ป ญญานิยม (wisdomism) · อริยสัจ 4(...

16
ปญญานิยม โดย....พีรพงษ ปราบริปู (Wisdomism)

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ปญญานิยม

โดย....พีรพงษ ปราบริปู

(Wisdomism)

Page 2: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

แนวทางการศึกษา

• ทฤษฎีการผลิตตามแนวทางเศรษฐศาสตร• ทฤษฎีการผลิตตามแนวทางพุทธเศรษฐศาสตร

– ทําไม “ปญญา” จึงเปนปจจัยการผลิตหลัก ตามแนวทางพุทธเศรษฐศาสตร

– อริยสจัสี่• ความสัมพันธของ “ปญญา” กับแนวทาง

เศรษฐกิจพอเพียง

Page 3: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ฤษฎีที่วาดวยการผลิต (production theory) ถือไดวาเปนหัวใจที่สําคัญในทางเศรษฐศาสตร ที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางปจจัยการผลิต (factors of production) และผลผลิตที่เกิดขึ้น (product)

Q = f (K, L)

ในทางเศรษฐศาสตรกระแสหลักมักจะเนนประสิทธิภาพในการผลิตเปนหลัก โดยสวนใหญไมไดคํานงึถึงผลกระทบตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

Q = ผลผลิต K = ทุน (รวทถึงทรัพยากรทุกชนิดทีน่าํมาใช)

L = แรงงาน f = คอืความสมัพันธ หรือฟงกชัน (function) ในการผลิต

Page 4: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ในทางพุทธเศรษฐศาสตร เชื่อวา “ปญญา” เปนปจจัยการผลิตที่สําคัญ และปญญาจะชวยใหเกิดการผลิตที่ลดการทําลายทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

Q + w = f (ทรัพยากรมนุษย (ปญญา), ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น,ทรพัยากรธรรมชาติ)

Q = ผลผลิตที่มีกระบวนการผลิตกอใหเกิดการเบียดเบียนตนเอง และผูอืน่นอยทีส่ดุ (รวมทั้งสิ่งมีชวีิตและสภาวแวดลอมอื่นๆ)

w = waste (ของเสีย)ปญญา = เปนปจจยัการผลติหลัก

หมายเหตุ : อางอิงจากฟงกชันการผลิตแบบพุทธเศรษฐศาสตร (อภิชัย พันธเสน, 2544)

Page 5: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

·íÒäÁ �» �­­Ò�¨§ึe» �¹» �¨¨a¡ÒüÅiµËÅa¡ã¹·Ò§¾u·¸eÈÃÉ°ÈÒʵà �

æµ � ¤íÒ¶ÒÁæá ¤oื oaäÃe» �¹·ÕèÁÒæË �§» �­­Ò

?

?

Page 6: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

อรยิสัจ 4อริยสัจ 4 (ความจริงอนัประเสริฐ 4 ประการ) ถอืไดวาเปนแกนของศาสนาพุทธ

ที่ครอบคลุมคําสอนของพระพุทธองค แปลตรงตัวตามภาษาบาลี ดังนี้

ทุกข ในระดับชาวบานทั่วไป คือ ปญหาที่เกิดขึ้นหรือประสพอยูทุกวัน

สมุทัย คือ สาเหตุของการเกิดทุกข

มรรค คอื วิธีปฏบิัติใหถึงความดับทุกข

นิโรธ คอื ความไมมีทุกข หรือความดับทุกข (นิพพาน)

อริยสัจ เปนหลักธรรมที่เปนวิทยาศาสตรที่เกี่ยวกับเรื่องของเหตุและผล เหตุ = สมุทัย, มรรค ผล = ทุกข, นโิรธ

Page 7: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

อรยิสจั 4 กบัตวัอยางการปรบัใช กรณี : กลุมแมบานเกษตกรบานหาดใคร อ.เชียงของ จ.เชียงราย

กลุมผลิตผลิตภัณฑจากสาหรายน้าํจืด (ไก) ประสบปญหากําไรจากการดําเนินงานคอนขางต่ํา และเห็นวาสมาชิกไมกระตือรือรนในการทํางาน และเมื่อประธานกลุมฯ มาพิจารณาหาสาเหต ุแลวพบวา กลุมมีตนทุนคาจางแรงงานที่คอนขางสงู คือ กลุมมีการจายคาจางเปนรายวัน ทําใหสมาชิกทํางานไมเต็มที่ ไดผลผลิตนอย ดังนั้นกลุมจงึเปลี่ยนวิธีการจายคาจางเปนการจายตามน้าํหนักผลผลิตที่ทําได ผลที่ไดทําใหสมาชิกมีความกระตือรือรนในการทํางานมากขึ้น (ไดผลตอบแทนตามความขยัน) ไดผลผลิตมากขึ้น และมีกําไรจากการดําเนินงานมากขึ้น (นโิรธ)

(ทุกข)

(สมทุยั )(มรรค)

Page 8: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

อริยสัจ 4ประกอบดวยขันธหา (คือ รูป เวทนา สญัญา สังขาร วิญญาณ) ซึ่งขันธหา

นี้เต็มไปดวยความทุกข เกิดเปนทุกข แกเปนทุกข เจ็บปวยเปนทุกข ตายเปนทุกข ไมสบายใจ โศกเศราเปนทุกข พบสิ่งที่ไมพอใจเปนทุกข พลัดพรากจากสิ่งที่รักเปนทุกข ไมสมหวงัเปนทุกข

หรือเหตุแหงทุกข ซึ่งทีส่ําคัญไดแกตัณหา ที่มีกามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา (อยากมี อยากได อยากเปน) นอกจากนี้ยังมีขอที่เปนเหตุแหงทุกขอีกมากมายไดแก อกุศลมูล อกุศลกรรมบท 10 นิวรณ 5 มลทิน 9 อุปกิเลส 10 ทุจริต 3

ทกุข

สมทุยั

หมายถึง ความพนทุกข คือ การตองตัดตัณหา อุปาทาน (ความยึดมั่น ถือมั่น) อวิชชานิโรธ

Page 9: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

1. ความเห็นชอบ (สัมมาทิฎฐิ) มปีญญาเห็นชอบในสิ่งที่ถูกทั้งทางโลกและธรรมะ เชน เห็นอริยสจัสี ่เห็นวาทําดีไดดี ทําชั่วไดชัว่ เห็นความไมเที่ยงของสงัขาร เปนตน2. ดําริชอบ (สมัมาสังกัปปะ) ไมคิดโกรธ เบียดเบียน รักใคร ยดึธรรมะ คิดใหหลุดพนจากกาม จากโลภ3. วาจาชอบ (สมัมาวาจา) ไมพูดปด พูดสอเสียด พูดหยาบ พูดเพอเจอ พูดสิ่งที่ไมเปนประโยชน4. ปฏิบัติชอบ (สัมมากัมมันตะ) ไมฆาสตัว ไมขโมย ไมประพฤติผิดในกาม5. เลี้ยงชีพชอบ (สัมมาอาชีวะ) ไมโกง ไมหลอกลวง ไมเกี่ยวของกับสิ่งผดิกฎหมาย ยาเสพติด เปนตน6. เพียรชอบ (สัมมาวายามะ) ทําความเพียรทั้งทางโลกและทางธรรม7. ระลกึชอบ (สัมมาสติ) มีความระลึกชอบ รูถกูรูผิดทางธรรมโดยมุงตัดกิเลสทัง้ปวง8. ตั้งมั่นชอบ (สัมมาสมาธิ ) จิตอยูในสมาธิที่ถูกตองไดเสมอ

มรรค คือ วิถีทางปฏิบัติใหพนทุกข ประกอบดวย อริยสัจ 4

Page 10: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

มรรค หรือขอปฏิบัติทั้ ง 8 ประการนี้ พระพุทธองคทรง เรียกว า “มัชฌิมาปฏิปทา” เปนขอปฏิบัติสายกลางที่ไมสุดโตงขางใดขางหนึ่ง คือ ไมเครงจนเกินไป และไมยอหยอนจนเกินไป เปนขอปฏิบัติที่สามารถทําใหผูปฏิบัติถึงความหมดทุกขหรือหมดปญหา

มรรค หรือขอปฏิบัติทั้ ง 8 ประการนี้ พระพุทธองคทรง เรียกว า “มัชฌิมาปฏิปทา” เปนขอปฏิบัติสายกลางที่ไมสุดโตงขางใดขางหนึ่ง คือ ไมเครงจนเกินไป และไมยอหยอนจนเกินไป เปนขอปฏิบัติที่สามารถทําใหผูปฏิบัติถึงความหมดทุกขหรือหมดปญหา

วาจาชอบ ปฏิบัติชอบ เลี้ยงชีพชอบ (ขอ 3-5) = ศีล เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งมั่นชอบ (ขอ 6-8) = สมาธิความเห็นชอบ ดําริชอบ (ขอ 1-2) = ปญญา

หมายเหต ุ:การเอาความเห็นชอบและดําริชอบ ซึ่งตรงกับปญญาขึ้นกอน เพราะมีความสําคัญที่สุดที่จะทําใหคนมุงจะปฏิบัติตามมรรคอื่นๆ เพื่อใหพนทุกข จะตองมี 2 ขอนีก้อน

Page 11: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

สมาธิ

ปญญา

ศีล= มัชฌมิาปฎิปทา

วงจรแหงความดี

Page 12: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ทําไม “ปญญา” จึงเปนปจจัยการผลิตหลักในทางพุทธเศรษฐศาสตร ?

ขอความตอนหนึ่งในหนังสือ “พุทธเศรษฐศาสตร” ของ ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน ที่กลาวถึงพลังสมองของมนุษยที่ประกอบดวยความฉลาดและปญญา และใหความเห็นวาความฉลาดของมนุษยนาจะมีสวนสําคัญในการสะสมทุนและสรางสรรคเทคโนโลยี แตความฉลาดนั้นอาจจะใชในทางเกิดผลลบหรือผลบวกก็ได ดังนั้นเพื่อใหความฉลาดทํางานผิดพลาดนอยลง ความฉลาดจะตองถูกควบคุมดวย “ปญญา” อีกตอหนึ่ง

นอกจากปญญาจะทําหนาที่ในการกํากับทุนและเทคโนโลยีโดยตรงผานความฉลาดแลว ปญญายังตองกํากับและควบคุมการใชพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เพื่อใหไดความสัมพันธในการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มีของเสียจากกระบวนการผลิตนอยที่สุด ภายในกระบวนการผลิตเองก็ไมเบียดเบียนตัวเอง บุคคลอื่น ตลอดจนมีการใชทรัพยากรธรรมชาติและสรางผลกระทบในทางลบตอสภาพแวดลอมนอยที่สุด

Page 13: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ความสัมพันธของ “ปญญา” กบัแนวทางเศรษฐกจิพอเพยีง

“ปญญา” หมายถึง ความฉลาด ความรอบรู ความเขาใจชัดในสิ่งตางๆ ผูมีปญญายอมรูจักผดิชอบชัว่ดี รูจักบาปบุญคุณโทษ รูจักเหตุผล คอื รูจักสบืสวนจากผลไปหาเหตุ และจากเหตุไปหาผล รูจกัฐานะ (เชน ความรู อายุ ตระกูล ทรัพย) ของตนและผูอืน่ สามารถประพฤติตนใหเขากับสังคมได รูจกัประมาณ คือทาํใหพอด ีไมขาด ไมเกิน รูจักกาลเทศะ ฯลฯ

1 = ความพอประมาณ

2 = ความมีเหตุผล

3 = การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว

4 = เงือ่นไขความรู5 = เงื่อนไขคณุธรรม

1

2

3

45

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีง

Page 14: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

จะเห็นไดวา “ปญญา” “ทางสายกลาง” และ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มีความเชื่อมโยงกันอยางแยกไมออก

เศรษฐกจิพอเพยีง

ทางสายกลาง

ปญญา

Page 15: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

อางองิ

ศาลาธรรม. อริยสจัสี่ สําคญัอยางไร. [ออนไลน]. แหลงที่มา:http://www.salatham.com/gists/essence.html. (17 ธันวาคม 2549)

ธรรมจกัร. สารพนัปญญา. [ออนไลน]. แหลงที่มา:http://www.dhammajak.net/book/panya/panya01.php. (17 ธันวาคม 2549)

อภิชัย พันธเสน. 2544. พุทธเศรษฐศาสตร: วิวฒันาการ ทฤษฎ ีและการประยกุตกับเศรษฐศาสตรสาขาตางๆ. กรุงเทพฯ. คณะเศรษฐศาสตรและโครงการปริญญาเอกสหวิทยาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 16: ป ญญานิยม (Wisdomism) · อริยสัจ 4( ความจริงอันประเสร ิฐ 4 ประการ) ถือได ว าเป นแก

ขอบคณุขอรบั..