ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms /...

109
การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดย นางสาววรกร ธรรมภิบาลอุดม วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 27-Oct-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

1

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

โดย

นางสาววรกร ธรรมภิบาลอุดม

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

2

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

โดย

นางสาววรกร ธรรมภิบาลอุดม

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

ภาควิชาภาษาไทย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

3

THE USE OF SELF-ADDRESS TERMS AND AUDIENCE-ADDRESS TERMS BY

ORANG SIAM IN KAMPUNG TERESEK,REPEK,PASIR MAS, KELANTAN,

MALAYSIA

By

Miss Vorakorn Thampiban-udom

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

Master of Arts Program in Thai

Department of Thai

Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2012

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

4

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ” เสนอโดย นางสาววรกร ธรรมภิบาลอุดม เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันท่ี..........เดือน.................... พ.ศ........... อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมชาย สําเนียงงาม คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยสุวัฒนา เล่ียมประวัต)ิ ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.วิภาวรรณ อยูเย็น) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมชาย สําเนียงงาม) ............/......................../..............

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

5

52202201 : สาขาวิชาภาษาไทย

คําสําคัญ : คําแทนตัวผูพูด / คําแทนตัวผูฟง / ชาวไทยสยาม

วรกร ธรรมภิบาลอุดม : การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก

อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร.สมชาย สําเนียงงาม. 99 หนา.

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ ศึกษาที่มาของภาษาและประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ศึกษาการใชคํา

แทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง รวมทั้งศึกษาสังคมและ

วัฒนธรรมที่สะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยขอมูลที่ใชในการวิเคราะหไดแก การสัมภาษณ การสอบถาม และการสังเกตอยางมีสวนรวม

ผลการศึกษาพบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงมีทั้งหมด 53 คํา มีที่มาจาก 4 ภาษา คือ ภาษาไทย ภาษามลายู

ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน โดยพบคําที่มาจากภาษาไทยมากที่สุด ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงมี 2 ประเภท คือ

คํานาม ไดแก คําเรียกญาติ คําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง คํานามทั่วไป และคํานําหนานาม พบทั้งส้ิน 30 คํา จําแนกเปนคําแทนตัวผู

พูด 9 คํา และคําแทนตัวผูฟง 21 คํา และคําบุรุษสรรพนามพบทั้งส้ิน 23 คํา จําแนกเปนคําแทนตัวผูพูด 13 คํา และคําแทนตัวผูฟง

10 คํา

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด พบวาคําแทนตัวผูพูดจําแนกออกเปน 3

กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดที่ปรากฏใชทั้ง 3 กลุมอายุ คําแทนตัวผูพูดที่ปรากฏใช 2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูพูดที่ปรากฏใชเฉพาะ

กลุมอายุ สวนคําแทนตัวผูฟงจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ คําแทนตัวผูฟงที่ปรากฏใชทั้ง 3 กลุมอายุ คําแทนตัวผูฟงที่ปรากฏใช

2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูฟงที่ปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ พบวามีคําแทนตัวผูพูด 5 กลุม

คือ คําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงที่มีอายุมากกวา คําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงที่มีอายุนอยกวา คําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงที่มีอายุ

มากกวาและเทากัน คําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงที่มีอายุเทากันและนอยกวา และคําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงที่มีอายุมากกวา เทากัน

และนอยกวา สวนคําแทนตัวผูฟงมี 4 กลุม คือคําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่มีอายุมากกวา คําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่มีอายุนอยกวา

คําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่มีอายุเทากันและนอยกวา และคําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่มีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาติ พบวามีคําแทนตัว

ผูพูด 2 กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดที่ใชกบัผูฟงที่เปนญาติ และคําแทนตัวผูพูดที่ใชกับผูฟงทั้งที่เปนญาติและไมใชญาติ สวนคําแทนตัว

ผูฟงมี 3 กลุมคือ คําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่เปนญาติ คําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงที่ไมใชญาต ิและคําแทนตัวผูฟงที่ใชกับผูฟงทั้งที่

เปนญาติและไมใชญาติ ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงที่ไมใชญาติดานความสนิทสนมพบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

สวนใหญใชไดทั้งกับผูฟงที่สนิทและไมสนิท

ลักษณะทางวัฒนธรรม ที่สะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงของชาวไทยสยามพบวาเปนสังคมที่ดํารงวัฒนธรรม

ไทยอยางเขมแข็ง มีความสัมพันธฉันญาติ ใหความเคารพผูมีตําแหนงหนาที่สูง ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา และเปนสังคมที่

กําลังเปลี่ยนแปลง

ภาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ลายมือช่ือนักศึกษา...................................................... ปการศึกษา 2555

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ...............................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

6

52202201: MAJOR:THAI

KEY WORD:SELF-ADDRESS TERMS / AUDIENCE-ADDRESS TERMS / ORANG SIAM

VORAKORN THAMPIBAN-UDOM:THE USE OF SELF-ADDRESS TERMS AND AUDIENCE-

ADDRESS TERMS BY ORANG SIAM IN KAMPUNGTERESEK,REPEK,PASIR MAS, KELANTAN,

MALAYSIA.THESIS ADVISOR: ASST.PROF.SOMCHAI SUMNIENGNGAM,Ph.D. 99 pp.

The objective of this research is to study self-address and audience-address terms of Orang Siamese in

Kampungteresek, Repek, Pasir Mas, Kelantan, Malaysia, in terms of etymology, word class, their use with regard to social factors,

and the culture reflected. Data are collected from interview, and participant observation.

It is found that there are 53 self-address and audience-address terms which are from 4 languages: Thai, Malay, English,

and Chinese, most of which are from Thai. Self-address and audience-address terms can be classified into 2 word classes. The first

word class is noun, which consists of 30 words and may be kinship terms, career terms, position terms, common nouns, and titles,

9 of which are self-address terms and 21 of which are audience-address terms. The second word class is pronoun, which consists

of 23 words, 13 of which are self-address terms and 10 of which are audience-address terms.

With regard to age groups, the use of self-address and audience-address. Self-address terms can be categorized into 3

types: 1)terms which are used by 3 different age groups, 2)terms which are used by 2 different age groups, 3)terms which are used

by 1 age group. Audience-address terms can be categorized into 3 types: 1) audience-address terms which are used by 3 different

age groups, 2) audience-address terms which are used by 2 different age groups, 3) audience-address terms which are used by 1

age group.

In terms of the relationship between speakers and listeners, self-address terms can be divided into 5 groups: 1)terms

for elder listeners, 2)terms for younger listeners, 3)terms for elder listeners and listeners of the same age, 4)terms for younger

listeners and listeners of the same age, 5)terms for listeners of any age, while audience-address terms can be divided into 4 groups:

1)terms for elder listeners, 2)terms for younger listeners, 3)terms for younger listeners and listeners of the same age, 4)terms for

listeners of any age.

With regard to kinship, self-address terms can be divided into 2 groups: 1)terms for listeners who are relatives, 2)terms

for listeners who are either relatives or non-relatives, while audience address terms can be divided into 3 groups: 1)terms for

listeners who are relatives, 2)terms for listeners who are non-relatives, 3)terms for listeners who are either relatives or non

relatives. In terms of intimacy, most self-address terms may be used with close and non-close listeners.

The use of self-address and audience-address terms can reflect that Orang Siamese still keep Thai culture firmly. They

live their lives with great belief in kinship, authority, and Buddhism.

Department of Thai Graduate School, Silpakorn University

Student’s signature …………………………………………… Academic Year 2012

Thesis Advisor’s signature ……………………………………………

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

7

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจากผูชวยศาสตราจารย ดร .สมชาย

สําเนียงงาม อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ท่ีกรุณาเสียสละเวลาใหคําปรึกษา คําแนะนํา ตรวจแก

วิทยานิพนธอยางละเอียดดวยความเอาใจใสและเมตตา อีกท้ังยังคอยใหกําลังใจจนผูวิจัยสามรถ

ทํางานวิจัยสําเร็จลุลวง ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธทุกท านไดแก

รองศาสตราจารยสุวัฒนา เล่ียมประวัติ และรองศาสตราจารย ดร.วิภาวรรณ อยูเย็น ท่ีกรุณาตรวจ

แกไขและใหคําแนะนํา ทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคณาจารยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร ทุกทานท่ีประสิทธ์ิประสาทวิชาความรูแกผูวิจัย รวมทั้งคอยหวงใยและใหกําลังใจแกผูวิจัย

อยูเสมอ

ผูวิจัยขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ท่ีใหทุนอุดหนุนในการทํา

วิจัยในครั้งนี้

ผูวิจัยขอขอบคุณกงสุลใหญ ณ เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เปนอยางมาก

ท่ีใหความชวยเหลือแกผูวิจัย

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ พระครูอุดมธรรมปฏิภาณ เจาอาวาสวัดอุตตมาราม รวมถึง

ขอบคุณผูบอกภาษาและชาวไทยสยามทุกคนในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ท่ีใหความรัก ความอบอุน ความเอ้ือเฟอ และใหความรวมมือแกผูวิจัย

ในการเก็บขอมูลเพ่ือทําวิจัยในครั้งนี ้

สุดทายนี้ ผูวิจัยขอขอบพระคุณครอบครัว คุณพอพิทักษธรรม คุณแมจินดา และคุณพัชรพร

ธรรมภิบาลอุดม ท่ีคอยอบรมส่ังสอน เล้ียงดูผูวิจัยดวยความรกั และคอยอยูเคียงขาง เปนกําลังใจให

ผูวิจัยเสมอมา ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

8

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………………... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ………………………………………………..……………………… จ

กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………… ฉ

สารบัญตาราง………………………………………………………………………………... ฌ

บทท่ี

1 บทนํา.................................................................................................................................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา........................................................................ 1

วัตถุประสงคของงานวิจัย.............................................................................................. 5

สมมติฐานงานวิจัย......................................................................................................... 5

ขอบเขตของงานวิจัย..................................................................................................... 5

นิยามศัพทเฉพาะ........................................................................................................... 6

เวลาท่ีใชในการวิจัย....................................................................................................... 6

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย................................................................................................ 7

วิธีดําเนินการวิจัย........................................................................................................... 8

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ........................................................................................... 9

2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ………………………………….……………………………………………... 10

3 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยาม............................................... 24

ท่ีมาของภาษา................................................................................................................. 25

ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง............................................................. 28

4 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธ

ระหวางผูพูดกับผูฟง.............................................................................................................

40

การใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด............................. 40

การใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง.......................... 46

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

9

สารบัญ

บทท่ี

หนา

5 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงของชาว

ไทยสยาม.............................................................................................................................

59

สังคมท่ีดํารงวัฒนธรรมไทยอยางเขมแข็ง...................................................................... 59

สังคมท่ีมีความสัมพันธฉันญาต…ิ………………………………………………………………............... 62

สังคมท่ีใหความเคารพผูมีตําแหนงหนาท่ีสูง.................................................................. 63

สังคมท่ีใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา.................................................................... 64

สังคมท่ีกําลังเปล่ียนแปลง.............................................................................................. 65

6 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ..................................................................... 67

สรุปผลการวิจัย............................................................................................................. 67

อภิปรายผลการวิจัย....................................................................................................... 72

ขอเสนอแนะในการวิจัย............................................................................................... 75

รายการอางอิง........................................................................................................................... 76

ภาคผนวก................................................................................................................................ 79

ภาคผนวก ก................................................................................................................... 80

ภาคผนวก ข...................................................................................................................

ภาคผนวก ค..................................................................................................................

84

91

ประวัติผูวิจัย............................................................................................................................. 99

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

10

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง................................................................................. 24

2 ท่ีมาของภาษาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง........................................................... 27

3 คํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูด.......................................................................................

4 คํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟง.......................................................................................

29

31

5 คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูด......................................................................

6 คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟง......................................................................

35

38

7 การใชคําแทนตัวผูพูดตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด..........................................

8 การใชคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด……………………...…...

40

43

9 การใชคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ.........................

10 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ.......................

46

48

11 การใชคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาต.ิ.....

12 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาต.ิ........

51

53

13 การใชคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงท่ีไมใชญาติดานความ

สนิทสนม......................................................................................................................

55

14 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดและผูฟงท่ีไมใชญาติดานความ

สนิทสนม......................................................................................................................

56

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

11

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ประเทศมาเลเซีย เปนประเทศท่ีอยูทางตอนลางของประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอกับ

จังหวัดทางตอนใตในประเทศไทย คือ จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปตตานี และนราธิวาส

ประเทศมาเลเซียประกอบดวยกลุมชนหลายเช้ือชาติ มีประชากรท่ีประกอบดวยหลายกลุมชาติพันธุ

อาศัยอยูรวมกัน ไพลดา ชัยศร และคณะ (2552: 1) พบวาจํานวนประชากรของประเทศมาเลเซียในป

ค.ศ.2000 มีจํานวนท้ังส้ิน 23,274,700 คน จําแนกตามเช้ือชาติไดคือ ชาวมลายู คิดเปนรอยละ 53.4

ชาวภูมิบุตรอ่ืนๆ∗ รอยละ 11.7 ชาวจีน คิดเปนรอยละ 26.0 ชาวอินเดีย คิดเปนรอยละ 7.7 และ

เช้ือชาติอ่ืนๆ รวมทั้งชาวไทยสยาม∗ (Orang Siam) คิดเปนรอยละ 1.22 ชาวไทยสยามไดตั้งถ่ินฐาน

ในประเทศมาเลเซียมากอนหนาท่ีประเทศสยามจะยกอํานาจการปกครองดินแดนแหงนี้ใหกับ

ประเทศอังกฤษ

ชาวไทยสยามในประเทศมาเลเซียสืบเช้ือสายมาจากบรรพบุรุษไทยท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีนี้มา

ตั้งแตอดีต พยนต ทิมเจริญ (อางใน คํานวณ นวลสนอง, 2546) กลาววาชาวไทยสยามสวนใหญ

อาศัยอยูในรัฐทางตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย ซ่ึงไดแก รัฐเกดะห (ไทรบุรี) รัฐปะลิส รัฐเประ

รัฐกลันตัน และรัฐตรังกานู ดินแดนเหลานี้ในอดีตเคยอยูภายใตขอบขัณฑสีมาของราชอาณาจักร

ไทยมากอน แตในบางชวงก็เปนรัฐอิสระเม่ือราชอาณาจักรไทยออนแอ แตดวยเหตุผลทางการเมือง

ประเทศไทยจึงตองเสียดินแดนรัฐเประใหแกอังกฤษในป พ.ศ.2369 และเสียดินแดนรัฐเกดะห

(ไทรบุรี) รัฐปะลิส รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู ใหแกอังกฤษอีกในป พ.ศ. 2452 ตอมาเม่ืออังกฤษได

มอบคืนเอกราชใหแกสหพันธมาลายา ในป พ.ศ.2500 ดินแดนเหลานี้จึงเปนดินแดนของสหพันธ

มาลายาหรือประเทศมาเลเซียในปจจุบัน

คํานวณ นวลสนอง (2546) กลาวถึงสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยสยามในรัฐตอน

เหนือของมาเลเซีย วา ชาวไทยสยามในประเทศมาเลเซียมีอยูหลายกลุมและกระจายกันอยูท่ัวไป

ชาวภูมิบุตรอ่ืน ๆหมายถึง ชาวพ้ืนเมืองในซาบาหและซาราวักของประเทศมาเลเซีย

∗ ชาวไทยสยาม (Orang Siam) หมายถึง ชาวมาเลเซีย เช้ือสายไทย

1

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

2

ในรัฐทางตอนเหนือของประเทศ บางกลุมอาศัยอยูในพ้ืนท่ีท่ีหางไกลกันหลายรอยกิโลเมตร และ

ไมเคยไปมาหาสูกัน จึงมีการพัฒนาทางประวัติศาสตรท่ีแตกตางกัน อยางไรก็ตามชาวไทยสยามใน

ประเทศมาเลเซียมีลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณของตนเอง กลาวคือ มีวิถีชีวิตท่ี

สอดคลองกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีสังคมแบบเครือญาติ เคารพผูอาวุโส มีวัดเปนศูนยกลาง

กิจกรรมตางๆ ของชุมชน เรียนหนังสือไทยท้ังท่ีบานและท่ีวัด รวมทั้งบวชเรียนในพุทธศาสนา

รัฐกลันตันเปนรัฐท่ีมีชาวไทยสยามอาศัยอยู 6 อําเภอคือ อําเภอตาเนอะหแมเราะห

อําเภอปาเซร มัส อําเภอตุมปต อําเภอโกตาบารู อําเภอบาเจาะ และอําเภอปาเซรปู เตะห

วีระ สุวรรณ และ แฮลาย ปรามวล (2553: 1-10) สันนิฐานวา ชาวไทยสยามท่ีอาศัยอยูในรัฐกลันตัน

เปนชนชาติท่ีตั้งถ่ินฐานอยูในรัฐกลันตันนี้มานานกวา 600 ป ชาวไทยสยามกลุมนี้สวนใหญใช

ภาษาไทยถ่ินกลันตัน หรือภาษาไทยถ่ินใตสําเนียงตากใบ หรือภาษาเจะเห ในชีวิตประจําวัน จึงอาจ

เปนไปไดวาเปนคนไทยกลุมเดียวกันกับคนไทยบางสวนในจังหวัดนราธิวาสและปตตานีซ่ึงใช

ภาษาเจะเหในชีวิตประจําวันเชนกัน

ชาวไทยสยามในรัฐกลันตันแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญๆ คือ กลุมท่ีอยูติดชายแดน

ประเทศไทย กลุมท่ีอยูติดทะเลจีนใต และกลุมอ่ืนๆท่ีกระจายอยูภายในรัฐกลันตัน กลุมแรกอยูติด

ชายแดนประเทศไทย คือกลุมท่ีอาศัยอยูในเขต 3 อําเภอ ไดแก อําเภอตาเนอะหแมเราะหซ่ึงมี

ชายแดนติดอําเภอแวง อําเภอปาเซรมัสซ่ึงมีชายแดนติดกับอําเภอสุไหงโก-ลก และอําเภอตุมปตซ่ึง

มีชายแดนติดกับอําเภอตากใบ กลุมคนเหลานี้มีลักษณะของความเปนเครือญาติ จะไปมาหาสูกัน

เวลามีงานบุญตางๆ กลุมท่ีสองอยูติดทะเลจีนใตจะอาศัยอยูใกลแมน้ําท่ีเช่ือมตอกับทะเลจีนใต

ไดแก แมน้ําสุไหงโก-ลก ซ่ึงแบงเขตชายแดนไทย-มาเลเซีย แมน้ํากลันตัน และแมน้ําเสมอรัก

(Semarak) ในอําเภอปาเซปูเตะ กลุมสุดทายคือกลุมอ่ืนๆท่ีกระจายอยูภายในรัฐกลันตันเปนกลุมท่ี

กระจายอยูตามอําเภอตางๆของรัฐกลันตัน สวนใหญกลุมนี้ไดอพยพมาจากกลุมท่ีอาศัยอยูติด

ชายแดนประเทศไทยและกลุมท่ีอยูติดทะเลจีนใต เพ่ือหาท่ีดินสําหรับทํานา ทําไร เม่ือไดท่ี

เหมาะสมจึงตั้งเปนชุมชน เชน กลุมชาวไทยสยามบานอาเหร อําเภอโกตาบารู กลุมชาวไทยสยาม

บานทาซอง อําเภอตาเนอะแมเราะห เปนตน

นิพนธ ทิพยศรีนิมิต (2549: 1) ไดกลาวถึงจํานวนชาวไทยสยามในรัฐกลันตันวา ใน

รัฐกลันตันมีชาวไทยสยาม ประมาณ 25,000 คน คนไทยเหลานี้สวนใหญจะอาศัยอยูทางตอนเหนือ

ของรัฐและทางฝงทะเลจีนใต และจากหนังสือประมวลเกียรติคุณอนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ

พระวิจารณญาณมุนี (มิตร สีลคุโณ) (2548: 102-111) สรุปจํานวนหมูบานชาวไทยสยาม และ

วัดไทยในรัฐกลันตันไดดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

3

1. อําเภอตุมปต มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 9 หมูบาน มีวัดไทย 12 วัด

2. อําเภอตาเนอะหแมเราะห มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 9 หมูบาน มีวัดไทย 1วัด

3. อําเภอบาเจาะ มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 6 หมูบาน มีวัดไทย 2 วัด

4. อําเภอปาเซปูเตะ มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 3 หมูบาน มีวัดไทย 1 วัด

5. อําเภอปาเซรมัส มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 2 หมูบาน มีวัดไทย 3วัด

6. อําเภอโกตาบารู มีหมูบานชาวไทยสยามจํานวน 1 หมูบาน มีวัดไทย 1 วัด

อําเภอท้ัง 6 อําเภอท่ีมีชาวไทยสยามอาศัยอยูนั้น สวนใหญเปนพ้ืนท่ีท่ีมีชาวมาเลเซียเช้ือชาติ

อ่ืนอาศัยอยูรวมกัน ยกเวนท่ีบานบางแซะ ต. รีเปก อ. ปาเซรมัส ท่ีเปนชุมชน ซ่ึงมีชาวไทยสยาม

อาศัยอยูมาก โดยไมมีกลุมชาติพันธุอ่ืนปะปน แฮลาย ปรามวล (สัมภาษณ, 2554) กลาวถึงสภาพ

ท่ัวไปของบานบางแซะวา บานบางแซะตั้งอยูในตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส มีประชากรท่ีเปนชาว

ไทยสยามอาศัยอยูประมาณ 300 คนหรือประมาณ 70 ครัวเรือน อาชีพของประชากรสวนใหญคือ

เกษตรกรรม และคาขาย มีขาราชการบางแตเพียงเล็กนอยเทานั้น ใชภาษาไทยถ่ินกลันตันเปนภาษา

แมในการส่ือสารกับคนในชุมชน คนในชุมชนท่ัวไปเปนผูรูสองภาษา กลาวคือ ภาษาไทยถ่ิน

กลันตัน เปนภาษาแมท่ีใชในการติดตอส่ือสารกับคนในชุมชน ภาษามลายูกลาง เปนภาษาราชการ

ใชส่ือสารกับหนวยงานของรัฐ ภาษามลายูถ่ิน เปนภาษาถ่ินใชส่ือสารกับคนกลุมชาติพันธุอ่ืน

ภาษาจีนและภาษาอังกฤษ เปนภาษาที่ใชศึกษาในชั้นเรียนและอาจใชส่ือสารกับคนกลุมชาติพันธุ

นั้นๆดวย

จากการศึกษาเบ้ืองตนพบวาชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ท่ีมีอายุมากกวา 65 ป สวนใหญพูดไดเพียง 2 ภาษา คือ ภาษาไทย

ถ่ินกลันตัน และภาษามลายูถ่ิน อาจมีบางคนพูดภาษาไทยถ่ินกลางได เนื่องจากการรับขาวสารจาก

การดูโทรทัศนและละครของประเทศไทย สวนชาวไทยสยามท่ีอายุนอยกวา 65 ป สวนใหญพูดได

มากกวา 2 ภาษา กลาวคือ นอกจากภาษาไทยถ่ินกลันตัน แลภาษามลายูถ่ินแลว ยังสามารถใช

ภาษาไทยถ่ินกลาง ภาษามลายูกลาง ภาษาจีน และภาษาอังกฤษไดอีกดวย

กลาวไดวาชุมชนบางแซะ เปนชุมชนพหุภาษา ท่ีมีการใชภาษาไดหลายภาษาและแตกตาง

กันไปตามระดับอายุ การใชภาษาท่ีนาสนใจประการหน่ึงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ คือ

การใชคําแทนตัวผูพูดและการใชคําแทนตัวผูฟง คําแทนตัวผูพูด หมายถึง คําท่ีผูพูดใชแทนตนเอง

เม่ือสนทนากับบุคคลอ่ืน อาจเปนคําบุรุษสรรพนาม เชน กู ฉัน คําเรียกญาติ เชน พอ แม ลุง หรือ

คําเรียกอาชีพ เชน ครู สวนคําแทนตัวผูฟง หมายถึง คําท่ีผูพูดใชแทนผูฟงเม่ือสนทนากัน โดยอาจ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

4

เปนคําบุรุษสรรพนาม เชน มึง เธอ คําเรียกญาติ เชน นา ปา ยาย ลุง หรือคําเรียกตําแหนง เชน

ครู อาจารย

ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงท่ีนาสนใจ กลาวคือใชคําแทน

ตัวผูพูด ภาษาไทย เชน กู เรา ภาษาจีน เชน หวอ อ๊ัว ภาษาอังกฤษ เชน ไอ และภาษามลายู เชน

ซายอ เปนตน สวนคําแทนตัวผูฟงภาษาไทย เชน มึง สู ภาษาจีน เชน หนี่ ภาษาอังกฤษ เชน ยู และ

ภาษามลายู เชน โตะ เปนตน เม่ือพิจารณาตามประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

สามารถจัดประเภทของคําไดหลายประเภท อาทิ คําบุรุษสรรพนาม เชน กู คําเรียกญาติ เชน ลุง ปา

คําเรียกตําแหนง เชน นาย และคําเรียกอาชีพ เชน ครู เปนตน เม่ือพิจารณาตามกลุมอายุพบวาผูพูด

อายุตางกันเลือกใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีตางกันออกไป กลาวคือ ผูพูดชาวไทยสยาม

ท่ีอยูในกลุมอายุ 65-80 ปมักใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนภาษาไทยถ่ินกลันตนั เชน กู

เรา ฉัน ผม กระผม มึง สู และ ไอ ตามดวยช่ือผูฟง เปนตน ผูพูดกลุมอายุ 35-50 ป มักใชคําแทนตัว

ผูพูดและคําแทนตัวผูฟงใชท่ีเปนภาษาไทยเชนเดียวกัน สวนผูพูดกลุมอายุ 5-20 ป มักใชคําแทนตัวผู

พูดและคําแทนตัวผูฟง ท้ังท่ีเปนภาษาไทย และภาษาอ่ืน เชน ภาษาจีนและภาษาอังกฤษ เพราะไดรับ

อิทธิพลจากการเรียนการสอนในโรงเรียนจึงพบคําแทนตัวผูพูดท่ีเปนภาษาจีนวา หวอ แปลวา ฉัน

อ๊ัว แปลวา ฉัน และคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนภาษาจีนวา หนี่ แปลวา เธอ ซ่ึงใชกับบุคคลท่ีตนเองสนิท

และเพ่ือนท่ีอายุรุนราวเดียวกัน และคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนภาษาอังกฤษวา ยู แปลวา เธอ เปนตน

นอกจากนี้ยังสังเกตไดวาความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ ความเปนญาติ และ

ความสนิทสนมเปนปจจัยท่ีทําใหเลือกใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีแตกตางกัน กลาวคือ

เม่ือพูดกับคนท่ีอายุตางกันมักใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแตกตางกัน ตัวอยาง กรณีพูดกับ

คนท่ีอายุมากกวา จะใชคําแทนตัวผูพูดวา “เรา” แทนตัวผูฟง วา “มึง” เปนตน เม่ือพูดกับผูฟงท่ีมีอายุ

เทากันจะใชคําแทนผูพูดวา “กู” และคําแทนตัวผูฟง วา “มึง” เปนตน และเม่ือพูดกับผูฟงท่ีมีอายุ

นอยกวา จะใชคําแทนตัวเองวา “เรา หรือ ลุง ปา นา อา ” แทนผูฟง วา “มึง สู นอง” เปนตน ในดาน

ความเปนญาติพบวา เม่ือสนทนากับญาติมักใชคําแทนตัวผูพูดวา “กู เรา เพ่ือน”เปนตน และใชคํา

แทนตัวผูฟงวา “มึง เอง พ่ี” เปนตน ในกรณีสนทนากับบุคคลท่ีไมใชญาติกันนั้น ความสนิทสนมจะ

เปนปจจัยท่ีทําใหใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแตกตางกัน ตัวอยาง คนท่ีสนิทกันใชคําแทน

ตัวผูพูดวา “กู เรา เพ่ือน” เปนตน ใชคําแทนตัวผูฟงวา “เอง สู นอง มึง ครู นาย ” เปนตน

กรณีสนทนากับบุคคลท่ีไมสนิทกันใชคําแทนตัวผูพูดวา “ ผม เรา เพ่ือน กู นอง พ่ี ครู ” เปนตน

และใชคําแทนตัวผูฟงวา “เอง สู นอง ลุง ปา นาย พอทาน”เปนตน

ผลการศึกษาจากการศึกษาเบ้ืองตนดังกลาว แสดงใหเห็นไดวาการใชคําแทนตัวผูพูดและคํา

แทนตัวผูฟงชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีลักษณะท่ีนาสนใจอยางย่ิงท้ังดานท่ีมาของภาษา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

5

ประเภทและรูปแบบของคํา และการแปรไปตามปจจัยดานอายุของผูพูด และดานความสัมพันธของ

ผูพูดกับผูฟง ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาอยางละเอียดเพ่ือแสดงใหเห็นถึงลักษณะการใชภาษา รวมทั้ง

วัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศ

มาเลเซีย ไดมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงคของการวิจัย

1.เพ่ือศึกษาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

2.เพ่ือศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ตามตัวแปรปจจัยทางสังคมของผูพูด และ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

3.เพื่อศึกษาลักษณะทางวัฒนธรรม ท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

สมมติฐานการวิจัย

1. คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก

อําเภอปาเซร มัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มี ท่ีมาจากหลายภาษา และมี ท้ังท่ี เปนคํ า

บุรุษสรรพนาม คําเรียกญาติ และคําเรียกตําแหนง

2. ปจจัยทางสังคมของผูพูด และความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงเปนตัวแปรทําใหการใช

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแตกตางกัน

3. ลักษณะทางวัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มีลักษณะคลายคลึงกับชาวไทยถ่ินใต

ขอบเขตของการศึกษา

1. ศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหวางเดือนสิงหาคม พ.ศ.2554 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2555

2. ศึกษาตัวแปรทางสังคมของผูพูดดายอายุเทานั้น

3. ศึกษาตัวแปรความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง 3 ดาน คือ ดานอายุ ดานความเปนญาติ

และดานความสนิทสนม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

6

4. ศึกษาตัวแปรความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความสนิทสนม ในกรณีท่ีผูพูดกับ

ผูฟงมีความสัมพันธแบบบุคคลท่ีไมใชญาติเทานั้น

5. ไมศึกษาช่ือจริงและช่ือเลนท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

นิยามศัพทเฉพาะ

ชาวไทยสยาม หมายถึง บุคคลท่ีมีสัญชาติมาเลเซีย เช้ือสายไทย ท่ีอาศัยชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

คําแทนตัวผูพูด หมายถึง คําท่ีผูพูดใชแทนตนเองในการสนทนา

คําแทนตัวผูฟง หมายถึง คําท่ีผูพูดใชแทนผูฟงในการสนทนา

ภาษาไทย หมายถึง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยถ่ินใต และภาษาไทยถ่ินตากใบ

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยใชเครื่องมือในการวิจัย ดังนี ้

1. แบบสัมภาษณโดยแบงออกเปน 2 สวน สวนแรกคือ ขอมูลสวนตัวของผูบอกภาษา และ

สวนท่ีสองคือการใชคําแทนผูพูดและผูฟง ตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงท่ีกําหนดให

2. เครื่องมือการจดบันทึก เชน ปากกา ดินสอ เปนตน

3. เครื่องบันทึกเสียง

4. กลองถายรูป

วิธีดําเนินการวิจัย

1. การรวบรวมขอมูล

1.1 สํารวจเอกสาร หนังสือ งานวิจัยและวิทยานิพนธท่ีเกี่ยวของกับงานวิจัยนี้

ตอไปนี ้

1.1.1 ความรูท่ัวไปของรัฐกลันตัน

1.1.2 ความรูท่ัวไปของชุมชนบางแซะ

1.1.3 ความรูเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

1.1.4 แนวคิดเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม

1.1.5 งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

7

1.1.6 งานวิจัยเกี่ยวกับบุรุษสรรพนาม

1.1.7 งานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกญาติ

1.1.8 งานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกขาน

2. กําหนดพ้ืนที่การศึกษา

ผูวิจัยกําหนดพ้ืนท่ีการศึกษา คือชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เนื่องจากเปนชุมชนชาวไทยสยามท่ีไมมีชาติพันธุอ่ืนปะปน ใช

ภาษาไทยเปนภาษาแมและใชในการสนทนาในชีวิตประจําวัน

3. กลุมประชากรและกลุมตัวอยาง

คุณสมบัติของกลุมประชากรมีดงันี้คือ

3.1 กลุมประชากรท่ีใชในการวิจัยเปนชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก

อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียมีประชากรประมาณ 300 คน

3.2 กลุมตัวอยางในการวิจัย ผูวิจัยใชวิธีการดังนี ้

3.2.1 กําหนดกลุมอายุและคุณสมบัติของกลุมตัวอยางดังนี ้

3.2.1.1 กําหนดกลุมอายุเปน 3 กลุม คือกลุมอายุท่ี 1 ไดแก ผูบอก

ภาษาท่ีมีอายุตั้งแต 65-80 ป กลุมอายุท่ี 2 ไดแกผูบอกภาษาท่ีมีอายุตั้งแต 35-50 ป และกลุมอายุท่ี 3

ไดแกผูบอกภาษาท่ีมีอายุตั้งแต 5-20 ป

3.2.1.2 กําหนดคุณสมบัติของกลุมตัวอยาง 3 ประการ คือ

มีอวัยวะในการออกเสียงเปนปกติ เกิดและอาศัยอยูในชุมชนบางแซะ และมีบรรพบุรุษอาศัยอยูใน

ชุมชนบางแซะมาแลวไมนอยกวา 2 ช่ัวอายุคน

3.2.2 สุมตัวอยางแบบบังเอิญตามกลุมอายุและคุณสมบัติท่ีกําหนดไว

เพ่ือใหไดผูบอกภาษาท้ัง 3 กลุมอายุ กลุมละ 30 คน โดยแบงเปน เพศชาย 15 คน เพศหญิง 15 คน

รวมทั้งส้ิน 90 คน

4. สรางแบบสัมภาษณ

ผูวิจัยใชแบบสัมภาษณเปนเครื่องมือหลักในการวิจัย โดยผูวิจัยสัมภาษณผูบอก

ภาษาดวยตนเอง พรอมท้ังบันทึกเสียงในระหวางการสัมภาษณดวย

แบบสัมภาษณท่ีผูวิจัยใชแบงออกเปน 2 สวน คือ

สวนท่ี 1 เปนรายละเอียดของผูใหสัมภาษณประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี้ คือ

ช่ือ ช่ือสกุล อายุ เพศ ศาสนา การศึกษา อาชีพ และท่ีอยู

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

8

สวนท่ี 2 เปนคําถามเกี่ยวกับการใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงตามตัวแปรท่ีกําหนด

กลาวคือ ตัวแปรปจจัยทางสังคมของผูพูดดานอายุ และตัวแปรความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง ดานอายุ ความเปนญาติ และความสนิทสนม

5. การเก็บขอมูล

ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยการลงพ้ืนท่ีและสัมภาษณผูบอกภาษาโดยใชแบบสัมภาษณ

นอกจากนั้นผูวิจัยยังใชคําถามอ่ืนๆเพ่ิมเติมเพ่ือใหไดขอมูลท่ีละเอียดมากขึ้น และใชการสังเกตอยาง

มีสวนรวมในชุมชนเพ่ือใหไดขอมูลตามตองการ เม่ือไดคําและประโยคตัวอยางท่ีตองการจากการ

เก็บขอมูลทุกสวนแลว หากผูวิจัยไมเขาใจความหมาย จะสอบถามจากผูเช่ียวชาญ 5 คน คือ

5.1 พระปลัดสุข สันติกาโร รองเจาอาวาสวัดอุตตมาราม

5.2 นางดารา พุทธซอน รองประธานสตรีแหงรัฐกลันตัน

5.3 นายฐานิต โฉมอุทัย ประธานศิษยเกาโรงเรียนสอนภาษาไทย

วัดอุตตมาราม

5.4 นายแฮลาย ปรามวล เจาหนาท่ีมูลนิธิพระวิเชียรโมลี ตัวแทนชาวไทย

สยามท่ีสําเร็จการศึกษา ในระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ

5.5 นางสาวดารินทร นิลเจริญ เสมียน กงสุลใหญ ณ เมืองโกตาบารู

ประเทศมาเลเซีย

6. การจัดระเบียบและวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยนําขอมูลจากการเก็บขอมูลมาจัดระเบียบวิเคราะหคําแทนตัวผูพูดและคํา

แทนตัวผูฟงท่ีใชในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยมี

ขั้นตอนดังนี้

6.1 จําแนกขอมูลออกเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

6.2 วิเคราะหท่ีมาของภาษา โดยใชพจนานุกรม 5 เลม ไดแก พจนานุกรมฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546) พจนานุกรมภาษามลายู-ไทย สํานักพิมพอักษรวัฒนา (ม.ป.ป.)

พจนานุกรม 3 ภาษา ไทย-อังกฤษ-จีน สํานักพิมพส่ือรวิชญ (2553) พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย

สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช (2456) และพจนานุกรมภาษาไทยถ่ินใต (ม.ป.ป.)

6.3 วิเคราะหประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

6.4 วิเคราะหการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมของ

ผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

6.5 วิเคราะหวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

9

7. การสรุปและอภิปรายผลการศึกษา

ผูวิจัยสรุปและอภิปรายผลการศึกษา รวมทั้งใหขอเสนอแนะในการทําวิจัยตอไป

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบถึงท่ีมาของภาษาและประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีใชใน

ชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

2. ทําใหทราบถึงการเลือกใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงในชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ท่ีแปรตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

3. ทําใหทราบถึงลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและ

คําแทนตัวผูฟง

4. ขอมูลท่ีไดจากการวิจัยสามารถใชเปนแนวทางในการวางแผนและอนุรักษภาษาไทยของ

ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

10

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

. ในบทนี้ผูวิจัยนําเสนอเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของตอไปนี้ คือ ขอมูลท่ัวไปของรัฐ

กลันตัน ขอมูลท่ัวไปของชุมชนบางแซะ ความรูเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง แนวคิด

เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง งานวิจัยเกี่ยวกับ

บุรุษสรรพนาม งานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกญาติ และงานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกขาน

2.1 ขอมูลทั่วไปของรัฐกลันตัน

รัฐกลันตันตั้งอยูทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายู มีพ้ืนท่ีท้ังหมด

14,931 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือจดอําเภอสุคิริน อําเภอแวง อําเภอสุไหงโก-ลก และอําเภอตากใบ

จังหวัดนราธิวาสของประเทศไทย ทิศใตจดรัฐปาหัง ทิศตะวันออกจดรัฐตรังกานูและทะเลจีนใต

และทิศตะวันตกจดรัฐเประ

แผนที่ของรัฐกลันตัน

www.google.com

10

Page 21: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

11

รัฐกลันตัน เคยเปนเมืองของอาณาจักรไทยมากอนตั้งแตสมัยสุโขทัยเปนราชธานี

เชนเดียวกับ รัฐตรังกานู รัฐไทรบุรี และรัฐปะลิส ตอมาเม่ือไทยเสียดินแดนสวนนี้ไป จึงตกไปอยู

ในปกครองของอังกฤษและไดรับเอกราชในป พ.ศ. 2500

ปจจุบันรัฐกลันตันเปนรัฐของประเทศมาเลเซีย ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย โดยมี

พระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ ประมุของคปจจุบันของรัฐกลันตันคือ สุลตาน

Tuanku Ismail Petra ibni Al-Marhum Sultan Yahya Petra ซ่ึงไดรับการสถาปนาเปนสุลตาน

สืบแทนพระราชบิดาในป ค.ศ. 1975 พระชายาคือ TengkuAnisbintiTengku Abdul Hamid

ซ่ึงมีศักดิ์เปนหลานของพระยาพิพิธภักดี อดีตเจาเมืองปตตานี (ตนตระกูลพิพิธภักดี) เนื่องจาก

Tengku Abdul Hamid บิดาของพระชายาเปนบุตรของพระยาพิพิธภักด ี

รัฐกลันตันมีโกตาบารูเปนเมืองหลวง และแบงเขตการปกครองออกเปน 10 อําเภอ คือ

1. อําเภอบาเจาะ (Bachok)

2. อําเภอกัวมูซัง (GuaMusang)

3. อําเภอโกตาบารู (Kota Bharu)

4. อําเภอกัวลาไกร (Kuala Krai)

5. อําเภอมาจัง (Machang)

6. อําเภอปาเซรมัส (Pasir Mas)

7. อําเภอปาเซปูเตะห (PasirPuteh)

8. อําเภอตาเนอะหแมเราะห (Tanah Merah)

9. อําเภอตุมปต (Tumpat)

10. อําเภอเจล่ี (Jeri)

รัฐกลันตันเปนรัฐใหญท่ีมีประชากรมากเปนอันดับ 4 เม่ือเปรียบเทียบกับรัฐตางๆ เฉพาะ

บนคาบสมุทรมาเลเซีย (ไมรวมรัฐซาบาหและซาราวัค ) มีประชากรประมาณ 1.5 ลานคน

สังคมรัฐกลันตันเปนสังคมหลายเช้ือชาติหลากวัฒนธรรม สามารถแบงประชากรออกเปน 3 กลุม

ใหญ คือ (1) กลุมเช้ือชาติมาเลย (ภูมิบุตร) อาศัยอยูในชนบท ฐานะคอนขางยากจน นิยมการรับ

ราชการ เครงศาสนาและประเพณีดั้งเดิม (2) กลุมเช้ือชาติจีน เปนกลุมชาตินิยม รวมตัวกันอยาง

เหนียวแนนในเมืองหลวงของรัฐ มักประกอบอาชีพคาขาย เปนผูนําทางเศรษฐกิจของมาเลเซียและมี

อํานาจตอรองทางการคาสูง และ (3) กลุมเช้ือชาติไทย อาศัยอยูบริ เวณท่ีราบท่ัวไปบนฝง

แมน้ํากลันตัน และบริเวณใกลชายแดนดานจังหวัดนราธิวาส อาชีพทํานา ทําสวน และรับจาง ฐานะ

ความเปนอยูคอนขางยากจนกวาชนเช้ือชาติอ่ืน มีความเคารพเล่ือมใสในพุทธศาสนาอยางแรงกลา

Page 22: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

12

ยึดม่ันในภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม อยางจริงจังและยังคงรักษาเอกลักษณ

ของความเปนไทยไวอยางเหนียวแนน

แมรัฐกลันตันจะเปนรัฐท่ีมีประชากรหลายชาติพันธุ แตกเ็ปนรัฐอนุรักษนิยมท่ีเครงครัดใน

ศาสนาอิสลามมากท่ีสุดในบรรดารัฐตางๆ ของมาเลเซีย รัฐบาลของรัฐกลันตันไดประกาศให

โกตาบารูซ่ึงเปนเมืองหลวงของรัฐเปนรัฐอิสลาม (Islamic State) นโยบายรัฐทองถ่ินจึงมุงเนนท่ีจะ

ช้ีนําใหวิถีชีวิตของประชากรดําเนินไปตามวิถีอิสลามอยางเครงครัด และใหความสําคัญและสิทธิ

ประโยชนแกชาวมาเลยมุสลิมซ่ึงเปนประชากรสวนใหญมากกวาเช้ือชาติอ่ืน ซ่ึงสงผลกระทบอยาง

กวางขวางตอวิถีชีวิตและการประกอบการธุรกิจของชาวมาเลเซียเช้ือชาตอ่ืินในรัฐกลันตัน

นโยบายการบริหารของคณะมนตรีบริหารรัฐชุดปจจุบัน นโยบายหลักของรัฐบาลรัฐใน

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของรัฐกลันตัน คือ

1. เปล่ียนสภาพรัฐกลันตันจากเมืองเกษตรกรรมเปนเมืองกึ่ง อุตสาหกรรม และยกระดับ

ภาคการผลิตเพ่ือใหสามารถผลิตสินคาเกษตรไดหลากหลายย่ิงขึ้นและ เปนเชิงธุรกิจ

2. กระชับความสัมพันธกับประเทศเพ่ือนบาน เพ่ือเสถียรภาพและความสงบสุขในภูมิภาค

นี้ พรอมกับกระชับความสัมพันธทางการคาโดยเชิญชวนนักลงทุนจากประเทศเพื่อนบาน มาลงทุน

ในรัฐกลันตัน โดยเฉพาะจังหวัดภาคใตของไทย โดยมีแนวคิดในการขยายความรวมมือระหวาง

รัฐกลันตันกับจังหวัดนราธิวาสในดาน ตางๆ ดังนี้

3. ความรวมมือทางการเกษตร โดยเสนอใหมีการแลกเปล่ียนการฝกอบรมเยาวชนทองถ่ิน

ทางการเกษตรและการดูงาน ของเจาหนาท่ีการเกษตรเพ่ือมุงใหมีการถายทอดเทคโนโลย ี

4. ความรวมมือทางการทองเท่ียว ขอใหผูประกอบการทองเท่ียว ของท้ัง 2 ฝาย ผนวกกัน

คือกลันตันและนราธิวาสเอาไวในโปรแกรมทองเท่ียวเสนอขายแกนักทองเท่ียวท่ัวไปดวย

5. ความรวมมือทางวัฒนธรรม รวมกันจัดเทศกาลทางดานวัฒนธรรม หรือกิจกรรมอ่ืนใดท่ี

มุงใหประชาชนของท้ัง 2 ฝายเขามีสวนรวมดวยกัน

6. ความรวมมือทางดานการขนสง เปดบริการรถยนตโดยสารผานแดนระหวาง

เมืองโกตาบารูไป/กลับ อําเภอสุไหงโก-ลก นราธิวาส

7. มุงเปล่ียนรัฐกลันตันใหเปนรัฐอิสลาม (Islamic State) ดวยการออกกฎ ระเบียบ

ขอบังคับตางๆ โดยยึดหลักกฎหมายอาญาอิสลาม (Hudud) มาใชแทนกฎหมายอาญาท่ัวไปใน

รัฐกลันตัน อาทิ หามมิใหมีการเลนการพนันและขายลอตเตอรี่ทุกประเภทภายในรัฐ หามมิใหมีการ

แสดงมหรสพท่ีมิใชของมุสลิม ไมตอใบอนุญาตกิจการดานบันเทิงและไนตคลับตางๆ หามมิใหมี

รานแตงผมท่ีมีชางสตรีใหบรกิารแกลูกคาท่ีเปนสุภาพบุรุษ กวดขันการขายเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล

โดยมิใหเครื่องดื่มชนิดนี้ในรานท่ีบริการชาวมุสลิม และหามมิใหมีการติดปายโฆษณาทุกชนิดท่ีมี

Page 23: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

13

รูปสตรีซ่ึงมิไดอยูในเครื่องแตงกายแบบอิสลาม(ชุดฮิญาบพรอมผาคลุมผม) และรณรงคการศึกษา

วิชาการศาสนาอิสลาม ดวยเห็นวาการศึกษาแบบปอเนาะเริ่มลดนอยลง และถูกทดแทนดวย

การศึกษาระบบโรงเรียนอันสงผลทําใหรัฐขาดผูรูหรือนักการศาสนาที่ เช่ียวชาญดานนิติศาสตร

อิสลาม เปนตน

อยางไรก็ตาม ธํารงศักดิ์ อายุวัฒนะ (2517 :201) กลาววาคนไทยในรัฐ 7 รัฐ ของมาเลเซีย

คือ รัฐไทรบุรี รัฐปะลิส รัฐเประ รัฐปนัง รัฐตรังกานู รัฐสลังงอร รวมทั้งรัฐกลันตัน ยังคงมีวิถีชีวิต

และวัฒนธรรมคลายคลึงกับคนไทยในประเทศไทย ท้ังในเรื่องความศรัทธาท่ีมีตอพระพุทธศาสนา

การมีขนบธรรมเนียมประเพณีแบบไทย และการใชภาษาไทย ปญญ ยวนแหลและคณะ (2517: 3-9)

กลาวถึงการใชภาษาไทยของคนไทยในรัฐกลันตันวา ภาษาไทยกลันตันเปนภาษาที่มีสําเนียงพูด

คลายภาษาไทยในอําเภอตากใบจังหวัดนราธิวาส คือมีหางเสียงทอดยาว พล้ิวไหว ผิดกับภาษไทย

ถ่ินใตท่ีมักพูดหวนๆและออกเสียงส้ัน

2.2 ขอมูลทั่วไปของชุมชนบางแซะ

ชุมชนบางแซะ ตั้งอยูในตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

เปนชุมชนท่ีมีคนไทยอาศัยอยูมาตั้งแตเดิม ปจจุบันมีประชากรในชุมชนกวา 300 คน หรือประมาณ

70 กวาหลังคาเรือน แฮลาย ปรามวล (สัมภาษณ, 2554) กลาววา คนในชุมชนสวนใหญประกอบ

อาชีพเกษตรกรรม คาขาย และรับราชการ คนไทยในชุมชนบางแซะรูจักกันเปนอยางดี ไปมาหาสู

ผูกพัน และชวยเหลือพ่ึงพาอาศัยกันฉันญาติ ยังคงแบงปนอาหาร ผัก ผลไมกันโดยไมตอง หาซ้ือ

สถานท่ีซ่ึงเปนท่ียึดเหนี่ยวของคนไทยในชุมชนบางแซะคือ “วัด” ซ่ึงถือวาเปนจุดศูนยรวม

จิตใจของคนในชุมชน เปนส่ิงท่ีทุกคนใหความเคารพนับถือ ไมวาจะมีกิจกรรมใดก็จะใชวัดเปน

ศูนยกลางในการทํากิจกรรม และมีพระสงฆเปนผูรวมใหคําปรึกษาเสมอ วัดท่ีมีความสําคัญมากของ

ชุมชนบางแซะ คือ “วัดอุตตมาราม” หรือท่ีชาวบานเรียกวา วัดบางแซะ ซ่ึงยังคงเปนสถานท่ีสืบสาน

ประเพณีวัฒนธรรมไทยไวอยางดี โดยการถายทอดใหลูกหลานคนไทยไดรับรูและปฏิบัติไดอยาง

งดงาม นอกจากนี้พระปดตาของวัดซ่ึงมีพระพุทธคุณดานเมตตามหานิยมและอยูยงคงกระพันยังทํา

ใหผูท่ีนิยมพระเครื่องท้ังคนไทยและคนมาเลเซียมาท่ีวัดนี้เปนจํานวนไมนอยอีกดวย

วัดอุตตมารามแตเดิมอยูในหมูบานบูเกะยง ตําบลอาบัน อําเภอปาเซรมัส เมืองโกตาบารู

รัฐกลันตัน ตอมาวัดไดยายมาประกอบกิจทางศาสนาท่ีหมูบานบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

เปนสถานท่ีประกอบศาสนกิจของชาวไทยท่ีนับถือศาสนาพุทธในละแวกนั้นประมาณ 70 กวา

ครัวเรือน จึงเรียกวัดนี้วา “วัดบางแซะ” ตามช่ือหมูบาน วัดไทยแหงนี้มีเนื้อท่ีประมาณ 20 กวาไร

สถาปตยกรรมไมวาจะเปนอุโบสถ ศาลาการเปรียญ วิหาร หอระฆัง หรือส่ิงกอสรางตางๆภายในวัด

Page 24: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

14

เปนแบบไทยท่ีมีอิทธิพลของศิลปะชวาผสมอยูดวย กลาวคือจะเนนสีสัน อุโบสถมีบันไดทางขึ้น 4

ทาง ดานหนามีรูปปนพญานาคท้ัง 4 ทาง ดานหลังมีรูปชางสามเศียรและรูปปนพญาครุฑ และรอบๆ

อุโบสถ จะมีรูปปนสัตวตางๆ ไมวาจะเปนสัตวดึกดําบรรพ เชน ตัวกิเลน หรือแมแต เสือโครง กวาง

และเสาปูนปนตัวมังกรลักษณะรัดเสาทุกตน ดานหลังอุโบสถยังมีการกอสรางพระพรหมส่ีหนา

ภายในอุโบสถซ่ึงมีความกวางไมมากนักมีเสาปูนใหญท้ังหมด 12 ตน แตละเสาเขียนลวดลายไทย

บนเพดานอุโบสถสรางดวยไมมีภาพเขียนพุทธประวัติขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ซ่ึง

แปลกแตกตางไปจากเมืองไทยท่ีนิยมเขียนท่ีฝาผนังอุโบสถ อุโบสถวัดอุตตมารามใชงบประมาณใน

การสราง 10 ลานบาท

ความงดงามของสถาปตยกรรมและประติมากรรมแบบไทยของวัดอุตตมารามนี้ เปนปจจัย

หนึ่งท่ีทําใหคนไทยในชุมชนบางแซะยังคงสืบสานความเปนไทยไวไดอยางตอเนื่อง และใหเปน

ศูนยกลางของกิจกรรมตาง ๆ กิจกรรมท่ีชวยสืบสานความเปนไทยของวัดนี้ไดแก การทําบุญในวัน

สําคัญทางพระพุทธศาสนาประเพณีในวันเทศกาลสําคัญของไทย การสอนภาษาไทย และการต้ังวง

ดนตรีไทย เปนตน การทําบุญในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา

วันเขาพรรษา เปนตน วันสําคัญตางๆเหลานี้ คนในชุมชนจะรวมทําบุญ ตักบาตร ทุกคนในชุมชน

ใหความสําคัญไมวาจะเปนเด็ก หรือผูใหญตางมารวมกิจกรรมในวันสําคัญนั้นเสมอมา วันพระยัง

เปนอีกวันหนึ่งท่ีทุกคนในชุมชนใหความสนใจ เพราะในทุกวันพระจะมีการรับศีล 8 โดยสวนมาก

จะเปนการับศีลของผูสูงอายุในชุมชนเหมือนกับวัดอ่ืนๆในประเทศไทย และท่ีเดนและแปลกตา

มากกวานั้นคือ มีการรับศีลของเด็กในชุมชนเม่ือวันพระนั้นตรงกับการหยุดเรียน ผูใหญปลูกฝงให

เด็กในชุมชนมีสติผานการรับศีล 8 นอกเหนือจากการรักษาศีลสรางสติแลวยังเปนการฝกการอาน

การจดจําใหกับเด็กในชุมชน ดวยการอานบทสวดมนตเปนภาษาไทย ซ่ึงเด็กๆในชุมชนทําไดอยาง

นาช่ืนชม

ในดานประเพณี เทศกาลวันสําคัญของไทย คนในชุมชนบางแซะมีการจัดกิจกรรมตาม

เทศกาล ไดแก เทศกาลสงกรานต เทศกาลทําบุญเดือนสิบ เทศกาลงานทอดกฐิน งานเหลานี้เปนการ

รวมแรงรวมใจกันของคนในชุมชน โดยจะมีเจาอาวาสวัดอุตตมาราม เปนท่ีปรึกษาในการจัด

กิจกรรมตางๆ ในแตละงานจะมีการละเลนการแตงการแบบไทย มีกิจกรรมสรางความบันเทิงจาก

การรายรําและแสดงกิจกรรมตางๆของเด็กในชุมชน งานเทศกาลท่ีโดดเดนคือ เทศการสงกรานต

เพราะมีการเลนน้ําในวันสงกรานต ทางวัดอุตตมารามจะมีจัดงานสงกรานตทุกป โดยจะมีผูมารวม

งานจากท่ัวสารทิศ ท้ังชาวไทย จีน และอินเดีย ท่ีมาจากรัฐตางๆท่ัวประเทศมาเลเซีย มาจากประเทศ

สิงคโปร และจากประเทศไทยดวยเชนเดียวกัน เม่ือมีการจัดงานเด็กๆในชุมชนจะมีกิจกรรม

ความบันเทิงมอบใหแกผูมาเท่ียวชม เชน การรายรําส่ีภาคของไทย เปนการรายรําของเด็กๆในชุมชน

Page 25: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

15

อีกท้ังการรายรํานี้จะมีทุกๆวันงานประเพณีตางๆท่ีสําคัญ เชน งานทอดกฐินประจําปของวัด การ

ถายทอดเอกลักษณะเหลานี้เพ่ือเปนการสืบสานใหลูกหลานไมลืมชาติกําเนิดของตนเอง

นอกเหนือจากการจัดงานในวันสําคัญและตามประเพณีตางๆแลว ในชุมชนบางแซะยังมี

การเรียนการสอนภาษาไทยใหแกลูกหลานในชุมชนอีกดวย การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยถือ

เปนความเขมแข็งทางภาษาของชาวไทยสยามอยางหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ในรัฐกลันตันมีการ

จัดการเรียนการสอนภาษาไทยท่ัวทุกวัดไทยในรัฐ ชุมชนบางแซะมีโรงเรียนสอนภาษาไทย ช่ือวา

โรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม เปนโรงเรียนท่ีมีนักเรียนท้ังหมดเปนเด็กในชุมชน ปจจุบันมี

การจัดการเรียนการสอน 3 ระดับ แตละระดับจะแยกออกเปน 2 ระดับยอย การเรียนการสอนสวน

ใหญจะเนนการใชภาษาไทยและปลูกฝงวัฒนธรรมไทย การเรียนรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย

อีกกิจกรรมหนึ่งมีมาพรอมกับโรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมารามคือ วงดนตรีไทยอารามบอยท่ีมี

มายาวนานกวา 15 ป วงอารามบอยในยุคสมัยแรกมีการเลนโดยใชเครื่องดนตรีไทย ปจจุบันมีการใช

เครื่องดนตรีแบบสากลเต็มวง มีการจัดแสดงทุกงานสําคัญตางๆของวัด และจัดแสดงทุกสถานท่ี

ตามการเชิญ จุดประสงคหลักของการตั้งวงอารามบอย คือไมตองการใหเด็กรุนหลังลืมความเปน

ไทย และเห็นวานอกจากการเรียนภาษาไทยแลว ดนตรีไทยก็เปนสวนหนึ่งท่ีทําใหเกิดความรักใน

ภาษาและวัฒนธรรมไทยไดเชนกัน

ชุมชนบางแซะมีวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมา และวัฒนธรรมเหลานี้ยังคงดําเนินตอไปอยาง

แนนเหนียวเพราะทุกคนในชุมชนยังใหความสําคัญ ตระหนักในความเปนไทย และยังคงสืบสาน

จากรุนสูรุน วัฒนธรรมท่ีถายทอดท้ังหมดนี้เปนเคร่ืองยืนยันวาคนในชุมชนบางแซะใหความสําคัญ

กับวัด ภาษาไทย และวัฒนธรรมไทย รวมทั้งใหความรวมมือและสนับสนุนการรักษาความเปนไทย

เพ่ือใหอยูรอดและม่ันคงสืบไป แมจะอยูทามกลางวัฒนธรรมอ่ืนๆหลายวัฒนธรรม แตทุกคนใน

ชุมชนยังคงเนนและพัฒนาความเปนไทยตอไป โดยความรวมมือของคนในชุมชน ทําใหชุมชน

บางแซะเปนชุมชนท่ีนาสนใจอยางย่ิง

2.3 ความรูเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ในงานวิจัยนี้ หมายถึง คําท่ีผูพูดใชแทนตนเองและผูฟง

ในการสนทนา คําดังกลาวนี้มีความหมายรวมไปถึงคํานามท่ีเปนคําเรียกญาติ คําเรียกอาชีพ คําเรียก

ตําแหนง และคําบุรุษสรรพนามดวย ผูวิจัยจึงรวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวของกับคําเหลานั้นไวเพ่ือเปน

ความรูเบ้ืองตน ดังนี้

อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ (2533) กลาวเกี่ยวกับคําเรียกญาติในภาษาไทยมาตรฐาน วามี พอ

แม ปู ยา ตา ยาย ทวดหรือชวด พ่ี นอง ลุง ปา นา อา หลาน เหลน และโหลน ซ่ึงคําเรียกญาติแตละ

Page 26: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

16

คําตางกันดวยมิติแหงความแตกตาง 5 ประการคือ รุนอายุ เชน ปูกับพอ พอกับลูก เปนตน สายเลือด

เชน พอกับอา แมกับนา เปนตน เพศ ไดแก เพศหญิง หรือเพศชาย เชน ลุงกับปา เปนตน อายุ

โดยพิจารณาวาใครมีอายุมากวาหรือออนกวา และฝายพอหรือฝายแม เชน อากับนา เปนตน การใช

คําสรรพนามในหมูญาตินั้นพบท่ีใชมากคือ คําเรียกญาติท่ีอยูในกลุมอายุสูงกวา หรือมีอายุมากกวา

เชน พอ แม จะใชมากกวา ลูก เปนตน สวนการใชในหมูคนท่ีไมใชญาติไดแก ตา ยาย ลุง ปา นา พ่ี

และ นอง นอกจากนี้ยังมีการใชคําเรียกญาติเปนอุปลักษณดวย ไดแก พอ แม พ่ี และ นอง โดยคําวา

แม จะใชมากท่ีสุด เชน แมพิมพ แมทัพ แมเหล็ก เปนตน การใชคําเรียกญาติเหลานี้ แสดงใหเห็น

ลักษณะสําคัญในวัฒนธรรมไทย คือสะทอนใหเห็นลักษณะสําคัญของระบบอาวุโสในการท่ีใชคํา

เรียกญาติท่ีเปนคําอาวุโสมากกวา และมีการแสดงใหเห็นลักษณะการเนนฝายแม ในการใช

อุปลักษณ และการใชคําเรียกญาติฝายแมมากกวา

คําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง งานเกี่ยวกับคําเรียกขานของ ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย และ

อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ (2531) กลาวเกี่ยวกับคําเรียกขานท่ีสัมพันธกับคําเรียกอาชีพและคําเรียก

ตําแหนงวา คําเรียกขาน (Address Terms) หมายถึง คําท่ีผูพูดใชเรียกผูฟง เชน ช่ือ คําสรรพนาม

ตลอดจนคําแสดงสถานภาพและความสนิทสนมของผูพูดกับผูฟง คําเรียกขานมิไดมีเพียงแตคํา

สรรพนามเทานั้น แตยังมีคําประเภทอ่ืนท่ีสามารถนํามาใชเปนคําเรียกขานไดอีก เชน ช่ือ คําเรียก

ญาติคําเรียกอาชีพ ตําแหนง ยศ เปนตน

สวนคําบุรุษสรรพนามนั้น พระยาอุปกิตศิลปสาร (2539: 78-79) กลาววา คําบุรุษสรรพนาม

หมายถึง คําสรรพนามท่ีใชแทนคําช่ือในการพูดจากัน ซ่ึงแบงยอย ๆ เปน 3 ชนิด คือ สรรพนามบุรุษ

ท่ี 1 ใชแทนตัวผูพูด เชน ขา กู ฉัน ผม สรรพนามบุรุษท่ี 2 ใชแทนตัวผูฟง เชน เจา เอ็ง มึง สู และ

สรรพนามบุรุษท่ี 3 ใชแทนช่ือคน สัตว ส่ิงของท่ีพูดถึง เชน เขา มัน ทาน ในภาษาไทยพบวาคําท่ี

เกี่ยวกับเครือญาติหรือคําเรียกญาตสิามารถนํามาใชเปนคําบุรุษสรรพนามได เชน คําวา พ่ี ปา นา อา

เปนตน

วิจินตน ภาณุพงศ (2532) กลาวถึงคําสรรพนามไวสรุปไดวา คําสรรพนามในภาษไทยแบง

ออกไดเปน 3 บุรุษ คือ บุรุษท่ี 1 หมายถึงผูพูดเอง บุรุษท่ี 2 หมายถึงผูท่ีพูดดวย และบุรุษท่ี 3

หมายถึง ผูท่ีเราพูดถึง การเลือกใชคําสรรพนามในภาษาไทยอยางนอยตองนึกถึง 3 เรื่องดังตอไปนี้

คือ ความสนิทสนม ฐานะทางสังคม และความอาวุโสของคูสนทนาหรือผูท่ีเราพูดถึง เรื่องความ

สนิทสนม อาจแยกเปนสนิทสนมมากหรือนอย พูดอยางเปนกันเองหรือเปนทางการ เชน ระหวาง

เพ่ือนสนิทอาจใชแทนผูพูดวา ฉัน เรา แทนผูท่ีพูดดวยวา เธอ ตัว แตจะใชคําเหลานี้พูดกับผูท่ีเราไม

สนิทอาจจะไมได เรื่องฐานะทางสังคม อาจแยกเปนฐานะอยางเดี่ยวกัน สูงกวาหรือต่ํากวา เชน

นายจางมักจะไมพูดวา ดิฉัน เม่ือพูดกับคนรับใช และจะไมแทนคนรับใชวา คุณ เปนตน เรื่องความ

Page 27: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

17

มีอาวุโสอาจแยกเปน เทากัน มากกวา นอยกวา เปนตน เม่ือพูดกับผูใหญ ท่ีมีอาวุโส เราอาจจะไมใช

ตัว นาย เปนบุรุษท่ี 2 และอาจจะไมใช ขา เรา เปน บุรุษท่ี 1 เปนตน

นววรรณ พันธุเมธา (2551 :22-24) กลาวถึง คําบอกบุรุษ ซ่ึงมีความหมายเหมือนกับ

คําบุรุษสรรพนามไว สรุปไดวา คําบอกบุรุษ เปนคําแทนประเภทหนึ่งท่ีผูพูดใชแทนคํานามในการ

สนทนา อาจหมายถึงผูพูด ผูฟง และผูท่ีถูกกลาวถึงหรือส่ิงท่ีถูกกลาวถึง ท้ังนี้ผูพูดอาจใชคํานามให

หมายถึงบุคคลหรือส่ิงของท่ีเกี่ยวของ เชน ลูกพูดกับแมวา “ลูกไมรูจักเขาหรอกคะ คุณแม” เพ่ือน

ถามเพื่อนวา “หมูจะไปไหน” และ กลาวถึงผูท่ีถูกกลาวถึงวา “นอยคงจะยังไมรูเรื่องนี้” คําวา ลูก

หมู และนอย ตางเปนคํานาม ลูก ใชหมายถึงผูพูด หมู ใชหมายถึงผูฟง สวน นอย หมายถึงผูท่ีถูก

กลาวถึง คํานามท่ีหมายถึงผูพูดและผูฟงมักเปนคํานามตอไปนี้ คือ ประการแรกช่ือผูพูดหรือผูฟง

เชน แตว วิรัช ประการท่ีสองคําท่ีแสดงความสัมพันธระหวางผูพูดและผูฟงในดานตางๆ เชน

เครือญาติ พอ-ลูก พ่ี-นอง ปา-หลาน ความสัมพันธดานอ่ืน เชน อาจารย ครู –ศิษย และประการ

สุดทายตําแหนงของผูฟงและอาชีพของผูพูดหรือผูฟง ไดแก ตําแหนง เชน ทานอธิบดี หัวหนา

อาชีพ เชน หมอ แมคา ครู เปนตน

คํานามท่ีเปนคําเรียกญาติ คําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง และคําบุรุษสรรพนามดังท่ีกลาว

ขางตนเปนคําท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงในสังคมไทยดวย

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม

ภาษาเปนส่ิงท่ีแอบแฝงไปดวยมโนทัศน ดังนั้นการวิเคราะหความหมายของคําและ

โครงสรางของภาษาของชนกลุมใดกลุมหนึ่งสามารถสะทอนความนึกคิดและการมองโลกของชน

กลุมนั้นได นักมานุษยวิทยาช่ือ ชารล โอ เฟรค (Frake, 1980) (อางในสุชาดา เจียพงษ, 2553: 38)

เปนหนึ่งในผูเริ่มศึกษาวัฒนธรรมผานภาษา เฟรคสนใจศึกษาระบบความคิด และวัฒนธรรมของ

ชนกลุมท่ีจะศึกษาผานทางการศึกษาภาษาของชนกลุมนั้น โดยกลาวถึงการศึกษาภาษาหรือคําท่ีใช

อยูในแตละวัฒนธรรมลวนเปนตัวแทนของมโนทัศนของชนกลุมนั้น เนื่องจากส่ิงใดท่ีอยูใน

มโนทัศนและมีความสําคัญตอชนกลุมนั้นก็จะมีคําเรียกและในทางตรงกันขามส่ิงใดท่ีไมมีอยูใน

มโนทัศนก็จะไมมีคําเรียกดวย คําท่ีมีใชอยูในแตละวัฒนธรรมจึงสามารถทําใหเราเขาใจวิธีการมอง

โลกของชนกลุมท่ีใชภาษาได การศึกษาเพ่ือท่ีจะทําความเขาใจและเขาถึงความคิด โลกทัศนของคน

ในวัฒนธรรมใดนั้น เราจําเปนตองใหความหมายส่ิงของใหมีความสอดคลองกับระบบความคิดของ

กลุมชนผูใชภาษาในวัฒนธรรมท่ีเราศึกษาดวย ไมควรยึดบรรทัดฐานในภาษาของเราเปนตัวกําหนด

ท้ังนี้เนื่องจากคนแตละวัฒนธรรมมีการมองส่ิงตางๆแตกตางกันออกไปจากคนในวัฒนธรรมอ่ืน

Page 28: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

18

การศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ตามแนวคิดดังกลาวนี้จะชวยทําใหเขาใจลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยสยามใน

ชุมชนดังกลาวได

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและผูฟง

งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงในภาษาไทยยังมีไมมากนัก สมชาย

สําเนียงงาม (255: 12-23) เขียนบทความวิจัยเรื่อง คําแทนตัวผูพูดในบทพูดเดี่ยวของผูพูดตางเพศ

สรุปไดวา คําแทนตัวผูพูด เปนคําท่ีผูพูดใชแทนตัวเองในการส่ือสารแตละครั้ง โดยอาจปรากฏใน

รูปคําสรรพนามซ่ึงเปนคําท่ีมีความหมายเฉพาะในการบอกบุรุษ เพศ และพจน เชน ผม เปนคํา

สรรพนามบอกบุรุษท่ีหนึ่ง เพศชาย เอกพจน และ ดิฉัน บอกบุรุษท่ีหนึ่ง เพศหญิง เอกพจน เปนตน

หรืออาจเลือกใชคํานามอ่ืนๆ ไดแก คําเรียกญาติ เชน พ่ี ปา คํานามบอกอาชีพ เชน หมอ หรือ ช่ือเลน

เชน ตุก ติ๊ก มาใชเปนคําแทนตัวผูพูดไดเชนกัน ท้ังนี้ การเลือกใชคําแทนตัวผูพูดนั้นขึ้นอยูกับ

ตัวแปรหลายประการ อาทิ เพศของผูพูด ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง และความเปนทางการ

เปนตน

ผลการศึกษาพบวาการเลือกใชคําแทนตัวผูพูด แบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก ประเภทแรก

การใชคําบุรุษสรรพนาม คือ การใชคําแสดงลักษณะทางไวยากรณ ดานบุรุษและพจน แทนตัวผูพูด

คําบุรุษสรรพนามเปนคําท่ีบอกบุรุษได 3 บุรุษ คือ สรรพนามบุรุษท่ี 1 เปนคําแทนตัวผูพูด

สรรพนามบุรุษท่ี 2 ใชแทนตัวผูฟง และสรรพนามบุรุษท่ี 3 ใชแทนตัวผูท่ีถูกกลาวถึง สวนพจนนั้น

คําบุรุษสรรพนามในภาษาไทยปจจุบันบงพจนได 2 พจน คือ เอกพจน และพหูพจน คําสรรพนามท่ี

ใชเปนคําแทนตัวผูพูดท่ีพบในการศึกษาทุกคําเปนคําสรรพนามบุรุษท่ี 1 เอกพจน ซ่ึงพบท้ังส้ิน 5 คํา

คือ เรา ผม ฉัน กู และเคา ประเภทตอมาคือการใชคํานาม คือการใชคําท่ีหมายถึงบุคคลหรือส่ิงอ่ืน

ท้ังท่ีเปนคํานามท่ัวไปและคํานามท่ีตั้งขึ้นเฉพาะ แทนตัวผูพูด พบ 3 ประเภท คือ คํานามท่ีเปนคํา

เรียกญาติ ไดแก ปา แม พ่ี และเฮีย คําวาตัวเอง และคํานามท่ีเปนช่ือเลน และประการสุดทายการ

ละคําแทนตัวผูพูด พบวาเปนวิธีการหนึ่งท่ีผูพูดเลือกใช และเปนวิธีท่ีพบมากท่ีสุด

คําแทนตัวผูพูดมีความสัมพันธกับเพศของผูพูด กลาวคือผูพูดจะเลือกคําแทนตัวผูพูดท่ี

สอดคลองเหมาะสมกับเพศของตนโดยผูพูด เพศชายเทานั้นท่ีเลือกใชคําบุรุษสรรพนาม แทนตัวผู

พูดท่ีแสดงออกเพศชาย คือ ผม และ เฮีย สวนผูพูดเพศหญิง และเพศชายท่ีมีจิตใจเปนหญิง ใชคํา

บุรุษสรรพนามแทนตัวผูพูดเหมือนกัน คือ เรา และ ฉัน โดยเฉพาะบุรุษสรรพนาม ฉัน ไมปรากฏใช

โดยผูพูดเพศชาย และเพศหญิงท่ีมีจิตใจเปนชายเลย นอกจากนี้ผูพูดท้ังสองเพศยังเลือกใช

คําเรียกญาติเปนตัวแทนผูพูดดวยเชนกนั สวนผูพูดเพศหญิงท่ีมีจิตใจเปนชายนั้น แมจะไมเลือกใช

Page 29: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

19

คําบุรุษสรรพนามบอกเพศชาย ผม แตก็ใชคําบุรุษสรรพนาม กู เพ่ือแสดงความเขมแข็งอยางเพศชาย

แทน การเลือกใชคําแทนตัวผูพูดดังกลาวจึงเปนการใชภาษาเพ่ือแสดงความเปนเพศตามสภาพจิตใจ

ของตนเองอยางชัดเจน

2.6 งานวิจัยเกี่ยวกับบุรุษสรรพนาม

อังกาบ ผลากรกุล(อางในอมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ , 2541: 113) ศึกษาเรื่อง “A Socio-

Linguistic Study of Pronominal Strategy in Spoken Bangkok Thai” พบวา มีการเลือกใช

คําสรรพนามโดยมีการคํานึงถึง 3 เรื่อง คือ ความสนิทสนม ฐานะทางสังคม และความมีอาวุโส ของ

คูสนทนาหรือบุคคลท่ีเราพูดถึง เรื่องความสนิทสนม อาจแยกเปนความสนิทสนมมากหรือนอย

พูดอยางเปนกันเอง หรือเปนทางการ เชน ระหวางเพ่ือนสนิทอาจใชแทนผูพูดวา ฉัน เรา แทนผูฟง

วา เธอ ตัว แตจะใชคําเหลานี้พูดกับผูท่ีเราไมสนิทสนมอาจจะไมได ตอมาเรื่องฐานะทางสังคม

อาจแยกเปนฐานะเดียวกัน สูงกวาหรือต่ํากวา เชน นายจางมักจะไมพูดวา ดฉิัน เม่ือพูดกับคนรับใช

และจะไมแทนคนรับใชวา คุณ เปนตน และเรื่องความมีอาวุโส อาจแยกเปน เทากัน มากกวา

นอยกวา เปนตน เม่ือพูดกับผูใหญท่ีมีอาวุโส เราอาจจะไมใช ตัว นาย เปนบุรุษท่ี 2 และอาจจะไมใช

ขา เรา เปนบุรุษท่ี 1 เปนตน จากการศึกษางานวิจัยขางตนยังพบการเลือกใชคําสรรพนามที่สามารถ

แบงประเภทไดและพบปจจัยทางสังคมท่ีนาสนใจ ตัวอยางงานของอังกาบ ผลากรกุล พบวาคํา

สรรพนามจึงเปนคําใชแทนตัวผูฟง แบงประเภทของคําสรรพนามไวดังนี ้

1. คําสรรพนามแสดงบุรุษ อาทิ “แมคุณมา” แม ในท่ีนี้หมายถึง ผูท่ีถูกกลาวถึง (บุรุษท่ี 3)

หรือ “แมจะไปหรือเปลา” แมในท่ีนี้ คือ ผูท่ีกําลังสนทนาดวย (บุรุษท่ี 2) เปนตน

2. คําเรียกญาติ (kin terms) อาทิ พอ แม พ่ี นอง ลุง ปา นา อา ปู ยา ตา ยาย เปนตน

3. คําเรียกญาติท่ีใชกับผูท่ีไมใชญาติ (Pseudo kin terms) คือการใชคําเรียกญาติกับบุคคลอ่ืน

อาทิ เรียก “แมคา” วา “พ่ี” เปนตน

4. คําเรียกตามบุคคลอ่ืน (Teknonymy terms) การเรียกท่ีไมตรงตามความสัมพันธระหวางผู

พูดกับผูฟง อาทิ ปาเรียกหลานคนโตวา “พ่ี” ตามอยางหลานคนเล็ก เปนตน

5. ช่ือบุคคล (Personal names) ไดแก ช่ือจริง และช่ือเลน

6. คําเรียกเพ่ือน (Friendship terms) อาทิ เพ่ือน สหาย เกลอ เปนตน

7. คําเรียกอาชีพ (Occupation terms) อาทิ ดาบ หมู ครู อาจารย เปนตน

8. คํานําหนา (Title) อาทิ ทาน คุณ เปนตน

9. คําหรือวลีท่ีอางถึงคูสมรส (Words and phrases specially employed to refer to spouse)

เชน สามีเรียกภรรยาวา “ท่ีบาน” ในขณะท่ีตนกําลังสนทนากับผูอ่ืน เปนตน

Page 30: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

20

10. คําจากภาษาอ่ืน (Foreign loan words) อาทิ บัง ยู เจ เปนตน

11. คําท่ีใชพูดกับพระสงฆ (Special vocabulary use in speaking to and by monks) อาทิ

พระเดชพระคุณ พระคุณเจา หลวงพ่ี ทาน เปนตน

วราภรณ แสงสด (2532) ทําวิทยานิพนธเรื่อง “บุรุษสรรพนามในภาษาไทย : การศึกษาเชิง

ประวัติ” มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาคําบุรุษสรรพนามในสมัยสุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทรชวง

รัชกาลท่ี 1-3 และรัตนโกสินทรชวงรัชกาลท่ี 4-7 ผลการศึกษาพบวา คําบุรุษสรรพนามท่ีปรากฏใน

ขอมูลสมัยตางๆ มีท้ังส้ิน 94 คํา พบในขอมูลสมัยสุโขทัยจํานวน 30 คํา สมัยอยุธยาจํานวน 24 คํา

สมัยรัตนโกสินทรรัชการท่ี 1-3 จํานวน 35 คํา และสมัยรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี 4-7 จํานวน 67 คํา

คําเหลานี้สวนใหญมีท่ีใชเหมือนกัน มีท่ีใชแตกตางกัน 8 คํา ไดแก คําบุรุษสรรพนาม กู ขา เขา ดิฉัน

ตัว เธอ เพ่ือน และ มัน คําบุรุษสรรพนามแตละสมัย แบงไดเปนบุรุษท่ี 1 บุรุษท่ี 2 และบุรุษท่ี 3

ทุกสมัยจะมีคําบุรุษสรรพนามบุรุษท่ี 2 จํานวนหนึ่งท่ีซํ้ากับบุรุษสรรพนามบุรุษท่ี 3 สวนพจนของ

บุรุษสรรพยามนั้น สมัยสุโขทัยและอยุธยา มีคําบุรุษสรรพนามเอกพจน พหูพจน และทิวพจน แต

สมัยรัตนโกสินทรมีแคคําบุรุษสรรพนามเอกพจนและพหูพจนเทานั้น

มีชัย เอ่ียมจินดา (2534) ทําวิทยานิพนธ เรื่องการศึกษาระบบบุรุษสรรพนามภาษาไทยใน

สมัยรัตนโกสินทรในแนวประวัติ มีวัตถุประสงคเพ่ือพิจารณาการปรากฏใช ความแตกตางในการใช

คําบุรุษสรรพนามของผูใชในสังคมแตละสมัย เพ่ือเปรียบเทียบการใชระบบคําบุรุษสรรพนาม และ

เพ่ืออธิบายการเปล่ียน แปลงระบบ คําบุรุษสรรพนามที่ เปล่ียนแปลงไปตามสภาพสังคม

ผลการศึกษาพบวา คําบุรุษสรรพนาม ตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร มีรูปคํา

และความหมายทางไวยากรณท้ังเหมือนและตางกัน ตัวอยางรูปคําท่ีมีใชตางกันเฉพาะสมัย เชน “สู

ชาวเจา” “ตูขาพเจา” ปรากฏใชเฉพาะสมัยสุโขทัย “ตูขา” “เผือขานอย” ปรากฏใชเฉพาะสมัยอยุธยา

“หนู” “หลอน” ปรากฏใชเฉพาะสมัยปจจุบัน ตัวอยางรูปคําท่ีมีใชเหมือนกันทุกสมัย เชน “กู” “มึง”

“เขา” “เรา” รูปคําเหมือนและมีความหมายเหมือนกันทุกสมัย เชน“กู” ใชหมายถึง บุรุษท่ี 1 “มึง”

ใชหมายถึง บุรุษท่ี 2 รูปคําเหมือนและมีความหมายตางกันแตละสมัย เชน “เขา” สมัยสุโขทัยและ

อยุธยาใชหมายถึงบุรุษท่ี 3 สมัยปจจุบันใชหมายถึงบุรุษท่ี 1 และ 3 “เรา”สมัยสุโขทัยและอยุธยาใช

หมายถึงบุรุษท่ี 1 สมัยปจจุบันปรากฏใชหมายถึงบุรุษท่ี 1 และ 2

คุก (Cooke 1976 อางใน ภูมิใจ บัณฑุชัย, 2549) ไดศึกษาเปรียบเทียบการใชคําสรรพนาม

ในภาษาไทย พมา และเวียดนาม โดยกลาวถึงคําสรรพนามในภาษาไทย สรุปวา คําสรรพนามใน

ภาษาไทยแบงออกเปน คําสรรพนามบุรุษท่ี 1 เรียกแทนตัวผูพูด เชน ดิฉัน ฉัน ผม อ๊ัว เปนตน

สรรพนามบุรุษท่ี 2 เรียกแทนตัวผูฟง เชน เอง แก คุณ ล้ือ เปนตน และสรรพนามบุรุษท่ี 3 เชน แก

พ่ี แก ทาน เธอ หลอน เปนตน คําสรรพนามแตละประเภทมีรูปแปรการใชแตกตางกันออกไป ในคํา

Page 31: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

21

สรรพนามบุรุษท่ี 1 คําวา ดิฉัน เปนคําพูดท่ีผูหญิงใชพูดกับบุคคลท่ีเหนือกวา หรือใชพูดอยางเปน

ทางการกับคนท่ีเทากันหรือเปนคําสุภาพท่ีใชไดในสถานการณท่ัวไป ในขณะท่ีคําวา ผม เปนคํา

สุภาพท่ีใชโดยเพศชายเม่ือพูดกับผูท่ีเทากัน หรือเหนือกวา หรือ ในสถานการณท่ัวไป คําสรรพนาม

ในภาษาไทยนอกจากบงบอกบุรุษแลวยังแสดงเพศ อายุ และความสัมพันธระหวางผูพูด ผูฟง และ

ผูท่ีกลาวถึง เชน สถานภาพความสนิทสนม เปนตน โดยยกตัวอยาง การใชคําสรรพนามแสดงเพศ

วา ผม แสดงถึงผูพูดเพศชาย ดิฉัน แสดงผูพูดเพศหญิง แตอยางไรก็ตาม ผูท่ีมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน

ทางเพศจากชายเปนหญิง อาจใช ดิฉัน ได สวนในเรื่องของความสัมพันธระหวางผูพูด ผูฟง และผูท่ี

ถูกกลาวถึง คุก กลาววา สถานภาพและความสนิทสนมเปนปจจัยท่ีสําคัญยิ่งตอการใชคําสรรพนาม

สถานภาพ ไดแก ความเหนือกวา เทากัน หรือดอยกวา ระหวางผูพูด ผูฟง และผู ท่ีกลาวถึง

สถานภาพอาจเน่ืองมาจาก ยศ หรือการเปนท่ีรูจัก แตความสนิทสนมเปนลักษณะทางความรูสึกท่ี

เกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก ความรัก ความใกลชิด มิตรภาพ และความเปนญาติ เปนตน ท้ังสถานภาพ

และความสนิทสนมก็มีอิทธิพลตอการเลือกใชคําสรรพนาม แสดงความหมายใหรูวา ผูพูด ผูฟง และ

ผูท่ีกลาวถึง มีความสัมพันธกันอยางไร เชนถาผูพูดใชคําสรรพนาม กระผม แสดงวาผูพูด เปนเพศ

ชาย พูดกับคนท่ีเหนือกวา ถาพูดกับคนท่ีเทากันอาจใช ผม หรือถาสนิทกันอาจใช กัน ถาพูดกับคน

ท่ีต่ํากวา เชน ลูกจาง อาจใช ขา หรือเพศหญิงเม่ือพูดกับคนท่ีเหนือกวาใช ดิฉัน ถากับคนท่ีเทากันใช

ฉัน และถาสนิทอาจใช เขา หรือ เรา

2.7 งานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกญาติ

วิภัสรินทร ประพันธสิริ (2535) ทําวิทยานิพนธเรื่อง “คําเรียกญาติในภาษาคําเมือง : การ

วิเคราะหทางอรรถศาสตรชาติพันธุ” มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาวิเคราะหความหมายแกนของคําเรียก

ญาติพ้ืนฐานในภาษาคําเมืองดวยวิธีวิเคราะหองคประกอบ (Componential Analysis) และศึกษา

การใชคําเรียกญาติดังกลาวในแวดวงอ่ืนๆ รวมถึงการใชอุปลักษณ ผลการศึกษาพบวา คําเรียกญาติ

ในภาษาคําเมืองอาจจําแนกใหแตกตางกันตามความหมายแกนดวย 4 หรือ 5 มิติแหงความแตกตาง

ในภาษาเชียงรายและลําปางนั้น คําเรียกญาติแตกตางกันในดานรุนอายุ สายเลือด อายุ และเพศ

สวนในภาษาเชียงใหมและลําพูนจะมีมิติเพ่ิมขึ้นคือ ฝายพอ/แม รายละเอียดของคําเรียกญาติใน

ภาษาคําเมืองท้ัง 4 จังหวัด มีท้ังลักษณะรวมกันและแตกตางกัน ลักษณะท่ีรวมกันไดแก การใชคํา

เรียกญาติประเภทเดียวกันในความหมายเดียวกัน สวนลักษณะท่ีตางกัน ไดแก การเรียกญาติท่ีมี

ความหมายละเอียดท่ีตางกันดานเพศ และฝายพอ/แม นอกจากนี้ยังพบวาการใชคําเรียกญาติเปน

สรรพนาม และคําเรียกขานในหมูคนท่ีเปนญาติและไมใชญาติ สวนลักษณะสําคัญบางประการใน

วัฒนธรรมลานนาท่ีสะทอนจากคําเรียกญาติ คือ “ระบบอาวุโส”

Page 32: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

22

เยาวลักษณ เฉลิมเกียรติ (2542) ทําวิทยานิพนธ เรื่อง “คําเรียกญาติในจังหวัด

นครศรีธรรมราช” มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความหมายแกนของคําเรียกญาติพ้ืนฐาน 3 กลุมภาษาใน

จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ กลุมภาษาไทยถ่ิน กลุมภาษามลายู และกลุมภาษาจีน ศึกษาการใช

คําเรียกญาติพ้ืนฐานท่ีใชเปนคําสรรพนามและคําเรียกขาน และศึกษาวัฒนธรรมท่ีสะทอนจาก

คําเรียกญาติ ผลการศึกษาพบวา มีคําเรียกญาตพ้ืินฐานภาษาไทยถ่ิน จํานวน 194 คํา ภาษามลายู

จํานวน 196 คํา และภาษาจีนจํานวน 160 คํา และพบวาคําเรียกญาติเหลานี้ยังมีรูปแปรไปตามจุด

เก็บขอมูลตางๆอีกดวย สําหรับในเรื่องความหมายแกนของคําเรียกญาติพ้ืนฐานนั้นพบวา

ความหมายแกนของคําเรียกญาติพ้ืนฐานในภาษาไทยถ่ินและภาษาจีนแตกตางกันดวย มิติแหงความ

แตกตาง 5 ประการ คือ รุนอายุ อายุ ฝายพอฝายแม เพศ และสายเลือด สวนความหมายแกน

ของคําเรียกญาติในภาษามลายูนั้น แตกตางกันดวยมิติแหงความแตกตาง 4 ประการ คือ รุนอายุ

อายุ เพศ และสายเลือด จากการ ศึกษาการใชคําเรียกญาติพ้ืนฐานเปนคําสรรพนามและคําเรียก

ขานในท้ัง 3 ภาษา พบวาการใชคําเรียกญาติในรุนอายุท่ีมากกวามีความถ่ีสูงกวาการใชคําเรียกญาติ

ในรุนอายุท่ีต่ํากวา สําหรับการศึกษาวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากคําเรียกญาติในท้ัง 3 ภาษา พบวา

ตางแสดงใหเห็นถึงระบบอาวุโส นอกจากนั้นยังพบวา ในคําเรียกญาติพ้ืนฐานในภาษาจีน มีการ

ใหความสําคัญกับฝายชายหรือฝายพอมากกวาฝายหญิงหรือฝายแม

2.8 งานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกขาน

ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย และอมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ(2531: 17-30) ทําวิจัยเรื่องการใช

คําเรียกขานในภาษาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาคําเรียกขานในภาษาไทย

สมัยกรุงรัตนโกสินทร ชวงเวลา 200 ป ระหวาง พ.ศ. 2325 – 2525 โดยเก็บขอมูลจากบทสนทนา

ในนวนิยายและเรื่องส้ันจํานวน 157 เรื่อง โดยการสุมตัวอยางตามสมัยตางๆ 5 สมัยในยุค

รัตนโกสินทร ไดแก สมัยตนยุครัตนโกสินทร สมัยเขา สูยุคใหม สมัยหลังเลิกทาส

สมัยประชาธิปไตย และสมัยหลัง 14 ตุลาคม 2516 มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. สุมตัวอยางรายช่ือ

นักประพันธตามจํานวนท่ีตองการในแตละสมัย 2.สุมตัวอยางผลงานของนักประพันธแตละคนท่ี

ไดรับคัดเลือกไวคนละ 1 เรื่อง ผลการศึกษาพบ คําเรียกขานในภาษาไทยมีสวนประกอบ 2 สวน

คือ 1. สวนท่ีตองมี ไดแก คํานําหนา คําเรียกญาติ ยศ อาชีพตําแหนง ช่ือ และวลีแสดงความรูสึก ซ่ึง

อาจจะเปนคําหนึ่งคําใดหรือหลายคําประกอบกัน และ 2. สวนท่ีมีหรือไมมีก็ได ท่ีเรียกวา

“คําลงทาย” เชน คะ ครับและยังพบวามีการปรากฏรูปแบบของคําเรียกขานท้ังหมด 25 รูปแบบ และ

มีคําเรียกขาน 11 รูปแบบท่ีมีการใชมาก เรียงลําดับจากมากไปหานอย ดังตอไปนี้ คํานําหนา + ช่ือ

ช่ือ คํานําหนาคําเรียกญาติ คําเรียกญาติ + ช่ือ คํานําหนา + คําเรียกญาติ อาชีพ/ตําแหนง วลีแสดง

Page 33: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

23

ความรูสึก คํานําหนา + ยศ ยศ และ คํานําหนา + อาชีพ/ตําแหนง นอกจากนี้ยังพบวาการใช

คําเรียกขานมักจะแปรไปตามตัวแปรตาง ๆ ทางสังคมดวย

ภูมิใจ บัณฑุชัย (2549: 108-114) ทําวิทยานิพนธเรื่องคําเรียกขาน คําบุรุษสรรพนามท่ี 1

และคําบุรุษสรรพนามท่ี2 ของผูขายในหางสรรพสินคา มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษารูปและการใช

คําเรียกขาน คําบุรุษสรรพนามท่ี 1และคําบุรุษสรรพนามที่ 2 ของผูขายในหางสรรพสินคา

ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยทางสังคมไดแก เพศของผูซ้ือ อายุของผูซ้ือ การแตงกายของผูซ้ือ

ความสนิทสนมของผูซ้ือ และประเภทหางสรรพสินคา กับการใชคําเรียกขาน คําบุรุษสรรพนามท่ี 1

และคําบุรุษสรรพนามท่ี 2 ของผูขายในหางสรรพสินคา ผลการศึกษาในสวนท่ีเกี่ยวกับคําเรียกขาน

พบวา จากการสังเกตการผูขายในหางสรรพสินคาสวนมากใชรูปแบบไมปรากฏการใชคําเรียกขาน

เรียกผู ซ้ือ รอยละ 49.4 รองลงมาใหคําเรียกญาติรอยละ 30.6 จากแบบสอบถามผูขายใน

หางสรรพสินคาสวนมากใชคําเรียกญาติเรียกผูซ้ือรอยละ 37.7 รองลงมาใชรูปแบบไมปรากฏการใช

คําเรียกขานเรียกผูซ้ือรอยละ 28.6 และใชคําเรียกญาติเปนคําบุรุษสรรพนามท่ี 2 รอยละ 47.1 และใช

คําสรรพนามบุรุษท่ี 1 เรียกแทนตัวผูขายเองรอยละ 44.1 ในสวนเพศของผูซ้ือ อายุของผูซ้ือ การแตง

กายของผู ซ้ือ ความสนิทสนมของผู ซ้ือและประเภทหางสรรพสินคามีผลทางสถิติตอการใช

คําเรียกขาน คําบุรุษสรรพนามท่ี 1 และคําบุรุษสรรพนามท่ี 2 ของผูขายในหางสรรพสินคา

จากแบบสอบถามแตพบวา ประเภทหางสรรพสินคาเทานั้นท่ีมีผลตอสถิติของการใชคําเรียกขาน

ของผูขายในหางสรรพสินคาจากการสังเกตการณ

การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของรัฐกลันตัน และขอมูลท่ัวไปของชุมชนบางแซะ

ผูวิจัยใชเปนความรูเบ้ืองตนและแนวทางในการวิเคราะหเกี่ยวกับชุมชนชาวไทยสยามในงานวิจัยนี้

สวนความรูเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง แนวคิดเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม งานวิจัย

ท่ีเกี่ยวกับคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง งานวิจัยเกี่ยวกับบุรุษสรรพนาม งานวิจัยเกี่ยวกับคํา

เรียกญาติ และงานวิจัยเกี่ยวกับคําเรียกขาน จะใชเปนแนวทางใหผูวิจัยนํามาวิเคราะหและอภิปรายผล

การศึกษาของงานวิจัยนี้ตอไป

Page 34: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

24

บทที่ 3

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยาม

ในบทนี้ผูวิจัยจะนําขอมูลคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง มาจําแนกและอธิบายโดย

แบงเปน 2 หัวขอ คือ

3.1 ท่ีมาของภาษา

3.2 ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

จากการศึกษาการใชคํ าแทนตัว ผู พูดและคําแทนตัว ผูฟ งของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะ ตําบลรเีปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ผูวิจัยพบวามี คําแทนตัวผู

พูดและคําแทนตัวผูฟงมีท้ังหมด 53 คํา ดังนี ้

ตารางท่ี 1 คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

คําแทนตัวผูพูด คําแทนตัวผูฟง

1. กระผม

2. กัน1∗

3. กู

4. กิตอ

5. ซายอ

6. ฉัน

7. โตะ1

8. ทวด1

9. นา1

10. ปา1

11. ผม

12. พอ1

13. เพ่ือน

14. พ่ี1

1. กัน2

2. กือ

3. โกโก

4. คุณ

5. ครู

6. จาว

7. เจะ

8. โตะ2

9. ทาน

10. ทวด2

11. นา2

12. นาย

13. นอง

14. บอย

∗หมายเหตุ : 1 หมายถึง คําแทนตัวผูพูด และ 2 หมายถึง คําแทนตัวผูฟง

24

Page 35: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

25

15. แม1

16. เรา

17. ลุง1

18. หนู

19. หวอ

20. อาก ู

21. อ๊ัว

22. ไอ

15. ปา2

16. พ่ี2

17. พอ2

18. พอแก

19. พอทาน

20. มึง

21. แม2

22. แมแก

23. มิสซี

24. ยู

25. ลุง2

26. ล้ือ

27. สู

28. หนี่

29. แอ

30. เอง

31. ไอ

จากตารางขางตนจะเห็นไดวาชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ มีคําแทนตัวผูพูดท้ังหมด 22

คํา และมีคําแทนตัวผูฟงท้ังหมด 31 คํา

ผูวิจัยนําขอมูลคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ัง 53 คํา ขางตนมาจําแนกท่ีมาของ

ภาษาและประเภทของคําดังรายละเอียดตอไปนี ้

Page 36: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

26

3.1 ที่มาของภาษา

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ัง 53 คํา มีท่ีมาจากภาษาตางๆ 4 ภาษา คือ ภาษาไทย

ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน

3.1.1 ภาษาไทย

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษาไทย มีท้ังส้ิน 38 คํา จําแนกเปนคําแทนตัว

ผูพูด 15 คํา และคําแทนตัวผูฟง 23 คํา ดังนี้

คําแทนตัวผูพูด ไดแก กระผม กัน1 กู ฉัน ทวด1 นา1 ปา1 ผม พอ1 เพ่ือน พ่ี1 แม1 เรา ลุง1 และ

หนู

คําแทนตัวผูฟง ไดแก กัน2 กือ(ตามดวยช่ือ) คุณ ครู จาว ทาน ทวด1 นา2 นาย นอง ปา2 พ่ี2

พอ2 พอแก พอทาน มึง แม2 แมแก ลุง2 สู แอ(ตามดวยช่ือ) เอง และไอ(ตามดวยช่ือ)

3.1.2 ภาษามลายู

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษามลายู มีท้ังส้ิน 6 คํา จําแนกเปนคําแทนตัว

ผูพูด 4 คํา และคําแทนตัวผูฟง 2 คํา ดังนี้

คําแทนตัวผูพูด ไดแก กิตอ(Kito)∗ ซายอ(Saya) โตะ1(Tok) และอาก(ูAku)

คําแทนตัวผูฟง ไดแก เจะ(Cik) และโตะ2(Tok)

3.1.3 ภาษาจีน

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษาจีน มีท้ังส้ิน 5 คํา จําแนกเปนคําแทนตัวผู

พูด 2 คํา และคําแทนตัวผูฟง 3 คํา ดังนี้

คําแทนตัวผูพูด ไดแก หวอ( ) และอ๊ัว( )

คําแทนตัวผูฟง ไดแก โกโก( ) ล้ือ( ) และหนี่( )

∗ คําท่ีอยูในเครื่องหมาย (____) เปนคําศัพทภาษานั้นๆตามท่ีปรากฏในพจนานุกรมท่ีผูวิจัยใชอางอิง

ตามขอ 6.2 ในบทท่ี 1

Page 37: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

27

3.1.4 ภาษาอังกฤษ

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษาอังกฤษ มีท้ังส้ิน 4 คํา จําแนกเปนคําแทน

ตัวผูพูด 1 คํา และคําแทนตัวผูฟง 3 คํา ดังนี้

คําแทนตัวผูพูด ไดแก ไอ(I)

คําแทนตัวผูฟง ไดแก บอย(Boy) มิสซี(Misi∗) และยู(You)

ท่ีมาของภาษาของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงขางตน สามารถคิดเปนคาเฉล่ียของ

ท่ีมาของแตละภาษา ไดดังตารางตอไปนี ้

ตารางท่ี 2 ที่มาของภาษาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ที่มาของภาษา จํานวนคํา รอยละ

ไทย 38 71.70

มลายู 6 11.32

จีน 5 9.43

อังกฤษ 4 7.55

รวม 53 100

จากตารางท่ี 2 แสดงใหเห็นวาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะท่ีพบท้ังหมดมีท่ีมาจากภาษาไทยมากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 71.70 รองลงมาคือภาษา

มลายู รอยละ 11.32 ภาษาจีนรอยละ 9.43 และพบนอยท่ีสุดคือภาษาอังกฤษรอยละ 7.55

สาเหตุของการใชคําภาษาไทยเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะมากท่ีสุดนั้น อาจเปนเพราะภาษาไทยเปนภาษาแมของคนในชุมชนและเปนภาษาที่

ใชพูดในชีวิตประจําวัน สวนภาษาอ่ืนๆท่ีปรากฏใชนั้นเกิดจากการสัมผัสภาษาเนื่องจากการ

ติดตอส่ือสารกับบุคคลภายนอกท่ีมีหลายชาติพันธุ จึงทําใหมีการนําคําภาษาตางๆมาใชเปนคําแทน

ตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงดวย

∗ มิสซี จากการสัมภาษณ ดารินทร นิลเจริญ เม่ือ 12 สิงหาคม 2555 ทําใหทราบวา มิสซี มาจากคําวา

มิชชันนารี(missionary) เนื่องจากในสมัยกอนมีกลุมมิชชันนารีเขามาเผยแผศาสนาและชวย

ดูแลผูปวย ตอมาคําวามิชชันนารีออกเสียงส้ันลงและเพ้ียนไปเปน มิสซี

Page 38: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

28

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะนั้นมีท่ีมา

จากหลายภาษา ถือไดวาชุมชนแหงนี้เปนชุมชนพหุภาษา กลาวคือใชภาษาไทยในส่ือสารกับคนใน

ครอบครัวและชาวไทยสยามดวยกัน ใชภาษามลายูในการส่ือสารกับคนตางชาติพันธุ ไมวาจะเปน

จีน อินเดีย หรือมลายู ซ่ึงโดยท่ัวไปภาษามลายูท่ีใชคือภาษามลายูถ่ินกลันตัน และใชภาษาจีน

และภาษาอังกฤษในการส่ือสารกับคนในโรงเรียนท่ีเนนภาษาจีนหรือภาษาอังกฤษเฉพาะ เหตุท่ีชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะสามารถส่ือสารไดหลายภาษาเปนเพราะ คนในชุมชนน้ีใชภาษาไทย

เปนภาษาแม ใชภาษามลายูเปนภาษาที่ 2 เพ่ือส่ือสารกับคนโดยท่ัวไป และยังสามารถใชภาษาจีน

และภาษาอังกฤษเม่ือไดรับการศึกษาในระบบโรงเรียน

3.2 ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังหมดมี 53 คํา สามารถจําแนกตามประเภทของคําได

2 ประเภท คือ คํานาม และคําบุรุษสรรพนาม ดังรายละเอียดตอไปนี้

3.2.1 คํานาม

เปรมจิต ชนะวงศ (2538: 192) กลาววา “คํานามเปนคําท่ีใชเรียกบุคคล พืช สัตว สถานท่ี

สภาพวัตถุส่ิงของ ลักษณะ ซ่ึงหมายรวมถึงส่ิงมีชีวิตและไมมีชีวิต ส่ิงท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรม

คํานามจะปรากฏในตําแหนงประธานหรือกรรมของประโยค ทําหนาท่ีเปนประธานหรือกรรม”

จากการศึกษาพบคํานามท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง จํานวนท้ังส้ิน

31 คํา แบงเปนคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดจํานวน 9 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1ปา1โตะ1 พอ1 แม1 นา1

พ่ี1 และ เพ่ือน และคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงจํานวน 22 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2

โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 โกโก นอง ครู มิสซี พอทาน นาย จาว บอย กือ แอ คุณ และ ไอ

คํานามท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูด จําแนกเปน 2 ประเภท คือ

1) คําเรียกญาติ คือ คําท่ีหมายถึงบุคคลท่ีมีความสัมพันธกันทางสายเลือด พบ

ท้ังส้ิน 8 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1ปา1โตะ1 พอ1 แม1 นา1 และ พ่ี1

2) คํานามท่ัวไป คือ คําท่ีมีความหมายใดๆ ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูด พบ 1 คํา

คือ เพ่ือน

คํานามท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูฟง จําแนกเปน 5 ประเภท คือ

1) คําเรียกญาติ คือ คําท่ีหมายถึงบุคคลท่ีมีความสัมพันธกันทางสายเลือด พบ

ท้ังส้ิน 12 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 โกโก และนอง

Page 39: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

29

2) คําเรียกอาชีพ คือ คําท่ีหมายถึงบุคคลผูประกอบอาชีพนั้นๆ พบ 2 คํา คือ ครู

และมิสซี

3) คําเรียกตําแหนง คือ คําท่ีหมายถึงตําแหนงหรือหนาท่ีของบุคคล พบ 2 คํา คือ

พอทาน และนาย

4) คํานามท่ัวไป คือ คําท่ีมีความหมายใดๆ ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง พบ 2 คํา

คือ จาว และบอย

5) คํานําหนานาม คือ คําท่ีไมสามารถปรากฏใชลําพังไดมักใชนําหนาคํานามอ่ืน

พบ 4 คํา ไดแก กือ แอ คุณ และไอ

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนคํานาม สามารถแสดงไดดังตารางตอไปนี ้

ตารางท่ี 3 คํานามที่ใชเปนคําแทนตัวผูพูด

คําแทนตัวผูพูด ตัวอยางประโยคที่ใช

คําเรียกญาติ

1. ทวด1 คือ พอหรือแมของปู ยา ตา ยาย

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีมีอายุนอยกวา

-ทวดไปเรในวัดจิไปหมี

‘ ทวดไปเท่ียวในวัดจะไปไหม’∗

-ทวดไมไปโรงหมอทีไปโพรกเชา

‘ทวดไมไดไปโรงพยาบาล จะไป

พรุงนี้’

2. ลุง1 คือพ่ีชายของพอหรือแม หรือชายท่ีมีวัยแกกวา

พอหรือแม

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีอายุนอยกวา

-ลุงมาเรวัดทุกวันพระ

‘ลุงมาเท่ียววัดทุกวันพระ’

-ลุงจิไปเรบางกอก

‘ลุงจะไปเท่ียวกรุงเทพฯ’

3. ปา1 คือพ่ีสาวของพอหรือแม หรือหญิงท่ีมีวัยไลเล่ีย

แตแกกวาพอหรือแม

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีอายุนอยกวา

-ปาเนาะไปวัดวันนี้

‘ปาตองการจะไปวัดวันนี้’

-ปาโยเรินคนเดียว

‘ปาอยูบานคนเดียว’

4. โตะ1 (Tok) คือ ตา ปู

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีอายุนอยกวา

-โตะจิไปเร นองจิไปหมี

‘ปา(ลุง)จะไปเท่ียว นองจะไปไหม’

ขอความท่ีอยูในเครื่องหมาย ‘_______’ เปนความหมายของประโยคในภาษาไทยมาตรฐาน

Page 40: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

30

-โตะไมบายตัวสาจิไข

‘ปา(ลุง)ไมคอยสบาย เหมือนจะเปน

ไข’

5. พอ1 คือชายผูใหกําเนิดแกลูก

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับลูกของตนเอง

-พอจิไปปลํ้าตนไมวันนี้

‘พอจะไปโคนตนไมวันนี้’

-พอจิไปเรในวัด แลบอลลา

‘พอจะไปเท่ียวในวัด ดูฟุตบอล’

6. แม1 คือผูหญิงท่ีใหกําเนิดหรือเล้ียงดูลูก

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับลูกของตนเอง

-แมไมเนาะไปทีโรงหมอนั้น

‘แมไมตองการไปโรงพยาบาลนะ’

-แมสาวาจิตีนองจริงๆแลว

‘แมรู สึกเหมือนจะตีนองจริงๆแลว

นะ’

7. นา1 คือนองของพอหรือแม

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีอายุนอยกวา

-นาจิพาไปเรไปหมี

‘นาจะพาไปเท่ียว ไปไหม’

-นากินขาวกับหมูตม

‘นากินขาวกับหมูตม’

8. พ่ี1 คือผูรวมบิดาหรือมารดาเดียวกันและเกิดกอน, ผู

มีศักดิ์เสมอพ่ี

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ีอายุนอยกวา

-พ่ีไปเรนิไปหมี

‘พ่ีไปเท่ียวนะ ไปไหม’

-พ่ีไปสงแมแกโรงหมอเอง

‘พ่ีไปสงยายท่ีโรงพยาบาลเอง’

คํานามทั่วไป

9. เพ่ือน คือผูชอบพอรักใครกัน, ผูสนิทสนมคุนเคย

กัน

ใชแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปไมจํากัด

อายุ

-เพ่ือนจิไปเรในวัด

‘เพ่ือนจะไปเท่ียวในวัด’

-เพ่ือนไมเนาะกินที

‘เพ่ือนไมอยากกิน’

จากตารางท่ี 3 จะเห็นไดวาคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดสวนใหญจะเปนคําเรียกญาติ ซ่ึง

เปนคําท่ีหมายถึงผูท่ีมีความสัมพันธกันทางสายเลือด พบท้ังส้ิน 8 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1 ปา1โตะ1 พอ1

แม1 นา1 และพ่ี1 และคํานามท่ัวไปคือคําวา เพ่ือน

Page 41: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

31

ตารางท่ี 4 คํานามที่ใชเปนคําแทนตัวผูฟง

คําแทนตัวผูฟง ตัวอยางประโยคที่ใช

คําเรียกญาติ

1. ทวด2 คือ พอหรือแมของปู ยา ตา ยาย

ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุมากกวาปู ยา ตา ยาย

-ทวดกินขาวแลวหมี

‘ทวดกินขาวรึยัง’

-ทวดไมไปโรงหมอทีนอ

‘ทวดไมไปโรงพยาบาลเหรอ’

2. พอแก คือพอของพอหรือแม

ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีเปนพอของพอ และพอ

ของแม

-พอแกจิไปคือไหน

‘ตา(ปู) จะไปไหน’

-พอแกไมไปวัดทีนอวันนี้

‘ตา(ปู)ไมไดไปวัด หรือวันนี’้

3. แมแก คือแมของพอหรือแม

ใชแทนตัวผูฟงเพศหญิงท่ีเปนแมของพอ และแม

ของแม

-แมแกปาหรือจิพาไปเร

‘ยาย(ยา)เม่ือไหรจะพาไปเท่ียว’

-แมแกไมไปวัดทีนอ

‘ยาย(ยา)ไมไดไปวัดเหรอ’

4. ลุง2 คือพ่ีชายของพอหรือแม หรือชายท่ีมีวัยแกกวา

พอหรือแม

ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีมีอายุแกกวาพอหรือแม

-ลุงไดพราวมากี่เม็ด

‘ลุงไดมะพราวมากี่ลูก’

-ลุงไมโยเริน แลวใครโยเรินใหลุง

‘ลุงไมไดอยูบาน แลวใครอยูบานให

ลุงละ’

5. ปา2 คือพ่ีสาวของพอหรือแม หรือหญิงท่ีมีวัยไลเล่ีย

แตแกกวาพอหรือแม

ใชแทนตัวผูฟงเพศหญิงท่ีมีอายุแกกวาพอหรือแม

-ปาไปเรบานปานะวันนี้

‘ปาไปเท่ียว บานปานะวันนี้’

-ปาโยเรินกี่คน

‘ปาอยูบานกี่คน’

6. โตะ2 (Tok) ตา ปู

ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุแกกวาพอหรือแม

หมายเหตุ: สามารถปรากฏนําหนาช่ือผูฟงได เพ่ือระบุ

บุคคลใหชัดเจน เชน โตะนุช, โตะแอะ

-โตะทําอิไหรกินวันนี้

‘ปา(ลุง)ทําอะไรกินวันนี้’

-โตะนุชไมไปโรงหมอทีนอวันนี ้

‘ปานุชไมไปโรงพยาบาลเหรอวันนี’้

7. พอ2 คือผูชายผูใหกําเนิดแกลูก : ชายผูใหกําเนิดหรือ -พอจิไปโรงหมอหมี

Page 42: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

32

เล้ียงดูตน

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพอของตน

‘พอจะไปโรงพยาบาลไหม’

-พอจิเอาน้ําชาหมีพอ

‘พอจะเอาน้ําชาไหมพอ’

8. แม2 ใชเรียกผูหญิงท่ีใหกําเนิดหรือเล้ียงดูลูก,ผูหญิง

ท่ีใหกําเนิดหรือเล้ียงดูตน

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนแมของตน

-แม...แมจิเอามีดเม็ดไหน

‘แม...แมจะเอามีดดามไหน’

-แมไดเทไมเนาะไปโรงหมอ

‘แมทําไมถึงไมอยากไปโรงพยาบาล’

9. นา2 คือนองของพอหรือแม, ผูท่ีมีวัยออนกวาพอ

หรือแม

ใชแทนตัวผูฟงท่ีอายุนอยกวาพอหรือแม

-นากินขาวแลวหมีนั้น

‘นากินขาวแลวยัง’

-เราจิไปโรงหมอ นาไปหมี

‘เราจะไปโรงพยาบาล นาไปไหม’

10. พ่ี2 คือผูรวมพอหรือแมเดียวกันและเกิดกอน, ผูมี

ศักดิ์เสมอพ่ี คนท่ีมีอายุคราวพ่ีหรือมีศักดิ์เสมอพ่ี

ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุมากกวา

-พ่ีไมเนาะพาไปทีนอ

‘พ่ีไมตองการพาไปเหรอ’

-พ่ีไปเรหมี แมจิพาพ่ีไปเรน ิ

‘พ่ีไปเท่ียวไหม แมจะพาพ่ีไปเท่ียว’

11. โกโก ( ) คือพ่ีชาย

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพ่ีชายของตน

-โกโกหลบบานปาหรือบอก นองดา

‘พ่ีกลับบานตอนไหน บอกนองดวย’

-พ่ีไปไหนแรกวา

‘โกโกไปไหนมาเม่ือวาน’

12. นอง คือผูรวมพอหรือแมเดียวกันและเกิดทีหลัง,

ลูกของอาหรือนา, คนท่ีมีอายุคราวนอง

ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

-นองกินขาวแลวหมี

‘นองกินขาวหรือยัง’

-นองอยารายนะ เดี๋ยวครูบุบนั้น

‘นองอยาซนนะ เดี๋ยวครูตี’

คําเรียกอาชีพ

13. ครู คือ ผูส่ังสอนศิษย, ผูถายทอดความรูใหแกศิษย

ใชแทนตัวผูฟงท่ีประกอบอาชีพคร ู

-ครูสอนหนังสือหมี

‘ครูสอนหนังสือไหม’

-ครูเนาะเลนบอลลาหมี

‘ครูอยากเลนฟุตบอลไหม’

14. มิสซี (Misi) คือ พยาบาล หรือบุคคลท่ีดูแลผูปวย

ใชแทนตัวผูฟงท่ีประกอบอาชีพพยาบาล หรือผูท่ี

-มิสซีไมไปโรงหมอนอ วันนี ้

‘มิสซีไมไปโรงพยาบาลเหรอ วันนี’้

Page 43: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

33

ดูแลผูปวย

-มิสซียังเวลานอนหมี กัดมิสซีทํางาน

ท้ังคืนนั้น

‘มิสซีมีเวลานอนไหม ก็มิสซีทํางาน

ท้ังคืน’

คําเรียกตําแหนง

15. นาย คือผูนําในหมูบานหรือผูใหญบาน

ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบาน

หมายเหตุ: นาย สามารถนําหนาช่ือผูฟงเพ่ือระบุบุคคล

ใหชัดเจน เชน นายวิน นายพล และอาจนํา คําวา

“โตะ” มานําหนาเพ่ือแสดงความเคารพมากขึ้น เชน

โตะนาย โตะนายพล เปนตน

-นายหายเจ็บตัวแลวหมี

‘นายหานปวยหรือยัง’

-นายวินยังโลกสาวหมี

‘นายวินมีลูกสาวไหม’

-โตะนายวันนี้ใสเส้ืองาม

‘ลุงผูใหญวันนี้ใสเส้ือสวย’

-โตะนายพลประชุมปาหรือวันนี้

‘ลุงผูใหญพลวันนี้ประชุมกี่โมง’

16. พอทาน คือ พระภิกษุท่ีดํารงตําแหนงเจาอาวาสวัด

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุท่ีดํารงตําแหนงเจา

อาวาส

-พอทาน...วันนี้พอทานประชุมหมี

‘พอทาน ...วันนี้พอทานจะประชุม

ไหม’

-พอทานไมไปวัดยามูทีนอ

‘พอทานยังไมไปวัดยามูหรือ’

คํานามทั่วไป

17. จาว

ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีผานการอุปสมบทแลว

หมายเหตุ อาจปรากฏรวมกับคํานามอ่ืน เชน พ่ี

เปน พ่ีจาว เพ่ือแสดงความเคารพ

-จาวไปคือไหน

‘จาวจะไปไหน’

-จาวบายดีโยนอ

‘จาวสบายดีอยูไหม’

-พ่ีจาวจิไปเรวัดไหน

‘พ่ีจาวจะไปเที่ยวในวัดไหม’

18. บอย (Boy) คือ เด็กผูชาย

ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีเปนลูกหลานของตน

-บอยหยิบกรรไกรใหแมดา

‘บอยหยิบกรรไกรใหแมดวย’

-บอยอาบน้ํากินขาวกอนแลวคอยไปเร

‘บอยอาบน้ํากินขาวกอน แลวคอยไป

เท่ียว’

Page 44: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

34

คํานําหนานาม

19. กือ คือเด็กผูหญิง

ใชนําหนาช่ือผูฟงเพศหญิง ท่ีมีอายุนอยกวา

-กือวิวจิไปไหน

‘กือวิว จะไปไหน’

-แหลงไมโรฟงนะกือยา

‘พูดแลวไมฟงเลยนะ กือยา’

20. แอ คือเด็กผูชาย

ใชนําหนาช่ือผูฟงเพศชาย ท่ีมีอายุนอยกวา

-แอแท็คไปไหนน้ัน

‘แอแท็คจะไปไหน’

-แอดอนอยารายแรง

‘แอดอนอยาซนมากนัก’

21. คุณ คือ พระภิกษุสงฆ

ใชนําหนาช่ือผูฟงท่ีเปนพระภิกษุสงฆ เพ่ือแสดง

ความเคารพนับถือ เชน คุณสุข, คุณเกง, คุณวุฒิ

เปนตน

-คุณสุขยังหมากี่ตัวในวัด

‘คุณสุขหมาในวัดมีกี่ตัว’

-คุณเกงสอนหนังสือหมี

‘คุณเกงสอนหนังสือไหม’

22. ไอ คือ คนท่ีอายุนอยกวาท่ีสนิทสนม

ใชนําหนาช่ือผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

-ไอโอเอย...เราชอบกินน้ําชาไอโอทํา

‘ไอโอ..เราชอบกินน้ําชาท่ีไอโอทํา’

-ไอรุจไปไหนไมบอกนะ

‘ไอรุจไปไหนไมบอกนะ’

จากตารางท่ี 4 จะเห็นไดวาคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงสวนใหญเปนคําเรียกญาติพบ

ท้ังส้ิน 12 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 โกโก และนอง นอกจากนี้

ยังมีคําเรียกอาชีพพบ 2 คํา คือ ครู และมิสซี ใชแทนตัวผูฟงท่ีประกอบอาชีพนั้นๆ คําเรียกตําแหนง

พบ 2 คํา คือ พอทาน ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุท่ีดํารงตําแหนงเจาอาวาส และนาย ใชแทนตัว

ผูฟงท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบาน คํานามท่ัวไปพบ 2 คํา คือ จาว ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีผานการ

อุปสมบทแลว และ บอย ใชแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา และคํานําหนานามพบ 4 คํา คือ กือ ใช

นําหนาช่ือผูฟงเพศหญิงท่ีอายุนอยกวา แอ ใชนําหนาช่ือผูฟงเพศชายท่ีอายุนอยกวา คุณ ใชนําหนา

ช่ือผูฟงท่ีเปนพระภิกษ ุและไอ ใชนําหนาช่ือผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

Page 45: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

35

3.2. คําบุรุษสรรพนาม

เปรมจิต ชนะวงศ (2538: 197) กลาววา “บุรุษสรรพนาม หมายถึง คําท่ีใชแทนช่ือบุคคลท่ี

เกี่ยวของในการพูดจากัน หรือเปนคําบอกบุรุษซ่ึงกําหนดขึ้นใชตามสังคม การใชคําสรรพนามใน

บุรุษตางๆ จึงตางกันไปตามฐานะของบุคคลท้ังทางวัยวุฒิและคุณวุฒ”ิ

จากการศึกษาพบคําบุรุษสรรพนามท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

จํานวนท้ังส้ิน 22 คํา แบงเปนคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดจํานวน 13 คํา ไดแก กระผม

กัน1 กู ฉัน ผม เรา หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และไอ และคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัว

ผูฟงจํานวน 9 คํา ไดแก กัน2จาว ทาน มึง ล้ือ สู เจะ หนี่ ยู และเอง ดังตารางตอไปนี ้

ตารางท่ี 5 คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูด

คําแทนตัวผูพูด ตัวอยางประโยคท่ีใช

1. กระผม

ใชแทนตัวผูพูดเพศชายพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ีตนให

ความเคารพหรือผูท่ีมีอายุมากกวา

-กระผมจิไปโรงหมอ

‘กระผมจะไปโรงพยาบาล’

-กระผมโยเรินคนเดียว

‘กระผมอยูบานคนเดียว’

2. กัน1

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับผูท่ีเสมอกันท่ีสนิทสนม

กัน หรือบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-กันไมเนาะกินขาวที

‘กันไมตองการกินขาว’

-กันไมเนาะเรียนหนังสือไทย

‘กันไมตองการเรียนหนังสือไทย’

3. กู

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปทุกกลุมอายุ

ในชุมชนโดยไมถือวาเปนคําไมสุภาพ

-กูจิไปเรในวัด

‘กูจะไปเท่ียวในวัด’

-กูไมเนาะไปโรงหมอ

‘กูไมตองการไปโรงพยาบาล’

4. ฉัน

ใชแทนตัวผูพูดเพศหญิง เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไป

ทุกกลุมอายุ

-ฉันไปวัดทุกวัน

‘ฉันไปวัดทุกวัน’

-ฉันไมโรจักทีคนบานอ่ืน

‘ฉันไมรูจักคนหมูบานอ่ืนเลย’

5. ผม

ใชแทนตัวผูพูดเพศชาย เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไป

-ผมกินขาวแลว

‘ผมกินขาวแลว’

Page 46: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

36

ทุกกลุมอายุ -ผมไมเนาะเลนบอลลา

‘ผมไมชอบเลนฟุตบอล’

6. เรา

ใชแทนตัวผูพูดท้ังเพศชายและเพศหญิงปรากฏ ใช 3

แบบ คือ

1. ใชแทนตัวผูพูดคนเดียว เม่ือพูดกับบุคคล

ท่ัวไปทุกกลุมอายุ

2. ใชแทนตัวผูพูดและคนอ่ืนท่ีไมรวมผูฟง

3. ใชแทนตัวผูพูดและรวมผูฟงดวย

-เรายังหนังสือการตูน

‘เรามีหนังสือการตูน’

-เราไมไปทีปลํ้าตนไม

‘เราไมไปโคนตนไม’

-เราไปเรในวัดเติด

‘เราไปเท่ียววัดเถอะ’

7. หนู

ใชแทนตัวผูพูดเพศหญิง เม่ือพูดกับบุคคลท่ีมีอายุ

มากกวา

-หนูจะเปนเด็กดี

‘หนูจะเปนเด็กดี’

-หนูไมชอบเรียนหนังสือ

‘หนูไมชอบเรียนหนังสือ’

8. กิตอ (Kito)

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-กิตอเนาะเลนบอลลา

‘ฉัน (เรา กู )ชอบเลนฟุตบอล’

-กิตอไมเนาะใหไอดอนเลนที

‘ฉัน (เรา กู )ไมอยากใหไอดอนเลน

ดวย’

9. ซายอ (Saya)

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-ซายอเนาะเรียนหนังสือไทย

‘ฉัน (เรา กู )ชอบเรียนหนังสือไทย’

-ซายอไมชอบกินผัก

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบกินผัก’

10. อากู (Aku)

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-มาเลนบอลลากับอากเูติด

‘มาเลนฟุตบอลกับฉัน ( เรา กู )

เถอะ’

-อากูไมเนาะเลนบอลลา

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบเลน

ฟุตบอล’

11. หวอ ( )

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-หวอเนาะเรียนหนังสือไทย

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบเรียนหนังสือ

Page 47: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

37

ไทย’

-หวอจิไปเรในวัด

‘ฉัน (เรา กู )จะไปเท่ียวในวัด’

12. อั๊ว ( )

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-อั๊วไมเนาะใหมึงเลน

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบใหมึงเลน’

-อั๊วไมเนาะเรียนหนังสือท้ังเพ

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบเรียนหนังสือ

ทุกอยาง’

13. ไอ(I)

ใชแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-ไอชอบเรียนโยหนังสือไทย

‘ฉัน ( เ รา กู )ชอบเรียนอยู นะ

หนังสือไทย’

-ไอไมเนาะเลนบอลลา

‘ฉัน (เรา กู )ไมชอบเลนฟุตบอล’

จากตารางที่ 5 จะเห็นไดวา คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดท้ัง 13 คํานั้น

สวนใหญใชแทนตัวผูพูดโดยไมระบุเพศของผูพูดและใชไดกับผูฟงท่ัวไปในชุมชน ไดแก กัน1 กู

เรา กิตอ ซายอ อาก ูหวอ อ๊ัว และไอ นอกจากนั้นยังมีคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวพูดท่ีระบุ

เพศของ ผูพูดดวย คือ กระผม และ ผม ใชแทนตัวผูพูดเพศชาย สวน ฉัน และหนู ท่ีใชแทนตัวผูพูด

เพศหญิงเทานั้น

ตารางท่ี 6 คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟง

คําแทนตัวผูฟง ตัวอยางประโยคที่ใช

1. กัน2

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-กันไดเทไมไปกินขาว

‘กันทําไมไมไปกินขาว’

-กันแตงกันเสร็จแลวหมี

‘กันแตงตัวกันเสร็จหรือยัง’

2. ทาน

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุสงฆท่ีดํารงตําแหนง

เจาอาวาสวัด

หมายเหตุ สามารถใชนําหนาช่ือผูฟงเพ่ือระบุบุคคล

-ทานบายดีโยหมี

‘ทานสบายดีอยูไหม’

-ทานไมไปชุมเทวัดอ่ืนนอ

‘ทานไมไปประชุมท่ีวัดอ่ืนหรือ’

Page 48: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

38

ใหชัดเจน เชน ทานบุญ ทานทิศ เปนตน -ทานบุญวันนี้ประชุมหมี

‘ทานบุญวันนี้มีประชุมไหม’

3. มึง

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชนโดยไม

ถือวาเปนคําไมสุภาพ

-มึงไมเรไหนนอวันนี้

‘มึงไมเท่ียวไหนหรือวันนี้’

-มึงโยเรินกี่คน

‘มึงอยูบานกี่คน’

4. ลื้อ ( )

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-ลื้อเอาบอลลามาใหอ๊ัวมา

‘เธอ(มึง)เอาฟุตบอลมาใหอ๊ัวดวย’

-ลื้อไมไปเรียนหนังสือไทยนอ

‘เธอ(มึง)ไมไปเรียนหนังสือไทย

หรือ’

5. สู

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-สูกินขาวแลวหมี

‘สูกินขาวหรือยัง’

-สูบานโยคือไหน

‘สูบานอยูไหน’

6. เจะ (Cik)

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน เพ่ือ

แสดงความเคารพนับถือ

หมายเหตุ สามารถปรากฏนําหนาคํานามอ่ืนเพ่ือ

แสดงความเคารพ เชน เจะครู เปนตน

-เจะไมไปไหนนอ

‘คุณไมไปไหนหรือ’

-เจะครูสอนหมีวันนี้

‘คุณครูสอนหนังสือไหม

วันนี้’

7. หนี่ ( )

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-หนี่เนาะกินขาวหมี

‘เธอ(มึง)ตองการจะกินขาวไหม’

-หนี่อานหนังสือการตูนหมี

‘เธอ(มึง)อานหนังสือการตูนไหม’

8. ยู (You)

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-ยูไปคือไหน

‘เธอ(มึง)ไปไหน’

-ยูบานโยไหน

‘เธอ(มึง)บานอยูท่ีไหน’

9. เอง

ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปในชุมชน

-เองไปเอาเติด เพ่ือนขับรถไมชาง

‘เองไปเถอะ เพ่ือนขับรถไมเกง’

Page 49: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

39

-เองกินขาวแลวหมี

‘เองกินขาวแลวยัง’

จากตารางท่ี 6 จะเห็นไดวา คําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงท้ัง 9 คํานั้น สวนใหญ

เปนคําท่ีใชไดกับบุคคลท่ัวไปในชุมชน เชน กัน2 มึง ล้ือ สู เจะ หนี่ ยู และเอง นอกจากน้ียังมี

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชเฉพาะเพศ คือ จาว ใชแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีผานการอุปสมบทแลวเทานั้น และ

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชเฉพาะสถานภาพของบุคคล คือ ทาน ใชแทนตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุสงฆท่ีดํารง

ตําแหนงเจาอาวาสเทานั้น

จากกการศึกษาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ในดานท่ีมาของภาษาและประเภทของ

คําพบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีท้ังส้ิน 53 คํา

เปนคําท่ีมาจากภาษาตางๆ 4 ภาษา คือ ภาษาไทย ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาอังกฤษ ท้ังนี้พบคํา

แทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษาไทยมากท่ีสุด สวนประเภทของคํานั้นพบท้ังท่ีเปน

คํานามและคําบุรุษสรรพนาม โดยคํานามท่ีพบนั้นแบงเปน คําเรียกญาติ คําเรียกอาชีพ คําเรียก

ตําแหนง คํานามท่ัวไป และคํานําหนานาม ท้ังนี้ผูวิจัยจะนําคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ท้ังหมดไปวิเคราะหการใชตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงใน

บทตอไป

Page 50: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

40

บทที่ 4

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

ในบทนี้จะนําเสนอผลการวิเคราะหการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ตามตัวแปร

ทางสังคม โดยแบงออกเปน 2 หัวขอ คือ 1. การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด

2. การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง จําแนกออกเปน 3 ดาน คือ

2.1 ดานอายุ

2.2 ดานความเปนญาติ

2.3 ดานความสนิทสนม

4.1 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด

อายุเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีทําใหบุคคลในสังคมมีสถานภาพแตกตางกัน รวมทั้งมี

การใชภาษาท่ีแตกตางกันดวย จากการศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทย

สยามในชุมชนบางแซะ ตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูดพบวา คนแตละกลุมอายุมีการใชคํา

แทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังท่ีเหมือนและแตกตางกัน โดยแสดงไดดังตารางตอไปนี้

ตารางท่ี 7 การใชคําแทนตัวผูพูดตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด

คําแทนตัวผูพูด

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

1. ทวด1

2. ลุง1

3. ปา1

4. โตะ1

5. พอ1

6. แม1

40

Page 51: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

41

7. นา1

8. พ่ี1

9. เพ่ือน

10. กระผม

11. กัน1

12. ก ู

13. ฉัน

14. ผม

15. เรา

16. หนู

17. กิตอ

18. ซายอ

19. อาก ู

20. หวอ

21. อ๊ัว

22. ไอ

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 7 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในการพูดของผูพูดท้ัง 3 กลุมอายุมีท้ัง

ท่ีเหมือนกันและแตกตางกันโดยอาจจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชท้ัง 3

กลุมอายุ คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ

คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุมีท้ังหมด 9 คํา คือ ลุง1 พ่ี1 กัน1 กู ผม เรา กิตอ

ซายอ และอาก ูคําวา ลุง และ พ่ี เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดท่ีแสดงความสัมพันธ

ฉันญาติของผูพูดกับผูฟง ผูพูดทุกกลุมอายุท่ีมีสถานภาพเปนลุงหรือพ่ีของผูฟง จึงสามารถนําคําสอง

คํานี้มาใชเปนคําแทนตัวผูพูดได อนึ่ง แมผูพูดกลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป) จะมีอายุท่ียังไมสมควรมี

สถานภาพเปนลุงของผูฟงได แตจากการเก็บขอมูลภาคสนามพบวา มีผูชายในชุมชนบางแซะท่ี

นองสาวของตนแตงงาน มีบุตร และยายไปอยูชุมชนอ่ืน ชายคนดังกลาวจึงมีสถานภาพเปนลุงของ

บุตรของนองสาวตน และใชคําวาลุงเปนคําแทนตัวผูพูด เม่ือพูดกับหลานของตนดวย สวนคําวา

กัน1 กู ผม เรา กิตอ ซายอ และอาก ูเปนคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดไดทุกกลุม

Page 52: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

42

อาย ุเนื่องจากคําเหลานี้เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีไมระบุเพศและอายุของผูพูด ยกเวนคําวา ผม ท่ีใช

เปนคําแทนตัวผูพูดเพศชายเทานั้น

คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ สามารถแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดท่ี

ปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 และคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 2 และกลุม

อายุท่ี 3 ดังนี้ คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 มี 6 คํา คือ ปา1 โตะ1 พอ1

แม1 นา1 และฉัน จะเห็นไดวาคําวา ปา1 โตะ1 พอ1 แม1 และ นา1 เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคํา

แทนตัวผูพูดท่ีแสดงความสัมพันธฉันญาติของผูพูดกับผูฟง และมีความหมายวาผูพูดมีอายุมากกวา

ผูฟงดวย คําดังกลาวจึงปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 เทานั้น สวนกลุมอายุท่ี 3 ไม

ปรากฏใชคําดังกลาวเปนคําแทนตัวผูพูดเลย ท้ังนี้เนื่องจากผูพูดกลุมอายุท่ี 3 ยังมีวัยท่ียังไมสามารถมี

สถานภาพเปน ปา โตะ พอ แม และนาได สวนคําวา ฉัน เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผู

พูดในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 แตไมปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 3 เนื่องจากผูพูดในกลุมอายุท่ี 3

เห็นวาเปนคําของผูใหญท่ีเด็กวัยรุนไมนิยมนํามาใช (ปริ่ม โกศลสุวรรณ. สัมภาษณ, 2555) สวนคํา

แทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 มี 2 คํา คือ เพ่ือน และ หนู มักใชเปนคํา

แทนตัวผูพูดเพ่ือแสดงความออนนอมและแสดงวาผูพูดมีอายุนอยกวา คําท้ังสองคําดังกลาวไม

ปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 เนื่องจากผูพูดกลุมอายุท่ี 1 เห็นวา คําวา เพ่ือน และ หนู เปนคําของเด็กท่ี

ผูใหญไมสมควรนํามาใชเพราะไมเหมาะสมกับวัย (ดารา พุทธซอน. สัมภาษณ , 2554)

คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุม มี 5 คํา คือ ทวด1 และกระผม ปรากฏใชเฉพาะกลุม

อายุท่ี 1 และ หวอ อ๊ัว และไอ ปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุท่ี 3 การท่ีคําแทนตัวผูพูดท้ัง 5 คํา ปรากฏใช

เฉพาะกลุมอายุอาจมีสาเหตุดังนี้คือ คําวา ทวด เปนคํา เรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดท่ี

แสดงความสัมพันธฉันญาติของผูพูดกับผูฟง โดยผูพูดจะตองมีอายุมากกวาปู ยา ตา และยายของ

ผูฟงเทานั้น ดังนั้นจึงปรากฏใชเฉพาะในกลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) ท่ีมีวัยสมควรกับการมีสถานภาพ

ดังกลาวไดเทานั้น คําวา กระผม เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดเพศชาย แสดง

ความเคารพนับถือและนอบนอมตอผูฟงอยางมาก ปรากฏใชเฉพาะในกลุมอายุท่ี 1 เทานั้น เนื่องจาก

ผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และ 3 เห็นวา เปนคําท่ีแสดงความสุภาพเกินสมควร และเปนคําของผูท่ีมีอายุมาก

เทานั้น จึงไมนิยมนํามาใช (ดํา กาละทาน . สัมภาษณ , 2555) สวนคําวา หวอ อ๊ัว และไอ

เปนคําบุรุษสรรพนามภาษาจีนและภาษาอังกฤษ ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดและปรากฏใชเฉพาะ

ในกลุมอายุท่ี 3 เทานั้น ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากคําท้ัง 3 คําดังกลาวเปนคําภาษาตางประเทศท่ีใชส่ือสาร

กันในโรงเรียน โดยเฉพาะในกลุมผูเรียนท่ีเรียนในโรงเรียนท่ีเนนภาษาจีนและภาษาอังกฤษดวยกัน

จึงอาจเปนไปไดวาผูพูดกลุมอายุท่ี 3 นําคําเหลานี้มาใชปนเปนคําแทนตัวผูพูดเม่ือพูดภาษาไทยดวย

Page 53: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

43

ตารางท่ี 8 การใชคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูด

คําแทนตัวผูฟง

อายุของผูผูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

1. ทวด2

2. พอแก

3. แมแก

4. ลุง2

5. ปา2

6. โตะ2

7. พอ2

8. แม2

9. นา2

10. พ่ี2

11. โกโก

12. นอง

13. คร ู

14. มิสซี

15. นาย

16. พอทาน

17. จาว

18. บอย

19. กือ

20. แอ

21. คุณ

22. ไอ

23. กัน2

24. ทาน

25. มึง

26. ล้ือ

Page 54: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

44

27. สู

28. เจะ

29. หนี่

30. ยู

31. เอง

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 8 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชในการพูดของผูพูดท้ัง 3 กลุมอายุมีท้ัง

ท่ีเหมือนกันและแตกตางกันโดยจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุม

อาย ุคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ

คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุ มี 23 คํา คือ ลุง2 ปา2โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 นอง ครู

มิสซี นาย พอทาน จาว กือ แอ คุณ ไอ กัน2 ทาน มึง สู เจะ และเอง คําวา ลุง2 ปา2โตะ2 พอ2 แม2 นา2

พ่ี2 และนอง เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีแสดงความสัมพันธฉันญาติของผูพูดกับ

ผูฟง ผูพูดทุกกลุมอายุจึงสามารถใชคําดังกลาวแทนตัวผูฟงท่ีมีสถานภาพนั้นๆ คําวา ครู มิสซี นาย

พอทาน และจาว เปนคําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง และคํานามท่ัวไป ตามลําดับ ท่ีนํามาใชเปนคํา

แทนตัวผูฟง คําดังกลาวใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีระบุอาชีพ ตําแหนง และสถานภาพทางสังคมของ

ผูฟงโดยเฉพาะ ผูพูดทุกกลุมอายุจึงสามารถนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีมีอาชีพ ตําแหนง และ

สถานภาพทางสังคมนั้นๆได กลาวคือ ไมวาผูพูดจะอยูในกลุมอายุใด ก็สามารถใชคําวา ครู แทนผูฟง

ท่ีมีอาชีพเปนครู ใชคําวา นาย แทนผูฟงท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบาน และใชคําวา จาว แทนผูฟงท่ีผาน

การอุปสมบทแลวได

สวนคําวา กือ แอ คุณ และไอ เปนคํานําหนานามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง โดยใช

นําหนาช่ือของผูฟงเพ่ือระบุเพศของผูฟง แสดงความเคารพ หรือความสนิทสนมระหวางผูพูดกับ

ผูฟง ผูพูดทุกกลุมอายุจึงสามารถนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพ่ือแสดงเพศของผูฟง ความเคารพท่ี

ผูพูดมีตอผูฟง และความสนิมสนมระหวางผูพูดกับผูฟงได กลาวคือ ไมวาผูพูดจะอยูในกลุมอายุใดก็

สามารถใชคําวา กือ หรือ แอ เพ่ือระบุเพศของผูฟง วาเปนหญิงหรือชาย ตามลําดับ เม่ือผูพูดกับผูฟง

ท่ีอายุนอยกวา สามารถใชคําวา คุณ เพ่ือแสดงความเคารพผูฟงท่ีเปนพระภิกษุ และใชคําวา ไอ เพ่ือ

แสดงความสนิทสนมระหวางผูพูดกบัผูฟงเม่ือพูดกับผูฟงท่ีอายุนอยกวาได คําวา กัน2 มึง สู และ เอง

เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง ใชไดกับผูฟงท่ัวไปโดยไมระบุเพศ และอายุของ

ผูฟง ผูพูดท้ัง 3 กลุมอายุจึงสามารถใชคําดังกลาวเปนคําแทนตัวผูฟงได สวนคําวา ทาน และ เจะ

Page 55: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

45

เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพ่ือใชแสดงความเคารพนับถือ โดยคําวา ทาน

ใชกับผูฟงท่ีเปนพระภิกษุท่ีดํารงตําแหนงเจาอาวาสเทานั้น อีกท้ังคําท้ัง 2 คําดังกลาวไมไดระบุอายุ

ของผูฟงดวย ผูพูดท้ัง 3 กลุมอายุ จึงสามารถใชคําดังกลาวเปนคําแทนตัวผูฟงไดดวยเชนกัน

คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ มี 6 คํา คือ ทวด2 พอแก แมแก บอย ล้ือ และ ยู คํา

ดังกลาวปรากฏใชในการพูดของผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 เทานั้น คําวา ทวด2 พอแก แมแก

เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง ท่ีแสดงความสัมพันธฉันญาติของผูพูดกับผูฟงและ

หมายความวา ผูฟงมีอายุมากวาผูพูดมาก กลาวคือ คําวา ทวด2 เปนคําแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุมากกวา ปู

ยา ตา และยายของผูพูด สวนคําวา พอแก และแมแก เปนคําแทนตัวผูฟงท่ีมีอายุมากกวาพอและแม

ของผูพูด ผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 เปนรุนอายุท่ียังมีญาติท่ีมีความสัมพันธ เปน ทวด พอแก

และแมแกกับตนอยู คําดังกลาวจึงปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูฟงใน 2 กลุมอายุนี ้สวนผูพูดกลุมอายุท่ี

1 นั้นญาติท่ีมีความสัมพันธดังกลาวไมมีชีวิตอยูแลว จึงไมปรากฏใชคําดังกลาวเปนคําแทนตัวผูฟง

สวนคําวา บอย ล้ือ และยู เปนคําภาษาอังกฤษ และภาษาจีนท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง เหตุท่ี

ปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 อาจเนื่องมาจากผูพูดท้ัง 2 กลุมอายุ เปนรุนอายุท่ีไดเรียน

หรือไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ จึงนําคําภาษาตางประเทศมาใชปนเปนคําแทนตัวผูฟงดวย

คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ มี 2 คือ คําวา โกโก และ หนี่ ปรากฏใชเฉพาะ

กลุมอายุท่ี 3 เทานั้น คําท้ัง 2 คําดังกลาวเปนคําเรียกญาติและคําบุรุษสรรพนามท่ีมาจากภาษาจีน อาจ

เปนไปไดวาคําเหลานี้เปนคําท่ีใชในการเรียนการสอน และส่ือสารในโรงเรียนท่ีเนนภาษจีนท่ีคน

กลุมอายุท่ี 3 ในชุมชนบางแซะ เรียนอยู และนํามาใชปนเปนคําแทนตัวผูฟงเม่ือพูดกับชาวไทยสยาม

ดวยกันในชุมชนดวย

4.2 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธ

ระหวางผูพูดกับผูฟง โดยจําแนกออกเปน 3 ดาน คือ ดานอายุ ดานความเปนญาติ และดานความ

สนิทสนม ดังตอไปนี ้ 4.2.1 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟงดานอายุ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุเปนปจจัยกําหนดพฤติกรรม และการใชภาษา

ในการส่ือสารของบุคคลในสังคมแตละสังคม จากการศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัว

Page 56: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

46

ผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ พบวา ผู

พูดและผูฟงท่ีมีความสัมพันธดานอายุตางกันมีการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังท่ี

เหมือนและแตกตางกัน ดังตอไปนี ้

ตารางท่ี 9 การใชคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอาย ุ

คําแทนตัว

ผูพูด

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ใชกับผูฟงท่ีอายุ ใชกับผูฟงท่ีอายุ ใชกับผูฟงท่ีอายุ

มากกวา เทากัน นอยกวา มากกวา เทากัน นอยกวา มากกวา เทากัน นอยกวา

1. ทวด1

2. ลุง1

3. ปา1

4. โตะ1

5. พอ1

6. แม1

7. นา1

8. พ่ี1

9. เพ่ือน

10. กระผม

11. กัน1

12. ก ู

13. ฉัน

14. ผม

15. เรา

16. หนู

17. กิตอ

18. ซายอ

19. อาก ู

20. หวอ

21. อ๊ัว

Page 57: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

47

22. ไอ

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 9 จะเห็นไดวา คําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ

สามารถแบงเปน 5 ประเภท ตามลักษณะการใช ดังนี ้

1. คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา

2. คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

3. คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวาและเทากัน

4. คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา

5. คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา มี 1 คํา คือ คําวา หนู ปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 2

และกลุมอายุท่ี 3 คําวา หนู เปนคําบุรุษสรรพนาม มีความหมายแสดงความออนอาวุโสกวา และ

แสดงความนอบนอมท่ีผูพูดมีตอผูฟงเสมอ จึงใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวาเทานั้น

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา มี 8 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1 พอ1 แม1 นา1

และพ่ี1 คําท้ังหมดนี้เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูด เพ่ือแสดงความสัมพันธฉันญาติ

และมีความหมายวาผูพูดมีอายุมากกวาเสมอ ดังนั้นจึงใชกับผูฟงท่ีมีอายุนอยกวาเทานั้น

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวาและเทากัน มี 1 คํา คือ คําวา กระผม ปรากฏใช

ในกลุมอายุท่ี 1 คําวา กระผม เปนคําบุรุษสรรพนาม ท่ีระบุเพศของผูพูด และมีความหมายแสดง

ความสุภาพและความเคารพนับถือผูฟง ผูพูดเพศชายจึงมักใชคํานี้กับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา หรือผูฟงท่ี

มีอายุเทากันท่ีตองการแสดงความสุภาพอยางมาก

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา มี 2 คํา คือ คําวา อ๊ัว และไอ ปรากฏ

ใชในกลุมอายุท่ี 3 เทานั้น คําวา อ๊ัว และไอ เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีมาจากภาษาจีน และภาษาอังกฤษ

ท่ีคนในกลุมอายุท่ี 3 ซ่ึงเรียนในโรงเรียนท่ีเนนภาษาตางประเทศ นํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูด เพ่ือ

แสดงความคุนเคยสนิทสนมกับผูฟง จึงปรากฏใชเม่ือพูดกับผูฟงท่ีมาอายุเทากันและนอยกวาเทานั้น

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา มี 10 คํา คือ เพ่ือน กัน1 กู

ฉัน ผม เรา กิตอ ซายอ อากู และหวอ คําดังกลาวบางคําปรากฏใชในผูพูดทุกกลุมอายุ บางคําปรากฏ

ใชในผูพูด 2 กลุมอายุ และบางคําปรากฏใชในผูพูดเฉพาะกลุมอายุ คําสวนใหญในกลุมนี้เปนคําบุรุษ

สรรพนามท่ีไมระบุเพศ และอายุของผูพูด ไดแก กัน1 กู เรา กิตอ ซายอ อากู และหวอ สวนคําวา ผม

และ ฉัน แมจะระบุวาผูพูดเปนเพศชายและเพศหญิงตามลําดับ แตก็ไมไดระบุอายุของผูพูด

Page 58: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

48

เชนเดียวกันกับคําวา เพ่ือน ท่ีเปนคํานามท่ัวไปท่ีนํามาใหเปนคําแทนตัวผูพูดก็ไมไดระบุเพศ และ

อายุของผูพูดเชนกนั ดังนั้นผูพูดจึงสามารถนําคําเหลานี้มาใชเปนคําแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับผูฟงทุก

กลุมอายุได

ตารางท่ี 10 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอาย ุ

คําแทนตัว

ผูฟง

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ใชกับผูฟงท่ีอายุ ใชกับผูฟงท่ีอายุ ใชกับผูฟงท่ีอายุ

มากกวา เทากัน นอยกวา มากกวา เทากัน นอยกวา มากกวา เทากัน นอยกวา

1. ทวด2

2. พอแก

3. แมแก

4. ลุง2

5. ปา2

6. โตะ2

7. พอ2

8. แม2

9. นา2

10. พ่ี2

11. โกโก

12. นอง

13. คร ู

14. มิสซี

15. นาย

16. พอทาน

17. จาว

18. บอย

19. กือ

20. แอ

21. คุณ

Page 59: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

49

22. ไอ

23. กัน2

24. ทาน

25. มึง

26. ล้ือ

27. สู

28. เจะ

29. หนี่

30. ยู

31. เอง

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 10 จะเห็นไดวา คําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ

สามารถแบงเปน 4 ประเภท ตามลักษณะการใช ดังนี ้

1. คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา

2. คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

3. คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา

4. คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา มี 11 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2

พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 และ โกโก คําท้ัง 11 คํานี้เปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพ่ือแสดง

ความสัมพันธฉันญาติ และมีความหมายวาผูฟงมีอายุมากกวาเสมอ ดังนั้นผูพูดจึงใชคําดังกลาวกับ

ผูฟงท่ีมีอายุมากกวาเทานั้น

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับคนท่ีมีอายุนอยกวา มี 1 คํา คือ นอง คําวา นอง เปนคําเรียกญาติท่ี

นํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพ่ือแสดงความสัมพันธฉันญาติ และมีความหมายวาผูฟงมีอายุนอยกวา

เสมอ ดังนั้นผูพูดจึงนําคําดังกลาวมาใชกับผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับคนท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา มี 5 คํา คือ กือ แอ ไอ ล้ือ และ ยู คําท้ัง

5 คําดังกลาว เปนคํานําหนานามและคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงโดยไมระบุอายุ

ของผูพูดและผูฟง แตจะมีความหมายแฝงถึงความเปนกันเองและรุนอายุเดียวกัน ดังนั้นผูพูดจึงไมใช

Page 60: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

50

คําดังกลาวเม่ือพูดกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวาเพราะอาจเปนการแสดงความไมสุภาพ แตจะใชเปนคํา

แทนตัวผูฟงท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา มี 14 คําคือ ครู มิสซี นาย

พอทาน จาว บอย คุณ กัน2 ทาน มึง สู เจะ หนี่ และ เอง คําวา ครู มิสซี นาย พอทาน จาว คุณ ทาน

และเจะ เปนคําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง คํานามท่ัวไป คํานําหนานาม และคําบุรุษสรรพนาม

ตามลําดับ ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพ่ือแสดงถึงการใหเกียรติผูฟงท่ีมีอาชีพ ตําแหนง และ

สถานภาพนั้นๆ โดยไมไดคํานึงวาผูฟงมีอายเุทาใด ดังนั้นผูพูดจึงนําคําท้ัง 8 คํานี้มาใชเปนคําแทนตัว

ผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวาตนเองได เพราะคํานึงถึงการใหเกียรติผูฟงตามอาชีพ

ตําแหนง และสถานภาพเปนสําคัญ คําวา บอย เปนคํานามท่ัวไปท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง

ปรากฏใชในผูพูดกลุมอายุท่ี 3 เทานั้น แมวาคํานี้จะใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา

ได แตจะไมใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวามาก กลาวคือ ผูพูดกลุมอายุท่ี 3 ใชคําวา บอย กับผูฟงท่ีมีอายุ

มากกวาเฉพาะในรุนอายุเดียวกันเทานั้น เชน ใชคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนพ่ีวา บอย ได แตจะไมใชกับ

ผูฟงท่ีอยูตางรุนอายุกัน กลาวคือ จะไมใชคําแทนตัวผูฟงท่ีเปน พอ ลุง ปู และ ทวด วา บอย โดย

เด็ดขาด

สวนคําวา กัน2 มึง สู เอง และ หนี่ เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟง ได

ท้ังกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา ท้ังนี้เพราะคําบุรุษสรรพนามท้ัง 5 คํานี้ ไมไดระบุ

เพศ และอายุของผูพูดและผูฟง ดังนั้นผูพูดชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะจึงนําคําเหลานี้มาใชแทน

ตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลท่ัวไปได โดยไมถือวาเปนคําไมสุภาพ

4.2.2 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

ดานความเปนญาติ

ความเปนญาติหรือความสัมพันธทางสายเลือดของบุคคลในแตละสังคมเปนปจจัยหนึ่งท่ี

อาจจะทําใหบุคคลมีพฤติกรรมหรือมีการปฏิบัติตนท่ีแตกตางกันไปเม่ือส่ือสารกับบุคคลท่ีมี

ความสัมพันธแบบเปนญาติและไมใชญาติ ท้ังนี้รวมถึงการเลือกใชภาษาดวย จากการศึกษาการใชคํา

แทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาติของชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะพบวามีความเหมือนและแตกตางกัน ดังนี้

Page 61: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

51

ตารางท่ี 11 การใชคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาติ

คําแทนตัวผูพูด

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง

ญาติ ไมใชญาต ิ ญาติ ไมใชญาต ิ ญาติ ไมใชญาติ

1. ทวด1

2. ลุง1

3. ปา1

4. โตะ1

5. พอ1

6. แม1

7. นา1

8. พ่ี1

9. เพ่ือน

10. กระผม

11. กัน1

12. ก ู

13. ฉัน

14. ผม

15. เรา

16. หนู

17. กิตอ

18. ซายอ

19. อาก ู

20. หวอ

21. อ๊ัว

22. ไอ

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

Page 62: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

52

จากตารางท่ี 11 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดาน

ความเปนญาติ สามารถแบงเปน 2 ประเภท ตามลักษณะการใช คือ คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ี

เปนญาติ และคําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาต ิ

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีเปนญาติ มี 2 คํา คือ พอ และ แม คําวา พอและแม เปนคําเรียก

ญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูด ปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 เทานั้น เนื่องจากเปน

กลุมอายุท่ีสมควรมีบุตรได ผูพูดท่ีมีสถานภาพเปนพอและแมจะใชคําดังกลาวแทนตัวเอง เม่ือพูดกับ

ลูกของตนเทานั้น และไมใชเม่ือพูดกับผูฟงท่ีไมใชลูกของตนเอง

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาติ มี 20 คํา คือ ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1

นา1 พ่ี1 เพ่ือน กระผม กัน1 กู ฉัน ผม เรา หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และ ไอ คําเหลานี้มีท้ัง

คําเรียกญาติ คํานามท่ัวไป และคําบุรุษสรรพนาม ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูด การใชคําเรียกญาติ

คือ ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1 นา1 และ พ่ี1 เปนคําแทนตัวผูพูดท้ังกับผูฟงท่ีเปนญาติและไมใชญาติของชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะนั้น อาจเปนเพราะคนในชุมชนมีความใกลชิด รักใคร นับถือ และ

ผูกพันกันเสมือนหนึ่งญาติ อยางไรก็ตามคํานามท่ัวไปและคําบุรุษสรรพนาม คือ เพ่ือน กระผม กัน1

กู ฉัน ผม เรา หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และ ไอ ก็สามารถใชเปนคําแทนตัวผูพูดเม่ือพูดกับผูฟง

ท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาติไดดวยเชนกัน

ตารางท่ี 12 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาต ิ

คําแทนตัวผูฟง

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง

ญาติ ไมใชญาต ิ ญาติ ไมใชญาต ิ ญาติ ไมใชญาต ิ

1. ทวด2

2. พอแก

3. แมแก

4. ลุง2

5. ปา2

6. โตะ2

7. พอ2

8. แม2

Page 63: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

53

9. นา2

10. พ่ี2

11. โกโก

12. นอง

13. คร ู

14. มิสซี

15. นาย

16. พอทาน

17. จาว

18. บอย

19. กือ

20. แอ

21. คุณ

22. ไอ

23. กัน2

24. ทาน

25. มึง

26. ล้ือ

27. สู

28. เจะ

29. หนี่

30. ยู

31. เอง

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 12 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดและผูฟงดาน

ความเปนญาติ สามารถแบงเปน 3 ประเภท ตามลักษณะการใช คือ คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ี

เปนญาติ คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีไมใชญาติ และคําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและ

ไมใชญาต ิ

Page 64: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

54

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีเปนญาติ มี 7 คํา ไดแก พอแก แมแก พอ2 แม2 โกโก บอย และ

ไอ คําสวนใหญเปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเฉพาะท่ีเปนญาติเทานั้น คือ พอแก แม

แก พอ2 แม2 และโกโก สวนคําวา บอย และไอ เปนคํานามท่ัวไปและคํานําหนานาม ตามลําดับ ท่ี

นํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงมีความหมายแฝงถึงความสนิมสนม และความเปนกันเองอยูมาก จึงใช

กับผูฟงท่ีเปนญาติเทานั้น เพราะหากนําไปใชกับผูฟงท่ีไมใชญาติอาจแสดงความไมสุภาพได

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีไมใชญาติ มี 3 คํา คือ ล้ือ หนี่ และยู คําท้ัง 3 คํานี้ เปน

คําบุรุษสรรพนามท่ีมาจากภาษาจีนและภาษาอังกฤษ ซ่ึงคนในกลุมอายุท่ี 3 ใชในการส่ือสารใน

โรงเรียนท่ีเนนภาษาตางประเทศนั้นๆ จึงเปนไปไดวาอาจใชเปนคําแทนตัวผูฟงเม่ือพูดกับเพ่ือน

นักเรียนในโรงเรียนเพ่ือแสดงความสัมพันธแบบเพ่ือนเทานั้น จึงไมนํามาใชกับผูฟงท่ีเปนญาตดิวย

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาติ มี 21 คํา คือ ทวด2 ลุง2 ปา2 โตะ2

นา2 พ่ี2 นอง ครู มิสซี นาย พอทาน จาว คุณ กือ แอ กัน2 ทาน มึง สู เจะ และ เอง คําแทนตัวผูฟงใน

กลุมนี้ สวนหนึ่งเปนคําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาติ ไดแก

ทวด2 ลุง2 ปา2 โตะ2 นา2 พ่ี2 และนอง จะสังเกตเห็นไดวาคําเรียกญาติท่ีเปนรุนอายุสูงกวาผูพูดจะ

ไมใชญาติสายตรง คือไมใช พอ แม หรือ ปู ยา ตา และยาย ซ่ึงคําเรียกญาติสายตรงเหลานั้นจะให

เปนคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนญาติเทานั้น สวนคําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง คํานามท่ัวไป และคํา

นําหนานาม คือ ครู มิสซี นาย พอทาน จาว และคุณ แมวาจะเปนคําท่ีระบุอาชีพ ตําแหนง หรือ

สถานภาพของผูฟง อยางชัดเจนก็ตาม แตหากมีบุคคลท่ีเปนญาติประกอบอาชีพ ดํารงตําแหนง หรือ

มีสถานภาพนั้นๆ ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะก็มักนํามาใชเปนคําเรียกผูฟงท่ีเปนญาติดวย

4.2.3 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดาน

ความสนิทสนม

ผูวิจัยวิเคราะหการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟงดานความสนิทสนม เฉพาะในกรณีท่ีผูพูดและผูฟงมีความสัมพันธแบบไมใชญาติเทานั้น ผล

การศึกษาแสดงไดดังตารางตอไปนี ้

ตารางที่ 13 การใชคําแทนตัวผู พูดตามความสัมพันธระหวางผู พูดกับผูฟง ท่ีไมใชญาติ

ดานความสนิทสนม

คําแทนตัวผูพูด

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง

Page 65: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

55

สนิท ไมสนิท สนิท ไมสนิท สนิท ไมสนิท

1. ทวด1

2. ลุง1

3. ปา1

4. โตะ1

5. พอ1

6. แม1

7. นา1

8. พ่ี1

9. เพ่ือน

10. กระผม

11. กัน1

12. ก ู

13. ฉัน

14. ผม

15. เรา

16. หนู

17. กิตอ

18. ซายอ

19. อาก ู

20. หวอ

21. อ๊ัว

22. ไอ

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 13 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงท่ีไมใช

ญาติ ดานความสนิทสนม ไมมีความแตกตางในการใช กลาวคือผูพูดจะใชคําแทนตัวผูพูดกับผูฟงท้ัง

ท่ีสนิทและไมใชสนิท ดวยคําตอไปนี้ได คือ ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1 นา1 พ่ี1 เพ่ือน กระผม กัน1 กู ฉัน

ผม เรา หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และ ไอ แสดงใหเห็นวาความสนิทสนมไมมีผลตอการเลือกใช

Page 66: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

56

คําแทนตัวผูพูดของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ อนึ่งคําวา พอ1 และ แม1 ท่ีไมปรากฏใชท้ังสอง

ความสัมพันธในตารางขางตน เนื่องจากชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะจะใหคําวา พอ1 และ แม1

กับผูฟงท่ีเปนญาติคือลูกของตนเทานั้น

ตารางที่ 14 การใชคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผู พูดกับผูฟง ท่ีไมใชญาติ

ดานความสนิทสนม

คําแทนตัวผูฟง

อายุของผูพูด

กลุมอายุท่ี 1 (65-80 ป) กลุมอายุท่ี 2 (35-50 ป) กลุมอายุท่ี 3 (5-20 ป)

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟง

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง

สนิท ไมสนิท สนิท ไมสนิท สนิท ไมสนิท

1. ทวด2

2. พอแก

3. แมแก

4. ลุง2

5. ปา2

6. โตะ2

7. พอ2

8. แม2

9. นา2

10. พ่ี2

11. โกโก

12. นอง

13. คร ู

14. มิสซี

15. นาย

16. พอทาน

17. จาว

18. บอย

19. กือ

Page 67: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

57

20. แอ

21. คุณ

22. ไอ

23. กัน2

24. ทาน

25. มึง

26. ล้ือ

27. สู

28. เจะ

29. หนี่

30. ยู

31. เอง

เคร่ืองหมาย : หมายถึง ปรากฏการใช

หมายถึง ไมปรากฏการใช

จากตารางท่ี 14 จะเห็นไดวาคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูดและผูฟงท่ีไมใช

ญาติดานความสนิทสนม สามารถแบงเปน 2 ประเภท ตามลักษณะการใช คือ คําแทนตัวผูฟงท่ีใช

กับผูฟงท่ีสนิท และคําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีสนิทและไมสนิท

คําแทนตัวผูฟง ท่ีใชกับผูฟง ท่ีสนิท มี 3 คํา คือ ล้ือ หนี่ และ ยู คําท้ัง 3 คํานี้ เปน

คําบุรุษสรรพนามท่ีมาจากภาษาจีนและภาษอังกฤษ ท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูฟงเม่ือพูดกับผูฟงท่ี

ไมใชญาติเทานั้น เนื่องจากเปนคําท่ีผูพูดกลุมอายุท่ี 3 ใหพูดกับเพ่ือนนักเรียนในโรงเรียนท่ีเนน

ภาษาตางประเทศดังไดกลาวแลวขางตน อยางไรก็ตามคําท้ัง 3 คําดังกลาวเม่ือนํามาใชในการส่ือสาร

กับชาวไทยสยามในชุมชนผูพูดจะเลือกใชกับผูฟงท่ีสนิทกันเทานั้น

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีสนิทและไมสนิท มี 21 คํา คือ ทวด2 ลุง2 ปา2 โตะ2 นา2 พ่ี2

นอง ครู มิสซี นาย พอทาน กือ แอ คุณ กัน จาว ทาน มึง สู เจะ และ เอง คําแทนตัวผูฟงเหลานีมี้ท้ังท่ี

เปนคําเรียกญาติ คําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง คํานามท่ัวไป คํานําหนานาม และคําบุรุษสรรพนาม

จะเห็นไดวาคําเรียกญาติ ท่ีใชกับผูฟงท่ีไมใชญาตินั้น สามารถใชกับผูฟงท้ังท่ีสนิทและไมสนิทได

แสดงถึงความสัมพันธฉันญาติของคนในชุมชนไดเปนอยางดี สวนคําเรียกอาชีพ คําเรียกตําแหนง

และคํานามท่ัวไปท่ีแสดงสถานภาพทางสังคมของผูพูดนั้นก็สามารถใชไดกับผูฟงท้ังท่ีสนิทและไม

สนิท แสดงถึงการใหเกียรติแกผูฟงตามอาชีพ ตําแหนง และสถานภาพของคนในชุมนชนไดอยาง

Page 68: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

58

ชัดเจนย่ิงขึ้น อนึ่ง คําวา พอแก แมแก พอ2 แม2 โกโก บอย และไอ ท่ีไมปรากฏใชในตารางขางตน

เนื่องจากเปนคําท่ีใชกับผูฟงท่ีเปนญาติเทานั้น ดังท่ีไดกลาวไปแลว

จากการวิเคราะหขอมูลของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชน

บางแซะตามปจจัยทางสังคมของผูพูดแบะความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานตางๆ ขางตนจะ

เห็นไดวามีท้ังท่ีเหมือนและแตกตางกัน ผูวิจัยจะนําผลการวิเคราะหดังกลาวไปศึกษาลักษณะทาง

สังคมและวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะในบทตอไป

Page 69: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

59

บทท่ี5

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ของชาวไทยสยาม

ในบทนี้ผูวิจัยเสนอผลการศึกษาท่ีแสดงใหเห็นลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสะทอน

จากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ซ่ึงจําแนกออกเปน 4 ประการ คือ

1. สังคมท่ีดํารงวัฒนธรรมไทยอยางเขมแข็ง

2. สังคมท่ีมีความสัมพันธฉันญาติ

3. สังคมท่ีใหความเคารพผูมีตําแหนงหนาท่ีสูง

4. สังคมท่ีใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา

5. สังคมท่ีกําลังเปล่ียนแปลง

5.1 สังคมที่ดํารงวัฒนธรรมไทยอยางเขมแข็ง

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเลือกใชนั้นมี

หลายภาษา ถือไดวาชุมชนแหงนี้เปนชุมชนพหุภาษา ท้ังนี้เนื่องจากคนในชุมชนตองใชภาษามลายู

ถ่ินกลันตันในการส่ือสารกับคนตางชาติพันธุ ใชภาษามลายูกลางในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ

และอาจใหภาษาจีนในการส่ือสารกับคนจีนดวย นอกจากชุมชนแหงนี้จะอยูในวงลอมของภาษา

ตางๆแลว ยังอยูทามกลางวัฒนธรรมท่ีแตกตางอีกดวย อยางไรก็ตามทามกลางวัฒนธรรมท่ีแตกตาง

เหลานั้นชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะยังดํารงวัฒนธรรมไทยไวไดอยางเขมแข็ง จากการศึกษา

พบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเลือกใชมากท่ีสุดคือคํา

ท่ีมาจาก ภาษาไทย โดยปรากฏใชมากถึง 38 คําคิดเปนรอยละ 71.70 จําแนก เปนคําแทนตัวผูพูด

15 คํา และคําแทนตัวผูฟง 23 คํา ดังนี้

คําแทนตัวผูพูด ไดแก กระผม กัน1 กู ฉัน ทวด1 นา1 ปา1 ผม พอ1 เพ่ือน พ่ี1 แม1 เรา ลุง1 หนู

คําแทนตัวผูฟง ไดแก กัน2 กือ คุณ ครู จาว ทาน ทวด1 นา2 นาย นอง ปา2 พ่ี2 พอ2 พอแก

พอทาน มึง แม2 แมแก ลุง2 สู แอ เอง ไอ

การเลือกใชคําภาษาไทยเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงมากกวาภาษาอ่ืนนี้ เปน

หลักฐานประการหนึ่งท่ีแสดงใหเห็นวาชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ใหความสําคัญกับ

ภาษาไทยอันเปนสวนหนึ่งในการดํารงวัฒนธรรมไทยไวทามกลางวัฒนธรรมมลายู จีน และอินเดีย

ท่ีอยูรายรอบ

59

Page 70: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

60

ผลการศึกษาท่ีพบวามีการใชคําวา กัน เปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทย

สยามในชุมชนบางแซะก็เปนเคร่ืองยืนยันอีกประการหนึ่งวาสังคมชาวไทยสยามท่ีชุมชนบางแซะ

ยังคงรักษาวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะอยางย่ิงการใชภาษาไทยไวไดอยางม่ันคง กลาวคือ วราภรณ

แสงสด (2532 :17) พบคําวา กัน เปนคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดมาตั้งแตสมัยรัชกาล

ท่ี 5 เปนตนมา และพบคําวา กัน เปนคําแทนตัวผูพูดของตัวละครในบทละครเรื่องหนูจา พิมพใน

สมัยรัชกาลท่ี 5 ตัวอยางบทสนทนา “อาว...อยาฉุนนะเพ่ือนเอย ไอเรื่อง...คงไมมีมูลอะไร พูดกับ

หลอนดีๆหนอยซี, เช่ือหลอนบางสิ กันเช่ือแนวาจะรูความจริงจากหลอนทั้งนั้น” แมวาใน

สังคมไทยปจจุบันคนไทยรุนใหมโดยเฉพาะท่ีอยูในสังคมเมืองไมนิยมใชคําวา กัน เปนคําแทนตัวผู

พูดแลว ท้ังนี้อาจเห็นวาเปนคําเกาท่ีไมทันสมัย และไมนิยมใชในท่ีสุด แตสังคมชาวไทยสยามท่ี

ชุมชนบางแซะยังคงใชคําวา กัน เปนคําแทนผูพูดโดยท่ัวไปอยู

นอกจากนี้ยังพบวาคําเรียกญาติบางคําของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะยังเหมือนกับคํา

เรียกญาติของชาวไทยถ่ินใตอีกดวย กลาวคือชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะและชาวไทยถ่ินใตใช

คําวา พอแก เปนคําเรียกพอของพอและพอของแม ใชคําวา แมแก เปนคําเรียกแมของพอและแมของ

แม และใชคําวา นา เปนคําเรียกนองของพอและนองของแม ซ่ึงแตกตางกับคนไทยภาคกลางท่ีจะใช

คําวา ปู เรียกพอของพอ ใชคําวา ตา เรียกพอของแม ใชคําวา ยา เรียกแมของพอ ใชคําวา ยาย เรียก

แมของแม และใชคําวา อา เรียกนองของพอ ตามลําดับ นอกจากคําเรียกญาติบางคําของชาวไทย

สยามในชุมชนบางแซะจะเหมือนกันคําเรียกญาติของชาวไทยถ่ินใตแลว ชาวไทยสยามในชุมชน

บางแซะยังใชคําวา กู เปนคําแทนตัวผูพูดของผูพูดทุกกลุมอายุและใชไดกับผูฟงทุกคนไมวาจะมี

อายุมากกวา เทากัน หรือนอยกวา และไมวาจะมีความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงแบบใดก็ตาม

คลายคลึงกับชาวไทยถ่ินใตท่ียังคงใชคําวา กู ในบริบทเชนเดียวกันนี้อีกดวย การศึกษาของสุชาดา

เจียพงษ (2554) พบวา คําวา กู ในภาษาไทยถ่ินใตใชเม่ือผูพูดเปนเพศชายหรือเพศหญิง โดยใชกับ

ผูฟงท่ีรูจัก สนิท อายุเทากันหรือไมเทากันก็ได ในกาลเทศะท่ีไมเปนทางการ ปรากฏการณดังกลาว

แสดงใหเห็นวา การดํารงวัฒนธรรมไทยไวไดอยางเขมแข็งของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะนั้น

มีลักษณะทางวัฒนธรรมคลายคลึงกับชาวไทยถ่ินใตอยูมาก

ความเปนสังคมท่ีดํารงวัฒนธรรมไทยไวไดอยางเขมแข็งของชุมชนบางแซะ นอกจากจะ

สะทอนออกมาทางการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงดังท่ีไดกลาวแลว จากการลงพื้นท่ีเก็บ

ขอมูลและการสังเกตอยางมีสวนรวมทําใหผูวิจัยพบวา คนในชุมชนยังคงตระหนักและให

ความสําคัญกับภาษาและวัฒนธรรมไทยอยางมาก จะเห็นไดจากการเปดโรงเรียนสอนภาษาไทยที่

วัดอุตตมาราม และการจัดกิจกรรมเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาและประเพณีไทยของ

ชุมชนแหงนี้ นอกจากนี้ยังมีความพยายามในการสืบทอดภาษาไทยของชาวไทยสยามท่ีอยูท่ัวไปใน

Page 71: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

61

รัฐตอนเหนือของมาเลเซียอีกดวย กลาวคือไมเพียงแตสรางจิตสํานึกเฉพาะกลุมคนไทยกลุมใดกลุม

หนึ่งเทานั้นแตยังปลูกฝงจิตสํานึกใหคนไทยทุกรัฐในประเทศมาเลเซียใหความสําคัญของภาษาและ

วัฒนธรรมไทยดวย ตัวอยางท่ีเห็นไดอยางชัดเจนคือการขยายเขตพื้นท่ีการสอนภาษาไทยในวัดและ

สํานักสงฆเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ีมีคนไทยอยูมากท่ีสุด นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงและ

พัฒนาหลักสูตรภาษาไทยใหทันสมัยโดยรวมมือกับวัดและสถาบันการศึกษาในประเทศไทย และ

การหาวิธีการเพ่ือโนมนาวใจหรือสรางแรงจูงใจใหพอแมเห็นความสําคัญในการสงบุตรหลานไป

ศึกษาตอดานภาษาไทยในระดับท่ีสูงขึ้นแทนการศึกษาเพียงเพือ่อานออกเขียนได โดยการท่ีศูนยการ

สอนภาษาไทยที่วัดไทยในรัฐกลันตันและวัดไทยในรัฐเกดะหสง ไทยจํานวน 3 คนไปศึกษาตอ

ระดับปริญญาตรี หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยตามโครงการรวมมือกับ

มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา เยาวชนท้ัง 3 คนสามารถศึกษาจนสําเร็จในระดับปริญญาตรี

และศึกษาตอปริญญาโท หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หนึ่งในจํานวนนั้นคือ

นายแฮลาย ปรามวล ซ่ึงเปนชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะดวย ความพยายามในการสืบทอด

ภาษาไทยดังกลาวจึงไมใชเปนเพียงการสอนใหเรียนรูหรือเพ่ือประโยชนในการประกอบอาชีพ

เทานั้น แตเปนการสรางจิตสํานึกท่ีดีของความเปนไทยใหคงอยู

ดังนั้นอาจกลาวไดวาสังคมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีดํารงเอกลักษณ

ความเปนไทยและวัฒนธรรมไทยไวไดอยางเขมแข็ง แมวาจะอยูทามกลางวัฒนธรรมหลาย

วัฒนธรรมของประเทศมาเลเซีย การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแมจะปรากฏท่ีมาของ

ภาษาหลายภาษา แตยังเห็นไดอยางชัดเจนวาภาษาไทยยังคงปรากฏการใชมากท่ีสุด ยังคงมีการใชคํา

แทนตัวผูพูดแบบเกา และคงวัฒนธรรมการใชภาษาท่ีเหมือนกับคนไทยถ่ินใต นอกจากนี้ยังม่ีการ

อนุรักษวัฒนธรรมประเพณีอ่ืน ๆ ไวไดเปนอยางดีอีกดวย

5.2 สังคมที่มีความสัมพันธฉันญาติ

สังคมทุกสังคมยอมมีระบบเครือญาติและคําเรียกญาติ จากการศึกษาคําแทนตัวผูพูดและคํา

แทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะพบวา ผูพูดทุกกลุมอายุนําคําเรียกญาติมาใชเปนคํา

แทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังกับผูฟงท่ีเปนญาติและไมใชญาติท้ังท่ีสนิทและไมสนิท กลาวคือ

เม่ือพูดกับผูฟงท่ีไมใชญาติ เพศชายท่ีมีอายุมากวาพอและแมของผูพูดก็จะเลือกใชคําแทนตัวผูฟงวา

ลุง เม่ือพูดกับผูฟงท่ีไมใชญาติ เพศหญิงท่ีมีอายุมากวาพอและแมของผูพูดก็จะเลือกใชคําแทนตัว

ผูฟงวา ปา และเม่ือผูพูดเพศชายท่ีมีอายุมากกวาพอและแมของผูฟง พูดกับผูฟงท่ีไมใชญาติก็จะ

เลือกใชคําแทนตัวผูพูดวา ลุง เปนตน

Page 72: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

62

คําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีไมใชญาติของชาวไทย

สยามในชุมชนบางแซะ ไดแก ทวด ลุง ปา โตะ นา พ่ี และนอง ปรากฏการณนี้สะทอนใหเห็นวา

สังคมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีความรักใครกลมเกลียว สนิทสนมกันฉันญาติพ่ีนอง

ชุมชนบางแซะจึงเปรียบเสมือนครอบครัวใหญท่ีคนในชุมชนทุกคนเปนพ่ีนองกัน ดังนั้นนอกจาก

จะใชคําเรียกญาติเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงเม่ือพูดกับญาตพ่ีินองของตนเองแลว ยังนํา

คําเรียกญาติดังกลาวมาใชกับผูฟงท่ีเปนบุคคลอ่ืนในชุมชนดวย ลักษณะเชนนี้เปนวัฒนธรรมไทยท่ี

ปรากฏในสังคมไทยหลายแหง วิภัสรินทร ประพันธสิริ(2535) พบวา ชาวลานนาใชคําเรียกญาติ

เปนคําสรรพนามและคําเรียกขานท้ังในหมูคนท่ีเปนญาติและไมใชญาติ และ วิไลวรรณ เชาวลิต

(2535) พบวา คนไทยภาคใตใชคําเรียกญาติเปนคําเรียกขานกับคนท่ีเปนญาติ และไมใชญาติดวย

เชนกัน

นอกจากนี้จากการเก็บขอมูลภาคสนามและการสังเกตอยางมีสวนรวม ผูวิจัยพบวาชาวไทย

สยามในชุมชนบางแซะ รูจักกนัทุกคน อีกท้ังยังมีความสัมพันธอันดี และแนนแฟนตอกัน มักไปมา

หาสูและชวยเหลือเกื้อกูลกันอยูเสมอ เม่ือมีงานสําคัญ เชน งานบวช งานแตงงาน และงานศพ ทุก

คนในชุมชนก็จะไปรวมงานและชวยเหลืออยางเต็มใจ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธอันดีเชนนี้กับ

ชาวไทยสยามในชุมชนอ่ืนๆ เชน ชาวไทยสยามในชุมชนโคกกอ อําเภอปาเซรมัส และ ชาวไทย

สยามในชุมชนบานบอเสม็ด อําเภอตุมปต เปนตน อีกดวย

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวสยามในชุชนบางแซะนอกจากจะ

สะทอนความเปนสังคมท่ีมีความสัมพันธฉันญาติดังกลาวแลว ยังอาจแสดงใหเห็นวาสังคมนี้ เปน

สังคมท่ีเคารพระบบอาวุโสไดดวย ท้ังนี้เนื่องจากคําเรียกญาติในภาษาไทยทุกคําแสดงความหมาย

เกี่ยวกับอายุไวดวย ดังนั้นผูพูดท่ีใชคําเรียกญาติมาเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงจึงตอง

คํานึงถึงความสัมพันธดานอายุของผูพูดและผูฟงดวยเพ่ือท่ีจะเลือกใชไดอยางถูกตอง ซ่ึงเปน

วัฒนธรรมอยางหนึ่งของไทย

5.3 สังคมที่ใหความเคารพผูมีตําแหนงหนาที่สูง

บุคคลใดก็ตามท่ีจะไดรับความเคารพจากบุคคลอ่ืนในสังคมมักจะตองเปนผูท่ีมีอํานาจหรือ

ศักดิ์ศรี อํานาจคือความสามารถของบุคคลท่ีจะบังคับใหผูอ่ืนกระทําตามได อํานาจอาจเกิดจากกําลัง

กาย ทรัพยสินเงินทองหรือความม่ังคั่ง และชาติกําเนิด สวนศักดิ์ศรีเปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นโดยคนอ่ืนมอบ

ใหกับบุคคลนั้นๆดวยความสมัครใจ ศักดิ์ศรีอาจเกิดจากความม่ังคั่ง ชาติกําเนิด ตําแหนง อาชีพ และ

การศึกษา โดยท่ัวไปบุคคลท่ีไดรับความเคารพมักจะไดรับการปฏิบัติท่ีแตกตางไปจากบุคคลอ่ืน

ท้ังนี้รวมถึงการใชภาษาดวย

Page 73: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

63

จากการศึกษาพบวา ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีคําแทนตัวผูฟงเฉพาะกับบุคคลบาง

อาชีและบางตําแหนง กลาวคือ ใชคําวา ครู แทนผูฟงท่ีเปนครู ใชคําวา มิสซี แทนผูฟงท่ีเปน

พยาบาลหรือผูดูแลคนปวย ใชคําวา นาย แทนผูฟงท่ีเปนผูใหญบาน ในทุกสถานการณ และไมวา

ผูฟงคนนั้นจะมีอายุเทาไหรก็ตาม ท้ังนี้ ผูพูดทุกกลุมอายุ จะไมใชคําอ่ืนๆเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีมี

อาชีพและตําแหนงดังกลาวเลย ปรากฏการณดังกลาวสะทอนใหเห็นวาสังคมของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีใหความเคารพผูท่ีมีอาชีพครู พยาบาล และผูท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบาน

อยางมาก

ครู พยาบาล และผูใหญบาน เปนบุคคลท่ีมีศักดิ์ศรีสูงในชุมชนบางแซะ กลาวคือ ครู เปน

ผูอบรมส่ังสอนศิษยใหการศึกษาท้ังความรูทางวิชาการ และการปฏิบัติตน ผู ท่ี เปนครูใน

ชุมชนบางแซะมีท้ังผูท่ีประกอบอาชีพครู คือ เปนครูสอนในโรงเรียนของรัฐหรือเอกชน และผูท่ี

ประกอบอาชีพอ่ืนแต เปนครูอาสาสมัครสอนภาษาไทยในโรงเรี ยนสอนภาษาไทยของ

วัดอุตตมาราม ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะใหความเคารพครูในชุมชนมาก เพราะครูเปนผูทําให

ลูกหลานของคนในชุมชนมีความรูและมีอนาคตท่ีดี ผูท่ีประกอบอาชีพพยาบาลนั้น คือผูท่ีทํางานใน

โรงพยาบาลของรัฐ อาชีพพยาบาลถือวาเปนอาชีพท่ีมีศักดิ์ศรีสูง เนื่องจากตองจบการศึกษาวิชาชีพ

เฉพาะ และการเปนพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐก็ไมใชเรื่องงาย ดังนั้นคนในชุมชนบางแซะ

ผูประกอบอาชีพพยาบาล นอกจากจะเปนผูท่ีตองมีความรูความสามารถสูงแลวยังถือวาเปนผูท่ีทํา

ช่ือเสียงใหแกชาวไทยสยามในชุมชนดวย สวนผูท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบานถือวาเปนผูนําของคน

ในชุมชน เปนผูท่ีมีความรู ความสามารถ มีความเปนผูนํา ชวยพัฒนา สนับสนุน และสงเสริมให

เกิดความเจริญในชุมชน รวมท้ังชวยแกไขปญหาตางๆท่ีเกิดขึ้นดวย ดังนั้นชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะจึงใหการยอมรับและเคารพผูท่ีเปนผูใหญบานอยางมากและถือวาผูใหญบานเปน

บุคคลท่ีมีศักดิ์ศรีสูง

อาจกลาวไดวาการใชคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนครู พยาบาล และผูใหญบาน โดยใชคําเฉพาะกับ

ผูฟงท่ีมีอาชีพและตําแหนงนั้นๆ สะทอนใหเห็นวาสังคมชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะใหเกียรติ

และเคารพนับถือแกบุคคลท่ีมีอาชีพและตําแหนงหนาท่ีสูง

5.4 สังคมที่ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีวัดเปนศูนยรวมจิตใจของคนในชุมชน โดยใชเปนท่ี

ประกอบพิธีทางศาสนา เชน ทําบุญ ฟงเทศน ถือศีล เปนตน อีกท้ังยังใชเปนท่ีจัดกิจกรรมเพื่อรักษา

ประเพณีไทย เชน จัดงานประเพณีสงกรานต งานประเพณีลอยกระทง เปนตน นอกจากนี้ วัดยังเปน

แหลงเรียนรูของคนในชุมชนโดยเฉพาะอยางย่ิงการเรียนภาษาและวัฒนธรรมไทยอีกดวย

Page 74: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

64

พระภิกษุ เปนบุคคลท่ี มีความสําคัญอย างย่ิงในชุมชน เนื่องจาก เปนผู ท่ี สืบทอด

พระพุทธศาสนาใหคงอยูทามกลางศาสนาและวัฒนธรรมอ่ืน อีกท้ังยังเปนผูท่ีมีสวนสําคัญอยางย่ิง

ในการสงเสริมและเผยแพรภาษาและวัฒนธรรมไทยใหแกชาวไทยสยามท้ังในชุมชนบางแซะและ

ชุมชนชาวไทยสยามอ่ืนๆในประเทศมาเลเซียดวย ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะจึงเคารพนับถือ

พระภิกษุมาก เม่ือจะมีกิจกรรมใดๆ หรือมีเรื่องสําคัญท่ีตองการการตัดสินใจ หรือมีปญหาท่ีตอง

แกไขก็มักจะนิมนตใหพระภิกษุเปนผูนําในการจัดกิจกรรม หรือเปนผูตัดสินใจลําดับสูงสุด หรือ

เปนผูชวยแกไขปญหาตางๆเสมอ

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ สะทอนให

เห็นวาคนในชุมชนใหความสําคัญกับพระภิกษุเปนอยางมาก กลาวคือ มีการใชคําแทนตัวผูฟง

เฉพาะกับพระภิกษุเทานั้น ไดแก คําวา พอทาน และ ทาน ซ่ึงใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนเจาอาวาส

คําวา คุณ ซ่ึงใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุ ท้ังสองคํานี้อาจใชเปนคําแทนตัวผูฟงแบบคํา

เดียว หรือใชนําหนาช่ือเจาอาวาส หรือพระภิกษุรูปนั้นๆ เพ่ือระบุความชัดเจนดวยก็ได คําวา

พอทาน ทาน และคุณ ไมปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนบุคคลอ่ืนในชุมชนบางแซะเลย

นอกจากนี้ยังมีคําวา จาว ซ่ึงใชเปนคําแทนตัวผูฟงเพศชายท่ีผานการอุปสมบทแลว เพ่ือแสดงใหเห็น

วาเปนผูท่ีเคยอยูในรมกาสาวพัสตรเคยทําหนาท่ีเปนผูสืบทอดพระพุทธศาสนามาแลว อีกดวย

จากการเก็บขอมูลภาคสนามและการสังเกตอยางมีสวนรวม ผูวิจัยพบวาคนในชุมชน

บางแซะท้ังชายและหญิงแทบทุกบานมีความรูเรื่องธรรมศึกษา และสามารถสอบผานนักธรรมตรี

นักธรรมโท หรือนักธรรมเอกได นอกจากนี้ยังเปนพุทธศาสนิกชนท่ีเครงครัดในการปฏิบัติตามคํา

สอนของพระพุทธศาสนา ท้ังการทําบุญ ถือศีล การปฏิบัติศาสนกิจตางๆ ในวันสําคัญทาง

พระพุทธศาสนา เชน การเวียนเทียนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา และการ

ถวายเทียนจํานําพรรษาในเทศกาลเขาพรรษา เปนตน

จากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงรวมท้ังปจจัยอ่ืนๆ ดังท่ีกลาวมาแลวขางตน

อาจกลาวไดวา สังคมชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีผูกพัน ศรัทธา และใหความสําคัญ

กับพระพุทธศาสนาอยางมาก

5.5 สังคมที่กําลังเปลี่ยนแปลง

การศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

สะทอนใหเห็นวา ชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีกําลังเปล่ียนแปลงทางดานภาษา หรือมีการ

เปล่ียนแปลงท่ีกําลังดําเนินอยูของภาษา (change in progress) กลาวคือคนในชุมชนท่ีเปนผูพูดกลุม

อายุท่ี 3 ซ่ึงเปนตัวแทนของผูใชภาษาแบบใหม ใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงสวนหนึ่งท่ี

Page 75: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

65

แตกตางกับผูพูดกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 ซ่ึงเปนตัวแทนของผูใชภาษาแบบเกา นอกจากนี้ยังมี

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาอังกฤษปนอยูดวย

เชน กิตอ ซายอ โตะ โกโก หวอ อ๊ัว หนี่ ไอ และยู เปนตน แมคําท่ีมาจากภาษาตางประเทศดังกลาว

จะปรากฏไมมากนัก แตเปนท่ีนาสังเกตวาผูพูดกลุมอายุท่ี 3 ท่ีมีอายุ 5-20 ป ใชคําดังกลาวอยาง

กวางขวาง ท้ังกับผูฟงท่ีเปนญาติและไมใชญาติ ผูฟงท่ีสนิท และไมสนิท ผูวิจัยสันนิษฐานวาการใช

คําดังกลาวอาจเกิดจากการติดตอส่ือสารกับกลุมชาติพันธุมลายู รวมทั้งจากการศึกษาภาษามลายู

ภาษาจีน และภาษาอังกฤษในระบบการศึกษาของประเทศมาเลเซียดวย

นิพนธ ทรัพยศรีนิมิตร (2554 :82) กลาววา การศึกษาเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีทํา

ใหสังคมชาวไทยสยามเกิดการเปล่ียนแปลงท้ังการดํารงอยู และการเปล่ียนไปจากเดิม สวนท่ีทําให

ดํารงอยู คือการศึกษาท่ีจัดโดยคนไทย เชน การเรียนการสอนภาษาไทยท่ีวัด การสอนเรื่อง

ศิลปวัฒนธรรมไทย การรําไทย การเลนมโนราห การเลนหนังตะลุง เปนตน สวนท่ีทําใหเปล่ียนไป

จากเดิม คือ ระบบการศึกษาของมาเลเซียในปจจุบันท่ีเปนระบบท่ีเปดกวาง เปดโอกาสใหเด็กและ

เยาวชนทุกเช้ือชาติสามารถเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น การเปดการศึกษาในระบบที่เปดกวางทําใหคน

สวนใหญเกิดการตื่นตัวและมุง เนนใหบุตรหลานไดเลาเรียนในระดับสูง ดังนั้นโอกาสท่ีเด็กไทย

จะไดกลับมาเรียนหนังสือไทยไดอยางเต็มท่ีจึงทําไดยาก เพราะเด็กเหลานั้นตองเรียนพิเศษ ตอง

เรียนกวดวิชาเพ่ือใหสามารถสอบแขงขันกับคนอ่ืนๆได ทําใหเด็กๆ เหลานี้ไมมีเวลาพอท่ีจะ

กลับมาเรียนหนังสือไทยท่ีวัดอีก หรือถาเรียนไดจํานวนช่ัวโมงและเวลาเรียนก็จะนอยลง

นอกจากน้ีจากการศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะยังพบขอมูลท่ีนาสนใจอีกประการหนึ่ง ท่ีอาจแสดงใหเห็นถึงความเปล่ียนแปลงท่ี

กําลังเกิดขึ้นในสังคมชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ กลาวคือ พบวา มีการใชคําวา กระผม เปนคํา

แทนตัวผูพูดเฉพาะในผูพูดกลุมอายุท่ี 1 ท่ีมีอายุ 65-80 ป เทานั้น โดยผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และผูพูดกลุม

อายุท่ี 3 ไมใชคําวา กระผม เปนคําแทนตัวผูพูดเลย นอกจากนี้ยังพบวา คําวา ฉัน เปนคําแทนตัวผูพูด

ท่ีไมปรากฏใชโดยผูพูดกลุมอายุท่ี 3 เลย เชนกัน ท้ังนี้ผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 ไดให

ความเห็นวา คําวา กระผม เปนคําสําหรับคนรุนเกา เปนคําท่ีแสดงความสุภาพ และแสดงความเปน

ทางการมากเกินไป และคําวา ฉัน ก็เปนคําสําหรับคนรุนเกาเชนกัน ปรากฏการณดังกลาวอาจเปน

สาเหตุเบ้ืองตนท่ีทําใหคําวา กระผม และคําวา ฉัน อาจเกิดการสูญศัพทไปไดในอนาคต และอาจ

เปนไปไดวาผูพูดกลุมอายุท่ี 3 อาจจะไมนิยมใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษาไทย

คําอ่ืนๆ อีกทําใหเกิดการสูญศัพทอ่ืนท่ีมาจากภาษาไทยไดอีกในอนาคต

อนึ่ง การเรียนการสอนในระบบใหมท่ีมุงเนนใหผูเรียนประกอบอาชีพในงานเฉพาะทาง

โรงเรียนท่ีเนนภาษาเฉพาะ และนโยบายของรัฐบาลท่ีกําหนดใหใชเทคโนโลยีสมัยใหมแทน

Page 76: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

66

แรงงานคนหรือสัตว เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีอาจสงผลกระทบใหสังคมชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะเปล่ียนแปลงไปในอนาคต เพราะคนรุนใหมอาจจะตองประกอบอาชีพใหม เรียนรู

ภาษาใหม และเคล่ือนยายแรงงานจากชนบทสูเมืองมากขึ้น ทําใหตองละท้ิงอาชีพเดิมและ

วัฒนธรรมแบบเดิมเพ่ือกาวใหทันสังคมท่ีกําลังเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วนั้น เม่ือวิถีชีวิต

เปล่ียนแปลงไปก็อาจสงผลกระทบใหการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงรวมท้ังการใช

ภาษาไทยของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเปล่ียนแปลงไปไดในอนาคต

Page 77: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

67

บทท่ี 6

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

งานวิจัยนี้มุงศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบาง

แซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยวิเคราะหท่ีมาของภาษาและ

ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ตลอดจนศึกษาการแปรของการใชคําแทนตัวผูพูด

และคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมของผูพูดดานอายุและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

ดานอายุ ดานความเปนญาติ และดานความสนิทสนม และเพ่ือศึกษาลักษณะทางสังคมและ

วัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ท้ังนี้ผูวิจัยมีสมมติฐานวา คํา

แทนตัวผูพูดและผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน

ประเทศมาเลเซีย มีท่ีมาจากหลายภาษา และมีท้ังท่ีเปนคําบุรุษสรรพนาม คําเรียกญาติ และคําเรียก

ตําแหนง ปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงเปนตัวแปรทําใหการใช

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแตกตางกัน และลักษณะทางวัฒนธรรมของชาวไทยสยามใน

ชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มีลักษณะคลายคลึงกับ

ชาวไทยถ่ินใต

6.1 สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชน

บางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย สามารถสรุปไดดังนี ้ 6.1.1 ที่มาของภาษาและประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

6.1.1.1 ที่มาของภาษาของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

จากการศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบาง

แซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รฐักลันตัน ประเทศมาเลเซีย พบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัว

ผูฟงมีท้ังหมด 53 คํา มีท่ีมาจากหลายภาษา คือ ภาษาไทย ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน

โดยพบคําท่ีมาจากภาษาไทยมากท่ีสุด

6.1.1.2 ประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

จากการศึกษาพบวาคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง สามารถจําแนกตามประเภทของคํา

ได 2 ประเภท คือ คํานาม และคําบุรุษสรรพนาม ดังรายละเอียดตอไปนี้

67

Page 78: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

68

คํานาม จากการศึกษาพบคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ท้ังส้ิน 30 คํา

คํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดจําแนกเปน คําเรียกญาติพบท้ังส้ิน 8 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1 ปา1โตะ1

พอ1 แม1 นา1 และพ่ี1 และคํานามท่ัวไป พบ 1 คํา คือ เพ่ือน1 คํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงจําแนก

เปน คําเรียกญาติพบท้ังส้ิน 12 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 โกโก

และนอง คําเรียกอาชีพพบท้ังส้ิน 2 คํา คือ ครู และมิสซี คําเรียกตําแหนงพบท้ังส้ิน 2 คํา คือ พอ

ทาน และนาย คํานามท่ัวไปพบท้ังส้ิน 3 คํา ไดแก บอย กือ และแอ และคํานําหนานามพบ 2 คํา คือ

คุณ และไอ

คําบุรุษสรรพนาม จากการศึกษาพบคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทน

ตัวผูฟง ท้ังส้ิน 23 คํา จําแนกเปนคําแทนตัวผูพูด 13 คํา ไดแก กระผม กัน1 กู ฉัน ผม เรา หนู กิตอ

ซายอ อาก ูหวอ อ๊ัว และไอ คําแทนตัวผูฟง 10 คํา ไดแก กัน2จาว ทาน มึง ล้ือ สู เจะ หนี่ ยู และ เอง

6.1.2 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมของผูพูดและ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

6.1.2.1 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามปจจัยทางสังคมดานอายุของ

ผูพูด

ผูพูดท้ัง 3 กลุมอายุมีใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังท่ีเหมือนกันและแตกตางกัน

ดังนี้

คําแทนตัวผูพูดจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุ คํา

แทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ

คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุมีท้ังหมด 9 คํา คือ ลุง1 พ่ี1 กัน1 กู ผม เรา กิตอ

ซายอ และอาก ูคําวา ลุง และ พ่ี คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ สามารถแบงออกไดเปน 2

กลุม คือ คําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 1 และกลุมอายุท่ี 2 มี 6 คํา คือ ปา1 โตะ1 พอ1 แม1

นา1 และฉัน และคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในกลุมอายุท่ี 2 และกลุมอายุท่ี 3 มี 2 คํา คือ เพ่ือน

และ หนู และคําแทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุม มี 5 คํา คือ ทวด1 และกระผม ปรากฏใชเฉพาะ

กลุมอายุท่ี 1 และ หวอ อ๊ัว และไอ ปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุท่ี 3 คําแทนตัวผูฟงจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุ

คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใช 2 กลุมอายุ และคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุมอายุ

คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชท้ัง 3 กลุมอายุ มี 23 คํา คือ ลุง2 ปา2โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 นอง

ครู มิสซี นาย พอทาน จาว กือ แอ คุณ ไอ กัน2 ทาน มึง สู เจะ และเอง คําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใช 2

Page 79: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

69

กลุมอายุ มี 6 คํา คือ ทวด2 พอแก แมแก บอย ล้ือ และ ยู และคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏใชเฉพาะกลุม

อายุ มี 2 คือ คําวา โกโก และ หนี่

6.1.2.2 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟงดานอายุของผูพูด ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานอายุ ทําใหผูพูดใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ท้ังท่ีเหมือนและตางกัน ดังนี้

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา มี 1 คํา คือ คําวา หนู คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับ

ผูฟงท่ีมีอายุนอยกวา มี 8 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1 พอ1 แม1 นา1 และพ่ี1 คําแทนตัวผู พูดท่ีใช

กับผูฟงท่ีมีอายุมากกวาและเทากัน มี 1 คํา คือ คําวา กระผม คําแทนตัวผู พูดท่ีใชกับผูฟง ท่ีมีอายุ

เทากันและนอยกวา มี 2 คํา คือ คําวา อ๊ัว และไอ และคําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา

เทากัน และนอยกวา มี 10 คํา คือ เพ่ือน กัน1 กู ฉัน ผม เรา กิตอ ซายอ อากู และหวอ

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา มี 11 คํา ไดแก ทวด2 พอแก แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2

พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 และ โกโก คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับคนท่ีมีอายุนอยกวา มี 1 คํา คือ นอง คําแทนตัว

ผูฟงท่ีใชกับคนท่ีมีอายุเทากันและนอยกวา มี 5 คํา คือ กือ แอ ไอ ล้ือ และ ยู และคําแทนตัวผูฟงท่ี

ใชกับผูฟงท่ีมีอายุมากกวา เทากัน และนอยกวา มี 14 คํา คือ ครู มิสซี นาย พอทาน จาว บอย คุณ

กัน2 ทาน มึง สู เจะ หนี่ และ เอง

6.1.2.3 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวาง

ผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาติ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความเปนญาติ ทําใหผูพูดใชคําแทนตัวผูพูดและคํา

แทนตัวผูฟงท้ังท่ีเหมือนและตางกัน ดังนี้

คําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับผูฟงท่ีเปนญาติ มี 2 คํา คือ พอ และ แม และคําแทนตัวผูพูดท่ีใชกับ

ผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาต ิมี 20 คํา คือ ทวด1 ลุง1 ปา1 โตะ1 นา1 พ่ี1 เพ่ือน กระผม กัน1 กู ฉัน

ผม เรา หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และ ไอ

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีเปนญาติ มี 7 คํา ไดแก พอแก แมแก พอ2 แม2 โกโก บอย และ

ไอ คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีไมใชญาติ มี 3 คํา คือ ล้ือ หนี่ และยู และคําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับ

ผูฟงท้ังท่ีเปนญาติและไมใชญาติ มี 21 คํา คือ ทวด2 ลุง2 ปา2 โตะ2 นา2 พ่ี2 นอง ครู มิสซี นาย พอ

ทาน จาว คุณ กือ แอ กัน2 ทาน มึง สู เจะ และ เอง

Page 80: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

70

6.1.2.4 การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงตามความสัมพันธระหวางผูพูด

กับผูฟงดานความสนิทสนม

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความสนิทสนม ทําใหผูพูดใชคําแทนตัวผูพูดและคํา

แทนตัวผูฟงท้ังท่ีเหมือนและตางกัน ดังนี้

คําแทนตัวผูพูดตามความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงท่ีไมใชญาติ ดานความสนิทสนม ไม

มีความแตกตางในการใช ความสนิทสนมไมมีผลตอการเลือกใชคําแทนตัวผูพูดของชาวไทยสยาม

ในชุมชนบางแซะ

คําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท่ีสนิท มี 3 คํา คือ ล้ือ หนี่ และ ยู ปรากฏใชในผูพูดกลุมอายุท่ี 3

เทานั้น และคําแทนตัวผูฟงท่ีใชกับผูฟงท้ังท่ีสนิทและไมสนิท มี 21 คํา คือ ทวด2 ลุง2 ปา2 โตะ2 นา2

พ่ี2นอง ครู มิสซี นาย พอทาน กือ แอ คุณ กัน จาว ทาน มึง สู เจะ และ เอง

6.1.3 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ที่สะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟงของ

ชาวไทยสยาม

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสะทอนจากการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

ของชาวไทยสยาม มี 5 ประการ ดังนี ้

6.1.3.1 สังคมที่ดํารงวัฒนธรรมไทยอยางเขมแข็ง

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเลือกใชนั้นมี

หลายภาษา ถือไดวาชุมชนแหงนี้เปนชุมชนพหุภาษา เลือกใชมากท่ีสุดคือคําท่ีมาจาก ภาษาไทย โดย

ปรากฏใชมากถึง 38 คําคิดเปนรอยละ 71.70 จําแนก เปนคําแทนตัวผูพูด 15 คํา และคําแทนตัวผูฟง

23 คํา ดังนี ้คําแทนตัวผูพูด ไดแก กระผม กัน1 กู ฉัน ทวด1 นา1 ปา1 ผม พอ1 เพ่ือน พ่ี1 แม1 เรา ลุง1

หนู และคําแทนตัวผูฟง ไดแก กัน2 กือ คุณ ครู จาว ทาน ทวด1 นา2 นาย นอง ปา2 พ่ี2 พอ2 พอแก

พอทาน มึง แม2 แมแก ลุง2 สู แอ เอง และไอ นอกจากนี้ยังใชคําวา กัน เปนคําแทนตัวผูพูดโดยท่ัวไป

แสดงถึงการรักษาวัฒนธรรมการใชภาษาแบบเดิมไวไดอยางเขมแข็ง นอกจากนี้ยังพบวาสังคมชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะใชคําแทนตัวผูพูด คือคําวา กู และ คําเรียกญาติท่ีเปนคําแทนตัวผูพูดและ

คําแทนตัวผูฟง คือ พอแก แมแก และนา ในบริบท ความสัมพันธ และสถานการณเดียวกันกับการใช

ภาษาของชาวไทยถ่ินใต จึงอาจกลาวไดวาสังคมชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีลักษณะคลายคลึง

กับชาวไทยถ่ินใต

6.1.3.2 สังคมที่มีความสัมพันธฉันญาติ

การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะพบวา ผูพูด

ทุกกลุมอายุนําคําเรียกญาติมาใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท้ังกับผูฟงท่ีเปนญาติและ

Page 81: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

71

ไมใชญาติท้ังท่ีสนิทและไมสนิท คําเรียกญาติท่ีนํามาใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ี

ไมใชญาติของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ไดแก ทวด ลุง ปา โตะ นา พ่ี และนอง

6.1.3.3 สังคมที่ใหความเคารพผูมีตําแหนงหนาที่สูง

ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีคําแทนตัวผูฟงเฉพาะกับบุคคลบางอาชีและบางตําแหนง

กลาวคือ ใชคําวา ครู แทนผูฟงท่ีเปนครู ใชคําวา มิสซี แทนผูฟงท่ีเปนพยาบาลหรือผูดูแลคนปวย ใช

คําวา นาย แทนผูฟงท่ีเปนผูใหญบาน ในทุกสถานการณ และไมวาผูฟงคนนั้นจะมีอายุเทาไหรก็ตาม

ท้ังนี้ ผูพูดทุกกลุมอายุ จะไมใชคําอ่ืนๆเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีมีอาชีพและตําแหนงดังกลาวเลย

ปรากฏการณดังกลาวสะทอนใหเห็นวาสังคมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีให

ความเคารพผูท่ีมีอาชีพครู พยาบาล และผูท่ีมีตําแหนงเปนผูใหญบาน อาจกลาวไดวาการใชคําแทน

ตัวผูฟงท่ีเปนครู พยาบาล และผูใหญบาน โดยใชคําเฉพาะกับผูฟงท่ีมีอาชีพและตําแหนงนั้นๆ

สะทอนใหเห็นวาสังคมชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะใหเกียรติและเคารพนับถือแกบุคคลท่ีมี

อาชีพและตําแหนงหนาท่ีสูง

6.1.3.4 สังคมที่ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา

ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีวัดเปนศูนยรวมจิตใจของคนในชุมชน การใชคําแทนตัว

ผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ สะทอนใหเห็นวาคนในชุมชนให

ความสําคัญกับพระภิกษุเปนอยางมาก กลาวคือ มีการใชคําแทนตัวผูฟงเฉพาะกับพระภิกษุเทานั้น

ไดแก คําวา พอทาน และ ทาน ซ่ึงใชเปนคําแทนตัวผูฟงท่ีเปนเจาอาวาส คําวา คุณ ซ่ึงใชเปนคําแทน

ตัวผูฟงท่ีเปนพระภิกษุ ท้ังสองคํานี้อาจใชเปนคําแทนตัวผูฟงแบบคําเดียว หรือใชนําหนาช่ือเจา

อาวาส หรือพระภิกษุรูปนั้นๆ เพ่ือระบุความชัดเจนดวยก็ได

6.1.3.5 สังคมที่กําลังเปลี่ยนแปลง

การศึกษาการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

สะทอนใหเห็นวา ชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีกําลังอยูในระหวางการเปล่ียนแปลง คนในชุมชนใช

คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีมาจากภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาอังกฤษปนอยูดวย เชน กิ

ตอ ซายอ โตะ โกโก หวอ อ๊ัว หนี่ ไอ และยู เปนตน แมคําท่ีมาจากภาษาตางประเทศดังกลาวจะ

ปรากฏไมมากนัก แตเปนท่ีนาสังเกตวาผูพูดกลุมอายุท่ี 3 ท่ีมีอายุ 5-20 ป ใชคําดังกลาวอยาง

กวางขวาง ท้ังกับผูฟงท่ีเปนญาติและไมใชญาติ ผูฟงท่ีสนิท และไมสนิท และการใชคําวา กระผม

เปนคําแทนตัวผูพูดเฉพาะในผูพูดกลุมอายุท่ี 1 ท่ีมีอายุ 65-80 ป เทานั้น โดยผูพูดกลุมอายุท่ี 2 และผู

พูดกลุมอายุท่ี 3 ท่ีไมใชคําวา กระผม เปนคําแทนตัวผูพูดเลย ไดใหความเห็นวา คําวา กระผม เปน

คําสําหรับคนรุนเกา เปนคําท่ีแสดงความสุภาพ และแสดงความเปนทางการมากเกินไป

Page 82: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

72

ปรากฏการณดังกลาวอาจเปนสาเหตุเบ้ืองตนท่ีทําใหคําวา กระผม อาจเกิดการสูญศัพทไปไดใน

อนาคต

6.2 อภิปรายผลการวิจัย

ผูวิจัยขออภิปรายผลตามสมมติฐานและเสนอขอสังเกตท่ีนาสนใจดังตอไปนี ้

6.2.1 คําแทนตัวผูพูดและผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปา

เซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มีท่ีมาจากหลายภาษา และมีท้ังท่ีเปนคําบุรุษสรรพนาม คําเรียก

ญาติ และคําเรียกตําแหนง ผลการศึกษานีต้รงกับสมมติฐานขอท่ี 1 กลาวคือการใชคําแทนตัวผูพูด

และคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีท่ีมาจากหลายภาษา ไดแก ภาษาไทย

ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาอังกฤษ พบวาภาษาไทยปรากฏการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัว

ผูฟงมากท่ีสุด ท้ังนี้เพราะภาษาไทยเปนภาษาแมและใชส่ือสารในชีวิตประจําวันของคนในชุมชน

สวนภาษามลายู จีน และอังกฤษ เกิดจากการสัมผัสภาษาของชุมชน เพราะนอกเหนือจากการใชชีวิต

ในชุมชนแลว คนในชุมชนยอมตองไปพบปะกับบุคคลท่ีมาติพันธุอ่ืนดวย จึงทําใหนําภาษาเหลานั้น

เขามาในชุมชน โดยเฉพาะภาษามลายู ซ่ึงเปนภาษาท่ีสองท่ีทุกคนในชุมชนใชได เพราะตองใชใน

การสนทนากับกลุมชาติพันธุอ่ืน สวนภาษาจีนและภาษาอังกฤษนั้น เกิดจากการเรียนหนังสือของ

เด็กในชุมชน และเกิดจากการนํากลับมาใชในชุมชน

ดานประเภทของคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงในชุนชนบางแซะ จําแนกออกเปน 2

ประเภทคือ คํานามและคําบุรุษสรรพนาม คํานามท่ีปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

จํานวนท้ังส้ิน 31 คํา แบงเปนคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดจํานวน 9 คํา ไดแก ทวด1 ลุง1ปา1โตะ1

พอ1 แม1 นา1 พ่ี1 และ เพ่ือน และคํานามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงจํานวน 22 คํา ไดแก ทวด2 พอแก

แมแก ลุง2 ปา2 โตะ2 พอ2 แม2 นา2 พ่ี2 โกโก นอง ครู มิสซี พอทาน นาย จาว บอย กือ แอ คุณ และ

ไอ คํานามท่ีบอกถึงการใชคําเรียกญาติ เชน พอ แม ทวด นา ลุง และปา เปนตน คําเรียกอาชีพ เชน

ครู มิสซี คําเรียกตําแหนง เชน พอทาน นาย คําเหลานี้เปนคํานามท่ีปรากฏใชในชุมชนบางแซะ

และคําบุรุษสรรพนามที่ปรากฏใชเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง จํานวนท้ังส้ิน 22 คํา

แบงเปนคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูพูดจํานวน 13 คํา ไดแก กระผม กัน1 กู ฉัน ผม เรา

หนู กิตอ ซายอ อากู หวอ อ๊ัว และไอ และคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเปนคําแทนตัวผูฟงจํานวน 9 คํา

ไดแก กัน2จาว ทาน มึง ล้ือ สู เจะ หนี่ ยู และเอง จะเห็นไดวาผลการศึกษาตรงกับสมมติฐาน

6.2.2 ปจจัยทางสังคมของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงเปนตัวแปรทําใหการ

ใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงแตกตางกัน ผลการศึกษานีต้รงกับสมมติฐานบางสวน ในดาน

Page 83: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

73

อายขุองผูพูดท่ีเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งท่ีทําใหบุคคลในสังคมมีสถานภาพแตกตางกัน รวมทั้ง

มีการใชภาษาท่ีแตกตางกันดวยนั้น ผลการศึกษาพบวา ผูพูดแตละกลุมอายุมีการใชคําแทนตัวผูพูด

และคําแทนตัวผูฟงท้ังท่ีเหมือนและแตกตางกัน สวนความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงในดานอายุ

ดานความเปนญาติ พบวา มีความเหมือนและแตกตางกัน แตความนาสนใจดานความสัมพันธของ

ชาวไทยในชุมชนบางแซะนี้คือ ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงดานความสนิท เพราะพบวาคํา

แทนตัวผูพูดท่ีปรากฏใชในความสัมพันธเชนนี้นั้นไมไดมีความแตกตาง สวนคําแทนตัวผูฟงนั้น

ความสนิทจะเปนตัวแปรท่ีทําใหผูพูดเลือกใชคําแทนตัวผูฟงท่ีแตกตางกันซ่ึงปรากฏเฉพาะผูพูด

กลุมอายุท่ี 3 เทานั้น ท้ังนี้อาจเปนเพราะคนในชุมชนบางแซะทุกคนรูจักกัน และมีความสนิทสนม

กันมาก ผูพูดจึงสามารถเลือกใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงทุกคําไดท้ังกับคนท่ีสนิทและไม

สนิท

อยางไรก็ตามมีคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงบางคําท่ีชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

ใชเฉพาะในความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟงแบบท่ีเปนญาติเทานั้นโดยเฉพาะ คําวาพอ และแม

ผูวิจัยสังเกตเห็นวาปรากฏการณดังกลาวนี้แตกตางกับการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของ

คนไทยในประเทศไทยปจจุบันท่ีสามารถใชคําวา พอ แม เปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงกับ

บุคคลท่ีไมใชสายเลือดเดียวกันได กลาวคือ ผูพูดท่ีเปนผูใหญสามารถใชคําวา พอ แม เปนคําแทน

ตัวเองเม่ือพูดกับเพ่ือนของลูกได และผูพูดท่ีเปนเด็กก็สามารถใชคําวา พอ แม แทนตัวผูฟงท่ีเปนพอ

แม ของเพ่ือนของตนได ลักษณะดังกลาวอาจสะทอนใหเห็นวาแมสังคมชาวไทยสยามในชุมชนบาง

แซะจะมีความสัมพันธฉันญาติกันอยางเหนียวแนน แตก็ยังใหความสําคัญกับการเปนญาติสายตรง

หรือผูท่ีมีสายเลือดเดียวกันอยูอยางมาก

6.2.3 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก

อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย มีลักษณะคลายคลึงกับชาวไทยถ่ินใต ผลการศึกษานี้

ตรงกับสมมติฐานขอ 3 กลาวคือสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะและ

วัฒนธรรมของคนไทยถ่ินใต มีลักษณะท่ีคลายคลึงกัน เม่ือพิจารณาจากการใชคําแทนตัวผูพูดและ

คําแทนตัวผูฟงแลวพบวา คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมี

ลักษณะการใชเหมือนกับชาวไทยถ่ินใตบางคํา คือคําวา พอแก แมแก และนา ซ่ึงสามคํานี้ใชเรียก

บุคคลท่ีเปนพอและแมของพอแม และนองชายและนองสาวของพอแม ตามลําดับ ซ่ึงจะมีลักษณะท่ี

แตกตางกันกับคนภาคอ่ืนของประเทศไทยดวย

Page 84: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

74

คําแทนตัวผูฟง ภาคกลาง ภาคใต ชุมชนบางแซะ

พอของพอและพอของแม ปู ตา พอแก พอแก

แมของพอและแมของแม ยา ยาย แมแก แมแก

นองของพอและนองของแม อา นา นา นา

จะเห็นไดวาการใชคําขางตนของคนไทยถ่ินใตและชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ

เหมือนกัน นอกจากนี้การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงท่ีปรากฏในพื้นท่ีชุมชนบางแซะท่ี

ใชคําเรียกญาติเปนคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง ท้ังกับบุคคลท่ีเปนญาติและท่ีไมใชญาตินั้น

สะทอนถึงวัฒนธรรมท่ีมีความสัมพันธฉันญาติของบุคคลในชุมชนท่ีเหมือนกับคนไทยถ่ินใตดวย

สวนการใชคําแทนตัวผูพูด กู เรา และคําแทนตัวผูฟง มึง ในการสนทนากับบุคคลทุกกลุมอายุได

อยางเทาเทียมกันโดยเฉพาะกับบุคคลท่ีสูงอายุกวาท่ียังมีปรากฏอยูนั้น สะทอนใหเห็นถึงความเปน

พวกพองและความสนิทสนมกันของคนในหมูบาน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของสุชาดา เจียพงษ

(2553) ไดกลาวถึงการใชคําบุรุษสรรพนามของคนไทยถ่ินใตวามีการใชคําบุรุษสรรพนามโดย

คํานึงถึงพวกพองเดียวกัน ภาษาไทยถ่ินใต มีคําบุรุษสรรพนามท่ีใชเม่ือพูดกับหรือกลาวถึง คนรูจัก

หรือบุคคลท่ีสนิท ไดแก กู ตัวเอง มัน มึง เรา เอ็ง เปนตน จึงอาจกลาวไดวาลักษณะทางสังคมและ

วัฒนธรรมของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะมีลักษณะเหมือนคนไทยถ่ินใตอยูมาก

6.2.4 คําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะท้ัง 53 คํานี้

สามารถปรากฏไดโดยอิสระ ไมมีการกําหนดวาคําแทนตัวผูพูดคําใด ตองปรากฏรวมกับคําแทนตัว

ผูฟงคําใด ตัวอยางเชน ผูพูดอาจเลือกใชคําแทนตัวผูฟงวา ลุง ปา ครู มึง หรือเอง ก็ได ท้ังนี้การ

เลือกใชคําดังกลาวขึ้นอยูกับปจจัยทางสังคมดานอายุของผูพูดและความสัมพันธระหวางผูพูดกับ

ผูฟง ปรากฏการณดังกลาวนี้ผูวิจัยเห็นวาแตกตางจากการเลือกใชคําแทนตัวผูพุดและคําแทนตัวผูฟง

ในสังคมไทยปจจุบัน ท่ีนิยมใชคําเปนคูกัน เชน คําแทนตัวผูพูด กู นิยมใชกับคําแทนตัวผูผูฟง มึง

คําแทนตัวผูพูด อ๊ัว นิยมใชกับคําแทนตัวผูฟง ล้ือ เปนตน ท้ังนี้อาจแสดงใหเห็นวา สังคมของชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะเปนสังคมท่ีอิสระ และมีความเทาเ ทียมกัน แตก็ยังคงรักษา

ความสัมพันธฉันญาติไวไดอยางแนนแฟน

6.2.5 ชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ เปนชุมชนท่ีนาช่ืนชม เพราะดวยสภาพทางสังคมท่ีมี

อยูทามกลางวัฒนธรรมท่ีมีกลุมคนหลายชาติพันธุรายลอม ไมวาจะเปน มลายู จีน อินเดีย แตชาว

ไทยสยามในชุมชนบางแซะยังคงดํารงความเปนไทยอยูไดอยางเขมแข็งตลอดมา อีกท้ังไมละท้ิงท่ี

จะสืบสานใหความเปนไทยนั้นคงอยู ดวยการใชภาษาไทย สอนและเรียนภาษาไทย และจัดงาน

ประเพณีท่ีสะทอนวัฒนธรรมของไทยไดอยางนาช่ืนชม ผูวิจัยเห็นวาการท่ีชุมชนบางแซะรายลอม

Page 85: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

75

ดวยกลุมคนหลายกลุมชาติพันธุ และสถานภาพของรัฐกลันตันท่ีถูกกําหนดใหเปนสังคมท่ีเครงครัด

ศาสนาอิสลาม อาจเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหชาวไทยสยามในทุกชุมชนตองตระหนัก ตื่นตัว และ

ตอสูในการดํารงความเปนไทยไวอยางเหนียวแนน ตัวอยางเชน รัฐกลันตันมีนโยบายขอหามอยาง

เครงครัดท่ีสงผลตอชาวไทยสยามในทุกชุมชน คือ การหามมิใหมีการแสดงมหรสพท่ีมิใชของ

มุสลิม ขอหามดังกลาวนี้ถือไดวาสงผลกระทบตอการจัดกิจกรรมและวัฒนธรรมของไทยเปนอยาง

มาก เนื่องจากชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะจัดกิจกรรม การแสดง และงานรื่นเริงท่ีแสดงถึง

วัฒนธรรมไทยอยางสมํ่าเสมอ ชาวไทยสยามในทุกชุมชนของรัฐกลันตันจึงรวมตัวกันกอตั้งสมาคม

ชาวไทยสยามแหงรัฐกลันตันขึ้น เพ่ือเจรจาตอรองกับรัฐใหอนุญาตใหการจัดกิจกรรมตางๆ

ดังกลาวดําเนินตอไปได โดยจะจัดกิจกรรมใหอยูในเวลาท่ีกําหนด และเชิญชวนใหคนทุกกลุมชาติ

พันธุ เขารวมกิจกรรมดวย เปนตน ความเขมแข็งในการดํารงรักษาความเปนไทยของชาวไทยสยาม

ในรัฐกลันตันท่ีไมยอมใหกลุมชาติพันธุอ่ืนมากลืนวัฒนธรรมของตนไปจึงเปนส่ิงท่ีนาช่ืนชม

สมควรยกยอง และนํามาเปนแบบอยางเปนอยางย่ิง

6.3 ขอเสนอแนะในการวิจัย

ผูวิจัยเห็นวายังมีประเด็นอ่ืน ๆ ท่ีนาสนใจและสามารถนํามาศึกษาไดในโอกาสตอไป ดังนี ้

6.3.1 ควรศึกษาการใชคําประเภทอ่ืน เชน การใชคําเรียกสี การใชคําจํานวนนับ ในชุมชน

บางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

6.3.2 ควรศึกษาคําบอกเวลาของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอ

ปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

6.3.3 ควรศึกษาการตั้งช่ือของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส

รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

Page 86: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

76

รายการอางอิง

กัลยา ติงศภัทิย, ม.ร.ว และ อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ. การใชคําเรียกขานในภาษาไทย

สมัยรัตนโกสินทร. โครงการเผยแพรผลงานวิจัย ฝายวิจัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2531.

กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย, 2530.

คํานวณ นวลสนอง. ศึกษาพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของชนชาติไทในรัฐตอนเหนือของ

มาเลเซีย. สงขลา: สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2546.

จตุพร ศิริสัมพันธ. “สรรพนามในบันทึกและจดหมายของโกษาปาน: การศึกษาตามแนว

ภาษาศาสตรเชิงสังคม.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจารึกภาษาไทย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.

ฉันทัส ทองชวย. “ภาษาไทยท่ีใชในปจจุบันในรัฐกลันตัน ไทรบุรี และปะลิส.” ดุษฎีนิพนธ

ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526.

ธํารงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ไทยในมาเลเซีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา, 2517.

ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม. “การศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับหัวเมืองประเทศราชมลายูในสมัย

รัตนโกสินทรตอนตน(พ.ศ.2325-2411).” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต

วิทยาลัยวิชาการศึกษา, 2515.

นววรรณ พันธุเมธา. ไวยากรณไทย. นครสวรรค: รุงเรืองสาสนการพิมพ, 2525.

นิพนธ ทิพยศรีนิมิต. วิถีไทยในมาเลเซีย. เอกสารประกอบการสนทนาทางวิชาการ

เรื่อง ความกลมกลืนและความหลากหลายทางวัฒนธรรม, (หนา 1). 18 สิงหาคม

2549 ณ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.

สงขลา: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก, 2549.

เปรมจิต ชนะวงศ. ภาษาศาสตรสําหรับครู. (พิมพครั้งท่ี 3 แกไขปรับปรุง). นครศรีธรรมราช:

โครงการตําราและเอกสารทางวิชาการ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช, 2528.

ไพลดา ชัยศร และคณะ. “วัดไทยในกลันตัน : การปรับเปล่ียนมิติทางสังคมและเศษฐกิจของชุมชน

ชาวไทยพุทธในรัฐมุสลิม”. โครงการ มาเลเซีย: นัยยะท่ีสําคัญตอประเทศไทย

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 2552.

ภูมิใจ บัณฑุชัย. “คําเรียกขาน คําบุรุษสรรพนามท่ี 1 และคําบุรุษสรรพนามท่ี 2 ของผูขายใน-

หางสรรพสินคา.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,

2549.

Page 87: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

77

มีชัย เอ่ียมจินดา. “วิวัฒนาการของระบบคําบุรุษสรรพนามตั้งแตสมัยสุโขทัยถึงสมัยปจจุบัน.”

วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2534.

เยาวลักษณ เฉลิมเกียรต.ิ “คําเรียกญาติในจังหวัดนครศรีธรรมราช”. วิทยานิพนธปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2542.

วราภรณ แสงสด. “คําบุรุษสรรพนามในภาษาไทย: การศึกษาเชิงประวัต.ิ” วทิยานิพนธปริญญา

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2532.

วิจินตน ภาณุพงศ. โครงสรางภาษาไทย: ระบบไวยากรณ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย

รามคําแหง, 2524.

วิภัสรินทร ประพันธสิริ. “คําเรียกญาติในภาษาคําเมือง : การวิเคราะหทางอรรถศาสตร

ชาติพันธุ”. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535.

วัดอุตตมาราม. ประมวลเกียรติคุณอนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พระวิจารยญาณมุนี

(มิตร สีลคุโณ). มปท., 2548.

วิไลวรรณ เชาวลิต. “การใชคําเรียกขานในภาษาไทยถ่ินใต : กรณีศึกษาบุคลากรในโรงเรียน

ทาศาลาประสิทธ์ิศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช”.วิทยานิพนธปริญญา

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535.

วีระ สุวรรณ และ แฮลาย ปรามวล. บันทึกมรดกวัดไทยในรัฐกลันตัน. สงขลา: เทมการพิมพ,

2553.

สุชาดา เจียพงษ. “การศึกษาเปรียบเทียบคําบุรุษสรรพนามในภาษาไทย 4 ถ่ิน.” วิทยานิพนธ

ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553.

Page 88: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

78

สุรชาติ บํารุงสุข. ขอมูลพ้ืนฐาน วิกฤตการมาเลเซีย เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม.

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรสโพรดักส,

2542.

สมชาย สําเนียงงาม. คําแทนตัวผูพูดในบทพูดเดี่ยวของผูพูดตางเพศ.วารสารอักษรศาสตร,

(หนา 7-23). ปท่ี31(2552) ฉบับท่ี 2 .มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย, 2539.

อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ. ภาษาศาสตรสังคม. (พิมพครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2541.

______________. ลักษณะสําคัญบางประการในวัฒนธรรมไทยท่ีสะทอนในคําเรียกญาติภาษาไทย.

วารสารศูนยภาษาและวรรณคดีไทย. ปท่ี 7 ฉบับท่ี 1, 2533.

สัมภาษณ

พระปลัดสุข สันติกาโร. (2554). รองเจาอาวาสวัดอุตตมาราม. สัมภาษณ, 22 สิงหาคม.

ฐานิต โฉมอุทัย.(2554). ประธานศิษยเกาโรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม. สัมภาษณ,

8 ธันวาคม.

ดารา พุทธซอน.(2554). รองประธานสตรีแหงรัฐกลันตน. สัมภาษณ, 22 สิงหาคม.

ดารินทร นิลเจริญ.(2554). เสมียนกงสุลใหญ ณ เมืองโกตาบาร.ู สัมภาษณ, 12 สิงหาคม.

แฮลาย ปรามวล.(2554). เจาหนาท่ีมูลนิธิพระวิเชียรโมลี. สัมภาษณ, 6 เมษายน.

Page 89: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

79

ภาคผนวก

Page 90: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

80

ภาคผนวก ก

แบบสัมภาษณผูบอกภาษา

Page 91: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

81

แบบสัมภาษณการใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟงของชาวไทยสยามในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย

The use of Self-address Terms and Audience-address Terms by Orang Siam in Kampung

Teresek, Repek, Pasir Mas, Kelantan, Malaysia.

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คําชี้แจง

แบบสัมภาษณชุดนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา เรื่อง “การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัว

ผูฟงของชาวไทยสยาม ในชุมชนบางแซะ ตําบลรีเปก อําเภอปาเซรมัส รัฐกลันตัน ประเทศ

มาเลเซีย”

แบบสัมภาษณชุดนี้แบงออกเปน ๒ ตอน คือ

ตอนท่ี ๑ รายละเอียด/ขอมูลของผูบอกภาษา

ตอนท่ี ๒ การใชคําแทนตัวผูพูดและผูฟง

ตอนที่ ๑ รายละเอียด/ขอมูลของผูบอกภาษา

ช่ือ.....................................................................ช่ือสกุล..............................................................

อาย.ุ...........................................ป เพศ.......................................ศาสนา..............................

การศึกษา ............................................................. อาชีพ ..........................................................

บานเลขท่ี .............................หมูท่ี.............................ตําบล........................อําเภอ.....................

สถานภาพ (โสด, สมรส, อ่ืนๆ)..............................................................................................

Page 92: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

82

ตอนที่ ๒ การใชคําแทนตัวผูพูดและคําแทนตัวผูฟง

๑.ในบานของทานมีใครอาศัยอยูบาง เม่ือสนทนากันใชคําแทนตัวเองวาอยางไร และใชคํา

แทนผูท่ีพูดดวยวาอยางไร (พิจารณาอายุและความเปนญาต)ิ

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

อายุมากกวา

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

.....................................................................................

อายุเทากัน

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

....................................................................................

อายุนอยกวา

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

Page 93: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

83

๒.เม่ือสนทนากับบุคคลอ่ืนท่ีอาศัยอยูในหมูบานเดียวกันใชคําแทนตัวเองวาอยางไร และใช

คําแทนผูท่ีพูดดวยวาอยางไร(พิจารณาอายุและความสนิทสนม)

ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง

อายุมากกวา + สนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

อายุมากกวา + ไมสนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

อายุเทากัน + สนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

อายุเทากัน + ไมสนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

อายุนอยกวา + สนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

อายุนอยกวา + ไมสนิท

...............................................................................................................................................

...............................................................................................................................................

Page 94: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

84

ภาคผนวก ข

รายชื่อผูบอกภาษา

Page 95: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

85

ผูบอกภาษากลุมที่ 1 อายุ 65-80 ป เพศชาย

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. เติม บุญชวย 80 เกษตรกร

2. โยน โฉมอุภัย 80 พอบาน

3. สุบิน พุทธซอน 76 ทําสวนยางพารา

4. สมบูรณ บุญญมณ ี 76 ทําสวน

5. ประพันธ ศรีสุวรรณ 73 ทําสวนยางพารา

6. ไสว พุทธซอน 72 ทําสวนยางพารา

7. ไหล จันทรวงศ 71 ทําสวนยางพารา

8. อรุณ ศรีสุวรรณ 70 พอบาน

9. ดํา กะลาทาน 70 เกษตรกร

10. ภิรมย วรรณนานุวัตน 69 ทําสวนยางพารา

11. ประมวล เมตตาสุด 67 ทําสวนยางพารา

12. ลํ้า รามชวย 65 ทําสวนยางพารา

13. เท่ียง จันทนา 65 ทําสวน

14. พรอม อินธโณ 65 รับจางท่ัวไป

15. ประดิษฐ แสงรัตน 65 ทําสวน

Page 96: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

86

ผูบอกภาษากลุมที่ 1 อายุ 65-80 ป เพศหญิง

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. ดํา พิศงาม 80 แมบาน

2. ปริ่ม โกศลสุวรรณ 80 แมบาน

3. พลอย บุญชวย 80 แมบาน

4. บาง ภักด ี 76 ทําสวน

5. แช พิศงาม 75 แมบาน

6. ยี่ โฉมอุภัย 74 แมบาน

7. มืด แสงรัตน 72 แมบาน

8. ทา พิศงาม 70 แมบาน

9. ดี ยัญชนะ 68 ทําสวนยางพารา

10. มืด บุญชวย 68 แมบาน

11. อนงค สุขแดงพรหม 67 สวนยางพารา

12. ดารา พุทธซอน 65 ทําสวนยางพารา

13. แกะ ภักดีสุวรรณ 65 ทําสวน

14. ผอม กะลาทาน 65 ทําสวนยางพารา

15. ศิริ เรืองอนันต 65 แมบาน

Page 97: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

87

ผูบอกภาษากลุมที่ 2 อายุ 35-50 ป เพศชาย

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. อนัน รามชวย 50 ทําสวนยางพารา

2. มนูญ เมตตาสุด 48 ทําสวน

3. เกษม บุญประเสริฐ 45 ชางกอสราง

4. สมศักดิ์ บุญชวย 40 รับจางท่ัวไป

5. เกรียงศักดิ์ พุทธซอน 38 ทําสวนยางพารา

6. เกรียงไกร พุทธซอน 38 ทําสวนยางพารา

7. วิโชค รามชวย 38 เกษตรกร

8. สามารถ พุทธซอน 38 ทําสวนยางพารา

9. ประวิทย ชุมอุภัย 37 ธุรกิจสวนตัว

10. สายันต พุทธซอน 36 รับจางท่ัวไป

11. แฮลาย ปรามวล 36 ธุรกิจสวนตัว

12. เกริ่น ภักด ี 35 รับจางท่ัวไป

13. ฐานิฐ โฉมอุทัย 35 คาขาย

14. เล็ก จันทวงศ 35 ทําสวน

15. เสียม บุญชวย 35 รับจางท่ัวไป

Page 98: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

88

ผูบอกภาษากลุมที่ 2 อายุ 35-50 ป เพศหญิง

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. วารุณี ชลสาร 50 คาขาย

2. กาบ อินธโณ 49 ทําสวนยางพารา

3. วันดี อินธโณ 49 ทําสวนยางพารา

4. โสภา จันทรศิร ิ 46 ทําสวน

5. ประไพ แสงรัตน 44 ทําสวนยางพารา

6. สมใจ เพชรรัตน 44 แมบาน

7. นงนุช กรุโณ 43 ทําสวนยางพารา

8. พิมพ ศรีสมบูรณ 43 แมบาน

9. วันดี กะลาทาน 42 ชางเย็บผา

10. ศรี จันทนา 40 ชางเย็บผา

11. กระถิน ยัญชนะ 39 ชางเย็บผา

12. อินตรา บุญชวย 37 แมบาน

13. กานดา โฉมจุไร 36 ชางเสริมสวย

14. วิริยา รัตนวงศ 35 คาขาย

15. สมหมาย จันทรวงศ 35 คาขาย

Page 99: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

89

ผูบอกภาษากลุมที่ 3 อายุ 5-20 ป เพศชาย

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. เกษม อินทโณ 20 ชางยนต

2. เดช บุญประเสริฐ 19 เกษตรกร

3. ชวิทย แสงรัตน 18 ทําสวน

4. นาโรดม จันทรวงศ 17 เกษตรกร

5. ประทีป เพ็ชรรัตน 17 ชางยนต

6. ชาลี บุญชวย 16 นักเรียน

7. ประวิทย รามชวย 15 นักเรียน

8. ฐานิต จันทรอยู 14 นักเรียน

9. อุเทน บุญประเสริฐ 11 นักเรียน

10. วิชัย อินทโน 11 นักเรียน

11. นิสาย แสงรัตน 10 นักเรียน

12. ราเชนทร แสงรัตน 10 นักเรียน

13. ชาตรี ศรีสมบูรณ 9 นักเรียน

14. นโรดอน กาลทาน 9 นักเรียน

15. ปยวัฒ รัตนวงศ 6 นักเรียน

Page 100: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

90

ผูบอกภาษากลุมที่ 3 อายุ 5-20 ป เพศหญิง

ชื่อผูบอกภาษา อาย ุ อาชีพ

1. เรไร รามชวย 19 นักเรียน

2. สาลินา โฉมอุทัย 18 นักเรียน

3. สุภาภรณ นิลสุวรรณ 18 นักเรียน

4. แววตา รามชวย 15 นักเรียน

5. เจนจิรา แสงรัตน 15 นักเรียน

6. นัยนา วรรณานุวัฒน 14 นักเรียน

7. สาลินี แสงรัตน 14 นักเรียน

8. สุนันทา เพ็ชรรัตน 14 นักเรียน

9. แกวตา รามชวย 13 นักเรียน

10. ดาว ชุมอุรัย 12 นักเรียน

11. ปรีสนี โฉมอุภัย 12 นักเรียน

12. ภาวินา เพ็ชรรัตน 11 นักเรียน

13. พรชิตา ยัญชนะ 10 นักเรียน

14. วรรณนิสา นิลสุวรรณ 10 นักเรียน

15. เมลิน ศรีสุวรรณ 9 นักเรียน

Page 101: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

91

ภาคผนวก ค

ภาพชุมชนบางแซะ

กิจกรรมตางๆ และการลงพื้นที่เก็บขอมูลในชุมชนบางแซะ

Page 102: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

92

วัดอุตตมาราม : อุโบสถ

การรับศีล 8 หรือ รักษาอุโบสถศีล ของนักเรียนโรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม

Page 103: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

93

การรักษาศีล 8 หรือ อุโบสถศีล ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

การเลนน้ําในวันสงกรานต

Page 104: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

94

การรําส่ีภาคของไทยในงานประเพณี

การรํามโนราหในงานประเพณี

Page 105: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

95

การรําเก็บใบชาในงานประเพณี

โรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม

Page 106: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

96

การเรียนการสอนภาษาไทยในโรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม

วงมโนราหโรงเรียนสอนภาษาไทยวัดอุตตมาราม

Page 107: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

97

วงดนตรีอารามบอย

สัมภาษณผูบอกภาษากลุมอายุที่ 1และกลุมอายุที่ 2

Page 108: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

98

สัมภาษณผูบอกภาษากลุมอายุที่ 1 และกลุมอายุที่ 2

สัมภาษณผูบอกภาษากลุมอายุที่ 3

Page 109: ทยาล 2555 ทยาล - thapra.lib.su.ac.th · key word:self-address terms / audience-address terms / orang siam vorakorn thampiban-udom:the use of self-address terms and

99

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นางสาววรกร ธรรมภิบาลอุดม

ท่ีอยู 54 หมูท่ี 5 ตําบลนาโหนด อําเภอเมือง จังหวัด พัทลุง 93000

ประวัติการศึกษา

ปการศึกษา 2551 สําเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

ปการศึกษา 2552 ศึกษาตอระดับปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร