ึกษา ิทยาลัิลปากรยศ 2557 - silpakorn university · 2016. 8....

371
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที21 โดย นางภัณฑิรา สุปการ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 10-Oct-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21

    โดย นางภัณฑิรา สุปการ

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2557

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21

    โดย นางภัณฑิรา สุปการ

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2557

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • A MODEL OF THE EDUCATIONAL SUPERVISION MANAGEMENT FOR THE 21st CENTURY

    By

    Mrs. Pantira Suppakarn

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Doctor of Philosophy Program in Educational Administration

    Department of Educational Administration

    Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2014

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21 ” เสนอโดย นางภัณฑิรา สุปการ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ..................................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    วันที่..........เดือน.................... พ.ศ........... อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ 2. ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ชุมศักดิ์ อินทรรักษ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ดร.วรรณพร สุขอนันต) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ ....................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ) (ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร) ............/......................../.............. ............./......................../................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 55252918 : สาขาวิชาการบรหิารการศึกษา คําสําคัญ : การบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา/ศตวรรษที่ 21. นางภัณฑิรา สุปการ : รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ และ ผศ.วาท่ีพันตรี ดร.นพดล เจนอักษร. 355 หนา.

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) องคประกอบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21 2) รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21 และ 3) อันดับความสําคัญขององคประกอบและผลการยืนยันรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21 กลุมตัวอยางคือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 127 เขตพื้นที ่ ผูใหขอมูล เขตพ้ืนที่ละ 4 คน ไดแก ผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน และครูผูสอน ผูใหขอมูลรวมทั้งสิ้น 508 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แบบสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง แบบสอบถามความคิดเห็น และแบบจัดอันดับความสําคัญ สถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหปจจัยเชิงสํารวจ และสถิติวิเคราะหความสัมพันธเชิงสาเหตุ

    ผลการวิจัยพบวา 1. องคประกอบรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของ

    สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย 5 องคประกอบ คือ 1) การบริหารจัดการ 2) การมีสวนรวม 3) การนิเทศ 4) การใชเทคโนโลยี และ 5) การประเมินผล

    2. รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21 เปนพหุองคประกอบท่ีมีความสัมพันธกัน โดยองคประกอบดานการมีสวนรวม มีอิทธิพลทางตรงตอองคประกอบดานการบริหารจัดการ และมีอิทธิพลทางออมตอองคประกอบดานการประเมินผล การใชเทคโนโลยี และการนิเทศ

    3. จัดอันดับความสําคัญแตละองคประกอบของรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21 ตามความคิดเห็นของศึกษานิเทศกเรียงลําดับได ดังนี้ 1) การบริหารจัดการ 2) การประเมินผล 3) การมีสวนรวม 4) การนิเทศ และ5) การใชเทคโนโลยี

    4. ผลการยืนยันรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศ สําหรับศตวรรษท่ี 21 ผูทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคลองกันวา รูปแบบมีความเหมาะสม เปนไปได ถูกตอง และนําไปใชประโยชนไดสอดคลองกับกรอบแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย

    ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา.................................................................. ปการศึกษา 2557 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธ1..................................................2......................................................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 55252918 : MAJOR : EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEY WORD : EDUCATONAL SUPERVISION MANAGEMENT / FOR THE 21st CENTURY PANTIRA SUPPAKARN : A MODEL OF THE EDUCATIONAL SUPERVISION MANAGEMENT FOR THE 21st CENTURY. THESIS ADVISORS : ASST. PROF. PRASERT INTARAK, Ed.D. AND ASST. PROF. MAJ. NOPADOL CHENAKSARA, RTAR., Ph.D., 355 pp.

    This research was mixed methodology (quantitative and qualitative research). The purposes of this research were to determine; 1) the factors of the educational supervision management for the 21st century, 2) the model of the educational supervision management for the 21st century. 3) The confirmation of the model of the educational supervision management for the 21st century. The samples were 127 Primary Educational Services Area Offices. The respondents from each office consisted of 4 persons, in total of 508 respondents. They were a director and a supervisor from Primary Educational Service Area Offices while a school director and a teacher from school under supervision. Research instruments were interview form, questionair, opinionair and rating scale checklist. Statistics for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, exploratory factor analysis and path analysis.

    The findings of this research were as follows: 1. There were 5 factors for the educational supervision management for the 21st

    century which consisted of 1) management 2) participation 3) supervision 4) technology and 5) assessment.

    2. The model of the educational supervision management for the 21st century consisted of correlated multi-factors. It showed that factor of participation had direct effected to Management and indirect effected to, assessment, technology and supervision.

    3. When considering to the order of there components based on the opinion of supervisor they were ordered as 1) Management 2) Participation 3) Supervision 4) Technology and 5) Assessment respectively.

    4. The experts confirmed the model of the educational supervision management for the 21st century were found in accordance with research framework and the standard of propriety, feasibility, utility and accuracy.

    Department of Educational Administration Graduate School, Silpakorn University Student's signature .......................................................... Academic Year 2014 Thesis Advisors' signature 1............................................................ 2.…....................................................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไดดวยดีเพราะไดรับความกรุณาจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ ผูชวยศาสตราจารย วาที่ พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ใหความชวยเหลือ ใหคําแนะนําที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอผูวิจัย รวมทั้งรองศาสตราจารย ดร.ชุมศักดิ ์ อินทรรักษ ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ และดร.วรรณพร สุขอนันต กรรมการผูทรงคุณวุฒิ และคณาจารยภาควิชาบริการการศึกษาทุกทานที่กรุณาใหปรึกษา ใหคําแนะนํา และขอเสนอแนะที่เปนประโยชนแกผูวิจัย สงผลใหวิทยานิพนธฉบับนี้ถูกตองและสมบูรณยิ่งข้ึน ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณในความกรุณาของทุกทานเปนอยางสูง ขอกราบขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิและผู เชี่ยวชาญทุกทานที่กรุณาเปนผู เชี่ยวชาญตรวจสอบ และแกไขเคร่ืองมือในการวิจัยครั้งนี้ และขอขอบพระคุณ ดร.กมลมาลย ไชยศิริธัญญา ใหความชวยเหลือ แนะนําในการวิเคราะหขอมูลใหมีความสมบูรณยิ่งข้ึน ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยสาขาวิชาการบริหารการศึกษาทุกทานที่ใหความรู ใหคําแนะนําและประสบการณอันมีคายิ่งแกผูวิจัย ขอกราบขอบพระคุณผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ผูอํานวยการโรงเรียนและคณะครูทุกทานที่กรุณาใหขอมูลเปนกลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้เปนอยางดี ขอขอบคุณเจาของหนังสือ วารสาร เอกสาร และงานวิทยานิพนธทุกเลมที่ชวยใหวิทยานิพนธเลมน้ีมีความสมบูรณ และขอขอบพระคุณ ดร.วลัยพรรณ บุญมี ดร.เฉลียว ดียืน ดร.ขัตติยา ดวงสําราญ และเพ่ือนรวมรุนดุษฎีบัณฑิตรุน 10 ทุกทานที่ใหความชวยเหลือเปนกําลังใจสําคัญใหงานวิจัยสําเร็จลุลวงไปดวยดี สุดทายนี้ คุณคาหรือประโยชนอันเกิดจากวิทยานิพนธเลมนี้ ผูวิจัยขอนอมบูชาแดพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารยที่อบรมส่ังสอนแนะนํา นายภิญโญ สุปการ และครอบครัวสุปการท่ีใหการสนับสนุนและใหกําลังใจอยางดียิ่งเสมอมา

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ

    หนา

    บทคัดยอภาษาไทย..................................................................................................... ................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ...................................................................................................... ............ จ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................. ........................... ฉ สารบัญตาราง ..................................................................................................................... ........... ฏ สารบัญภาพ................................................................................................................ ................... ฑ

    บทที่

    1 บทนํา…………………………………………………………………………………………………….………… 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ..................................................................... 3 ปญหาของการวิจัย…………………………………………………………………………………......... 6 วัตถุประสงคของการวิจัย ............................................................................................ 10 ขอคําถามของการวิจัย……………………………………………………………………….............… 10 สมมติฐานของการวิจัย…………………………………………………………..………………........... 10 กรอบแนวคิดในการวิจัย……………………………………………………………………………........ 11 นิยามศัพทเฉพาะ…………………………………………………………………….…………….....…….…. 26 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………………………………………………………….……… 27 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา…………………………………………………………..… 27 ความหมายของการนิเทศการศึกษา…………………………………………………………….………... 27 จุดมุงหมายของการนิเทศการศึกษา……………………………………………………….……………… 31 ความจําเปนในการนิเทศการศึกษา………………………………………………………...…………….. 35 หลักการนิเทศการศึกษา…………………………………………………………………………………………... 38 ความหมายของหลักการ…………………………………………………………………………..……….... 38 หลักการนิเทศการศึกษา………………………………………………………………………………………. 39 ทักษะการนิเทศการศึกษา……………………………………………………………………………………. 51 กระบวนการนิเทศการศึกษา………………………………………………………………………………… 58 ความสําคัญและประโยชนของการนิเทศการศึกษา……………………………..……..……..……. 63

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ หนา

    2 บุคลากรการนิเทศการศึกษา.…………………………………………………………………..………..…. 64 ขอบเขตภาระงานนิเทศการศึกษา……………………………………………….………………………… 67 รูปแบบการนิเทศการศึกษา……………………………………………………………………………….……... 70 การนิเทศแบบทรัพยากรมนุษย(Human Resource Supervision)…………….………..….. 71 การนิเทศแบบมนุษยสัมพันธ (Human Relations Supervision)…………….……….…….. 73 การนิเทศแบบพัฒนาการ (Developmental Supervision)…………………………..….…… 74 การนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ(Differentiated Supervision)…………………………….. 80 การนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision)……………………………………………..…..….… 81 การนิเทศแบบพัฒนาตนเอง (Self-directed Development)…………………………..……. 86 ทฤษฎีเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา…………………………………………………………..………………… 88 ทฤษฎีการสื่อสาร…………………………………………………………………………………………..…… 88 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง………………………………………………………………………….……….…… 90 ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ………………………………………………………………………………………….... 91 การบริหารจัดการการนิเทศ สําหรับศตวรรษที่ 21………………………………………..……...……… 94 การบริหารจัดการการนิเทศ สําหรับศตวรรษท่ี 21 ......................................................... 94 การจัดระบบการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 สูการบริหารจัดการการนิเทศ………..……..…….. 103 หลักการจัดการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21………………………………………………….……….… 105 องคประกอบการจัดการศึกษาไทยใน ศตวรรษที่ 21………………………………..……………… 107 การจัดการเรียนรู สําหรับศตวรรษที่ 21………………………………………………………………… 109 จิตหาลักษณะสําหรับอนาคตในศตวรรษที่ 21………………………………………………………… 113 จิตเชี่ยวชาญ (disciplined mind)…………………………………………………………………… 113 จิตรูสังเคราะห (synthesizing mind)……………………………………………………………… 117 จิตสรางสรรค (creating mind)………………………………………………………………………. 120 จิตเคารพ (Respectful mind)……………………………………………………………………….. 122 จิตรูจริยธรรม (Ethical mind)………………………………………………………………………… 123 จัดการเรียนรูใหเกิดผลกับผูเรียนในทศวรรษที่ 21………………………………………………….. 125 แนวคิดเก่ียวกับการวิเคราะหองคประกอบ……………………………………………………………..…… 133 ความหมายของการวิเคราะหองคประกอบ……………………………………………………..……… 133

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ หนา

    2 ประเภทของเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ………………………….……………………………. 135 วัตถุประสงคของการวิเคราะหองคประกอบ……………………………………………….……….…. 135 ประโยชนของการวิเคราะหองคประกอบ…………………………………………….………………..… 137 ชนิดของตัวแปรหรือสเกลของขอมูลที่ใชในการวิเคราะหองคประกอบ……….……………… 138 เงื่อนไขของเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ…………………………………….……………….…. 138 ขั้นตอนการวิเคราะหองคประกอบ………………………………………………………………………… 139 แนวคิดการวิเคราะหเสนทาง (Path Analysis)………………………………………….…………….... 140 ความหมายการวิเคราะหเสนทาง....……………………………………..…………………………..……. 142 หลักการของสัมประสิทธิ์เสนทาง...…………………………………….……………………………..…… 143 ขอตกลงเบื้องตนของการวิเคราะหเสนทาง ...................................................................... 143 วิธีการวิเคราะหเสนทาง ................................................................................................... 143 สรุป………………………………………………………………………………………………………………….……. 144 3 วิธีดําเนินการวิจัย………………………………………………………………………………………….…………. 146 ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย……………………………………………………………………….……..…… 146 ระเบียบการวิจัย…………………………………………………………………………………….…….…….. 150 ตัวแปรที่ศึกษา…………………………………………………………………………………………………… 154 เครื่องมือใชในการวิจัย……………………………………………………………………………………..…. 154 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ .......................................................................................... 156

    การเก็บรวบรวมขอมูล…………………………………………………………………………………………. 157 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย…………………………………………………..……..… 158 การนําเสนอขอมูล…………………………………………………………………………………………….… 159 สรุป……………………………………………………………………………………………………………….….. 159 4 การวิเคราะหขอมูล……………………………………………………………………………………………….…. 161 ตอนท่ี 1 องคประกอบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21.…. 162 ตอนท่ี 2 การวิเคราะหองคประกอบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา

    สําหรับศตวรรษท่ี 21…………………………………………………………..…………..

    204 ตอนท่ี 3 การวิเคราะหรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา

    สําหรับศตวรรษที่ 21…………………………………………………….…………….

    239

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ หนา

    4

    การวิเคราะหความสัมพันธขององคประกอบ การบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21……………….……………………………………..…

    239

    วิเคราะหรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21…………………………………………………………………………

    254

    ตอนท่ี 4 ผลการยืนยันรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21…………………………………………………………………..….

    258

    การวิเคราะหจัดอันดับขององคประกอบรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศ การศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21…………………………….…………………………

    258

    การสังเคราะหผลการยืนยันรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21………………………………………………………………………

    259

    5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ………………………………………………….………… 263 สรุปผลการวิจัย……………………………………………………………………………………….……..….. 264 อภิปรายผล........................................................ ..... ..................................................... .... 268 ขอเสนอแนะการวิจัย…………………………………………………………………………….…………….. 291 รายการอางอิง………………………………………………………………………………………………………………… 292 ภาคผนวก............................................................................................... ....................................... 301 ก หนังสือขอความอนุเคราะหขอสัมภาษณ………………………………………….…………………….. 303

    รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการสัมภาษณ……………………………………………….………………………. 304 ข แบบสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง..……………………………………………….………………………. 305 ค หนังสือขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวิจัย..…………………………………………………….. 308

    รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย………………………………….…………………………. 309 ง หนังสือขอทดลองเครื่องมือวิจัย……………………………………………..…………………………….. 311

    รายชื่อโรงเรียนที่ขอทดลองเคร่ืองมือวิจัย……..…………….…………………………………………. 312 ผลการวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ………….…………………………………………. 313 จ หนังสือขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย..…….………………………………………….. 321

    รายชื่อกลุมตัวอยางเพ่ือการวิจัย……………..…………………………………………………………….. 323 แบบสอบถามเพ่ือการวิจัย……………………………………………………………………………………. 327

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ หนา

    หนังสือขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย (จัดอันดับความสําคัญขององคประกอบ)………………………………………………………………………………………………..

    342

    แบบสอบถามจัดอันดับความสําคัญ……………………………………………………………………….. 343 หนังสือขอความอนุเคราะหเปนผูเชี่ยวชาญยืนยันรูปแบบงานวิจัย…………………………….. 348

    แบบสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ……………………………………………………………………………………. 349 ประวัติผูวิจัย………………………………………………………..………………………………………………………… 355

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญตาราง

    ตารางที่

    หนา

    1 ยุทธศาสตรที่ 1 การสรางมาตรฐานวิชาชีพครูใหเปนที่ยอมรับ…………………………….. 98 2 ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิตครูใหไดมาตรฐานเพ่ือรองรับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21.…. 99 3 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาครูใหเกิดทักษะการจัดการเรียนรูเพื่อทักษะ

    แหงศตวรรษท่ี 21………………………………………………………………………….………….

    100 4 ยุทธศาสตรที่ 4 การเสริมสรางประสิทธิภาพการใชครู………………………………………… 101 5 ยุทธศาสตรที่ 5 การสงเสริมและพัฒนาสิทธิครู…………………………………………………. 101 6 แสดงกลุมตัวอยางและผูใหขอมูล................................................................................ 151 7 สรุปผลการศึกษาวิเคราะห เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ…….…... 163 8 สรุปผลการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ……………………………………. 189 9 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม......................................................................... 204 10 แสดงคามัชฌิมเลขคณิต (X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับการปฏิบัติ

    ของแตละตัวแปรที่เปนองคประกอบของรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษาสําหรับศตวรรษที่ 21…………………………………………………………………

    206 11 คา KMO-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy............................... 224 12 คาไอเกน คารอยละ ของความแปรปรวน คารอยละของความแปรปรวนสะสม

    ขององคประกอบ การบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21…………………………………………………………………………….

    225 13 แสดงน้ําหนักองคประกอบและตัวแปรที่อธิบายในแตละองคประกอบหลังหมุนแกน

    แบบตั้งฉาก (Orthogonal Rotation)…………………………………………………………

    226 14 แสดงจํานวนตัวแปร คาน้ําหนัก ในแตละปจจัยของปจจัยการนิเทศการบริหาร

    โรงเรียน…………………………………………………………………………………….…………….

    228 15 องคประกอบที่ 1…………………………………………………………………………………….…….. 228 16 องคประกอบที่ 2………………………………………………………………………………….……….. 231 17 องคประกอบที่ 3…………………………………………………………………………………….…….. 233 18 องคประกอบที่ 4…………………………………………………………………………………….…….. 234 19 องคประกอบที่ 5……………………………………………………………………………………….….. 235

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ตารางที่

    หนา

    20 คาสถิติตรวจสอบความสอดคลอง ความกลมกลืน ความตรงของรูปแบบและ ขอมูลเชิงประจักษ………………………………………………………………………………….………

    255

    21 แสดงการจัดอันดับความสําคัญขององคประกอบ การบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับความสําคัญขององคประกอบ โดยศึกษานิเทศก………………………………….

    258 22 แสดงจํานวน คารอยละของความเห็นของผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญตอ

    องคประกอบและรูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21………………………………………………………………………………..

    259

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ

    แผนภูมิที ่

    หนา

    1 กรอบแนวคิดของการวิจัย……………………………………………………………..………………… 23 2 กระบวนการนิเทศของ สงัด อุทรานันท………………………………………………..…………. 62 3 ขัน้ตอนการดําเนินการวิจัย……………………………………………………………………..………. 149 4 แสดงแผนผังของแผนแบบการวิจัย…………………………………………………………..……… 150 5 สรุปผลการวิเคราะหองคประกอบของ การบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา

    สําหรับศตวรรษที่ 21……………………………………………………………………………...…

    236 6 รูปแบบแสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบท่ีมีอิทธิพลตอกันของการบริหาร

    จัดการการนิเทศการศึกษา สําหรับศตวรรษท่ี 21………………………………………….

    240 7 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการมีสวนรวมกับองคประกอบ

    ดานการบริหารจัดการ………………………………………………………………………………

    241 8 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการมีสวนรวม กับองคประกอบ

    ดานการใชเทคโนโลยี…………………………………………………………………………………

    242 9 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการมีสวนรวม กับองคประกอบ

    ดานการประเมินผล……..………………………………………………………………………..….

    245 10 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการนิเทศกับองคประกอบ

    ดานการบริหารจัดการ……………………………………………………………………………....

    247 11 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการใชเทคโนโลยีกับองคประกอบ

    ดานการบริหารจัดการ……………….……………………………..……………………………….

    248 12 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการใชเทคโนโลยีกับองคประกอบ

    ดานการนิเทศ……………………………..……………………………………………………………

    249 13 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการใชเทคโนโลยีกับองคประกอบ

    ดานการประเมินผล………………………………………………………………………..…………

    250 14 แสดงความสัมพันธระหวางองคประกอบดานการประเมินผลกับองคประกอบ

    ดานการบริหารจัดการ…………………….…………………………………………………………

    252

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • แผนภูมิที ่

    หนา

    15 รูปแบบสมมุติ (proposing model) ขององคประกอบการบริหารจัดการ

    การนิเทศ สําหรับศตวรรษที่ 21……………………………………….…………………………

    254 16 รูปแบบแสดงความสัมพันธเชิงสาเหตุองคประกอบการบริหารจัดการการนิเทศ

    การศึกษา สําหรับศตวรรษที่ 21 ที่สอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ…………………

    255

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทที่ 1

    บทนํา

    ในศตวรรษท่ี 21 ถือเปนชวงเวลาที่ทาทายความสามารถของมนุษย เพราะเปนยุคที่โลกตองเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็ว ประกอบกับขอมูลขาวสารทุกอยางก็ไมไดจํากัดอยูเพียงเฉพาะรอบตัวเราอีกตอไป แคเพียงคลิกที่ปลายน้ิว เราก็สามารถกาวขามพรมแดนไปไดทุกซอก ทุกมุมของโลก ซึ่งแวดวงทางการศึกษาทั่วโลกตางกาวพนรูปแบบการเรียนการสอนที่ใชครูเปนศูนยกลาง มาเปนการเรียนรูในแบบกระบวนทัศนใหม เรียกไดวาเปนการจัดการศึกษายุคฐานแหงเทคโนโลยี หรือ Technology Based Paradigm1 ดังนั้น จึงกลาวไดวาในยุคศตวรรษที่ 21 จะเห็นการเปล่ียนแปลงของโลก ซึ่งสงผลกระทบที่สําคัญทั้งภายในและภายนอกประเทศในดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เขามามีบทบาทตอการดํารงชีวิตของคนในชาติที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได การปรับเปล่ียนที่รวดเร็ว และความซับซอนจําเปนตองสรางภูมิคุมกันเพื่อเตรียมความพรอมของคน สังคม และระบบเศรษฐกิจ ใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม กลาวคือ ตองพัฒนาคนไทยใหมีการเรียนรู ตลอดชีวิต และตอเนื่องในเร่ืองการศึกษา ทักษะการทํางาน และการดําเนินชีวิต เพ่ือเปนการยกระดับคุณภาพใหคนไทยทุกกลุมวัยมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา ตลอดจนมีระเบียบ วินัย มีจิตสํานึกวัฒนธรรม ที่ดีงามและรูคุณคาความเปนไทย2 ในขณะเดียวกันพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่แกไขเพ่ิมเติม กําหนดความมุงหมายและหลักการจัดการศึกษาในมาตรา 6 ซึ่งกําหนดไววา “การจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติ ปญญาความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข” มาตรา 8 ไดกําหนดหลักการจัดการศึกษาใหยึดหลัก 3 ประการ คือเปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง และกระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของทศวรรษ

    1อนงค สินธุสิริ, การเรียนแนวใหมสําหรับศตวรรษท่ี 21,เขาถึงเมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2557.

    เขาถึงไดจาก http://anongswu502.blogspot.com/2013/01/21.html. 2 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

    สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ( 2555-2559) เลม 128 ตอนพิเศษ 152 ง ราชกิจจานุเบกษา (14 ธันวาคม 2554 ), 10.

    1

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    ที่สอง (พ.ศ.2552-2561) ในศตวรรษที่ 21 ภายใตมีวิสัยทัศน “คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ” โดยประเด็นหลักของเปาหมายปฏิรูปการศึกษามี 3 ประเด็น คือ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา การเรียนรูของคนไทย และเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการบริหารจัดการศึกษา ทั้งนี้ ไดกําหนดกรอบแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูไว 4 ประการ คือการพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม การพัฒนาครูยุคใหม การพัฒนาสถานศึกษาและแหลงเรียนรูยุคใหม และการพัฒนาการบริหารจัดการใหม3 เชนเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) มีแนวคิดที่มีความตอเน่ืองจากแนวคิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 - 10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่มุงใหคนเปนศูนยกลางของการพัฒนาและสรางสมดุลการพัฒนาในทุกมิติ แตการประยุกตใชแนวคิดดังกลาวสรางความม่ันใจวาการพัฒนาจะเปนไปในแนวทางที่ยั่งยืน และสรางความสุขใหกับคนไทย จึงจําเปนตองพิจารณาการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศอยางรอบดาน และวางจุดยืนการพัฒนาในระยะยาวภายใตวิสัยทัศนประเทศไทย พ.ศ. 2570 ซึ่งพิจารณาถึงบริบทการเปล่ียนแปลงในอนาคตและทุกภาคสวนในสังคมไทยและมีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแหงความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรม ประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล ที่เนนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ยึดทางสายกลางบนพื้นฐานของความสมดุล พอดี รูจักประมาณอยางมีเหตุผล มีความรอบรูเทาทันโลก เปนแนวทางในการดําเนินชีวิต เพ่ือมุงใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขโดยยึด “คน” เปนศูนยกลางการพัฒนา4 จากสภาวการณดังกลาวประเทศตองเรงพัฒนาคนเพ่ือมุงไปสูเปาหมายโดยเฉพาะสถานศึกษา ที่อยูในพ้ืนที่หรือจังหวัดตางๆ ซึ่งเปนท่ีคาดหวังของสังคมในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ จึงมีการกระจายอํานาจในการบริหารจัดการใหสถานศึกษามีอํานาจการบริหาร และการจัดการศึกษาในดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป โดยใหยึดหลักความเปนเอกภาพ ในดานนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ และจัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายดําเนินการ และงบลงทุนใหสถานศึกษาของรัฐ ตามนโยบายแผนการศึกษาแหงชาติ และภารกิจของสถานศึกษาใหมีอิสระในการบริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยใหคํานึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร

    3กระทรวงศึกษาธิการ, พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) (กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), 12.

    4สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ, กรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษา ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554 ) ที่สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545 – 2559) (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551), 34.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    ราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 44 ไดกําหนดใหสถานศึกษาเปนนิติบุคคลเพ่ือใหอิสระคลองตัวในการบริหารสถานศึกษาไดสะดวกรวดเร็วถูกตองและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเปนการสรางรากฐานความเขมแข็งใหกับสถานศึกษาท่ีเปนหนวยงานในการจัดการศึกษาหนวยงานหนึ่ง5 สถานศึกษาจึงตองไดรับการพัฒนาใหมีคุณภาพ ตามมาตรฐานสอดคลองกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และตอบสนองความตองการของสังคม6 ดังนั้นในการบริหารจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพเปนไปตามเจตนารมณ จึงเปนภาระและความรับผิดชอบโดยตรงของผูบริหารหนวยงานน้ันๆ ที่จะบริหารงานใหไปสูเปาหมายท่ีสําคัญคือ คุณภาพผูเรียน7 ตลอดจนการปรับปรุงการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

    จากปจจัยขางตนรัฐบาลไดใหความสําคัญดานการพัฒนาการศึกษาเรื่อยมา แมการปฏิรูปการศึกษาในชวงที่ผานมาจะประสบผลสําเร็จดานการปรับโครงสรางหนวยงานใหมีเอกภาพย่ิงขึ้น มีระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาท่ีชัดเจน แตการพัฒนาในมิติของคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนับเปนสิ่งที่มีความสําคัญที่ตองดําเนินการเรงดวน โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพผูเรียนดานความรู ความสามารถในการอาน เขียน คิดคํานวณและทักษะการคิดวิเคราะห นําไปสูความจําเปนตองพัฒนาครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษาการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร เทคนิควิธีการและสื่อการเรียนการสอน ตลอดจนการปรับปรุงการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ จัดโอกาสในการไดรับการศึกษาฟรี 15 ป อยางมีคุณภาพรวมทั้งการเรงรัดการลงทุนดานการศึกษาและเรียนรูอยางบูรณาการในทุกระดับการศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน8 การยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศเพ่ือใหเกิดความทัดเทียมกับอารยประเทศและสามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติ ซ่ึงเปนความมุงหวังของคนไทยท้ังประเทศ จึงเปนภารกิจสําคัญที่ตองปรับปรุงคุณภาพสถานศึกษาอยางรวดเร็ว ทั้งระบบดวยการปฏิรูปการศึกษาท่ีตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากทุกฝายท่ีเกี่ยวของ ยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษาใน

    5กระทรวงศึกษาธิการ, คูมือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เปนนิติบุคคล (กรุงเทพฯ

    : องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ, 2546), 74. 6สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, ครูแหงชาติ (กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ, 2541), 1. 7สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ , สพฐ. 55 (กรุงเทพฯ: โรงพิมพอูชาหงิ, 2553), 78.

    8เรื่องเดียวกัน, 66-67.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    ทศวรรษที่สองซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ จะพัฒนาเยาวชนของชาติเขาสูโลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุงสงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรม รักความเปนไทย มีทักษะการคิดวิเคราะหสรางสรรค รวมทั้งมีทักษะดานเทคโนโลยี สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางสันติ9 การเปลี่ยนแปลงดังกลาว จําเปนตองจัดการศึกษาใหทันตอการเปล่ียนแปลงนั้น เนื่องจากการศึกษาเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ ชวยเสริมสรางขีดความสามารถใหคนในชาติพรอมที่จะเขาสูการแขงขันในเวทีโลกไดอยางมั่นใจ กระทรวงศึกษาธิการจึงเรงรัด การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552 – 2561) ของระบบการศึกษาและการเรียนรูอยางเรงดวน 4 ประการ หลักคือ 1) พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหมที่มีนิสัยใฝเรียนรู 2) พัฒนาคุณภาพครูยุคใหมที่เปนผูเอ้ืออํานวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเปนวิชาชีพที่มีคุณคา ตามคุณภาพมาตรฐานเหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง 3) พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหลงเรียนรูยุคใหม โดยพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภทใหสามารถเปนแหลงเรียนรูที่มีคุณภาพ และ 4) พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม ที่มุงเนนการกระจายอํานาจสูสถานศึกษารวมท้ังการมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน และภาคเอกชน ทั้งนี้ทุกภาคสวนตองมีระบบการบริหารจัดการที่มีความโปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได มีการบริหารจัดการ การเงินและงบประมาณท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ10 การปฏิรูปการศึกษามีความมุงหมายที่จะจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดีมีความสามารถและมีความสุข การดําเนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมีพลังและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงจําเปนท่ีจะตองกระจายอํานาจใหทุกฝายมีสวนรวม ซึ่งสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ไดบัญญัติเกี่ยวกับแนวทางการจัดการศึกษามาตรา 43 วา“รัฐตองจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางนอย 12 ปอยางทั่วถึงมีคุณภาพและไมเก็บคาใชจาย”และมาตรา 81 ระบุไววา “รัฐตองจัดการศึกษาฝกอบรม และสนับสนุนใหสถานศึกษาของรัฐ จัดการศึกษาใหเกิดความรูคูคุณธรรม ปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคม สรางเสริมความรูและปลูกจิตสํานึกท่ีถูกตอง พัฒนาวิชาชีพครูและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ” และเปนไปตามหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งใหมีการจัดระบบโครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษามีเอกภาพในดานนโยบายประกอบกับมีความหลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาดังปรากฏใน

    9สํานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย, สํานักคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

    กระทรวงศึกษาธิการ, การศึกษาสูอาเซียน (กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จํากัด, 2554), 20. 10สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552-2561) (กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด, 2552), 9.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    พระราชบัญญัติ มาตรา 39 ที่กําหนดใหกระทรวงศึกษาธิการ กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป เพ่ือใหเกิดความคลองตัวและมีอิสระในการบริหารจัดการที่มุงเนนใหมีประสิทธิภาพ จากแนวคิดของพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ในมาตรา 39 ใหสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานหรือสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวใหเปนหนาที่ของสวนราชการน้ันๆ โดยใหมีผูอํานวยการสถานศึกษาหรือหัวหนาสวนราชการ ที่เรียกชื่ออยางอ่ืนเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและมีอํานาจหนาที่ ดังนี้ 1) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือสวนราชการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบขอบังคับของทางราชการ และของสถานศึกษาหรือสวนราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงคของสถานศึกษาหรือสวนราชการ 2) ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่และทรัพยสินอื่นของสถานศึกษาหรือสวนราชการใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบขอบังคับของทางราชการ 3) เปนผูแทนของสถานศึกษา หรือสวนราชการในกิจการท่ัวไป รวมทั้งการจัดทํานิติกรรมสัญญา ในราชการของสถานศึกษาหรือ สวนราชการตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษา หรือสวนราชการไดรับตามที่ไดรับมอบอํานาจ 4) ทํารายงานประจําปเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาหรือสวนราชการเพ่ือเสนอตอคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา 5) อํานาจหนาที่ในการอนุมัติวุฒิบัตรและประกาศนียบัตรของสถานศึกษาใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด 6) ปฏิบัติงานอื่น ที่ไดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษารวมทั้งงานอ่ืนที่กระทรวงมอบหมาย11

    จากอํานาจหนาที่ดังกลาว ผูบริหารระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและระดับโรงเรียนเปนบุคคลสําคัญทั้งโดยหนาที่และตําแหนงที่จะตองรับผิดชอบในการบริหารจัดการงานทุกดาน ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับโรงเรียนพรอมทั้งงานอื่นๆที่เปนงานนโยบายที่จะสงผลและเอื้อตอการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดผูบริหารระดับเขตพ้ืนที่และระดับโรงเรียน จึงตองสงเสริม พัฒนา ประสานการทํางาน ตลอดจนชวยเหลือ และแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในองคการ ใหเกิดการพัฒนางานอยางมีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จ

    11กระทรวงศึกษาธิการ, คูมือการบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีเปนนิติบุคคล (กรุงเทพฯ:

    องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ, 2546), 74.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    ปญหาของการวิจัย

    จากบทบาทหนาที่และภารงานของผูบริหารเขตพ้ืนที่การศึกษาและผูบริหารสถานศึกษา ชี้ใหเห็นวาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จะสําเร็จไดตามเปาหมาย กระบวนการจัดการเรียนรู กระบวนการนิเทศและกระบวนการบริหารจัดการจําเปนตองพัฒนาและรวมกันสนับสนุนสงเสริมไปดวยกันในลักษณะของ “เกลียวเชือก” กระบวนการนิเทศการศึกษา (supervision) เปนกระบวนการที่ทําใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยการทํางานรวมกับบุคคลท่ีเกี่ยวของ มุงใหเกิดการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพสงผลถึงคุณภาพของผูเรียน กระบวนการนิเทศการศึกษาชวยทําใหเกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน สรางการประสานสัมพันธ และขวัญกําลังใจ ผูบริหารสถานศึกษา คือ บุคคลที่ทําหนาที่นิเทศการศึกษาโดยตําแหนง ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สงเสริมสถานศึกษาใหบริหารหลักสูตร จัดกระบวนการเรียนรู มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ มีวิจัยวิเคราะห ตรวจสอบประเมินผลจากสภาพการดําเนินงานตามภาระงานของสถานศึกษา ตามนโยบายที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ในปจจุบันสถานศึกษายังไมสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาความกาวหนาสภาพปญหาและอุปสรรคของการจัดการศึกษาท่ีปฏิบัติในโรงเรียน12 กลาวคือ ปญหาที่เกิดจากนโยบายการศึกษาชาติที่มักจะเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุผลทางการเมือง มีการเปลี่ยนแปลงผูบริหารระดับกระทรวงหรือในระดับกรมทําใหนโยบายทางการศึกษาตองเปลี่ยนไป สงผลใหการปฏิบัติในสถานศึกษาเปลี่ยนไปดวย บุคลากรในสถานศึกษาตองรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง และประการสําคัญ คือ ขอจํากัดของบุคลากรในดานความรูความสามารถท่ีแตกตางกันจึงทําใหเกิดปญหาตามมา13 นอกจากนี้บุคลากรขาดความกระตือรือรนในการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพการสอนและการปฏิบัติงานต่ํา เมื่อไดรับการพัฒนาไปแลวไมมีผูนิเทศติดตามเพ่ือใหเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่องและยั่งยืน ขาดความชํานาญในการนําเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใชในการเพ่ิมประสิทธิภาพของงาน สิ่งเหลานี้ ทําใหเปนอุปสรรคในการพัฒนางาน ปญหาดังกลาวสงผลกระทบตอประสิทธิภาพในการดําเนินงานดานการบริหารจัดการการนิเทศ14

    12อุทัย บุญประเสริฐ, ผูบริหารสถานศึกษามืออาชีพ (บัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต 2546), 1(1)24. 13ชารี มณีศรี, การนิเทศการศึกษา, พิมพครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ. 2542), 15. 14ธีระ รุญเจริญ,“รายงานการวิจัยเรื่อง สภาพและปญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในประเทศไทย” (กรุงเทพฯ : สํานักคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติหางหุนสวนจํากัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น 2545), 120-122.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    ในขณะเดียวกันผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)ในรอบท่ี 2 จํานวน 14,196 โรง ในปการศึกษา 2549 - 2550 พบวา มีโรงเรียนไมผานการรับรองจํานวน 3,139 โรง คิดเปนรอยละ 22.11 โรงเรียน ที่ผานการรับรองจํานวน 11,057 โรง คิดเปนรอยละ 77.89 และโรงเรียนที่ผานการรับรองระดับดีมีคาเฉลี่ยของผลการประเม�