org/en/guides/best-practice.

************************************

Page 51: 6% · แพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล, ศาสตร การแพทย แผนไทยในฐานะภูมิป ญญาของชาติ

การประชุมวิชาการศูนย�การแพทย�กาญจนาภิเษก ครั้งท่ี ๗ ประจําป� ๒๕๖๒

~ ๔๖ ~