7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล...

16
ปที7 ครึ่งเซ1 ลอักษรเบร2 ลที่ใชในการ3 พิ จารณาทั้งห4 ดโดยพรอม5 ทังรหัสครึ่งเซ6 ลอักษรเบรล7

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

รูปที่ 7 ครึ่งเซล

1

ลลอักษรเบรล

2

ลลท่ีใชในการพิ

3

พิจารณาทั้งหม

4

มดโดยพรอมท้ั

5

ท้ังรหัสครึ่งเซล

6

ลลอักษรเบรลล

7

Page 2: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

อุปกรณและเคร่ืองมือที่ใช 1. ฮารดแวร (Hardware)

- หนวยประมวลผลการ Pentium 4 ความเร็ว 2.66 GHz - หนวยความจํา (Memory) 496 MB, ฮารดดิสก (Hard disk) ขนาด 60 GB - ซีดีรอม (CD-ROM) ความเร็ว 52x - หนาจอ (Monitor), เมาส (Mouse), คียบอรด (Keyboard), เครื่องสแกนเนอร (Scanner)

2. ซอฟตแวร (Software)

- ระบบปฏิบัติการ Microsoft Window XP Professional 2006 V.9 - ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมคือ Visual Basic.NET 2005 - โปรแกรมที่ใชจัดการกับอักษรเบรลล คือ Thai-Braille Translate 2.0 - โปรแกรมที่ใชจัดการเกี่ยวกบัรูปภาพคือ Adobe Photoshop CS - โปรแกรมพจนานุกรมภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่ใชคือ LEXiTRON Program Version 2.1 - ระบบฐานขอมูลท่ีใชคือ Microsoft Office Access 2007

Page 3: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

รายละเอียดโปรแกรม 1. ขอมูลเขาของระบบ (System Input)

- ภาพอักษรเบรลลท่ีไดมาจากการสแกนผานเครื่องสแกนเนอร และไฟลภาพที่ไดตองเปนไฟล ภาพที่มีนามสกุลเปน .JPG

2. ขอมูลออกท่ีไดจากระบบ (System Output)

- ตัวอักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวเลขอารบิก หรือผสมกนัทั้ง 2 ภาษาที่มีความหมายตรงกันภาพอักษรเบรลล ท่ีมีไฟลนามสกุล .TXT

3. หลักการทํางานของระบบ

หลักการดําเนินงานของระบบนั้น จะแบงสวนประกอบออกเปน 2 สวนใหญๆ นั่นก็คือ สวนของการประมวลผลรูปภาพ และสวนของการวิเคราะหภาษา

เมื่อผูใชนําเอกสารอักษรเบรลลมาสแกนผานเครื่องสแกนเนอร ระบบจะไดไฟลภาพอักษรเบรลล ซึ่งระบบจะนําไฟลภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพดิจิตอล (Digital Image Processing) เพื่อใหการรูจํานั้นเปนไปไดโดยงาย โดยการแปลงภาพใหอยูในรูปของภาพสีเทา (Gray Scale Image) ภาพขาวดํา (Black/White Image) ปรับความชัดของภาพ (Dilation) การหาขอบเขตของภาพ (Edge Detection) และหลังจากนั้นก็จะทําการรูจําภาพ (Recognition) เพื่อแยกอักษรเบรลลแตละตัว

หลังจากที่ทําการรูจําเรียบรอยแลวสิ่งท่ีจะทําตอไปก็คือสวนของการวิเคราะหภาษา ซึ่งผูใชจะตองเลือกรูปแบบของเอกสารที่จะทําการแปลซึ่งมีดวยกัน 3 แบบ คือ เอกสารอักษรเบรลลภาษาไทยและภาษาอังกฤษระดับ 1, เอกสารอักษรเบรลลภาษาไทยระดับ 2 และเอกสารอักษรเบรลลภาษาอังกฤษระดับ 2 เมื่อเลือกแลวระบบจะทําการแปลงอักษรเบรลลใหอยูในรูปแบบที่ไดเลือกไว โดยหลักการแปลงนั้นก็จะมีการใชฐานขอมูลของ LEXiTRON เขามาชวยในการพิจารณาดวย  

Page 4: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด
Page 5: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด
Page 6: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด
Page 7: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

รูปที่ 11 Flow Chart แสดงกระบวนการแปลภาษา (Translation)

Translation

Level 1 Level 2  

Split  

Thai English

No  

Yes English Level 2

Thai Level 1 English Level 1

Thai Level 2

Text File

End

What is Text Level? 

What is Language?

Have a vocabulary in Lexitron?

Page 8: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

4. ฐานขอมูลของระบบ

ระบบฐานขอมูลประกอบไปดวยตารางดังนี ้

ตารางที่ 6 ฐานขอมูลภาษาอังกฤษระดับ 1

ชื่อฟลด ชนิดของขอมูล รายละเอียด

ID Integer ลําดับที่ของคําศัพท

VOCAB Text คําศัพทภาษาอังกฤษที่เอามาจาก ฐานขอมูลของ LEXiTRON

Primary Key คือ ID

รูปที่ 12 ตัวอยางการเก็บขอมูลของฐานขอมูลภาษาอังกฤษระดับ 1

ตารางที่ 7 ฐานขอมูลภาษาไทยระดับ 1

ชื่อฟลด ชนิดของขอมูล รายละเอียด

ID Integer ลําดับที่ของคําศัพท

VOCAB Text คําศัพทภาษาไทยที่เอามาจาก ฐานขอมูลของ LEXiTRON

ASCII_Braille Text รหัสแอสกี้เบรลลของคําศัพท

Primary Key คือ ID

23

Page 9: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

รูปที่ 13 ตัวอยางการเก็บขอมูลของฐานขอมูลภาษาไทยระดับ 1

ตารางที่ 8 ฐานขอมูลภาษาไทยระดับ 2

ชื่อฟลด ชนิดของขอมูล รายละเอียด

ID Integer ลําดับที่ของคําศัพท

ASCII_Braille Text รหัสแอสกี้เบรลลของคําศัพท

Word Text คําท่ีสามารถยอได

Element Text คํายอท่ีเปนสวนประกอบของคํา

Primary Key คือ ASCII_Braille

รูปที่ 14 ตัวอยางการเก็บขอมูลของฐานขอมูลภาษาไทยระดับ 2

24

Page 10: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

ตารางที่ 9 ฐานขอมูลภาษาอังกฤษระดับ 2

ชื่อฟลด ชนิดของขอมูล รายละเอียด

ID Integer ลําดับที่ของคําศัพท

ASCII_Braille Text รหัสแอสกี้เบรลลของตัวยอ

Eng Text คําศัพทท่ีเปนตัวยอในภาษาอังกฤษ

EngFront Text ตัวอักษรท่ีสามารถยอไดเมือ่อยูหนาคํา

EngCenter Text ตัวอักษรท่ีสามารถยอไดเมือ่อยูกลางคํา

EngBack Text ตัวอักษรท่ีสามารถยอไดเมือ่อยูทายคํา

Primary Key คือ ASCII_Braille

รูปที่ 15 ตัวอยางการเก็บขอมูลของฐานขอมูลภาษาอังกฤษระดับ 2

ขอบเขตและขอจํากัดของโปรแกรม

1. ลักษณะขอบเขตของโครงงาน 1.1 โครงงานนี้ไดพัฒนาตอเนื่องจากระบบการรูจําและแปลความตัวอักษรเบรลลภาษาไทยและ

ภาษาอังกฤษแบบออนไลน (Online Thai-English Braille Recognition and Translation System) ซึ่งเปนปริญญานิพนธวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวทิยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548

1.2 โครงงานนี้มีการพัฒนามาจากโครงงานเดิม ซึ่งโครงงานเดิมนั้นภาพอักษรเบรลลท่ีนํามาใชกับระบบ จะเปนภาพที่ไดจากการจําลองขึ้นมาเทานั้น โดยพัฒนาปรับเปลี่ยนใหสามารถรับไฟลท่ีนําเขามาจาก เครื่องสแกนเนอรหรือไฟลท่ีมีนามสกุลเจพีจี (JPG) ได โดยขอมูลท่ีสงออกมาคือไฟลเอกสารนามสกุล ทีเอ็กซที (TXT) โดยมีความละเอียดของภาพ 200 พิกเซลตอตารางนิ้ว

25

Page 11: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

1.3 ระบบจะทําการรูจําเฉพาะภาพของอักษรเบรลลภาษาอังกฤษระดับ 1 (English Braille Level 1) อักษรเบรลลภาษาอังกฤษระดับ 2 (English Braille Level 2) อักษรเบรลลภาษาไทยระดับ 1 (Thai Braille Level 1) อักษรเบรลลภาษาไทยระดับ 2 (Thai Braille Level 2) และตัวเลขเทานั้น ซึ่งใชความรูและหลักการของการประมวลผลภาพดิจิตอลเบื้องตน ในการเตรียมขอมูลเพื่อทําการรูจําตอไป

1.4 ระบบสามารถวิเคราะหภาพอักษรเบรลลวาเปนอักษรเบรลลของภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ โดยการใชฐานขอมูลพจนานุกรมภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (Lexitron) ในการพิจารณารวมดวย

2. ขอจํากัดของโปรแกรม - เครื่องมือนี้รองรับภาพอักษรเบรลลดานเดียวท่ีมีนามสกุลเจพีจี (*.JPG) เทานั้นและความละเอียดของภาพเทากับ 300 dpi ซึ่งเปนคามาตรฐานที่เครื่องสแกนเนอรตั้งไว

- การแปลเอกสารที่มีท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษระดับ 1 ผลลัพธท่ีไดจากการแปลอาจไมถูกตองเนื่องจากการเลือกวาจะแปลเปนภาษาใดจะตรวจสอบจากฐานขอมูล LEXiTRON ซึ่งคําศัพทยังไมครอบคลุมท้ังหมด

กลุมผูใชโปรแกรม

- ผูท่ีมีความสนใจทั่วไป ท่ีตองการรับทราบขอมูลในเอกสารอกัษรเบรลล - ผูท่ีตองการสื่อสารกับผูพิการทางสายตาผานทางเอกสารอักษรเบรลล - เปนการเผยแพรความรู ความสามารถ ของผูพิการท่ีแสดงออกมาทางเอกสารอักษรเบรลล ใหบุคคลทั่วไป

ไดรับรู

Page 12: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

การทดลองและผลการทดลอง

1 การทดลองเพื่อการตรวจสอบความถูกตองของการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลล - ต้ังสมมุติฐาน ถาเครื่องมือแปลความภาพอักษรเบรลลเปนเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีประสิทธิภาพในการแปลขอความจะตองสามารถทําการรูจําครึ่งเซลลอักขระอักษรเบรลลในภาพเอกสารที่ทําการรับเขามาไดอยางถูกตองเปนอยางนอยไมต่ํากวา 95% ของครึ่งอักขระอักษรเบรลลท้ังหมดของเอกสาร - วัตถุประสงค เพื่อตรวจสอบความถูกตองและวัดประสิทธิภาพของการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลลโดยใชเทคนิคการประมวลภาพผลภาพดิจิตอล

- อุปกรณที่ใชในการทดลอง

• เอกสารอักษรเบรลลแบบดานเดียว ขนาด A4

• ภาพเอกสารอักษรเบรลลท่ีพรอมสําหรับการทําการรูจํา - วิธีการทดลองการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลล เริ่มตนดวยการนําเอกสารอักษรเบรลลดานเดียวมาทําการรูจําครึ่งอักขระอักษรเบรลลดวยมนุษย หลังจาก

นั้นทําการนําเขาเอกสารอักษรเบรลลท่ีพรอมสําหรับการทําการรูจํามาทําการผานสวนของโปรแกรมที่ผูพัฒนาสรางข้ึนและนําขอมูลออกมาทําการเปรียบเทียบกันระหวางผลลัพธท่ีไดจากการรูจําดวยมนุษย และผลลัพธจากการรูจําท่ีไดจากโปรแกรม

- ผลการทดลองการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลล

ตารางที่ 10 ผลการทดสอบการรูจํา

การทดลอง จํานวนครึ่งอักขระ

ทั้งหมดในหนาเอกสารอักษรเบรลล

จํานวนครึ่งอักขระที่สามารถทําการรูจําไดอยางถูกตองจากโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

คิดเปน % ความถูกตอง

การรูจําครึ่งอักขระอักษรเบรลล 422 421 99.99%

Page 13: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

- สรุปผลการทดลองการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลล จากการทดลองสามารถสรุปไดวาการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลลมีประสิทธิภาพมาก โดยสารมารถทําการรูจําภาพครึ่งอักขระอักษรเบรลลไดอยางแมนยําโดยถาติดเปนเปอรเซ็นสามารถทําไดถึง 99.99% ซึ่งเกือบ 100% ทําใหเห็นวาการรูจําเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งความจริงแลว เปอรเซ็นความถูกตองจะมีมากหรือนอยข้ึนอยูกับคุณภาพของภาพที่ทําการรูจําเปนสําคัญมากกวา 2 การทดลองเพื่อการตรวจสอบความถูกตองของการแปลขอความ - ต้ังสมมุติฐาน ถาเครื่องมือแปลความภาพอักษรเบรลลเปนเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีประสิทธิภาพในการแปลขอความที่ประกอบดวยขอความภาษาไทยระดับ 1, ภาษาไทยระดับ 2, ภาษาอังกฤษระดับ 1 และภาษาอังกฤษระดับ 2 จะตองมีความถูกตองในการแปลมากกวา 95% - วัตถุประสงค เพื่อตรวจสอบความถูกตองและวัดประสิทธิภาพของการแปลขอความที่ประกอบดวยขอความภาษาไทยระดับ 1, ภาษาไทยระดับ 2, ภาษาอังกฤษระดับ 1 และภาษาอังกฤษระดับ 2

- อุปกรณที่ใชในการทดลอง

• ฐานขอมูลคําศัพท LEXiTRON ท้ังในภาษาไทย และภาษาอังกฤษของศูนยเทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

• โปรแกรม Thai Braille Translate 2.0 ท่ีจัดทําข้ึนโดยวิทยาลัยราชสดุาฯ

• ระบบการรูจําและแปลความอักษรเบรลลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ท่ีจัดทําข้ึนโดยคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

- วิธีการทดลองการแปลภาษาไทยระดับ 1 และภาษาอังกฤษระดับ 1 นําคําศัพทจากฐานขอมูลคําศัพท LEXiTRON ท้ังในภาษาไทยและภาษาอังกฤษของศูนยเทคโนโลยี

อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติมาเขาระบบการรูจําและแปลความอักษรเบรลลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ท่ีจัดทําข้ึนโดยรุนพี่คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อแปลงคําศัพทท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษไปเปนรหัสแอสกี้เบรลล นํารหัสแอสกี้เบรลลท่ีไดมาเขาสูโปรแกรมท่ีเราสรางขึ้นนํา และนําผลลัพธท่ีไดมาเทียบกับฐานขอมูลคําศัพท LEXiTRON

Page 14: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

- ผลการทดลองการแปลภาษาไทยระดับ 1 และภาษาอังกฤษระดับ 1

ตารางที่ 11 ผลการทดสอบการแปล

การทดสอบคําศัพท LEXiTRON

จํานวนคําศัพท จํานวนคําศัพทที่แปลไดถูกตองจากโปรแกรมที่

พัฒนาขึ้น คิดเปน % ความถูกตอง

คําศัพทภาษาไทย 32,366 31,387 96.97% คําศัพทภาษาอังกฤษ 52,139 52,139 100%

รวม 84,504 83,524 98.84%

- สรุปผลการทดลองการแปลภาษาไทยระดับ 1 และภาษาอังกฤษระดับ 1 จากการทดลองพบวาระบบสามารถแปลคําศัพทไดถูกตองคิดเปน 98.84% ซึ่งมากกวา 95% จึงกลาวไดวา

เครื่องมือแปลความภาพอักษรเบรลลเปนเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีประสิทธิภาพในการแปลความ โดยมีขอผิดพลาดในการแปลความคิดเปน 1.16% ซึ่งความผิดพลาดนี้เกิดจากความผิดพลาดในการแปลความภาษาไทยเทานั้น และคําภาษาไทยที่มีการแปลผิดพลาดมากที่สุดคือ คําท่ีมีตัวการันตและตัว ท ทหารติดกัน เพราะตัวการันตในอักษรเบรลลมีการเขียนดวย เลขศูนย “0” และตัว ท ทหาร ในอักษรเบรลลมีการเขียนดวย วงเล็บปด “)” ซึ่งเมื่อมีการเขียนตัวการัตนและตัว ท ทหาร ติดกัน ก็จะตรงกับตัว ธ ธง ซึ่งในอักษรเบรลลมีการเขียนดวยตัวอักษร 2 ตัว คือ เลขศูนยและวงเล็บปด “0)” ทําใหไมสามารถแยกแยะไดวาคําศัพทคํานั้นเปนตัว ธ ธง หรือ ตัวการันตติดกับตัว ท ทหาร

Page 15: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

ขอสรุปและขอเสนอแนะ

1. ขอสรุป เครื่องมือแปลความภาพอักษรเบรลลเปนเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความสามมารถการทํางาน

ดังนี้ - สามารถรับภาพอักษรเบรลลนามสกุลเจเพ็ก (*.jpg) จากผูใชและแปลเปนขอความภาษาไทยระดับ 1,

ภาษาอังกฤษระดับ 1, ภาษาไทยระดับ 2 และภาษาอังกฤษระดับ 2 - สามารถรับภาพจากเครื่องสแกนเนอรแลวนํามาแปลเปนขอความภาษาไทยระดับ 1, ภาษาอังกฤษ

ระดับ 1, ภาษาไทยระดับ 2 และภาษาอังกฤษระดับ 2

2. ขอเสนอแนะ สําหรับผูท่ีสนใจปริญญานิพนธฉบับนี้ สามารถนําไปพัฒนาตอไดดังหัวขอตอไปนี้ - ปรับปรุงเครื่องมือใหสามารถรองรับการแปลภาพอักษรเบรลลไดท้ังสองดาน - พัฒนาใหมีการแปลงจากภาพเอกสารปกติไปเปนเอกสารอักษรเบรลล - ทําการเชื่อมตอโปรแกรมกับเครื่องพิมพอักษรเบรลล - ผูสนใจสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมดาน Braille Chemistry หรือ Braille ทางดานอื่นๆ และนําไป

พัฒนาระบบตอไปได

Page 16: 7 ดโดยพร ทอมั้ งรหัสครึ่ลงเซ ล อักษรเบรลล · 2 ล ที่ ในการใชพิ ... ไฟล ภาพนี้ไปทําการประมวลผลภาพด

เอกสารอางอิง [1] อภิชัย ศิริพิทักษชัย และ สุรพัชร สินสวาสดิ์, 2548, ระบบการรูจําและแปลความตัวอักษรเบรลลภาษาไทย

และภาษาอังกฤษแบบออนไลน, ปริญญานิพนธวิทยาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศิลปากร.

[2] สิปาง กันทะเสมา และ เหมวรรณ โถแกว, 2549, เคร่ืองมือแปลความสมการคณิตศาสตรและสัญลักษณทางวิทยาศาสตรเปนอักษรเบรลล, ปริญญานิพนธวิทยาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศิลปากร.

[3] 2550, “An Arabic Optical Braille Recognition System”, [ออนไลน], เขาถึงได: http://ieeexplore.ieee.org/iel5/9258/29386/01334316.pdf

[4] 2548, “A Software Algorithm Prototype for Optical Recognition of Embossed Braille”, [ออนไลน], เขาถึงได: http:// www.esstt.rnu.tn/utic/tica2007/sys_files/medias/docs/p15.pdf

[5] Neovision Industrial Vision Systems, “Optical Braille Recognition”, [ออนไลน], เขาถึงได: http://www.neovision.cz/prods/obr/

[6] National Electronics and Computer Technology Center, “Arn Thai Version 2.5”, [ออนไลน], เขาถึงได: http://arnthai.nectec.or.th/

[7] กมลวรรณ อินอราม, 2547, การเรียนรูอักษรเบรลล, กรุงเทพฯ, คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต.