บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · short story literary works awards in...

22
การวิเคราะหวรรณกรรมการเมืองระหวางป .. 2545-2548 : กรณีศึกษา วรรณกรรมเรื่องสั้นรางวัลพานแวนฟา ประจําป .. 2545-2548 An Analysis of Political Literary Works during the Years of 2545-2548 B.E. : A Case Study of Pan Waen Fa Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บุณยเสนอ ตรีวิเศษ บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหเนื้อหาและวาทกรรมในวรรณกรรมการเมืองรางวัล พานแวนฟา ระหวางป .. 2545-2548 จํานวน 52 เรื่อง โดยใชวิธีศึกษาบริบททางสังคมและ การเมืองของไทย ศึกษาเรื่องสั้นตามขอบเขตที่กําหนด อีกทั้งศึกษางานเขียนอื่น ที่เกี่ยวของ วิเคราะห ตีความเรื่องสั้นดวยระเบียบวิธีทางวรรณคดีวิจารณ และนําเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนา วิเคราะห ผลการวิจัยพบวา 1. วรรณกรรมเรื่องสั้นการเมืองรางวัลพานแวนฟา มีเนื้อหาสาระครอบคลุม 13 ประเด็น ไดแก 1.1) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองในอุดมคติ 1.2) การวิพากษหลักการของ ประชาธิปไตย 1.3) การวิพากษนโยบายทางการเมือง 1.4) ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อเรียนรู การเมือง 1.5) การเมืองเปนเรื่องของทุกคน 1.6) การเมืองเปนเรื่องของอํานาจและผลประโยชน 1.7) ประชาธิปไตย :การตอสูที่ยังไมสิ้นสุด 1.8) หัวใจที่โหยหาอุดมการณประชาธิปไตย 1.9) การวิพากษทุนนิยม 1.10) นโยบายเศรษฐกิจการเมือง 1.11) ความออนแอทางการเมืองภาค ประชาชน 1.12) การเมืองครอบงําชะตากรรมมนุษย 1.13) ความขัดแยงทางการเมือง, สถานการณ ภาคใต 2. วรรณกรรมเรื่องสั้นการเมืองรางวัลพานแวนฟา มีวาทกรรมที่ปรากฏ 5 แบบ ไดแก 2.1) วาทกรรมภาษายอมสีของนักการเมือง 2.2) วาทกรรมแหงอุดมการณ 2.3) วาทกรรมวิจารณ สันดานนักการเมือง 2.4) วาทกรรมแหงความดีเพื่อความงดงามในชีวิตและสังคม และ 2.5) วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเมือง Abstract The purpose of this research was to analyze the contents and discourse of political literary works that were awarded successfully for Pan Waen Fa Awards during the years of 2545-2548 B.E.,which were the collection of 52 stories. The methodology of this study was first to explore Thailand’s social context and politics, then, to investigate the short stories

Upload: others

Post on 05-Nov-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

การวิเคราะหวรรณกรรมการเมืองระหวางป พ.ศ. 2545-2548 : กรณีศึกษาวรรณกรรมเรื่องสั้นรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548

An Analysis of Political Literary Works during the Years of 2545-2548 B.E. : A Case Study of Pan Waen Fa

Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E.

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหเนื้อหาและวาทกรรมในวรรณกรรมการเมืองรางวัลพานแวนฟา ระหวางป พ.ศ. 2545-2548 จํานวน 52 เรื่อง โดยใชวิธีศึกษาบริบททางสังคมและการเมืองของไทย ศึกษาเรื่องส้ันตามขอบเขตที่กําหนด อีกทั้งศึกษางานเขียนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ วิเคราะห ตีความเรื่องส้ันดวยระเบียบวิธีทางวรรณคดีวิจารณ และนําเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห ผลการวิจัยพบวา

1. วรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา มีเนื้อหาสาระครอบคลุม 13 ประเด็น ไดแก 1.1) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองในอุดมคติ 1.2) การวิพากษหลักการของประชาธิปไตย 1.3) การวิพากษนโยบายทางการเมือง 1.4) ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อเรียนรูการเมือง 1.5) การเมืองเปนเรื่องของทุกคน 1.6) การเมืองเปนเรื่องของอํานาจและผลประโยชน 1.7) ประชาธิปไตย :การตอสูที่ยังไม ส้ินสุด 1.8) หัวใจที่ โหยหาอุดมการณประชาธิปไตย 1.9) การวิพากษทุนนิยม 1.10) นโยบายเศรษฐกิจการเมือง 1.11) ความออนแอทางการเมืองภาคประชาชน 1.12) การเมืองครอบงําชะตากรรมมนุษย 1.13) ความขัดแยงทางการเมือง, สถานการณภาคใต 2. วรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา มีวาทกรรมที่ปรากฏ 5 แบบ ไดแก 2.1) วาทกรรมภาษายอมสีของนักการเมือง 2.2) วาทกรรมแหงอุดมการณ 2.3) วาทกรรมวิจารณสันดานนักการเมือง 2.4) วาทกรรมแหงความดีเพื่อความงดงามในชีวิตและสังคม และ 2.5) วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเมือง Abstract The purpose of this research was to analyze the contents and

discourse of political literary works that were awarded successfully for Pan

Waen Fa Awards during the years of 2545-2548 B.E.,which were the

collection of 52 stories. The methodology of this study was first to explore

Thailand’s social context and politics, then, to investigate the short stories

Page 2: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

accordingly to the limited framework, and other related literary works. Next,

the collected stories were analyzed and interpreted using the literary criticism’s

technique. Finally, the results of the study through descriptive analysis was

presented. The research findings were as follows :

1. The Pan Waen Fa short stories reflected 13 political issues;

1.1) the promotion of democratic idealism, 1.2) the critique of rationale of

Thailand’s democracy, 1.3) the critique of political policies, 1.4) the history

of political struggles and learning, 1.5) politics is everyone’s concern, 1.6)

politics is power and interests, 1.7) democracy: the endless struggle, 1.8) the

yearning for democratic idealism, 1.9) the criticism of capitalism, 1.10)

political and economical politics,1.11) the political weakness on the civilian’s

side, 1.12) political influence over people’s destiny, and 1.13) political

conflicts and the terrorism in the Southern region.

2. There are 5 types of discourse found in Pan Waen Fa short stories:

2.1) discourse of politicians’ colored language, 2.2) discourse of idealism,

2.3) discourse about politician’s characteristics, 2.4) discourse of goodness for

aesthetics in living and societies, and 2.5) discourse about democracy and

politics.

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

วรรณกรรมเปนผลิตผลทางความคิดของมนุษย ซึ่งอาจประพันธขึ้นจากจินตนาการหรือ เหตุการณที่เปนจริง ผูประพันธเปนสมาชิกหนึ่งของสังคม ดังนั้นเรื่องราวตาง ๆ ในสังคมยอมเปนวัตถุดิบสําคัญประการหนึ่งในการสรางสรรคงานประพันธ วัตถุดิบดังกลาวอาจเปนประสบการณตรง บางครั้งอาจเปนคําบอกเลาจากผูอื่น เมื่อผูประพันธนําถอยคํามาเรียงรอยใหเปนวรรณกรรม อาจมีการตอเติมเสริมแตงบางเพื่อใหเนื้อหามีความสนุกสนานเขมขนยิ่งขึ้น แตก็ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเปนจริงซ่ึงผูอานควรแยกแยะใหไดวา สวนใดคือขอเท็จจริง สวนใดคือส่ิงที่ปรุงแตงใหเรื่องราวดึงดูดความสนใจผูอานเพิ่มขึ้น

โดยทั่วไปแลวมนุษยเปนสัตวสังคมตองการอยูรวมกันอยางสันติสุขและปลอดภัย สังคมของมนุษยจําเปนตองมีผูนําคอยตัดสินปญหาที่เกิดขึ้นจากการแกงแยงผลประโยชนของคนในสังคมเดียวกันและตอสูกับศัตรูภายนอกที่มารุกราน ดังนั้น แตละสังคมจําตองมีชนชั้นปกครองทําหนาที่ผูนําชุมชนจึงทําใหเกิดระบบการเมืองในรูปแบบตาง ๆ กัน ผูนําทางการเมืองอาจจะมีอํานาจที่แตกตางกันไปตามกฎเกณฑของแตละสังคม บางระบบทําใหผูนํามีอํานาจและสิทธิพิเศษมาก

Page 3: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

จนกระทั่งมีความรูสึกหวงแหนตองการครอบครองและปรารถนาใหลูกหลานของตนเองมีโอกาสสืบทอดอํานาจนั้นตอไป ผูนําตางมีกลยุทธในการใหประชาชนจงรักภักดีกับตนไดหลายวิธี ผูนําบางชุมชนใชวรรณกรรมทางการเมืองเปนเครื่องมือโนมนาวใจประชาชนที่อยูในชุมชนของตน ใหจงรักภักดีซื่อสัตยตอผูนําชุมชนโดยไมมีขอตอรองใด ๆ และยอมรับในเรื่องของอํานาจวาสนาและบุญบารมีที่พวกเขาอางถึง

ในทางตรงกันขาม บางครั้งวรรณกรรมก็เปนส่ือที่ผูประพันธจงใจใชปลุกจิตสํานึกของประชาชนใหกลาที่จะกบฏตอการใชอํานาจที่ไมเปนธรรมของผูนําเผด็จการ ที่มิไดคํานึงถึงประโยชนสุขของปวงประชาชนวา จะมีสภาพเปนเชนไร วรรณกรรมจึงมิไดเกิดจากความวางเปลา แตเกิดจากแรงบันดาลใจหรืออิทธิพลบางประการในสังคมนั้นที่มีตอผูประพันธ ผูประพันธบางคนจงใจเขียนวรรณกรรมขึ้นเพื่อหวังผลประโยชนทางการเมือง อาจโดยทางตรงหรือโดยทางออม วรรณกรรมจึงเปนเครื่องมือสะทอนความเปนไปของสังคม วรรณกรรมการเมืองก็ยอมสะทอนภาวะทางการเมืองดวย เมื่อพิจารณาการเมืองไทย 30 ป หลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (พ.ศ. 2516-2544) 5 ปหลังการปฏิรูปการเมือง (พ.ศ. 2541-2544) และ 2 ปหลังการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญใหม (พ.ศ. 2544) มีภาพรวม ดังนี้ คือ การปฏิรูปเพื่อสรางการเมืองตรวจสอบลมเหลวมากกวาสําเร็จ เนื่องจากคนไทยมีลักษณะสรางกลุมอิทธิพลเพื่อประโยชนในวงแคบของตน กลไกการตรวจสอบตาง ๆ เชน วุฒิสภา คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ (กสช.) ถูกกลุมอํานาจทั้งทางธุรกิจ การเมือง ทหาร ขาราชการ นักวิชาชีพ เขาแทรกแซง การเลือกตั้งในป พ.ศ. 2544 พรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้ง ไดสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของพรรคจํานวน 2549 คน จากทั้งหมด 500 ที่นั่ง แนวโนมการเกิดการเมืองระบบ 2 พรรคหรือพรรคใหญพรรคเดียวมีความชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้เพราะรัฐธรรมนูญใหมมีขอบังคับวาพรรคที่จะได ผูแทนแบบบัญชีรายชื่อ (Party List) ตองไดคะแนนรวมไมนอยกวารอยละ 5 ทําใหพรรคการเมืองเล็กดํารงอยูไดยาก จะตองยุบตัวเองในที่สุด (เนชั่นสุดสัปดาห, 2546 : 13-19)

การดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของคณะรัฐบาลที่ พ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี ตามปรัชญาการเมืองของพรรคไทยรักไทยคือ เสรีประชานิยม (Liberal

Populist-Policy) ระบบประชานิยมจะเปลี่ยนทรัพยากรทุกอยางของประเทศรวมทั้งคนจนใหเปนทุนและเปนผูบริโภคกอน นโยบายเชนนี้ทําใหชาวบานเปนนักบริโภคนิยมและกลายเปนทุนติดลบมากขึ้นมีหนี้สินผูกพันไมส้ินสุด

ความเปนไปของสังคมและระบบการเมืองการปกครองของไทยในระหวางป พ.ศ. 2545-2548 ขาดเสถียรภาพทางการเมือง เนื่องจากคนชั้นกลางไมพอใจการดําเนินนโยบายบริหารประเทศของผูนํา คนระดับรากหญาสวนใหญกลับพอใจ กลุมบุคคลตาง ๆ ไดแสดงความคิดเห็น

Page 4: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

กับ บรรยายกาศทางการเมืองดังกลาวดวยวิธีตาง ๆ กัน นักเขียนแสดงความคิดเห็นทางการเมืองผานวรรณกรรม นักเขียนบางคนตองการบันทึกปรากฏการณของสังคมการเมือง ในขณะที่บางคนคาดหวัง หรือตองการสืบทอดเจตนารมณสรางสรรคผลงานวรรณกรรมที่มีแนวคิดทางการเมือง

ปรากฏการณที่สําคัญประการหนึ่งที่เกิดขึ้นในสถานการณการเมืองชวงระหวาง ป 2545-2548 คือ การใชวาทกรรมทางการเมือง ซึ่ง “วาทกรรม” นี้มิไดมีความหมายเพียงคําพูดหรือถอยคําเทานั้น หากแตมีความหมายกวางไกล เพราะหมายรวมถึง “พลังอํานาจ” ของถอยคําที่มีอิทธิพลตอความคิดและชี้นําความรูสึกนึกคิดไดอยางทรงพลัง (บุญเลิศ ชางใหญ, 2550 : 7) จากการสังเกตการใชภาษาของนักการเมืองและนักวิชาการในชวงของคณะรัฐบาลที่ พ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี อาจกลาวไดวา ไดมีการใชวาทกรรมเพื่อการดํารงอยูของอํานาจทางการเมืองอยางมาก และปรากฏการณการใชวาทกรรมดังกลาวก็นาจะเปนที่สนใจของผูประพันธที่จะนําไปถายทอด และเขียนสะทอนไวในเรื่องส้ันซึ่งนาจะมีอยูไมนอย ป พ.ศ. 2545 รัฐสภาและสมาคมนักเขียนแหงประเทศไทย ไดริเริ่มจัดประกวดวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองเปนครั้งแรก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหประชาชนไดใชเสรีภาพแสดงออกทางการเมือง อันเปนการสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย และเพื่อสรางสรรควรรณกรรมการเมืองใหประดับไวในวงวรรณกรรมของไทย (สุวรรณ เคลือบสุวรรณ, 2546 : 226) ในป พ.ศ. 2546 รัฐสภาและสมาคมนักเขียนแหงประเทศไทย ไดจัดประกวดวรรณกรรมการเมืองครั้งที่ 2 ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนนักศึกษาและประชาชนไดสงผลงานเรื่องส้ันและบทกวีเขารวมประกวดเปนการสรางสรรคผลงานในหลายรูปแบบและเปดโอกาสใหนักเรียน นักศึกษา ไดมีสวนรวมดวย จึงใหมีการประกวดเรื่องส้ัน และบทกวีการเมือง ทั้งในระดับนักเรียน นักศึกษา และระดับประชาชนทั่วไป (รักษมนัญญา สมเทพ, 2547 : 258) ใน ป พ.ศ. 2547 รัฐสภาและสมาคมนักเขียนแหงประเทศไทย ไดจัดประกวดเปนครั้งที่ 3 และป พ.ศ. 2548 ไดจัดประกวดเปนครั้งที่ 4 โดยมีวัตถุประสงคสอดคลองกันคือ เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดใชเสรีภาพแสดงออกทางการเมือง โดยใชศิลปะในการเขียนถายทอดความรูสึกสะทอนภาพการเมือง หรือจินตนาการถึงการเมืองที่ตองการ อันเปนการสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา และเพื่อเปนการสรางสรรควรรณกรรมการเมืองใหประดับไวในวงวรรณกรรมไทย (รักษมนัญญา สมเทพ, 2548 : 304 ; นาถยา กัลโยธิน, 2549 : 175) ดวยความสัมพันธระหวางนักเขียนกับสังคมดังกลาว จึงเห็นสมควรที่จะพินิจพิจารณาวานักเขียนที่แตงวรรณกรรมมีแนวคิดทางการเมืองอยางไร สามารถสะทอนปญหาสังคมและระบบการเมืองการปกครองของไทยไดชัดเจนมากนอยเพียงไร ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยเรื่อง การวิเคราะหวรรณกรรมการเมืองระหวางป พ.ศ. 2545-2548 : กรณีศึกษาวรรณกรรมเรื่องส้ันรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548 วาไดสะทอนภาพการเมืองการปกครองในชวงที่ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี ในดานเนื้อหา และวาทกรรมอยางไร ทั้งนี้เพราะการศึกษา

Page 5: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

วรรณกรรมเกี่ยวกับการเมือง จะทําใหไดขอมูลทางสังคมที่สําคัญ หรือมองปญหาการเมืองไดอยางครอบคลุม ที่จะชวยใหการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ เปนไปอยางมีเหตุผลรอบคอบสามารถปองกันความผิดพลาดไดวิธีหนึ่ง วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อวิเคราะหเนื้อหา และวาทกรรมในวรรณกรรมการเมืองระหวางป พ.ศ. 2545-2548 : กรณีศึกษาวรรณกรรมเรื่องส้ันรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548 คําถามการวิจัย 1. วรรณกรรมการเมืองระหวางป พ.ศ. 2545-2548 : กรณีศึกษาวรรณกรรมเรื่องส้ันรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548 มีเนื้อหาการเมืองดานใดบาง 2. วรรณกรรมการเมืองระหวางป พ.ศ. 2545-2548 : กรณีศึกษาวรรณกรรมเรื่องส้ันรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548 มีการใชวาทกรรมเพื่อผลประโยชนทางการเมือง หรือเพื่อดํารงอยูของอํานาจทางการเมอืงหรือไม อยางไร ความสําคัญของการวิจัย งานวิจัยนี้จะทําใหเขาใจเนื้อหา และวาทกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมการเมืองรางวัล พานแวนฟา ระหวางป พ.ศ. 2545-2548 ที่เชื่อมโยงกับบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอีกทั้งยังกระตุนใหเกิดการพินิจพิจารณาคุณคาของวรรณกรรมเพื่อเปนพลังในการพัฒนา ประชาธิปไตย ขอบเขตการวิจัย การศึกษาในครั้งนี้จะศึกษาเฉพาะเรื่องส้ันการเมืองที่ไดรับรางวัลพานแวนฟา ที่จัดประกวด ประจําป 2545-2548 ที่ตีพิมพแลว จํานวน 52 เรื่อง ดังนี้ เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2545 จํานวน 11 เรื่อง เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2546 จํานวน 16 เรื่อง เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2547 จํานวน 17 เรื่อง และ เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2548 จํานวน 8 เรื่อง วิธีการวิจัย ศึกษาบริบททางสังคม การเมืองของไทย ศึกษาเรื่องส้ันตามขอบเขตที่กําหนด อีกทั้งศึกษางานเขียนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน บทความ บทวิจารณ และงานวิจัยทางวรรณกรรมเพื่อประกอบการวิเคราะห วิเคราะห ตีความเรื่องส้ันดวยระเบียบวิธีทางวรรณคดีวิจารณและนําเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห

Page 6: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

นิยามศัพทเฉพาะ เนื้อหา หมายถึง สาระสําคัญ แนวคิด หรือ ประเด็นสําคัญในวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา วาทกรรม คือ คําพูด ถอยคํา พลังอํานาจของถอยคําที่มีอิทธิพลตอความคิด ชี้นํา และโนมนาวใหเชื่อ หรือปฏิบัติตาม ระบบและกระบวนการในสรางหรือผลิตอัตลักษณ (Identity) ความหมาย (Signification) ใหแกสรรพส่ิงตาง ๆ ในสังคม ไมวาจะเปนความรู ความจริง อํานาจ หรือตัวตน (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2542) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ บริบทวรรณกรรม วิทย ศิวะศริยานนท (2544 : 196) กลาววา วรรณกรรมยอมสัมพันธกับสังคม วรรณกรรมจะสะทอนประสบการณชีวิตในทุกยุคทุกสมัย ไมวานักเขียนจะจงใจสะทอนสังคมหรือไมก็ตาม ดังคํากลาวของ De Bonald วาวรรณกรรมเปนการแสดงออกของสังคม (Literature is an

expression of society) ความสัมพันธของวรรณกรรมอาจเปนไปได 3 ลักษณะ คือ วรรณกรรมเปนภาพสะทอนของสังคม ที่เปนภาพแหงประสบการณของผูเขียนและเหตุการณสวนหนึ่งของสังคม จึงมีความเปนจริงทางสังคมแฝงอยู สังคมมีอิทธิพลตอวรรณกรรมหรือตอนักเขียน สภาพการณของปจจัยตาง ๆ ทางสังคมยอมเปนส่ิงที่สามารถกําหนดโลกทัศน และชีวทัศนของนักเขียนที่อยูในสังคมนั้น ๆ วรรณกรรมหรือนักเขียนมีอิทธิพลตอสังคม ทัศนีย นาควัชระ (2532) ศึกษาเรื่อง บทบาทของวรรณกรรมและพันธกิจของนักเขียนในทัศนะของเอมิล โซลา โดยศึกษาประวัติของผูแตงและบริบททางสังคมเชื่อมโยงกับการวิเคราะหชิ้นงาน พบวา โซลาไดรับอิทธิพลทางความคิดจากปรัชญาปฏิฐานนิยมในการสรางสรรควรรณกรรม เขาไดศึกษาวิเคราะหสภาพความเปนอยูของสังคมกรรมาชีพอยางใกลชิด ในเบื้องตนโซลามีจุดประสงคเพื่อวิเคราะหตีแผปญหาสังคมเพื่อกระตุนใหผูรับผิดชอบหาทางแกไขเทานั้น แตเมื่อไดเห็นความทุกขยากในแงมุมตาง ๆ โซลาจึงใชวรรณกรรมเปนส่ือปลุกสํานึกของผูถูกกดขี่ใหรวมตัวกันตอสูเรียกรองสิทธิอันชอบธรรมของตน โซลาเห็นวาระบบการเมืองมีผลกระทบตอเศรษฐกิจสังคมและศีลธรรมของประเทศ เขาจึงใชวรรณกรรมเปนเครื่องตอตานเผด็จการทางการเมือง พันธกิจในงานเขียนของเขาคือการตอสูเพื่อเปดเผยความจริงและสรางสรรคความยุติธรรม ตรีศิลป บุญขจร (2530 : 118) กลาววา การศึกษาวรรณกรรมปจจุบันประเภทเรื่องส้ัน ควรตองศึกษาบริบทในการแตงควบคูไปดวย เพื่อวิเคราะหเชื่อมโยงไปสูทัศนะของผูแตง ความสําคัญของโลกทัศนหรือ ทัศนะตอโลกของผูแตงสามารถอธิบายไดวา เปนโครงสรางของความคิดและอารมณซึ่งประสานตัวขึ้นจากประสบการณ

Page 7: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

แนวความคิดเบ้ืองตนเกี่ยวกับการเมือง จากการรวบรวมและประมวลคํานิยาม จากผูเขียนเชี่ยวชาญดานการเมือง (Eulau, 1963 ; Pennock and Smith, 1964 ; ชัยอนันต สมุทวณิช, 2517,2535 ; ณรงค สินสวัสดิ์, 2539) สามารถจําแนกนิยามของการเมืองเปน 6 ประการ คือ 1. การเมือง หมายถึง ทุกส่ิงทุกอยางที่เกี่ยวกับอํานาจ สถาบันและองคกรในสังคม ซึ่งไดรับการยอมรับวามีอํานาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปนาและทํานุรักษาความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม มีอํานาจในการทําใหจุดประสงครวมกันของสมาชิกในสังคมไดบังเกิดผลขึ้นมา และมีอํานาจในการประนีประนอมความคิดเห็นที่แตกตางกันของคนในสังคม 2. การเมือง เปนการใชอํานาจหนาที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณคาตางๆ ใหแกสังคมอยางชอบธรรม (The Authoritative Allocation of Values to Society) กลาวคือ เราจะใชความหมายการเมืองดังกลาวนี้ไดก็ตอเมื่อ ในสังคมนั้น ๆ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่เกี่ยวของ ซึ่งไดรับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทางออม มีความเห็นพองตองกันและยอมรับในกติกาที่กําหนด การใชอํานาจเพื่อแบงปนส่ิงที่มีคุณคาเทานั้น สวนในสังคมที่ยังไมตกลงยอมรับกติกาการกําหนดสิ่งที่มีคุณคาในสังคมรวมกันนั้น ชัยอนันต สมุทวณิช อธิบายวา การเมืองยังคงเปนเรื่องของการแขงขันกันเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการแบงปนคุณคาที่ใหประโยชนแกฝายตนมากที่สุด เทาที่จะเปนได 3. การเมืองเปนเรื่องของความขัดแยง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติมีอยูอยางจํากัด ขณะที่ผูคนซึ่งตองการใชทรัพยากรนั้นมีอยูมากและความตองการใชไมมีขีดจํากัด การเมืองจึงเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการที่คนในสังคมไมอาจตกลงกันไดหรือเกิดมีความขัดแยงขึ้น อยางไรก็ดี การมองการเมืองในลักษณะนี้มีขอโตแยงอยูมากวา หากไมอาจยุติขอขัดแยงที่เกิดขึ้นได บานเมืองยอมตกอยู ในสภาวะยุงยากวุนวาย ตอมาจึงมี ผู ให มุมมองการเมืองใหมวาเปนเรื่องของการประนีประนอมความขัดแยงมากกวาเปนเรื่องของความขัดแยง 4. การเมืองเปนเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน เพื่อหลีกเลี่ยงมิใหเกิดความขัดแยงจากการดําเนินงานทางการเมืองที่ไมมีทางออก 5. การเมืองเปนเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ดานคือ งานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในสวนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอํานวยการบริหารราชการแผนดินซึ่งเปนการควบคุมใหมีการดําเนินงานตามนโยบาย หากพิจารณาใหละเอียดแลว การเมืองโดยนัยนี้ เปนเรื่องที่คาบเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอํานาจ ซึ่งก็เปนเพราะอํานาจทางการเมืองนั้น ไดถูกนําไปใชผานกระบวนการนโยบายและการแตงตั้งคัดสรรผูนํานโยบายไปปฏิบัติในรูปของอํานาจและการปฏิบัติงานทางการปกครอง และแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางการเมืองและการบริหารหรือการปกครองที่ยากจะแยกออกจากกันได

Page 8: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

6. การเมืองเปนเรื่องของการกําหนดนโยบายของรัฐ กลาวคือ การเมืองคือกิจกรรมใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกําหนดนโยบาย หนวยงานและเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชในการกําหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็คือกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐนั่นเอง หนังสือเกี่ยวกับวรรณกรรมการเมือง ชัยสิริ สมุทวณิช (2544) ไดเขียนหนังสือชื่อ วรรณกรรมการเมือง 14 ตุลา 2516-6 ตุลา 2519 รากเหงา, การตอติดการเติบและพัฒนาการ โดยไดวิเคราะหวรรณกรรมไทยในชวงป 2516-2519 ไววา วรรณกรรมไทยในชวงนี้แบงไดเปนสองชวงคือ ชวงที่หนึ่ง 2516-2517 ชัยสิริ สมุทวณิช เห็นวาเปนยุคแหงการแสวงหาทางการเมืองอันเนื่องมาจากการไดรับชัยชนะและอิสรภาพจากระบอบเผด็จการ แตทวาเปนชัยชนะที่ไมจริงแท ภายหลังเหตุการณ 14 ตุลา สภาพสังคม ความเดือดรอน การเอารัดเอาเปรียบแรงงานยังคงเกิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนเพียงผิวเผินมิใชลงถึงตัวระบบ วรรณกรรมในชวงนี้จึงเปนการแสวงหาสาเหตุ วิพากษวิจารณตัวระบบมากกวาตัวบุคคลยิ่งขึ้น แตในขณะเดียวกับที่แสวงหาก็ไดคนพบแนวคิดที่สําคัญ คือ แนวคิดมารกซซึ่งไดนํามาประยุกตใชกับลักษณะของสังคมไทย ภายหลังไดพัฒนาไปสูการขัดแยงทางความคิดระหวางฝายขวาและฝายซาย สวนวรรณกรรมในชวงที่สอง คือ ชวง 2518–2519 เปนชวงแหงการชี้นําทางการเมือง เนื่องจากวรรณกรรมมีบทบาทรวมกับการตอสูทางการเมืองอยางแนบแนน นักเขียนแนวประชาชนไดเขียนวรรณกรรมขึ้นมากมายเพื่อปลุกกระแสใหมีการตอสู วรรณกรรมมีแนวโนมแสดงใหเห็นทิศทางของการไดมาซึ่งชัยชนะหรือความเปลี่ยนแปลงไปสูสภาพที่ดีกวาวาจะมาจากการลุกขึ้นสูและปะทะกันเทานั้น ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ และไพลิน รุงรัตน (2541) เขียนหนังสือ ชื่อ 25 ป 14 ตุลา มองผานวรรณกรรมเพื่อชีวิต หนังสือเลมนี้แบงเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 25 ป 14 ตุลา มองผานวรรณกรรมเพื่อชีวิต และตอนที่ 2 ภาพโดยรวมของกวีนิพนธเพื่อชีวิต (ยุคที่สอง) 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 ซึ่งเปนบทความที่เปนสวนหนึ่งของงานวิจัย “กวีนิพนธในฐานะพลังทางปญญาของสังคมรวมสมัย : ประสบการณจากวรรณคดีไทย อังกฤษ อเมริกัน ฝร่ังเศส และเยอรมันซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)” ตอนที่ 1 เปนการแบงเนื้อหาวรรณกรรมเพื่อชีวิตออกเปน 3 ยุค คือ ยุคแรก พ.ศ.2490 – 2510 ยุคที่สอง 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 และยุคที่สามคือชวงสองทศวรรษหลังเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 จนถึงปจจุบัน เนื้อหาในแตละชวงเปนการอธิบายปรากฏการณทางวรรณกรรมควบคูไปกับปจจัยทางสังคมการเมืองที่เอื้อตอการเกิดวรรณกรรมเพื่อชีวิตในแตละชวง ขณะเดียวกันก็ไดกลาวถึงงานของนักเขียนที่สําคัญ ๆ และภาพเหตุการณ 14 และ 6 ตุลาในเรื่องส้ัน นศินี วิทูธีรศานต (2519) ไดเขียนหนังสือ วิเคราะหวรรณกรรมแนวประชาชน เปนหนังสือที่จําแนกกลุมวรรณกรรมเพื่อประชาชนและมีการวิเคราะหวิจารณงานของนักเขียนในยุคนั้นไวอยางละเอียด ทั้งเรื่องส้ันและบทกวี กรอบความคิดที่นศินี วิทูธีรศานต ใชในการวิจารณในหนังสือเลมนี้

Page 9: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

คือ การพิจารณาความเหมาะสมกลมกลืนกันระหวางรูปแบบและเนื้อหาที่เสนอในงานเขียน กลาวคือตองนําเสนอเนื้อหาเพื่อชีวิต ดวยรูปแบบที่งาย งามและชัดเจน ความหมายของวาทกรรม จากการประมวลความหมายจากผูรูดานภาษา (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2542 ; วิโรจน อรุณมานะกุล, 2547 ; กฤษฎาวรรณ หงศลดารมภ และจันทิมา เอียมานนท, 2549 ; สรณี วงศเบี้ยสัจจ หัทยา จันทรมังกร และ ศตนันต เปยงบุญทา, 2549) ขอสรุปความหมายของวาทกรรมแยกเปนขอ ๆ ดังนี้ 1. ระบบและกระบวนการในสรางหรือผลิตอัตลักษณ (Identity) ความหมาย (Signification) ใหแกสรรพส่ิงตาง ๆ ในสังคมที่หอหุมเราอยู ไมวาจะเปนความรู ความจริง อํานาจ หรือตัวตนของเราเอง 2. ส่ือและเครื่องมือในวงจรปฏิสัมพันธทางสังคมของมนุษยที่กอใหเกิดการผลิต การตีความและการแลกเปลี่ยนสิ่งที่มีความหมายระหวางกัน 3. ภาษาเหนือระดับประโยค เปนภาษาระดับขอความซึ่งมีเอกภาพเชิงความหมายและความสมบูรณในตัวเอง เปนภาษาพูดและภาษาเขียนในบริบทสถานการณจริงมีเจตนาหรือจุดมุงหมายในการใชภาษาของผูใชและความรับรูของผูรับกํากับอยูดวย 4. การใหความหมายหรือนิยามตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งของผูที่มีอํานาจเพื่อใหส่ิงนั้นเปนประโยชนตอตัวเองโดยเพื่อใชในการปดบังขอเท็จจริงและไมตองการใหคนอื่นทราบขอเท็จจริงที่แทจริงหากแตตองการใหคนอื่นทราบและคิดอยางที่ตัวเองตองการ ทั้งนี้เพื่อใชเปนเครื่องมือในการปกปองและรักษาผลประโยชนของตน 5. กรอบความคิดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีพลังในการอธิบายกิจกรรมทางการเมืองและเปนแนวคิดที่ใหความสําคัญกับการสื่อความหมายทางภาษา เพื่อแสดงความคิดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การสื่อความหมายของการแสดงความคิดในที่นี้มีลักษณะเฉพาะคือเปนพฤติการณในการพูดและเขียนที่จริงจัง ซึ่งตางจากกิจกรรมการพูดและเขียนในชีวิตประจําวันและการดํารงชีพในลักษณะตาง ๆ ซึ่งเปนการใชภาษาแบบพื้น ๆ และเปนการแสดงความรูโดยทั่วไป และจะแตกตางกับกิจกรรมการพูดและเขียนเพื่อแสดงออกและสืบทอดวาทกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ อันไดแก มีการถายทอดและอบรมส่ังสอนเพื่อการบังคับ และดํารงรักษาหรือนําการเปลี่ยนแปลงไปดวยในเวลาเดียวกัน งานวิจัยเกี่ยวกบัวรรณกรรมการเมือง นันทวัลย สุนทรภาระสถิตย (2547) ไดทําวิทยานิพนธเรื่อง เรื่องส้ันบันทึกเหตุการณทางการเมือง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาเรื่องส้ันบันทึกเหตุการณทางการเมือง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ในดานองคประกอบ กลวิธีการประพันธ และบทบาทหนาที่ที่มีตอวงวรรณกรรม ประวัติศาสตรและการเมือง ในดานองคประกอบ ผูวิจัยไดวิเคราะหเรื่องส้ัน 61 เรื่อง ซึ่งแตงระหวางป 2516 และ 2545 พบวา

Page 10: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

มีแกนเรื่องสําคัญแบงไดเปน 4 กลุมคือ กลุมความเปลี่ยนแปลงของคนและอุดมการณที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาผานไป กลุมเผยแพรความรุนแรงโหดรายของเหตุการณ 6 ตุลาคม กลุมปลุกจิตสํานึกใหตอสู และกลุมยกยองเชิดชูการกระทําของผูเสียสละในเหตุการณ 14 ตุลาและ 6 ตุลา ตัวละครที่พบมากที่สุด คือ ตัวละครสมมติซึ่งผูแตงสรางขึ้นโดยนํารายละเอียดขอเท็จจริงบางประการในเหตุการณมาผสมผสานไว นอกจากนี้ยังมีตัวละครที่นํามาจากบุคคลจริงในประวัติศาสตรอันชวยสรางความสมจริงใหแกเรื่อง โครงเรื่องที่ปรากฏมี 2 แบบคือ โครงเรื่องแบบลําดับปรกติและโครงเรื่องแบบสลับลําดับเหตุการณโดยใชกลวิธีการเลายอนหลัง ซึ่งจะพบในงานเขียนประเภทบันทึกเชนกัน ความขัดแยงหลักของเรื่อง คือ ความขัดแยงระหวางตัวละครฝายรัฐกับตัวละครฝายนิสิตนักศึกษาซึ่งสอดคลองกับเหตุการณประวัติศาสตรที่เกิดขึ้น ในสวนของฉาก ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาเรื่องส้ันบันทึกเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 มีฉากเฉพาะที่ตรงกับสถานที่และเวลาของเหตุการณในประวัติศาสตร แตสวนมากจะถูกนําเสนอในลักษณะของฉากที่ไมระบุเวลาและสถานที่ การใหรายละเอียดของเหตุการณทางการเมืองในเนื้อเรื่องชวยทําใหผูอานสามารถเชื่อมโยงฉากที่ไมระบุเวลาและสถานที่เขากับเวลาและสถานที่จริงตามประวัติศาสตรได องคประกอบตาง ๆ ของเรื่องส้ันบันทึกเหตุการณทางการเมือง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 แสดงใหเห็นการผสมผสานลักษณะสําคัญของงานเขียนประเภทเรื่องส้ันและบันทึกเขาดวยกัน ลาวัณย สังขพันธานนท (2529) ไดศึกษาภาพสะทอนสังคมไทยจากเรื่องส้ันรวมสมัยในดานตาง ๆ ที่ปรากฏในเรื่องส้ันไทยรวมสมัย โดยใชกลุมขอมูลเรื่องส้ันจากหนังสือเรื่องส้ันรวมสมัยชุด “โลกหนังสือ ฉบับเรื่องส้ัน” ทั้งส้ิน 4 ชุด การวิเคราะหประเด็นดานการเมืองการปกครองในงานวิจัยชิ้นนี้ มุงเนนที่การสะทอนภาพปญหาการเมืองการปกครองในเรื่องส้ันซึ่งแบงตามฉากที่ใช ไดแก ฉากในเมืองและชนบท สวนที่พูดถึงภาพสะทอนการเมืองการปกครองของสังคมเมืองนั้นไดกลาววามีการสะทอนภาพการจลาจลเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ไพโรจน บุญประกอบ (2526) ไดศึกษาวิเคราะหเรื่องส้ันแนวการเมืองและสังคม ในชวง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ไดศึกษาเรื่องส้ันที่เสนอแนวคิดทางการเมืองในชวงเวลาดังกลาวโดยมองความสัมพันธระหวางสังคม การเมือง และวรรณกรรมวาสงอิทธิพลซึ่งกันและกัน ผลการวิจัยและการอภิปรายผล 1. การวิเคราะหเนื้อหาสาระแนวคิดในวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา เมื่อพิจารณาเปนรายเลม พบวา มีเรื่องราวที่ครอบคลุมในประเด็นตาง ๆ ดังนี้ 1.1 เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2545 มีเรื่องราวครอบคลุม 4 ประเด็นไดแก 1) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองในอุดมคติ 2) การวิพากษหลักการ

Page 11: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

ของประชาธิปไตย 3) การวิพากษนโยบายทางการเมือง และ 4) ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อเรียนรูการเมือง 1.2 เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2546 มีเนื้อหาครอบคลุม 5 ประเด็น ไดแก 1) การเมืองเปนเรื่องของทุกคน 2) การเมืองเปนเรื่องของอํานาจและผลประโยชน 3) ประชาธิปไตย : การตอสูที่ยังไมส้ินสุด 4) หัวใจที่โหยหาอุดมการณประชาธิปไตย และ 5) การวิพากษทุนนิยม 1.3 เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2547 มีเนื้อหาครอบคลุม 6 ประเด็น ไดแก 1) นโยบายเศรษฐกิจการเมือง 2) ความออนแอทางการเมืองภาคประชาชน 3) การวิพากษนโยบายทางการเมือง 4) การเมืองครอบงําชะตากรรมมนุษย 5) การเมืองเปนเรื่องอํานาจและผลประโยชน และ 6) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองอดุมคติ 1.4 เรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา ประจําป 2548 มีเนื้อหาครอบคลุม 4 ประเด็น ไดแก 1) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองอุมดคติ 2) การเมืองเปนเรื่องอํานาจและผลประโยชน 3) ความขัดแยงทางการเมือง, สถานการณภาคใต และ 4) การวิพากษนโยบายทางการเมือง การพิจารณาในเนื้อหาในภาพรวมทั้งหมด พบวา เนื้อหาสาระครอบคลุมทั้งส้ิน13 ประเด็น ไดแก 1) การสงเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองในอุดมคติ 2) การวิพากษหลักการของประชาธิปไตย 3) การวิพากษนโยบายทางการเมือง 4) ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อเรียนรูการเมือง 5) การเมืองเปนเรื่องของทุกคน 6) การเมืองเปนเรื่องของอํานาจและผลประโยชน 7) ประชาธิปไตย : การตอสูที่ยังไมส้ินสุด 8) หัวใจที่โหยหาอุดมการณประชาธิปไตย 9) การวิพากษทุนนิยม 10) นโยบายเศรษฐกิจการเมือง 11) ความออนแอทางการเมืองภาคประชาชน 12) การเมืองครอบงําชะตากรรมมนุษย และ 13) ความขัดแยงทางการเมือง, สถานการณภาคใต ผลการวิจัยในดานเนื้อหาวรรณกรรม เพื่อใหการอภิปรายการวิจัยมีความเชื่อมโยง และเกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เมื่อศึกษาเนื้อหาเรื่องส้ันการเมืองโดยใชองคประกอบการเมืองเปนเกณฑ พบวา เนื้อหาเรื่องสิทธิมนุษยชนพบมากที่สุด คือ มี 22 เรื่อง คิดเปนรอยละ 42.31 รองลงมา คือ เรื่องการมีสวนรวมทางการเมือง 11 เรื่อง คิดเปนรอยละ 21.15 เรื่องการเลือกตั้ง 9 เรื่อง คิดเปนรอยละ 17.31 เรื่องสิทธิชุมชน 7 เรื่อง คิดเปนรอยละ 13.47 และเรื่องรัฐธรรมนูญพบนอยที่สุด เพียง 3 เรื่อง คิดเปนรอยละ 5.76 การที่ปรากฏเนื้อหาเรื่องสิทธิมนุษยชนที่พบมากที่สุด สามารถสะทอนสังคมการเมืองในชวง พ.ศ. 2545-2548 ไดเปนอยางดี เนื่องจากในชวงนี้ การเมืองภาคตัวแทนมีความเขมแข็งขึ้นมาก แตการเมืองภาคประชาชนกลับออนแอลงอยางเห็นไดชัด หากนําเรื่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิชุมชนมารวมเปนเรื่องเดียวกัน จะพบวาเนื้อหาเนนหนักในเรื่องสิทธิเสรีภาพที่ประชาชนควรมีในระบอบประชาธิปไตย ส่ิงนี้ชี้ใหเห็นวา ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ประชาชนเปนเจาของอํานาจอธิปไตย ซึ่งแทจริงแลว อํานาจของประชาชนไมมีอยูจริง แตอํานาจกลับตกไปอยู

Page 12: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

กับผูแทนของพวกเขา และอํานาจจากผูแทนก็ไมไดกอประโยชนตอประชาชนอยางที่ควรจะเปน สถานการณการเมืองโดยเฉพาะตั้งแตตนป พ.ศ. 2547 เปนตนมา มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากมาย รัฐไดดําเนินนโยบายที่รุนแรงหวังสยบปญหา กลาวคือ มีการใชกําลังปราบปรามผูกอความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต จนมีผูเสียชีวิต 107 คน และในเวลาตอมามีผูเสียชีวิตจากการใชความรุนแรงอีก 85 คน (กองบรรณาธิการมติชน, 2550 : 364-365) การแกปญหากลับกลายเปนการทวีปญหา ตอสานความรุนแรง เหตุการณดังกลาว จะเห็นวา เราไมอาจนําความ ชั่วรายไปลบลางความชั่วรายฉันใด การแกปญหาดวยความรุนแรงก็คือรังแตจะทวีความรุนแรงฉันนั้น เนื้อหาวรรณกรรมที่ใหน้ําหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนนั้น เปนไปตามทฤษฎีขางตน เปนไปตามเหตุผล และสถานการณบานเมือง “ความรุนแรงนั้นไมเคยยุติดวยความรุนแรง ยิ่งใชความรุนแรงมากเทาไร ก็ถูกตอบโตดวยความรุนแรงมากเทานั้น” (พระไพศาล วิสาโล, 2547 : 230) จะเห็นวาวรรณกรรมในชวงนี้ฉายภาพใหเห็นชัดเจนของสถานการณบานเมืองที่รอนระอุ การทํารายซึ่งกันและกัน การลวงเกินสิทธิของคนอื่นตาง ๆ นานา สวนเรื่องรัฐธรรมนูญที่มีการกลาวถึงนอย อาจเปนเพราะวา รัฐธรรมนูญเปนส่ิงที่ยังไกลตัวประชาชนออกไป ในมุมมองนักเขียน อาจมองวา ประชาธิปไตยที่จับตองไดนั้น คือประชาธิปไตยทางตรง ที่พวกเขาจะเขาไปมีสิทธิ์มีเสียงของเขาเอง โดยนัยนี้อาจเปนไปไดที่วา ความเชื่อถือตอระบบตัวแทนลดนอยถอยลง จนเหลือนอยที่สุด น้ําหนักของการมีสวนรวมทางการเมือง และการเลือกตั้ง ซึ่งเปนส่ิงที่ประชาชนลงมือ ทําเอง จึงไดรับความสําคัญในลําดับถัดมา ส่ิงที่ยืนยันทฤษฎีวรรณกรรมที่สัมพันธกับสังคมที่เห็นไดชัด คือ สถานะของตัวละครสําคัญ ซึ่งพบวา สถานะของตัวละครสําคัญในเรื่องส้ัน มีสถานะเปนชาวบานมากที่สุด 28 เรื่อง คิดเปนรอยละ 53.85 รองลง เปนนักการเมือง 8 เรื่อง คิดเปนรอยละ 15.38 เปนนักเรียนนักศึกษา 7 เรื่อง คิดเปนรอยละ 13.46 สถานะอื่น ๆ (นักเขียน นักขาว สัตว) 5 เรื่อง คิดเปนรอยละ 9.62 และสถานะขาราชการพบนอยที่สุด คือ 4 เรื่อง คิดเปนรอยละ 7.69 จากการพิจารณาดังกลาว ชี้ใหเห็นวา การเมืองเปนเรื่องของประชาชน มุมมองของผูเขียนใหเลือกใหตัวละครสวนใหญในเรื่องส้ันเปนชาวบานธรรมดานั้นเปนส่ิงที่ถูกตอง เพราะการเมืองเปนเรื่องประชาชน เปนเรื่องของอํานาจของประชาชน มีนัยของการสื่อสารมุงใหความสําคัญกับการเมืองทางตรง ที่มุงใหชาวบานแสดงบทบาทของตัวเองในฐานะเจาของอํานาจอธิปไตย การใหความสําคัญกับนักการเมือง โดยใหมีตัวละครเปนนักการเมืองนั้น ถือวามีนอยมากแตก็จําเปนเพราะกิจกรรมทางการเมืองนั้นยอมเกี่ยวของกันของคนสองสถานะคือ ประชาชน และผูแทนของพวกเขา นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่ควรอภิปรายถึงซึ่งวรรณกรรมการเมืองรางวัลพานแวนฟา ระหวาง พ.ศ. 2545-2548 ใหน้ําหนักเปนพิเศษ คือ ในประเด็นตอไปนี้ การสงเสริมเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยสูการเมืองในอุดมคติ หากกลาวถึงปริมาณเรื่องส้ันที่กลาวถึง ประเด็นการสงเสริมเสริมสนับสนุนประชาธิปไตยโดยตรง ซึ่งมีจํานวนถึง

Page 13: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

11 เรื่อง คําอธิบายในปรากฏการณดังกลาว ก็คือ การกอเกิดของวรรณกรรมการเมืองรางวัลพานแวนฟานั้น ไดรับสนับสนุนจากรัฐสภา ที่ไดรับความรวมมือจากสมาคมนักเขียนแหงประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหประชาชนไดใชเสรีภาพแสดงออกทางการเมือง โดยใชศิลปะในการเขียนถายทอด ความรูสึกสะทอนการเมือง หรือจินตนาการถึงการเมืองที่ตองการ (สุวรรณ เคลือบสุวรรณ, 2546 : 226) อันเปนการสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา เมื่อวัตถุประสงคการประกวดเปนเชนนี้ เนื้อหาหลักจึงมุงเนนที่การสรางตัวละครใหตระหนักในสิทธิเสรีภาพของตน หากตัวละครเปนผูแทน ก็มักใหเปนผูที่มีความเขาใจบทบาทของตนที่จะยึดถือ กฎเกณฑ กติกา ตลอดจนการสรางฉากใหมีการเลือกตั้ง และสะทอนภาพใหเห็นตัวละครสําคัญที่หยัดยืนมั่นคง ที่จะทําในส่ิงที่ดีงามถูกตอง แมจะเปนผูชนะหรือผูแพในเกมการเมือง แตตัวละครนั้นก็จะไมทอถอยทดทอในจุดยืนของตัวเอง วรรณกรรมการเมืองชุดนี้ แมเปนวรรณกรรมที่จัดประกวดโดยรัฐสภา แตผลงานก็มีความหลากหลายจากนักเขียนที่ใชมุมมองของคนหลากหลายอาชีพในสังคม และไมมีเรื่องใดที่ชี้ใหเห็นชัดเจนวาเปนวรรณกรรมการเมืองของฝายรัฐ หรือมีความโนมเอียงใหน้ําหนักฝายหนึ่งฝายใด การวิพากษหลักการของประชาธิปไตย ในประเด็นนี้ เมื่อพิจารณาดูจํานวนเรื่องส้ัน จะเห็นวามีจํานวนนอยเรื่อง แตเมื่อมาเทียบเคียงกับหลักการของประชาธิปไตยที่ ลิขิต ธีระเวคิน (2549, เว็บไซต) ไดกลาวถึงหลักการของประชาธิปไตย ไว 12 ขอ เมื่อมาพิจารณาจะพบวา เนื้อหาในเรื่องส้ันมีการกลาวถึงเกือบทุกเรื่อง โดยหลักการทั้ง 12 ขอ มีดังนี้ 1) อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน (Popular Sovereignty) 2) สิทธิเสรีภาพ (Rights and Freedom) 3) ความเสมอภาค (Equality) 4) หลักนิติธรรม (The Rule of Law) 5) คานิยมและจิตวิญญาณความเปนประชาธิปไตย (The Democratic Ethos) 6) ความอดทนอดกลั้น (Tolerance) ความใจกวาง (Open-Mindedness) และความมีน้ําใจนักกีฬา (Sporting Spirit) 7) ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยคือกรรมวิธี (Means) เพื่อเปาหมายทางการเมือง 8) การกระทํา อันใดของผูดํารงตําแหนงระดับสูงตองไมขัดตอผลประโยชนของประชาชนซึ่งเปนเจาของอํานาจอธิปไตย 9) ผูดํารงตําแหนงระดับสูงตองยึดถือหลักจริยธรรมทางการเมือง รวมตลอดทั้งมารยาททางการเมือง 10) การกระทําอันใดก็ตามตองคํานึงถึงหลักการใหญ ๆ ดังตอไปน้ี คือ ความถูกตองตามกฎหมาย (Legality) ความชอบธรรมทางการเมือง (Legitimacy) ความถูกตองเหมาะสม (Decency) ความนาเชื่อถือ (Credibility) 11) การยึดถือหลักธรรมมาภิบาล (Good

Governance) และ 12) ผูที่จะดํารงตําแหนงทางการเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารระดับสูง ตองเปนบุคคลที่เปยมไปดวยคุณสมบัติอันไดแก การมีอุดมการณทางการเมือง (Political

Ideology) การมีจริยธรรมทางการเมือง (Political Ethics) การมีความรูทางการเมือง (Political Knowledge) การมีประสาทสัมผัสทางการเมือง (Political Sense) และการเขาใจอารมณทางการเมือง (Political Mood) ของประชาชนอยางถูกตอง

Page 14: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

เมื่อพิจารณาจาก 12 ขอ จะเห็นวา ในขอ ที่ 1, 2, 3, 4, 7 ซึ่งเปนหลักการตามตัวอักษรนั้น ในเรื่องส้ันไมไดมีขอติเตียน หรือมีการกลาวถึงในการไมยอมรับในหลักการดังกลาว แตมุงสะทอนถึงหลักการประชาธิปไตยในแงของจิตใจ และพฤติกรรมของคนในสังคมประชาธิปไตย ที่มิไดพัฒนาจิตและพฤติกรรมไปตามตัวอักษร แตเปนไปในลักษณะฉุดรั้งประชาธิปไตยไมใหเดินไปอยางคลองตัว เชน ใน ขอ 5 (คานิยมและจิตวิญญาณความเปนประชาธิปไตย (The

Democratic Ethos) ซึ่งหมายถึง คานิยมที่ไดรับการอบรมตั้งแตครอบครัว สถาบันการศึกษา และทางสังคม ใหมีความเชื่อและศรัทธาในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มีพฤติกรรมที่เปนประชาธิปไตย มองคนอื่นดวยสายตาที่เสมอภาค ทั้งหมดนี้ถือไดวาเปนการพัฒนาจิตวิญญาณประชาธิปไตย ซึ่งเปนสวนสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของการพัฒนาและธํารงไวซึ่งระบบประชาธิปไตย แตกิจกรรมเหลานี้ สังคมไทยยังใหความใสใจนอยมาก ภาพที่ฉายชัดที่สุด คือ เรื่อง ผูพิทักษ ที่สะทอนวา ชาวบาน และครูไมรูเรื่องรัฐธรรมนูญ ซึ่งส่ิงเหลานี้ไมไดสะทอนสติปญญา แตสะทอนสังคมที่ไมเรียนรู สังคมที่ไมศึกษา และเปนสังคมที่อานหนังสือนอย นภาพร พานิชชาติ (2549 , 8) อางถึงขอมูลจากสํานักงานสถิติแหงชาติ โดยกลาววา "คนไทยใชเวลาอานหนังสือ 2-4 นาทีตอวัน" ซึ่งเมื่อเทียบกับการใชเวลาในการอานหนังสือของประชากรในประเทศที่พัฒนาแลว พบวามีอัตราแตกตางกันมาก การอานหนังสือนับเปนส่ิงสําคัญมาก การที่จะเขาใจหลักการประชาธิปไตยตองเรียนรู และตองอานหนังสือ เมื่ออานนอยหรือไมอานเลย ไมเรียนรูประชาธิปไตย ก็ยากที่พัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยได เมื่อกิจกรรมการอานของคนไทยยังออนแอเชนนี้ ก็ยิ่งยากที่จะกาวทันประเทศอื่น ๆ และกระแสของโลกที่เปล่ียนแปลงไป ในขอ 6 ความอดทนอดกลั้น ความใจกวาง และความมีน้ําใจนักกีฬา ทั้งหมดนี้เปนหัวใจสําคัญของสังคมประชาธิปไตย เพราะในสังคมประชาธิปไตยนั้นจะตองยอมรับความแตกตางทั้งในเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี จุดยืนและความคิดเห็นทางการเมืองของคนในสังคม การรูแพรูชนะ เปดกวางรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งนักปราชญราชบัณฑิตและผูมีประสบการณ เพื่อนํามาประมวลใชใหเปนประโยชนในการทํางาน ที่สําคัญอะไรที่ตนไมชอบและไมพอใจ แตตราบเทาที่ไมกระทบตอสิทธิของตนก็ตองยอมใหส่ิงนั้นปรากฏอยู เพราะเปนสิทธิสวนบุคคลภายใตระบบที่มีความเสมอภาค แตจะเห็นวา ตลอดระยะเวลาที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มากวา 77 ป ยังพบวา สังคมไทยมีความอดทนนอย และจิตใจยังไมกวางพอ สังคมไทยเปนสังคมที่ยึดถือตัวบุคคลมากกวายึดถือระบบ จึงไมอดทนรอคอยใหระบบเดินไปถึงจุดหมายปลายทาง แตเมื่อเกิดความไมพอใจ ไมแนใจตอในตัวผูนําของตน จึงเลือกวิธีตอตานขับไลใหพนไป เชน กรณีเหตุการณพฤษภาทมิฬ และกรณีการตอตานขับไลนายกรัฐมนตรีในปจจุบัน (สายชล สัตยารักษ, 2548 : 60) นี่คืออุปสรรคในการพัฒนาหลักการสูประชาธิปไตยอีกประการหนึ่ง ขอ 9,10,11 และ 12 นั้น เปนเรื่องของการเมืองแบบตัวแทน คนกลุมนี้คือตัวจักรสําคัญ ที่จะทําใหประชาธิปไตยกาวหนาหรือถอยหลัง แตประสบการณที่ผาน ทําใหมองไดเพียงวา

Page 15: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

จิตสํานึกในความเปนตัวแทนของประชาชนที่จะกระทําส่ิงตาง ๆ เพื่อประโยชนของสังคมแทจริง ยังพบนอยมาก เพราะเปนเพียงการทําหนาที่เพื่อใหตนหรือกลุมตนไดประโยชน ส่ิงที่สะทอนในวรรณกรรมชุดนี้ จึงเปนภาพลบของฝายผูแทนที่ไมไดอุมชูดูแลใหหลักการประชาธิปไตยเจริญกาวหนาตอไปตามที่ควรจะเปนตามอุดมคติ ตามตัวอักษรหรือความดีงามที่วาดหวังไว การวิพากษนโยบายทางการเมือง บุคคลหรือกลุมคนยอมไดรับผลกระทบจากการเมืองทั้งทางตรงและทางออม ทั้งนี้เพราะการเมืองเปนเรื่องของการจัดสรรทรัพยากร หรือส่ิงที่มีคุณคาในทางสังคมโดยรัฐ ในประเด็นนี้พบในเรื่องส้ันสะทอนใหเห็นวา นโยบายการเมืองทางการเมืองนั้นสงผลกระทบประชาชนทั้ง 2 ดาน คือ ดานที่ไดรับประโยชน และดานที่เสียประโยชนหรือการไดรับความเดือดรอนจากนโยบาย นโยบายที่ดีบางครั้งก็ไมแนวาจะมีการปฏิบัติที่ดี เรื่องนี้สอดคลองกับงานเขียนของชัยสิริ สมุทวณิช (2544) ในหนังสือ ชื่อ วรรณกรรมการเมือง 14 ตุลาคม 1516- 6 ตุลาคม 2519 รากเหงา, การกอเกิด การเติบโตและพัฒนาการ ที่กลาววา เนื้อหาวรรณกรรมการเมืองมุงที่วิพากษวิจารณตอระบบมากกวาตัวบุคคล กลาวคือ การตัดสินใจวางนโยบายตาง ๆ บางครั้งก็ติดอยูกับระบบราชการ ระบบการทํางาน ระบบความคิด จึงทําใหการดําเนินนโยบายอยูในลักษณะแยกสวน เนื่องจากนโยบายสวนใหญถูกทําขึ้นโดยรัฐแตขาดการมีสวนรวมของประชาชน จึงเปนลักษณะที่ฝายรัฐใชนโยบายครอบงําประชาชน การเมืองเปนเรื่องของอํานาจและผลประโยชน ในประเด็นนี้ เมื่อนําไปเทียบเคียงกับงานวิจัยหลายเรื่อง พบวามีผลสะทอนในลักษณะคลายกันคือ โชคชัย บัณฑิตศิละศักดิ์ (2542) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การวิเคราะหสังคมไทยจากเรื่องส้ันในนิตยสาร "ชอการะเกด" ชวง พ.ศ.2535-2539 ผลการวิจัยในดานการเมือง พบวา พฤติกรรมของนักการเมือง และขาราชการที่สนใจแสวงหาผลประโยชนจากตําแหนงหนาที่ของตนมากกวาการเอาใจใสดูแลทุกขสุขของประชาชน พฤติกรรมใชความรุนแรงทางทหารเขาปราบปรามประชาชนที่ชุมนุมเรียกรองทางการเมือง และบทบาทของปญญาชนในสังคม ภาพสะทอนทางดานเศรษฐกิจ สะทอนปญหาการใชที่ดิน การแยงกันถือครองที่ดิน รวมทั้งการขยายตัวของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยและธุรกิจที่เกี่ยวของ ตลอดจนปญหาการใชแรงงานเด็ก การเอาเปรียบแรงงาน ผลวิจัยนี้มีความสอดคลองกับเนื้อหาวรรณกรรมการเมือง พ.ศ. 2545-2548 เปนสวนใหญ หัวใจที่โหยหาอุดมการณประชาธิปไตย เนื้อหาวรรณกรรมในประเด็นนี้ จะเปนการนําเหตุการณการตอสูในประวัติศาสตรเปนฉากของเรื่อง แตก็ไมมุงเนนที่การบันทึกเหตุการณทางการเมือง เชนงานวิจัยของ นันทวัลย สุนทรภาระสถิตย (2547) เปนแตเพียงใชเปนฉากใหตัวละครไดยอนทวนเหตุการณการตอสู เพื่อเตือนสติ เพื่อปลุกอุดมการณประชาธิปไตยเทานั้น แตเมื่อพิจารณาเนื้อหาในประเด็นนี้ พบวา มีความสอดคลองกัน กับงานวิจัย ของ นันทวัลย สุนทรภาระสถิตย ที่ไดผลการวิจัย การจัดกลุมแกนเรื่องสําคัญไว ทั้ง 4 กลุม คือ กลุมความเปลี่ยนแปลงของคนและอุดมการณที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาผานไป กลุมเผยแพรความรุนแรงโหดรายของเหตุการณ 6

Page 16: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

ตุลาคม กลุมปลุกจิตสํานึกใหตอสู และกลุมยกยองเชิดชูการกระทําของผูเสียสละในเหตุการณ 14 ตุลา และ 6 ตุลา การวิพากษทุนนิยม การเมืองในยุค พ.ศ. 2545-2548 นโยบายการเมือง และนโยบายเศรษฐกิจสอดประสานกันภายใตทุนนิยมที่นิยมเงินตราเปนตัวตั้ง วรรณกรรมการเมืองไดสะทอนเรื่องนี้ไวอยางชัดเจน สอดคลองกับ งานวิจัย ของ คํารพ ทันศรี (2542) ที่ไดศึกษา ไดศึกษาเรื่อง คําพิพากษาและเวลา : การวิจารณเชิงปรัชญา โดยศึกษาประวัติของผูแตงและบริบททางสังคมประกอบการวิเคราะหชิ้นงาน ผลวิจัยดานการศึกษาบริบททางสังคม วัฒนธรรม ควบคูกับวิเคราะหตัวงาน พบวา การตอตานวัตถุนิยมและบริโภคนิยมของผูแตง ทําใหเขาเลือกใชแนวคิดทางพุทธปรัชญาที่วาชีวิตเปนทุกขและไมเที่ยงแท มีเวลาเปนเครื่องกําหนดโดยไมอาจหลีกเลี่ยงได ความยึดม่ันถือม่ัน ลุมหลงในมายายอมทําใหเกิดทุกข การใชปญญาไตรตรองความจริงของชีวิตยอมทําใหชีวิตหลุดพนจากสภาวะไรความหมายของชีวิตไดอยางเปนอิสระ และทุนนิยมนี้เองที่ทําใหเนื้อหากําหนดใหตัวละครเผชิญกับความทุกข สูญเสียความเปนตัวของตัวเอง และเกิดความแปลกแยกจากสังคม ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย เลิศชาย ศิริชัย (2530) ไดทําวิทยานิพนธเรื่อง ความแปลกแยกในเรื่องส้ันไทย (พ.ศ. 2507-2519) เปนการศึกษาเรื่องส้ันไทยโดยใชทฤษฎีความแปลกแยกซึ่งเปนแนวความคิดของกลุมที่ศึกษาความแปลกแยก ทั้งความแปลกแยกภววิสัยและความแปลกแยก อัตวิสัย โดยถือวาความแปลกแยกทั้งสองแบบมีความสัมพันธในลักษณะที่เปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกัน งานวิจัยชิ้นนี้พยายามอธิบายความสัมพันธระหวางตัวนักเขียน สังคม และงานเขียนวาในแตละสวนเกิดสภาวะแปลกแยก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากตัวละครไมอาจหาทางออกจากกับดักทุนนิยมที่มีอิทธิพลทําใหผูคนหลงใหลกับมายา ทุนนิยมคือเครื่องมือในการแสวงหาอํานาจทางการเมือง เปนเครื่องมือที่ทําใหประชาชนออนแอ และเปนเครื่องมือที่ทําใหฝายการเมืองมีความเขมแข็ง กลาวโดยสรุปจะเห็นวา ปรากฏการณในวรรณกรรมทําใหเห็นวา การเมืองไทยในปจจุบันมิไดเปล่ียนแปลงจากการเมือง ในชวง 30 ป หลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (พ.ศ. 2516-2544) มากนัก เนื่องจากเนื้อหาวรรณกรรมยังคงสะทอนปญหาเดิม ที่ตอกย้ําใหเห็นความบกพรองของทั้งฝายตัวแทนและฝายประชาชน ซึ่งน้ําเสียงของผูแตงในฐานะประชาชนนั้น มีความมุงหวังใหเกิดส่ิงที่ดีกวาที่เปนอยู 2. การวิเคราะหวาทกรรมในวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา พบวา มีวาทกรรมที่ปรากฏในเรื่องส้ัน 5 แบบ ไดแก 1) วาทกรรมภาษายอมสีของนักการเมือง 2) วาทกรรมแหงอุดมการณ 3) วาทกรรมวิจารณสันดานนักการเมือง 4) วาทกรรมแหงความดีเพื่อความงดงามในชีวิตและสังคม และ 5) วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเมือง

วาทกรรมในวรรณกรรมการเมืองที่วิเคราะหนี้ เปนการมุงเนนไปที่อิทธิพลทางภาษาในการกอรูป หรือการสะทอนภาพใหเห็นความพยายามที่จะหลอหลอมใหการเมืองมีความงดงาม เจริญรุงเรือง มีการพัฒนาไปขางหนา เมื่อเรียงลําดับวาทกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องส้ัน

Page 17: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

การเมืองจากมากไปหานอย พบวา วาทกรรมที่ปรากฏมากที่สุด คือวาทกรรมแหงอุดมการณ และ วาทกรรมวิจารณสันดานนักการเมือง คิดเปนรอยละ 23.10 รองลงมา คือ วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเมือง รอยละ 21.07 วาทกรรมแหงความดีเพื่อความงดงามในชีวิตและสังคมรอยละ 19.13 และวาทกรรมภาษายอมสีของนักการเมือง รอยละ 13.50 จะเห็นวาการใหน้ําหนักเรื่องอุดมการณ และการวิจารณสันดานนักการเมือง ในระดับมากที่สุดเทากันนั้น อาจสะทอนถึงมุมมองของผูเขียนที่มองเรื่องอุดมการณหรือความคิดอันสูงสงเปนเสนขนานกันกับพฤติกรรมไมพึงประสงคของนักการเมืองสวนใหญ ที่ดูเหมือนจะไมมีวันบรรจบกันได ทั้งนี้เพราะอุดมการณมักถูกกัดกรอนดวยอํานาจ ผลประโยชนทางการเมือง และนับวันจะหาบุคคลที่ยืนหยัดกับอุดมการณของตนเองไดยากเต็มที ภาพที่ชัดเจนในวงการเมืองไทยปจจุบันก็คือ แมแตบรรดาอดีตนักตอสูเพื่อประชาธิปไตยในเหตุการณเดือนตุลาคม ป พ.ศ. 2516, 2519 เมื่อเขามาเปนนักการเมือง อุดมการณของพวกเขาไดเส่ือมถอยลงเกือบส้ินเชิงแลว (สันดานนักการเมือง, 2550 : เว็บไซต) วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเมืองที่ปรากฏในลําดับตอมา เปนส่ิงที่แนชัดอยูแลววา เมื่อตองสรางสรรควรรณกรรมในแนวการเมือง ผูเขียนยอมตองเนนหนักกลาวถึงการเมืองและหลักการของประชาธิปไตยเปนพิเศษ วาทกรรมลําดับถัดมา คือวาทกรรมแหงความดีเพื่อความงดงามในชีวิตและสังคม สะทอนใหเห็นวา นอกจากประชาชนจะตองการเห็นภาพรวมของระบบการเมืองที่ดีแลว ยังปรารถนาที่จะใหเกิดความดีงามในระดับปจเจกชนดวย ซึ่งพลังความดีของแตละคนเมื่อมาผนึกรวมกันก็จะเปนพลังที่ยิ่งใหญในการสรางสรรคเพื่อไปสูสังคมที่ดีได ทั้งยังสามารถเกื้อกูลใหระบบการเมืองมีการพัฒนากาวหนาไปดวย อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาวาทกรรมทั้ง 4 แบบขางตน อาจกลาวไดวา ส่ิงที่แอบซอนอยูในวาทกรรมมีนัยหรือมีจุดมุงหมายในทางเดียวกัน คือ มุงเนนและปรารถนาที่จะใหการเมืองมีความดีงามไปตามหลักการที่ถูกตอง และอุดมการณที่หวังไว สวนวาทกรรมภาษายอมสีของนักการเมือง มุงชี้ใหเห็นวา “ภาษานั้นมีพลังอํานาจแฝงเรนอยู เปนกลไลสําคัญที่นักการเมืองใชในการเขาสูอํานาจและรักษาไวซึ่งอํานาจของตน” (เจิมศักดิ์ ปนทอง และอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2547 : คํานํา) วาทกรรมนี้สอดคลองกับบทความของ อนันต เหลาเลิศ วรกุล (2547 : 47-71) เรื่อง คํายอมสี : ลูกกวาดสีหวานผสานยาพิษ ที่กลาวสรุปไววา “ดานหนึ่งเปนถอยคําที่เลิศหรู นาประทับใจ นาเชื่อถือ นาอัศจรรยจิต นาคลอยตาม แตกลับอําพรางความจริงอันเจ็บปวด ” วาทกรรมดังกลาวจึงเกิดขึ้นมาเพื่อประโยชนทางการเมืองอยางแทจริง

เมื่อพิจารณาวาทกรรมทั้ง 5 แบบในองครวม อาจกลาวไดวา วาทกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา คือชุดความคิดที่ปรารถนาใหสังคมไทยเปนสังคมเรียนรู เปนสังคมใชความรู แทนการใชอํานาจและอารมณ เปนสังคมที่ตองการความดี ตองการ การมีสวนรวม ตองการความเปนธรรม ตองการความจริงใจ ตองการใหมีความดีงามเกิดขึ้นในทุกองคประกอบของสังคม ตองการครอบครัวที่ดี ตองการโรงเรียนที่ดี ตองการครูที่ดี ตองการระบบการศึกษาที่ดี ตองการนักการเมืองที่ดี และตองการระบบการเมืองที่ดี

Page 18: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

วรรณกรรมจะมีพลังที่จะเปลี่ยนแปลงสังคมไดหรือไมก็ตาม แตวรรณกรรมการเมืองรางวัลพานแวนฟา ระหวางป พ.ศ. 2545-2548 ไดแสดงใหเห็นวา นักเขียนวรรณกรรมการเมืองกลุมหนึ่งไดมีการเริ่มตนอันดีของสํานึกในหนาที่ของความเปนพลเมือง รวมทั้งการกระตุนเตือนใหประชาชนเขาไปการมีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้น ซึ่งถือเปนสิทธิพื้นฐานสําคัญของการปกครองประชาธิปไตย จึงอาจกลาวไดวา วรรณกรรมการเมืองในขอบเขตวิจัยนี้ คงไมใชแคปรากฏการณทางการเมืองที่ไรคาที่จะเลือนหายไปกับกาลเวลา หากแตจะมีความหมายตอคนไทย สังคมไทย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยไมนอยเลย ขอเสนอแนะ งานวิจัยเรื่องนี้เปนเพียงสวนหนึ่งในการศึกษาเรื่องวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองที่อยูในกรอบเกณฑการจัดประกวดวรรณกรรมของรัฐสภา ควรจะมีการศึกษาเพิ่มเติมในสวนของเรื่องส้ันอื่น ๆ หรือนวนิยาย หรือกวีนิพนธที่เกิดขึ้นยุคใหมนี้ที่อยูนอกกรอบการประกวด ซึ่งจะทําใหเห็นเรื่องราวและแงมุมที่ตางออกไป อันจะเปนประโยชนตอแวดวงวรรณกรรมศึกษามากขึ้น นอกจากนี้ การศึกษา ทําความเขาใจวรรณกรรมที่มีความเกี่ยวของกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง นั้นเปนอีกมิติหนึ่งในการศึกษาความสัมพันธระหวางวรรณกรรมกับสังคมเพื่อทําความเขาใจกับการเมือง อันเปนกิจกรรมที่ไมมีผูใดหลีกเลี่ยงได และที่สําคัญการไดศึกษา เรียนรูเพื่อการรูจักมนุษยที่มีความซับซอนของพฤติกรรมมากขึ้น เปนการเรียนรูตัวเองเพื่อสามารถดํารงอยูในสังคมอยางมีความสุข

เอกสารอางอิง กฤษฎาวรรณ หงศลดารมภ และจันทิมา เอียมานนท. (2549). มองสังคมผานวาทกรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กองบรรณาธิการมติชน. (2550). 289 ขาวดัง : บันทึกเหตุการณสําคัญ สะเทือนสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มติชน. คํารพ ทันศรี. (2541). คําพิพากษาและเวลา : การวิจารณเชิงปรัชญา. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยา

เขตปตตานี. เจิมศักดิ์ ปนทอง และอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ (บก.), รูทันภาษา รูทันการเมืองทักษิณสมัย. กรุงเทพฯ : ฃอคิดดวยฅน. ชัยสิริ สมุทวณิช. (2544). วรรณกรรมการเมอืงไทย 14 ตุลา 16-6 ตุลา 19 รากเหงา การกอ

เกิด การ เติบโตและพัฒนาการ (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สายธาร.

Page 19: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

ชัยอนันต สมุทวณิช. (2517). ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหวางป 2511- 2516. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ. _____________. (2535). รัฐ. (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โชคชัย บัณฑิตศิละศักดิ์. (2542). การวิเคราะหสังคมไทยจากเรื่องส้ันในนิตยสารการะเกด

ชวง พ.ศ. 2535-2539. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา : อาํนาจ ความรู ความจริง เอกลักษณ และความเปนอื่น. กรุงเทพฯ : ศูนยวิจัยและผลิตตํารา มหาวิทยาลัยเกริก.

ณรงค สินสวัสดิ์. (2539). การเมืองไทย : การวิเคราะหเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : วัชรินทรการพิมพ.

ตรีศิลป บุญขจร. (2530). พัฒนาการศึกษาคนควาและวิจัยวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทัศนีย นาควัชระ. (2532). บทบาทของวรรณกรรมและพันธกิจของนักเขียนในทัศนะของ เอมิล โซลา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผลงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. นภาพร พานิชชาติ. (3 สิงหาคม 2549). คนไทยกับการอานหนังสือ หยุดอานลาหลัง สังคมโลก (1). เดลินิวส. หนา 8. นศินี วิทูธีรศานต. (2519). วิเคราะหวรรณกรรมแนวประชาชน. กรุเทพฯ : สยามวรรณกรรม. นันทวัลย สุนทรภาระสถิตย. (2547). เรื่องส้ันบันทึกเหตุการณทางการเมือง 14 ตุลาคม

2516 และ 6 ตุลาคม 2519. วิทยานิพนธอักษรศาสตรบัณฑิต คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

นาถยา กัลโยธิน. (2549). เรื่องส้ันและบทกวีการเมือง รางวัลพานแวนฟา ประจําป 2548. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. เนชั่นสุดสัปดาห. การประเมินภาพรวมเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองไทย หลังวิกฤต เศรษฐกิจ. (2546, มกราคม, 13-19). เนชั่นสุดสัปดาห, 12 (554), 3. บุญเลิศ ชางใหญ. (2550). วาทกรรมกํามะลอ : ภาษาการเมืองบนหนาหนังสือพิมพ.

กรุงเทพฯ : มติชน. พระไพศาล วิสาโล. (2547). สองสวางทางไทย : รวมบทความคัดสรร วาดวย “วิถีพุทธ- วิถีไทย” ในสังคมสยาม. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. ไพโรจน บุญประกอบ. (2526). วเิคราะหเรื่องส้ันแนวการเมืองและสังคมในชวง

14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

Page 20: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

รักษมนัญญา สมเทพ. (2547). วรรณกรรมการเมืองรางวัลพานแวนฟา ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. _____________. (2548). ตานะฮอูมี-แผนดินมาตุภูมิ : วรรณกรรมการเมืองรางวัลพาน

แวนฟา ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ และ ไพลิน รุงรัตน. (2541). 25 ป 14 ตุลา มองผานวรรณกรรมเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการโครงการ 25 ป 14 ตุลา. ลาวัณย สังขพันธานนท. (2529). ภาพสะทอนสังคมไทยจากเรื่องส้ันรวมสมัย. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ลิขิต ธีระเวคิน. (2549). หลักการประชาธิปไตย 12 ประการ ที่นักการเมืองตองเขาใจและยึดถือ. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http ://www.panc2001.net/index.php?lat=shoe&ac=article&ld=3217

52&Ntype=2[26 เมษายน 2549].

เลิศชาย ศิริชัย. (2530). ความแปลกแยกในเรื่องส้ันไทย พ.ศ. 2507-2519. วิทยานิพนธ ปริญญา มหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทย ศิวะศริยานนท. (2544). วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ. (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : ธรรมชาติ. วิโรจน อรุณมานะกุล. (2547). ภาษา อํานาจ และการเมือง. ใน เจิมศักดิ์ ปนทอง และอมรา

ประสิทธิ์รัฐสินธุ (บก.), รูทันภาษา รูทันการเมอืงทักษิณสมัย (หนา 1-44). กรุงเทพฯ : ขอคิดดวยคน.

สรณี วงศเบี้ยสัจจ หัทยา จันทรมังกร และ ศตนันต เปยงบุญทา. (2549). “หนังสือเด็กที่ไดรับ รางวัล : การวิเคราะหเชิงวาทกรรมและวรรณกรรม” ใน กฤษฎาวรรณ หงศลดารมภ และ จันทิมา เอียมานนท (บก.), มองสังคมผานวาทกรรม (หนา 187-221). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สันดานนักการเมือง. (2550). [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=136147 [13 มีนาคม 2550]. สายชล สัตยารักษ. (2548, ตุลาคม-ธันวาคม). การสราง “ความเปนไทย” กระแสหลัก และความ จริงที่ “ความเปนไทย” สราง. ฟาเดียวกัน 3, (4), หนา 40-67. สุวรรณ เคลือบสุวรรณ, บก. (2546). รวมวรรณกรรมเรื่องส้ันการเมืองรางวัลพานแวนฟา

2545 ชุดคืนเดือนเพ็ญ. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

Page 21: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

อนันต เหลาเลิศวรกุล. (2547). คํายอมสี : ลูกกวาดสีหวานผสานยาพิษ. ใน เจิมศักดิ์ ปนทอง และอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ (บก.), รูทันภาษา รูทันการเมืองทักษิณสมัย (หนา 47-71). กรุงเทพฯ : ฃอคิดดวยฅน.

Eulau, H. (1963). The Behavioral Persuation in Politics. New York:

Random House

Pennock, R. J. and Smith, D. G. (1964). Political Science. New York :

McMillan.

ภาคผนวก

รายชื่อเรื่องส้ันที่ไดรับรางวัลพานแวนฟา ประจําป พ.ศ. 2545-2548

1. ป พ.ศ. 2545 มีจํานวน 11 เรื่อง ไดแก

1.1 คืนเดือนเพ็ญ 1.2 เรื่องนี้เรื่องนั้น เรื่องเดียวกัน 1.3 กวาจะรูเดียงสา 1.4 จดหมายจากชายชรา 1.5 ดะแอ 1.6 นางรํา 1.7 บิน 1.8 ประชาธิปไตยในทางลัด 1.9 ผูมีสิทธิ์ 1.10 ภาพเกา 1.11 มองจากมุมสูง

2. ป พ.ศ. 2546 มีจํานวน 16 เรื่อง ไดแก 2.1 เหนือคมพยัคฆ 2.2 กลองสบูของพอ 2.3 ทางเลือก 2.4 นกหลง 2.5 นักเลานิทานยามราตรี 2.6 ผูปวย

3. ป พ.ศ. 2547 มีจํานวน 17 เรื่อง ไดแก 3.1 ตานะฮอูมี-แผนดินมาตุภูมิ 3.2 ปจจัยแหงชีวิต 3.3 กลับจากสมรภูมิ 3.4 ไกลงราน 3.5 คาแรงที่รอคอย 3.6 งานลับ 3.7 มะเสาะ…ผูไมมีหมายเลข 3.8 เมืองคนหาย 3.9 เมื่อวันนั้น…มาถึง 3.10 ระบําหุน 3.11 ราคาของแผนดิน 3.12 รางวัลของแม 3.13 ผูพิทักษ 3.14 แงมุมที่แตกตาง 3.15 บทพิสูจน…โลก…ความจริง (แสนโหดราย) 3.16 ฟาสาง 3.17 เมล็ดพันธุแหงประชาธิปไตย

Page 22: บุณย เสนอ ตรีวิเศษ · Short Story Literary Works Awards in 2545-2548 B.E. บ ณย เสนอ ตร ว เศษ บทค ดย อ งานว

2.7 ผาพับ 2.8 มาขี่-ผีเจานาย 2.9 วีรชนนิรนาม 2.10 สมดุลใหม 2.11 อุดมการณแหงรัก 2.12 ฮัลโหล 2.13 เรื่องเลาจากขุนเขา 2.14 ความในใจ 2.15 ภารโรงกับรัฐมนตรี 2.16 แนวรบแหงอุดมการณ

4. ป พ.ศ. 2548 มีจํานวน 8 เรื่อง ไดแก 4.1 วาวแสงแหงศรัทธา 4.2 อุดมการณของคนเผาผี 4.3 วิถีแหงสัตว 4.4 ไมแน 4.5 เล็กลึก 4.6 แผนดินของใคร 4.7 กวาพรุงนี้จะมาเยือน 4.8 ปนเลขเปนตัว