บทที่...บทท ๓ การด าเน...

21
๖๐ บททีการดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ กรณีศึกษาจังหวัดตาก เชียงราย หนองคาย นครพนม และมุกดาหาร รัฐบาลไทยมีแนวคิดในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาตั้งแตป ๒๕๔๗ จนกระทั ่งป ๒๕๕๗ รัฐบาลคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดสานตอและเรงรัดเดินหนานโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให เกิดผลรูปธรรมขึ้นโดยเร็ว ทั้งนี้ รัฐบาลไทยไดมีการดําเนินโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนในชวงทศวรรษ ๒๕๔๐ เปาหมายเพื่อใหเกิดการพัฒนาพื้นที่ชายแดนที่มีเขตเศรษฐกิจติดตอกับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งมีศักยภาพที่จะ พัฒนาเปนศูนยกลางในการคาการลงทุนระหวางประเทศ โดยใชประโยชนจากความเชื่อมโยงดานคมนาคม ขนสงของภูมิภาคอาเซียนตามขอตกลงการคาเสรีภายใตกรอบอาเซี่ยน และขอตกลงภายใตกรอบเศรษฐกิจ อื่นๆ ที่สําคัญไดแก โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) ในป ๒๕๓๕ แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT- GT) ในป ๒๕๓๖ และกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS: Ayeyawady- Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy) ในป ๒๕๔๕ 1 เปนตน ความรวมมือเหลานี้ถือ เปนยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจที่สําคัญของภูมิภาคแหงนียุทธศาสตรความรวมมือดังกลาว ถือเปนจุดเปลี่ยนสําคัญทางเศรษฐกิจ จากการเชื่อมโยง เสนทางคมนาคมขนสง และการคาชายแดนของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ในพื้นที่กรณีศึกษา จังหวัด เชียงราย ในภาคเหนือ และจังหวัดหนองคาย นครพนม และมุกดาหาร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งตั้งอยูใน แนวระเบียงเศรษฐกิจ ภายใตกรอบ GMS ไดแก แนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) เชื่อมโยงไทยกับจีน เมียนมาร สปป.ลาว จนถึงชายแดนภาคใตของประเทศไทย แนวระเบียง เศรษฐกิจตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ที่มีเสนทางเชื่อมโยงเวียดนามเหนือ-ใตในประเทศ เวียดนาม แนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) เชื่อมโยง ระหวางเวียดนาม-ลาว-ไทย-พมา EWEC มีบทบาทสําคัญในการเปนทางเปดไปสูทาเรือสําหรับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและภาคกลางของลาว และจังหวัดตากกับสหภาพเมียนมาร ซึ่งเปนพื้นที่พัฒนา นํารองในลักษณะเมืองคูแฝดระหวางไทย-พมา (แมสอด-เมียวดี) ภายใตกรอบ ACMECS เขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย จึงมีความเปนมาและพัฒนาการทางนโยบายที่เปนผล จากยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจดังกลาว โดยในพื้นที่กรณีศึกษา ๕ จังหวัด การดําเนินนโยบายแบง ออกได ๒ ชวงเวลา ไดแก ชวงแรก การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในชวงทศวรรษ ๒๕๔๐ ซึ่ง มีพื้นที่ยุทธศาสตรนํารองที่อําเภอแมสอด จังหวัดตาก, อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในภาคเหนือ และที่อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในภาคใต และชวงที่สอง การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจ พิเศษ ในชวงทศวรรษ ๒๕๕๐ ถึงปจจุบัน ซึ่งขยายพื้นที่เปาหมายดําเนินการมาเปน ๑๐ จังหวัดในปจจุบัน 1 กรกรัณย ชีวะตระกุลพงษ และคณะ, ๒๕๕๘; สายฝน สุเอียนทรเมธี และคณะ, ๒๕๕๓; กัมปนาท แสนใจ บาล, ๒๕๕๕; วิมล ปนคง, ๒๕๕๗

Upload: others

Post on 02-Jan-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๐

บทท่ี ๓

การดําเนนินโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ

กรณีศึกษาจังหวัดตาก เชียงราย หนองคาย นครพนม และมุกดาหาร

รัฐบาลไทยมีแนวคิดในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาตั้งแตป ๒๕๔๗ จนกระท่ังป ๒๕๕๗

รัฐบาลคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดสานตอและเรงรัดเดินหนานโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให

เกิดผลรูปธรรมข้ึนโดยเร็ว ท้ังนี้ รัฐบาลไทยไดมีการดําเนินโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนในชวงทศวรรษ ๒๕๔๐

เปาหมายเพ่ือใหเกิดการพัฒนาพ้ืนท่ีชายแดนท่ีมีเขตเศรษฐกิจติดตอกับประเทศเพ่ือนบาน ซ่ึงมีศักยภาพท่ีจะ

พัฒนาเปนศูนยกลางในการคาการลงทุนระหวางประเทศ โดยใชประโยชนจากความเชื่อมโยงดานคมนาคม

ขนสงของภูมิภาคอาเซียนตามขอตกลงการคาเสรีภายใตกรอบอาเซ่ียน และขอตกลงภายใตกรอบเศรษฐกิจ

อ่ืนๆ ท่ีสําคัญไดแก โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong

Sub-region: GMS) ในป ๒๕๓๕ แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-

GT) ในป ๒๕๓๖ และกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS: Ayeyawady-

Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy) ในป ๒๕๔๕ 1 เปนตน ความรวมมือเหลานี้ถือ

เปนยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีสําคัญของภูมิภาคแหงนี้

ยุทธศาสตรความรวมมือดังกลาว ถือเปนจุดเปลี่ยนสําคัญทางเศรษฐกิจ จากการเชื่อมโยง

เสนทางคมนาคมขนสง และการคาชายแดนของประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบาน ในพ้ืนท่ีกรณีศึกษา จังหวัด

เชียงราย ในภาคเหนือ และจังหวัดหนองคาย นครพนม และมุกดาหาร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงตั้งอยูใน

แนวระเบียงเศรษฐกิจ ภายใตกรอบ GMS ไดแก แนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic

Corridor) เชื่อมโยงไทยกับจีน เมียนมาร สปป.ลาว จนถึงชายแดนภาคใตของประเทศไทย แนวระเบียง

เศรษฐกิจตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ท่ีมีเสนทางเชื่อมโยงเวียดนามเหนือ-ใตในประเทศ

เวียดนาม แนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) เชื่อมโยง

ระหวางเวียดนาม-ลาว-ไทย-พมา EWEC มีบทบาทสําคัญในการเปนทางเปดไปสูทาเรือสําหรับภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและภาคกลางของลาว และจังหวัดตากกับสหภาพเมียนมาร ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีพัฒนา

นํารองในลักษณะเมืองคูแฝดระหวางไทย-พมา (แมสอด-เมียวดี) ภายใตกรอบ ACMECS

เขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย จึงมีความเปนมาและพัฒนาการทางนโยบายท่ีเปนผล

จากยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจดังกลาว โดยในพ้ืนท่ีกรณีศึกษา ๕ จังหวัด การดําเนินนโยบายแบง

ออกได ๒ ชวงเวลา ไดแก ชวงแรก การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในชวงทศวรรษ ๒๕๔๐ ซ่ึง

มีพ้ืนท่ียุทธศาสตรนํารองท่ีอําเภอแมสอด จังหวัดตาก, อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ จังหวัดเชียงราย

ในภาคเหนือ และท่ีอําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในภาคใต และชวงท่ีสอง การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจ

พิเศษ ในชวงทศวรรษ ๒๕๕๐ ถึงปจจุบัน ซ่ึงขยายพ้ืนท่ีเปาหมายดําเนินการมาเปน ๑๐ จังหวัดในปจจุบัน

1

กรกรัณย ชีวะตระกุลพงษ และคณะ, ๒๕๕๘; สายฝน สุเอียนทรเมธี และคณะ, ๒๕๕๓; กัมปนาท แสนใจบาล, ๒๕๕๕; วิมล ปนคง, ๒๕๕๗

Page 2: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๑

๓.๑ เขตเศรษฐกิจพิเศษตาก

พ้ืนท่ีชายแดนอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ถูกมองวาเปนพ้ืนท่ียุทธศาสตรสําคัญของประเทศ ท่ี

มีศักยภาพในการทําการคาขายชายแดนระหวางไทยและพมา สามารถพัฒนาเปนฐานการผลิตหลักในแนว

ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economic Corridor) ท่ีเชื่อมโยงการผลิตไปยังประเทศ

พมาและกลุมประเทศเอเชียใตผานเมืองเมียวดี และเชื่อมโยงไปยังประเทศจีน สปป.ลาว และเวียดนาม พ้ืนท่ี

อําเภอแมสอดมีพัฒนาการการดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษมายาวนาน โดยมีลําดับพัฒนาการจากเขต

เศรษฐกิจชายแดนตั้งแตป ๒๕๓๙ เขตพัฒนาเศรษฐกิจแมสอด แบงออกไดเปน ๓ ชวงเวลา คือ ชวงแรก การ

ดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนแมสอด ตั้งแตป ๒๕๓๙ – ๒๕๔๗ ชวงท่ีสอง การดําเนินนโยบายเขต

เศรษฐกิจพิเศษแมสอด ตั้งแตป ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ และ ชวงท่ีสาม การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก

(อําเภอแมสอด แมระมาด พบพระ) ในรัฐบาล คสช. ตั้งแตป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน

๓.๑.๑ การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดนอําเภอแมสอด ป ๒๕๓๙ – ๒๕๔๗

ป ๒๕๓๙ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดศึกษาความเปนไปไดใน

การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนอําเภอแมสอด และเปนหนึ่งในเมืองเปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน

ตามนโยบายของรัฐบาลไทย ในป ๒๕๔๒ (มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี ๙ พฤศจกิายน ๒๕๔๒) ตามกรอบแผนงาน

การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน ๒๐ เมือง ๑๓ จังหวัด ระยะ ๑๐ ป (ป ๒๕๔๒ – ๒๕๕๑) จากนั้นในป ๒๕๔๗

คณะรัฐมนตรีจึงมีมติใหจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนจังหวัดตาก (มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๗)

ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๓ อําเภอ คือ อําเภอแมสอด แมระมาด และพบพระ โดยกําหนดการพัฒนาในแมสอดเปนเขต

การลงทุนดานอุตสาหกรรม การคา และการทองเท่ียว และมาตรการสงเสริมการลงทุนดานอุตสาหกรรมและ

บริการ เชน จัดเขตนิคมอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไดรับสิทธิประโยชนแบบเขตปลอดอากร เปนตน1

2

๓.๑.๒ การดําเนนินโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด ป ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖

ในป ๒๕๕๓ รัฐบาลไทยมีนโยบายจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด และคณะกรรมการพัฒนา

เขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด (มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓) เปนพ้ืนท่ีแรกของประเทศไทย โดย

ในขณะนั้นมีการตั้งคณะกรรมการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอดข้ึนมาเปนกลไกขับเคลื่อน คณะกรรมการ

ดังกลาวไดเห็นชอบกําหนดพ้ืนท่ีตําบลทาสายลวดและตําบลแมปะ อําเภอแมสอด เนื้อท่ี ๕,๖๐๓ ไร (มติการ

ประชุมเม่ือ วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓) เปนพ้ืนท่ีรองรับการดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด โดยใหเปน

การลงทุนของภาคเอกชนภายใตการกํากับการดูแลของรัฐ ซ่ึงจะตองสนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานท่ี

จําเปน การสงเสริมการลงทุนโดยใหสิทธิพิเศษและประโยชนดานตาง ๆ แกนักลงทุน เพ่ือรองรับการกาวเขาสู

ประชาคมอาเซียน ในป ๒๕๕๘ โดยจัดหาท่ีดินใหเอกชนเชาจัดตั้งเปนเขตอุตสาหกรรมในราคาถูก เพ่ือลด

ตนทุนสินคาและสนับสนุนการสงออก

2 การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด ภายใตนโยบายการเปดประตูการคาดานตะวันตก, http://libazz.com/uploads/๒๐๑๕๐๒๒๖๑๔๕๒๓๙pckkNL๐/contents/file_๒๐๑๕๐๒๒๗๑๑๒๐๔๒.pdf

Page 3: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๒

ตอมาคณะรัฐมนตรีไดมีมติ เม่ือวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ เห็นชอบแนวทางการศึกษาแผน

ยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในพ้ืนท่ีท่ีมีศักยภาพ และมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) เปนผูดําเนินการ ซ่ึง สศช. ไดดําเนินโครงการศึกษาแผน

ยุทธศาสตรการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับประเทศ

การสรางเขตเศรษฐกิจพิเศษอําเภอแมสอด หรือแมสอดโมเดล ไดรับการคาดหมายท่ีจะเปน

โมเดลตนแบบท่ีจะขยายผลไปยังเขตเศรษฐกิจพิเศษในจังหวัดชายแดนอ่ืนๆ ท่ัวประเทศ แนวคิดริเริ่มรูปแบบ

การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด กําหนดเปนนิคมอุตสาหกรรมผสมองคการมหาชน ประกอบดวย

โครงสรางพ้ืนฐานดานการคมนาคมขนสง เขตนิคมอุตสาหกรรม ศูนยขนถายและกระจายสินคา เขตปลอด

อากร คลังสินคาทัณฑบน ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ ดานศุลกากร และใหมีการบริหารจัดการอยางอิสระเพ่ือใหเกิด

ความคลองตัว โดยใหเอกชนเปนผูลงทุน ภาครัฐสนุนสนุนดานการสงเสริมการลงทุน โดยใหสิทธิและประโยชน

ดานตางๆ เชน จัดหาท่ีดินใหเอกชนเชาในราคาถูก เพ่ือลงทุนจัดตั้งเปนเขตอุตสาหกรรม หรือนิคมอุตสาหกรรม

๓.๑.๓ การดําเนนินโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก (อําเภอแมสอด แมระมาด พบพระ) ป

๒๕๕๗ – ปจจุบัน

พ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) เห็นชอบใหจังหวัดตากเปนพ้ืนท่ี

เขตเศรษฐกิจพิเศษ ระยะท่ี ๑ ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๑๔ ตําบล ๓ อําเภอ คือ อําเภอแมสอด อําเภอแมระมาด และ

อําเภอพบพระ คิดเปนเนื้อท่ีรวม 886,847 ไร หรือคิดเปนรอยละ ๙ ของพ้ืนท่ีจังหวัด

Page 4: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๓

แผนท่ี ๓.๑ เขตเศรษฐกจิพิเศษตาก

ท่ีมา: คูมือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

เปาหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ในฐานะฝาย

เลขานุการ กนพ. ไดกําหนดบทบาท ขอบเขตการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตากเปน “ศูนยเปลี่ยนถายสินคา

ระหวางประเทศ/ เครือขายอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงานเขมขน” โดยกําหนดโครงสรางเศรษฐกิจ บริการ 51.47

% เกษตร 24.94 % อุตสาหกรรม 16.93 % มีผลผลิตในพ้ืนท่ี ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาว ถ่ัวเขียวผิวมัน

ถ่ัวเหลือง พืชผัก ประมงน้ําจืด อุตสาหกรรมสวนใหญเก่ียวกับเครื่องแตงกาย เกษตร และสิ่งทอ ในขณะท่ีภาค

บริการเปนขายสง/ขายปลีก 2

3

โดยตั้งเปาหมายใหอําเภอแมสอดเปนเมืองหนาดาน (Gateway City) ศูนยกลางการบริการ

แบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ศูนยกลางดานอุตสาหกรรมและการคาชายแดน ศูนยกระจายสินคา

OTOP การคมนาคมขนสงและโลจิสติกสระหวางประเทศ จุดเปลี่ยนผานสูการทองเท่ียวในพมา อําเภอแม

3 http://www.taksez.com/th/page/privilege.html

Page 5: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๔

ระมาด เปนเมืองศูนยกลางรองรับการพัฒนาดานอุตสาหกรรม แหลงแรงงาน เชื่อมโยงตลาดผูซ้ือและผูผลิต

เชื่อมโยงพ้ืนท่ีทองเท่ียวระดับกลุมจังหวัดตอนเหนือ และอําเภอพบพระ เปนเมืองศูนยกลางการพัฒนาบุคลากร

และแรงงานวิชาชีพระดับสูง ศูนยกลางวิจัยอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาทางการเกษตร และการทองเท่ียวเชิง

นิเวศ

การจัดหาท่ีดิน

การจัดหาท่ีดินเพ่ือใหเอกชนและการนิคมอุตสาหกรรมเชาใชประโยชน ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

ตาก ในพ้ืนท่ีอําเภอแมสอด อาศัยอํานาจตามมาตรา 44 โดยคําสั่ง คสช. ท่ี ๑๗/๒๕๕๗ บนเนื้อท่ี ๒,๑๘๒ ไร

(ตามคําสั่ง คสช. ท่ี ๑๗/๒๕๕๗) แบงออกเปน ๒ แปลง คือ แปลงท่ี ๑ เนื้อท่ี ๑,๓๔๖ ไร จัดใหเอกชนเชาท่ีดิน

ลงทุน สวนแปลงท่ี ๒ เนื้อท่ี ๘๓๖ ไร จัดใหการนิคมอุตสาหกรรมลงทุน พ้ืนท่ีดังกลาวมีประชาชนใชประโยชน

ท่ีดินทําการเกษตรและท่ีอยูอาศัยอยูเต็มพ้ืนท่ี แมวา พ้ืนท่ีดังกลาวจะเปนพ้ืนท่ีเปาหมายเพ่ือรองรับการ

ดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษมากอนหนานี้แลว แตกลับไมมีการสํารวจขอมูลผูท่ีจะไดรับผลกระทบ และให

ขอมูลกับประชาชนเหลานั้นมากอน

แผนท่ี ๓.๒ แสดงท่ีดินเพ่ือใหเชาลงทุนจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอําเภอแมสอด ตามคําส่ัง คสช.ท่ี ๑๗/

๒๕๕๘

Page 6: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๕

๓.๒ เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย

พ้ืนท่ีชายแดน ๓ อําเภอของจังหวัดเชียงราย ไดแก อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของเปน

หนึ่งในพ้ืนท่ียุทธศาสตรการพัฒนาเมืองชายแดนเชนเดียวกับอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ซ่ึงมีเปาหมายเพ่ือ

พัฒนาใหเปนฐานเศรษฐกิจและประตูการคา การลงทุน อุตสาหกรรม และการทองเท่ียว ในแนวระเบียง

เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) ภายใตกรอบความรวมมือ GMS และโครงการ

สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ไทย – ลาว – พมา – จีน (Quadrangle Economic Cooperation) ซ่ึงเปนแผนการความ

รวมมือทางดานเศรษฐกิจของสี่ประเทศลุมแมน้ําโขงตอนบน ในป ๒๕๓๖ โดยมีเปาหมายท่ีจะรวมมือพัฒนา

โครงสรางพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเสนทางคมนาคม ทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ การพัฒนาการ

ทองเท่ียว การคา และการลงทุนรวมกัน

๓.๒.๑ การดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจชายแดน อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ

ป ๒๕๔๒ – ๒๕๔๙

จังหวัดเชียงรายเปนหนึ่งในจังหวัดเปาหมายของแผนปฎิบัติการพัฒนาเมืองชายแดนหลัก ใน

๒๐ เมือง ๑๓ จังหวัด เม่ือป ๒๕๔๒ (ป ๒๕๔๒ – ๒๕๕๑) จากนั้นคณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันท่ี ๑๙ มีนาคม

๒๕๔๕ ใหพ้ืนท่ี ๓ อําเภอชายแดนของจังหวัดเชียงราย คือ อําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ เปนพ้ืนท่ีนํา

รองภายใตยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองชายแดน ท่ีจัดทําข้ึนโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ (สศช.) เพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีการลงทุนรวมระหวางประเทศ ในลักษณะเขตเศรษฐกิจพิเศษ

ชายแดน โดยกําหนดบทบาท ๓ เมืองชายแดนจังหวัดเชียงราย ดังนี้

อําเภอแมสาย เปนศูนยกลางการคา บริการ และการทองเท่ียว และเปนประตูเชื่อมโยง

การคา อําเภอเชียงแสน เปนประตูการคาเชื่อมกับจีนตามลําน้ําโขง และศูนยกลางเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือ

พัฒนาเปนฐานการผลิตดานอุตสาหกรรมของเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ อําเภอเชียงของ เปนพ้ืนท่ีท่ีอยูใน

เสนทางถนนเชือ่มโยงไปจีนโดยผาน สปป.ลาว และพัฒนาเปนเขตนิคมอุตสาหกรรมเกษตรครบจงจร

ตอมาเม่ือวันท่ี 7 กุมภาพันธ 2549 คณะรัฐมนตรีมีมติใหการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศ

ไทยจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมท่ีอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย บริเวณตําบลสถาน และ ตําบลศรีดอนชัย ใน

พ้ืนท่ีประมาณ 16,000 ไร ตอมาไดปรับพ้ืนท่ีคงเหลือพ้ืนท่ี ๖,๒๕๐ ไร โดยเนนอุตสาหกรรม 1) แปรรูปเกษตร

และอาหาร 2) อัญมณีและเครื่องประดับ 3) สิ่งทอข้ันปลาย 4) บริการขนสง 5) เครื่องใช ไฟฟา/electronics

6) ยา/เครื่องสําอางสมุนไพร 7) อุปกรณและเครื่องจักรกลการเกษตร 8) หัตถกรรม/OTOP และ 9) แปรรูปไม

และการพิมพ

Page 7: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๖

๓.๒.๒ การดําเนนิการเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน

พ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกจิพิเศษเชียงราย

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) เห็นชอบใหจังหวัดเชียงรายเปนเขต

เศรษฐกิจพิเศษ ระยะท่ี ๒ ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๒๑ ตําบล ๓ อําเภอ ในอําเภอแมสาย อําเภอเชียงแสน และอําเภอ

เชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยมีเนื้อท่ีรวมถึง 952,266.46 ไร คิดเปนรอยละ ๑๓ ของพ้ืนท่ีจังหวัด และถือ

วามีขนาดพ้ืนท่ีมากท่ีสุด เม่ือเทียบกับพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษท้ัง ๑๐ จังหวัด

แผนท่ี ๓.๓ เขตเศรษฐกจิพิเศษเชียงราย

ท่ีมา: คูมือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

เปาหมายดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) กําหนดใหเขต

เศรษฐกิจพิเศษเชียงรายเปน“ศูนยกลางการคา การทองเท่ียว และโลจิสติกส” โดยมีตัวอยางกิจการเปาหมาย

ท้ังหมด 10 กิจการ ท่ี กนพ. กําหนดไว

บริษัทปญญา คอนซัลแตนท จํากัด ไดจัดทํารายงานเสนอสํานักงานจังหวัดเชียงราย ตาม

โครงการสงเสริมและพัฒนาดานการคา การลงทุนเชื่อมโยงสูอาเซียน โดยในรายงานไดระบุถึงศักยภาพของ

Page 8: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๗

จังหวัดเชียงรายเอาไววา “จังหวัดเชียงรายเปนพ้ืนท่ีเศรษฐกิจสําคัญของประเทศไทย มีศักยภาพท้ังดานการ

ทองเท่ียว การคาชายแดน การลงทุน และบริการโลจิสติกส ดังจะเห็นไดจาก มีตําแหนงท่ีตั้งอันเปนศูนยกลาง

ของอนุภูมิภาค มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ีสวยงาม มีจุดเดนในดานศิลปะ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต

เปนแหลงผลิตสินคาเกษตร มีความพรอมทางดานโครงสรางพ้ืนฐาน ผูประกอบการในพ้ืนท่ีมีความรู

ความสามารถทางดานการคา และมีความเขมแข็งของภาคประชาชน”

สําหรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในระดับพ้ืนท่ีอําเภอแมสาย เชียงแสน และเชียงของ ได

มีการกําหนดพ้ืนท่ี วิเคราะหศักยภาพ และกําหนดแนวทางการพัฒนา เอาไวดังนี้

๑) เขตเศรษฐกิจพิเศษอําเภอแมสาย

เมืองการคาและการเงิน กิจกรรมหลักประกอบดวย พ้ืนท่ีการคาของผูประกอบการทองถ่ิน

พ้ืนท่ีรานคาปลอดภาษี พ้ืนท่ีธุรกรรมการเงินระหวางประเทศ พ้ืนท่ีศูนยขอมูลการคาการลงทุนพ้ืนท่ีรวบรวม

และกระจายสินคา พ้ืนท่ีแสดงสินคาทองถ่ิน/นานาชาติพ้ืนท่ีหองประชุมสัมมนา สวนกิจกรรมรองประกอบดวย

พ้ืนท่ีศูนยขอมูลการทองเท่ียวโรงแรม รานอาหาร

๒) เขตเศรษฐกิจพิเศษอําเภอเชียงแสน

เมืองทองเท่ียวเชิงคุณภาพ กิจกรรมหลักประกอบดวย พ้ืนท่ีการคาของผูประกอบการ

ทองถ่ิน พ้ืนท่ีศูนยขอมูลการทองเท่ียวเชิงคุณภาพ พ้ืนท่ีแสดงศิลปวัฒนธรรม/หัตถกรรม พ้ืนท่ีศูนยฟนฟูสุขภาพ

พ้ืนท่ีโรงแรม/โฮมสเตย พ้ืนท่ีศูนยการคาและอาหาร ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานและวิชาชีพข้ันสูง (สถาบันอบรม

ฝมือแรงงานนานาชาติเดิม) กิจกรรมรองคือพ้ืนท่ีธุรกรรมการเงิน

๓) เขตเศรษฐกิจพิเศษอําเภอเชียงของ

เมืองโลจิสติกสและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีกิจกรรมหลัก ประกอบดวย พ้ืนท่ีนิคม

อุตสาหกรรมโลจิสติกส พ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พ้ืนท่ีรวบรวมและกระจายสินคาระหวางประเทศ พ้ืนท่ี

คลังสินคา พ้ืนท่ีหองประชุมสัมมนา พ้ืนท่ีศูนยกลางรับซ้ือสินคาเกษตร กิจกรรมรอง ประกอบดวย พ้ืนท่ีศูนย

ขอมูลการทองเท่ียว พ้ืนท่ีศูนยการคาและอาหาร พ้ืนท่ีธุรกรรมการเงิน

การจัดหาท่ีดิน

การจัดหาท่ีดินเพ่ือดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ลาสุดท่ีประชุม

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ครั้งท่ี ๑/๒๕๕๙ เม่ือวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๙

เห็นชอบกําหนดแปลงท่ีดิน ๓ แปลง ใน ๓ อําเภอ ไดแก ๑) ท่ีเลี้ยงสัตวสาธารณประโยชนบานทุงง้ิว ๕๓๑ ไร

ตําบลสถาน อําเภอเชียงของ เปนพ้ืนท่ีใชประโยชนรวมกันของชาวบานในพ้ืนท่ี ๒) ท่ีดินในเขตปฎิรูปท่ีดิน ๖๕๑

ไร ตําบลบานแซว อําเภอเชียงของ เปนพ้ืนท่ีเพาะปลูกของชาวบาน ๓) ท่ีราชพัสดุโรงงานยาสูบ ๘๗๐ ไร ตําบล

โปงผา อําเภอแมสาย เปนพ้ืนท่ีท่ีมีชาวบานใชเพาะปลูกยาสูบ รวมเนื้อท่ีท้ังหมด ๒,๐๕๒ ไร

Page 9: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๘

๓.๓ เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

จังหวัดหนองคายเปนอีกหนึ่งจังหวัดชายแดนเปาหมายสําคัญทางยุทธศาสตรของประเทศไทย จากการเปนประตูการคาในการเชื่อมโยงประเทศเพ่ือนบาน ไดแก สปป.ลาว เวียดนามตอนบน และจีนตอนใต อีกท้ังยังเปนจังหวัดท่ีมีมูลคาการคาชายแดนกับสปป.ลาวสูง เม่ือเทียบกับจังหวัดของไทยท่ีมีการคาชายแดนกับ สปป.ลาว ท้ังนี้ จังหวัดหนองคายตั้งอยูตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North Southern Economic Corridor : NSEC) และยังตั้งอยูบนแนวระเบียงทางเศรษฐกิจตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ภายใตกรอบ GMS

นอกจากนี้ กรอบเศรษฐกิจท่ีสําคัญท่ีมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดหนองคายอีกกรอบหนึ่ง คือ กรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจรอบอาวเปยปู (Pan-Beibu Gulf Economic Cooperation : PBGEC) ซ่ึงประกอบดวยประเทศจีน เวียดนาม ไทย มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนนีเซีย ฟลิปปนส และบูรไน โดยภายใตกรอบความรวมมือดังกลาวจีนไดผลักดันระเบียงเศรษฐกิจหนานหนิง-สิงคโปร (Nanning-Singapore Economic Corridor) เขาสูแผนงานสนับสนุนเงินทุนความรวมมือทางการลงทุนจีน-อาเซียน เพ่ือสงเสริมการคา โลจิสติกส การทองเท่ียว และการคมนาคมครอบคลุม ๗ ประเทศ ๕ เมืองหลวง คือ จีน (เมืองหนานหนิง)-เวียดนาม (กรุงฮานอย)-สปป.ลาว (นครเวยีงจันทน)-กัมพูชา (กรุงพนมเปญ)-ไทย (กรุงเทพมหานคร)-มาเลเซีย (กรุงกัวลาสัมเปอร) และสิงคโปร ภายใตกรอบความรวมมือนี้ กระทรวงการรถไฟแหงประเทศจีน ไดนําเสนอแนวทางการเชื่อมตอทางรถไฟนครหนางหนิง-สิงคโปร (Nanning-Singapore Railways) เชื่อมตอนครหนานหนิง-กรุงฮานอย-นครเวียงจันทน-กรุงเทพฯ-กรุงกัวลาลัมเปอร และสิงคโปร

โดยประเทศไทยจะรวมมือกับจีนและสปป.ลาว ในการดําเนินโครงการรถไฟฟาความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว-ไทย ซ่ึงรัฐบาลไดสนับสนุนการกอสรางเสนทางรถไฟตามยุทธศาสตรการเชื่อมโยงโครงขายเสนทางรถไฟในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ภายใตกรอบ GMS ซ่ึงเปนความรวมมือในดานการพัฒนากิจการรถไฟระหวางไทยกับจีน โดยไทยทําการพัฒนาทางรถไฟกรุงเทพฯ-หนองคาย ซ่ึงเปนเสนทางท่ีเชื่อมตอไปยัง สปป.ลาว และมณฑลยูนนานทางตอนใตของจีน3

4

จังหวัดหนองคายจึงเปนหนึ่งในพ้ืนท่ีเปาหมาย 1 ใน ๑๐ เขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย เนื่องจากเปนจังหวัดท่ีมีท่ีทําเลท่ีตั้งตามแนวระเบียงเศรษฐกิจสําคัญของภูมิภาคแมน้ําโขงท่ีสามารถเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ และคมนาคมขนสง ระหวางประเทศในอนุภูมิภาคแมน้ําโขง และประเทศในกลุมอาเซียนท่ีมีชายแดนติดกับประเทศไทยอยางมาเลเซีย และสิงคโปร

๓.๓.๑ การดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย ป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน

พ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกจิพิเศษหนองคาย

4 เรวดี แกวมณี, สํานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.) บทความ “๓ จังหวัดชายแดนอีสาน..ฐานการผลิตใหมท่ีนาจับตามอง” เขาถึงใน www.oie.go.th/sites/default/files/.../northeast_three_provinces.pdf

Page 10: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๖๙

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) เห็นชอบใหจังหวัดหนองคายเปนพ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ระยะท่ี ๒ ครอบคลุมพ้ืนท่ี 13 ตําบล ใน 2 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองหนองคาย อําเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย รวมเนื้อท่ี ๒๙๖,๐๔๒ ไร คิดเปนรอยละ ๑๕.๖๕ ของพ้ืนท่ีจังหวัด

แผนท่ี ๓.๔ เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

ท่ีมา: คูมือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

อยางไรก็ดี เปนท่ีนาสังเกตวา แมรัฐบาลจะกําหนดใหเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย อยูใน

ระยะท่ี ๒ แตการดําเนินการกลับมีการรวบรัดดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคายพรอมกับพ้ืนท่ีเปาหมาย

ระยะแรกอีก ๕ จังหวัด

เปาหมายดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) กําหนดใหเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

ไปในทิศทาง “การคาระหวางประเทศ การทองเท่ียว การขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ”4

5 โดยมีตัวอยาง

กิจการเปาหมายท้ังมด 5 กิจการ ตามท่ี กนพ. กําหนด

5 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ 2559 “เขตพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย”http://www.nesdb.go.th/esdps/data/1%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%9A/BROCHURET%20(THAI%2029%20%E0%B8%A1.%E0%B8%84.2559).pdf

Page 11: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๐

เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย ตั้งเปาหมายใหเปนศูนยกลางการขนสงและโลจิสติกส

ศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร อุตสาหกรรมทองเท่ียว ซ่ึงการดําเนินการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ

พิเศษหนองคาย ไดมีการดําเนินการและกําหนดแนวทางดําเนินการ เอาไวดังนี้

๑) อําเภอเมืองหนองคาย คณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ไดมี

ประกาศเม่ือวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ จัดตั้งเขตอุตสาหกรรมกรรมท่ัวไป นิคมอุตสาหกรรมหนองคาย ในทองท่ี

ตําบลโพนสวาง บนเนื้อท่ี 2,960ไร เปนพ้ืนท่ีโครงการกอสรางนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทนาคา คลีน

เพาเวอร ท่ีไดรับการอนุมัติสนับสนุนการลงทุนจากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) มาตั้งแตป

๒๕๕๖ (วันท่ี 26 ธันวาคม) นิคมอุตสาหกรรมดังกลาวเปนการรวมลงทุนระหวางผูลงทุนจากประเทศจีน 70%

และไทย 30% ตามแผนดําเนินโครงการจะแบงออกเปน 3 ระยะ บนพ้ืนท่ี ๓ หม่ืนไร โดยระยะท่ี 1 ลงทุนบน

เนื้อท่ี 2,960 ไร ใชงบลงทุนกวา 6,000 ลานบาท ในการกอสรางระบบสาธารณูปโภคตางๆ รองรับโรงงาน

ประมาณ 50-60 โรงงาน สวนระยะท่ี 2 เตรียมพ้ืนท่ีไวประมาณ 3,000 ไร ใชงบลงทุนประมาณ 6,000

ลานบาท และระยะท่ี 3 มีพ้ืนท่ี 24,000 ไร ใชงบลงทุน 18,000 ลานบาท โดยในเฟสท่ี 2 และ 3 จะเริ่ม

พัฒนาไดในป 2559 จะเนนในการกอสรางเปนนิคมอุตสาหกรรมบริการ เชน ธุรกิจโลจิสติกส คลังสินคา

ธุรกิจโรงพยาบาล การทองเท่ียว เปนตน และธุรกิจดานการเงิน ในอนาคตจะขยายรวมไปถึงการสรางเมืองใหม

เพ่ือรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในบริเวณนี้ 6

6 ขาวออนไลน วันท่ี ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ เขาถึงท่ี http://www.thailand-china.com/Home/TotalNews/newsthai/2009-GDP-target-improved-%283449%29.aspx?lang=th-TH

Page 12: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๑

แผนท่ี ๓.๕ แสดงท่ีตั้งนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดหนองคาย ในทองท่ีตําบลโพนสวาง อําเภอเมืองหนองคาย

พ้ืนท่ีตั้งของนิคมอุตสาหกรรมหนองคาย

ตั้งอยูในบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา

เศรษฐกิจพิเศษท่ี ๒/๒๕๕๘ (วันท่ี ๒๔ เมษายน

๒๕๕๘) ในทองท่ีตําบลโพนสวาง อําเภอเมือง

หนองคาย จังหวัดหนองคาย และ

คณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหง

ประเทศไทย มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมหนองคาย ในทองท่ี

ตําบลโพนสวาง อําเภอเมืองหนองคาย จังหวัด

หนองคาย ลงวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ภายใน

แนวเขตตามแผนท่ีทายประกาศ เนื้อท่ีประมาณ

๒,๙๖๐ ไร

การใชประโยชนท่ีดิน ในพ้ืนท่ีโครงการ

นิคมอุตสาหกรรม ตําบลโพนสวาง อําเภอเมือง

จังหวัดหนองคาย เนื้อท่ี 2,960-2-81.60 ไร

ประกอบดวย 1. พ้ืนท่ีท่ีกอใหเกิดรายได 2,205-1-35.60 ไร 2. พ้ืนท่ีระบบสาธารณูปโภค 458-1-46 ไร

และ 3. พ้ืนท่ีสีเขียวและแนวกันชน 297-0-00 ไร

๒) อําเภอสระใคร บริเวณตําบลชุมชนสระใคร กําหนดใหเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร

ประกอบดวย อุตสาหกรรมผลิตและคลังสินคา กิจการทางการเกษตรกรรมและกิจกรรมแปรรูปสินคาจาก

การเกษตร กิจการศูนยกระจายสินคาในประเทศระหวางประเทศ

การจัดหาท่ีดิน

การจัดการท่ีดินเพ่ือดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย คสช. ไดมีคําสั่ง คสช. ท่ี ๑๗/

๒๕๕๘ ใหท่ีดินในทองท่ีตําบลสระใคร อําเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย เฉพาะภายในแนวเขตตามแผนท่ี

หมายเลข ๕/๘ ทายคําสั่ง เนื้อท่ี ๗๑๘ ไร โดยใหมีผลเปนการถอนสภาพท่ีดินอันเปนสาธารณะสมบัติของ

แผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน และกําหนดใหท่ีดิน เนื้อท่ี ๒,๙๖๐ ไร ในทองท่ีตําบลโพนสวาง อําเภอเมือง

หนองคาย ตามแผนท่ีหมายเลข ๘/๘ ทายคําสั่ง เปน “พ้ืนท่ีพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” และไมอยูภายใตขอบังคับ

Page 13: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๒

ขอกําหนดเก่ียวกับการใชประโยชนท่ีดินตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม ท้ังนี้ จนกวาจะมีการจัดทําผัง

เมืองรวมข้ึนใชบังคับสําหรับท่ีดินอันเปนพ้ืนท่ีพัฒนาหลังจากมีการจัดตั้งพ้ืนท่ีพัฒนาแลว 7

และเนื่องจากพ้ืนท่ีจังหวัดหนองคายจะมีโครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย -ลาว-จีน พาดผาน

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) จึงมีมติเม่ือวันท่ี 19 มกราคม 2558 ใหกรมโยธาธิ

การและผังเมืองวางผังใชประโยชนท่ีดินเพ่ิมเติมอีก ๙ ตําบล ใน 3 อําเภอ ไดแก ตําบลวัดหลวง จุมพล กุดบง

ในอําเภอโพนพิสัย ตําบลกองนาง โพนสา ทาบอ ในอําเภอทาบอ และตําบลบานหมอ พระพุทธบาท พานพราว

ในอําเภอศรีเชียงใหม รวมพ้ืนท่ีเพ่ิมเติม 1,059.9 ตร.กม. หรือ ๖๖๒,๔๓๗.๕ ไร เพ่ือรองรับการลงทุนฐานการ

ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร โดยไดวาจางบริษัทท่ีปรึกษา คอนซัลแทนท ออฟเทคโนโลยี จํากัด

ทําการศึกษาวางและจัดทําผังเมืองรวมจังหวัดหนองคาย (ตั้งแต 24 ธันวาคม 2558- 18 กันยายน 2559)

ซ่ึงมีเปาหมายเปนการวางผังเมืองในอนาคตระยะเวลา 20 ป โดยไดขยายเขตผังเมืองรวมใหครอบคลุมพ้ืนท่ี

เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย และความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ท้ังการวางผังท่ีอยูอาศัย พาณิชย-

กรรม อุตสาหกรรม การเกษตรกรรม การคมนาคมขนสง และดานสาธารณูปการ

๓.๔ เขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

จังหวัดนครพนมตั้งอยูในเสนทางแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North Southern

Economic Corridor : NSEC) และแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic

Corridor : EWEC) ภายใตกรอบ GMS ท่ีผานมาตั้งแตเปดสะพานขามแมน้ําโขงแหงท่ี ๓ (นครพนม-คํามวน)

เม่ือป ๒๕๕๔ จังหวัดนครพนมไดกลายเปนจังหวัดท่ีไดรับการจับตามองวาเปนพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม และกําลังจะ

กลายเปนศูนยกลางทางการคาและการลงทุน การขนสง และการทองเท่ียวระหวางประเทศ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ี

ภาคอีสานตอนบนของไทยซ่ึงสามารถเชื่อมโยงกับภาคกลางของสปป.ลาว และภาคกลางของเวียดนาม

ตลอดจนเชื่อมโครงขายถึงประเทศจีน เนื่องจากจังหวัดนครพนมอยูในแนวเสนทางการคาสายใหมตามเสนทาง

R ๑๒ ท่ีสามารถเชื่อมโยงผานลาว-เวียดนาม-จีน นอกจากท่ีจะใชเปนเสนทางการคา การลงทุน การบริการแลว

เสนทาง R ๑๒ ถือวาเปนเสนทางยุทธศาสตรดานการขนสงทางบกท่ีสําคัญและสอดคลองกับยุทธศาสตรการ

พัฒนาของประเทศจีนท่ีรุกลงใต โดยภาคอีสานของไทยคือเปาหมายท่ีสําคัญของจีนในการเปดประตูลงสูใตของ

อาเซียน7

8

7 ตามคําสั่ง คสช. ท่ี ๑๗/๒๕๕๘ “พ้ืนท่ีพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” ตามคําสั่ง คสช. ท่ี ๑๗/๒๕๕๘ หมายถึง พ้ืนท่ีภายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามคําสั่ง คสช. ท่ี ๗๒/๒๕๕๗ กําหนดข้ึนเพ่ือใชพัฒนาอุตสาหกรรม การพาณิชย การทองเท่ียว หรือการอ่ืนท่ีเปนประโยชนตอการจัดใหมีหรือสงเสริมใหเกิดเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และหมายความรวมถึงพ้ืนท่ีของนิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยท่ีอยูภายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษดวย 8 เรวดี แกวมณี, อางแลว

Page 14: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๓

๓.๔.๑ การดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม ป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน 8

9

พ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกจิพิเศษนครพนม

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กําหนดใหพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนมไวในระยะท่ี ๒ ซ่ึงประกาศครอบคลุมพ้ืนท่ี ๑๓ ตําบล ๒ อําเภอ รวมเนื้อท่ี ๗๔๔.๗๙ ตารางกิโลเมตร หรือ ๔๖๕,๔๙๓.๗๕ ไร คิดเปนรอยละ ๑๓.๗๘ ของพ้ืนท่ีจังหวัด ประกอบดวย

(1) อําเภอเมืองนครพนม มี ๑๐ ตําบล ไดแก ตําบลอาจสามารถ ตําบลหนองแสง ตําบลในเมือง ตําบล

หนองญาติ ตําบลทาคอ ตําบลนาราชควาย ตําบลนาทราย ตําบลโพธิ์ตาก ตําบลบานผึ้ง และตําบล

กุรุคุ

(2) อําเภอทาอุเทน ๓ ตําบล ไดแก ตําบลโนนตาล,ตําบลเวินพระบาท, ตําบลรามราช

แผนท่ี ๓.๖ เขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

ท่ีมา: คูมือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

9 ขอมูลจากฐานขอมูลเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดนครพนม http://dopanakhonphanom.com/sez/infosez.php

Page 15: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๔

เปาหมายดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

เขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม ตั้งเปาหมายดําเนินการใหเปนศูนยกลางการขนสงและโลจิ

สติกส เมืองผลิตอาหารปลอดภัยและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร และเมืองทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม

การจัดหาท่ีดิน

การจัดหาท่ีดินเพ่ือดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม คณะอนุกรรมการดานการจัดหา

ท่ีดินและบริหารจัดการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มีมตเิห็นชอบพ้ืนท่ีดินของรัฐ เม่ือวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๕๘

จํานวน ๖ แปลง ในพ้ืนท่ี ๒ อําเภอ คือ อําเภอเมืองนครพนม และอําเภอทาอุเทน รวมเนื้อท่ี ๘,๐๒๘ ไร ในนั้น

เปนท่ีดินรัฐประเภทท่ีสาธารณประโยชน ๓,๓๒๘ ไร และท่ีราชพัสดุ ๔,๗๐๐ ไร

แผนท่ี ๓.๗ แสดงพ้ืนท่ีรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

ตาราง ๓.๑ แสดงประเภทท่ีดินรัฐ พ้ืนท่ีรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

พ้ืนท่ีรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประเภทท่ีดินรัฐ เนื้อท่ี (ไร) ๑) ท่ีสาธารณประโยชน “โคกภูกระแต” ต. อาจสามารถ อ.เมือง จ.นครพนม

น.ส.ล. เลขท่ี ๗๙๔๑ ออกเม่ือวันท่ี ๘ กุมภาพันธ ๒๕๒๑

๒,๔๑๘ *

๒) ทําเลเลี้ยงสัตวบานนาหัวบอ บ. นาหัวบอ ต. อาจสามารถ อ.เมือง จ.นครพนม

น.ส.ล. เลขท่ี ๔๑๘๑๑ ออกเม่ือวันท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๒

๓๘๘

Page 16: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๕

๓) ท่ีราชพัสดุขางสนามบินนครพนม ต.นาทราย อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม

ทะเบียนท่ีราชพัสดุ นพ. ๑๒๔๙ น.ส.ล. เลขท่ี ๔๘๖๖ ออกเม่ือวันท่ี ๖ กุมภาพันธ ๒๕๑๙

๔,๕๐๐ **

๔) ท่ีสาธารณประโยชน “ทําเลเลี้ยงสัตวสาธารณประโยชน” ต.นาราชควาย อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม

น.ส.ล. เลขท่ี ๔๐๙๗๒ ออกเม่ือวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๓๒

๓๐๓

๕) ท่ีราชพัสดุ “หนองญาติ” ต.หนองญาติ อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม

น.ส.ล. เลขท่ี ๐๐๓๘ ๒๐๒

๖) ท่ีสาธารณประโยชน “บะมนสาธารณประโยชน” ต.เวินพระบาท อ.ทาอุเทน จ.นครพนม

น.ส.ล. เลขท่ี นพ. ๑๖๖๕ ออกเม่ือ วันท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๒

๒๑๙

หมายเหตุ: * เนื้อท่ีตาม น.ส.ล. รวม ๒,๙๓๘ ไร หนวยราชการขอใชประโยชน ๕๒๐ ไร

** เนื้อท่ีรวม ๗,๙๕๖ ไร (กรมการบินขอและกองทัพอากาศใชประโยชน ๓,๔๕๖ ไร)

ท่ีมา: ฐานขอมูลเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดนครพนม

นอกจากนั้น ยังมีพ้ืนท่ีดินของรัฐ สําหรับเปนพ้ืนท่ีสํารองไวรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ

นครพนม รวมเนื้อท่ี ๖,๙๘๒ ไร แบงเปนพ้ืนท่ี ส.ป.ก. ๒ แปลง มีเนื้อท่ี ๑,๗๒๐ ไร และพ้ืนท่ีปาสงวนแหงชาติ

๕,๒๖๒ ไร ไดแก ๑) ท่ีดิน ส.ป.ก. ตําบลกุรุคุ อําเภอเมืองนครพนม เนื้อท่ี ๑,๑๙๕ ไร ปจจุบันมีประชาชนใช

ท่ีดินทําการเกษตรปลูกยางพารา และมันสําปะหลังเต็มพ้ืนท่ี ๒) ท่ีดิน ส.ป.ก. ตําบลบานผึ้ง อําเภอเมือง

นครพนม เนื้อท่ี ๕๒๕ ไร ปจจุบันมีประชาชนใชท่ีดินปลูกมันสําปะหลัง ๓) ปาสงวนแหงชาติปาดงเซกา ตําบล

รามราช อําเภอทาอุเทน เนื้อท่ี ๔,๕๒๑ ไร และ ๔) ปาสงวนแหงชาติปาดงเซกา ตําบลบานผึ้ง อําเภอเมือง

นครพนม เนื้อท่ี ๗๔๑ ไร

๓.๕ เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

จังหวัดมุกดาหาร เปนประตูสูอินโดจีนโดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงท่ี ๒ เชื่อมโยงกับ

แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ตามแผนงานการพัฒนาเสนทางการคมนาคมขนสงทางบกในแนวระเบียง

เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) ภายใตกรอง GMS และ ACMECS

ระหวางไทย ลาว พมา และเวียดนาม เพ่ือใหเปนเสนทางคมนาคมทางบกท่ีสั้นท่ีสุด มีตนทุนนอยท่ีสุด และเกิด

ประโยชนสูงสุด เพ่ือสงเสริมใหเกิดการขยายตัวทางดานการคา การลงทุนอุตสาหกรรม การทองเท่ียวและภาค

บริการ และเปนเสนทางเชื่อมโยงผานสปป.ลาว ผานแขวงสะหวันนะเขตไปออกทาเรือท่ีเมืองดานัง ประเทศ

เวียดนาม ทําใหจังหวัดมุกดาหารกลายเปนศูนยกลางทางการคาและพาณิชยกรรมของภาคอีสานอีกเมืองหนึ่ง

ของประเทศไทย จากกรอบความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง (GMS Cross-

Border Transport Agreement: GMS CBTA) ระหวางไทย สปป.ลาว และเวียดนาม ตามแนวเสนทางระเบียง

เศรษฐกิจ EWEC นอกจากนั้น จังหวัดมุกดาหารยังมีท่ีตั้งเชื่อมโยงกับพ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษในแขวงสะหวันนะ

เขต สปป.ลาว ซ่ึงมีความสําคัญทางเศรษฐกิจเปนอันดับ ๒ ของสปป.ลาว รองจากแขวงเวียงจันทน 9

10

10

เรวดี แกวมณี, อางแลว

Page 17: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๖

๓.๕.๑ การดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน

พ้ืนท่ีดําเนินการเขตเศรษฐกจิพิเศษมุกดาหาร

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กําหนดใหเขตเศรษฐกิจพิเศษ

มุกดาหาร อยูในระยะท่ี ๑ ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๑๑ ตําบล ๓ อําเภอ รวมเนื้อท่ี ๓๖๑,๕๔๒ ไร คิดเปนรอยละ ๑๓.๓

ของพ้ืนท่ีจังหวัด ดังนี้

(๑) อําเภอเมืองมุกดาหาร จํานวน ๕ ตําบล ไดแก ตําบลศรีบุญเรือง ตําบลมุกดาหาร ตําบลบางทราย

ใหญ ตําบลคําอาฮวน ตําบลนาสีนวน เนื้อท่ีรวม ๒๑๓,๐๗๘.๑ ไร

(๒) อําเภอหวานใหญ จํานวน ๔ ตําบล ไดแก ตําบลบางทรายนอย ตําบลชะโนด ตําบลหวานใหญ

ตําบลปงขาม เนื้อท่ีรวม ๙๐,๙๘๙.๔ ไร

(๓) อําเภอดอนตาล จํานวน ๒ ตําบล ไดแก ตําบลโพธิ์ไทร ตําบลดอนตาล เนื้อท่ีรวม ๕๗,๔๗๕.๐ ไร

แผนท่ี ๓.๘ พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

ท่ีมา: คูมือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

Page 18: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๗

เปาหมายดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) กําหนดใหพ้ืนท่ีเขต

เศรษฐกิจมุกดาหารเปน “ศูนยคาสงและขนสงหลายรูปแบบ” 10

11 โดยมีกิจการเปาหมาย ๕ กิจการ ตามท่ี

กนพ. กําหนด

เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ตั้งเปาหมายพัฒนาการคาและการลงทุนในพ้ืนท่ี ไดแก การ

สงเสริมสินคาท่ีมียอดการสงออกสูงลงทุนในพ้ืนท่ี การสงเสริมการลงทุนเพ่ือรองรับการผลิตภาคเกษตร และ

อุตสาหกรรมตอเนื่องจากการเกษตร และการสงเสริมการลงทุนในดานการบริการและการทองเท่ียว แนว

ทางการพัฒนาการคาและการลงทุนดังกลาว ปรากฎอยูในแผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร ป ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ ซ่ึง

ระบุไวดังนี้

1) การสงเสริมสินคาท่ีมียอดการสงออกสูงลงทุนในพ้ืนท่ี เพ่ือจูงใจในการลดคาใชจายในดานการ

ขนสง และคาใชจายท่ีเก่ียวของ ไดแก สินคาสงออก ๑๐ อันดับ อาทิ หนวยประมวลผล

อิเล็กทรอนิกสขอมูลในฮารดดิส มอเตอรสวนประกอบยานยนต น้ํามันเชื้อเพลิง ผลไมสด รถยนต

นั่ง แท็งกและสวนประกอบ อุปโภคบริโภคอ่ืนๆ ชิ้นสวนทําดวยพลาสติก แผนโลหะ และ

สวนประกอบหัวอานคอมพิวเตอร เปนตน

2) การสงเสริมการลงทุนเพ่ือรองรับการผลิตภาคเกษตร และอุตสาหกรรมตอเนื่องจากการเกษตร

เพ่ือสงเสริมการผลิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ไดแก การลงทุนเพ่ือเพ่ิม

ประสิทธิภาพการแปรรูปเกษตรจาก ขาว ออย มันสําปะหลัง ยางพารา การลงทุนตลาดกลาง

สินคาเกษตร คลงสินคาเกษตร รวมท้ังการพัฒนาอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีท่ีมีอยูแลวใหมีศักยภาพ

เพ่ิมข้ึน เชน อุตสาหกรรมผาฝาย ผาหมักโคลน ผาเย็บมือ เปนตน

3) การสงเสริมการลงทุนในดานการบริการและการทองเท่ียว เชน ศูนยการแพทยเอกชน เนื่องจาก

ปจจุบันลูกคาสวนใหญมาจากประเทศเพ่ือนบานมาใชบริการโรงพยาบาลเอกชนในจังหวัดอยูแลว

การลงทุนในมหาวิทยาลัยนานาชาติ การลงทุนในภาคการบริการโรงแรม หรือการลงทุนในกิจการ

อสัมหาริมทรัพย เปนตน

ท้ังนี้ เพ่ือลดตนทุนการขนสงสินคาและคาใชจาย ซ่ึงท่ีผานมาตองขนสงดวยระยะทางท่ียาว

ไกล จึงควรเลือกโอกาสท่ีมุกดาหารเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือสงเสริมการลงทุนในพ้ืนท่ีจังหวัดมุกดาหาร

สําหรับประเภทของการลงทุนควรจะประกอบไปดวยสินคาท่ีเคยสงออกในปริมาณสูง และการลงทุนเพ่ือ

สงเสริมการผลิตภาคเกษตรหรืออุตสาหกรรมการเกษตรเพ่ือใหประชาชนในพ้ืนท่ีไดรับประโยชนดวย ซ่ึงการ

ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารข้ึนอยูกับการจูงใจท่ีจะใหสิทธิพิเศษแกนักลงทุนในดานตางๆ เพ่ือลด

11 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ 2559 “เขตพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย”http://www.nesdb.go.th/esdps/data/1%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%9A/BROCHURET%20(THAI%2029%20%E0%B8%A1.%E0%B8%84.2559).pdf

Page 19: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๘

ตนทุนในการผลิตและขนสง การนําเขาวัตถุดิบ ภาษีท่ีเก่ียวของ รวมท้ังการลงทุนจัดซ้ือท่ีดินเพ่ือเปนท่ีตั้งของ

โรงงานหรือสถานประกอบการ (แผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร ป ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐)

การจัดหาท่ีดิน

การจัดหาท่ีดิน เพ่ือดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร คสช. ไดมีคําสั่งท่ี ๑๗/๒๕๕๘

เพิกถอนสภาพท่ีดินประเภทตางๆ ใหเปนท่ีราชพัสดุ รวมเนื้อท่ี ๒,๑๕๐ ไร ดังนี้ ๑) ปาไมถาวร เนื้อท่ีประมาณ

๑๘๗ ไร ๒ งาน ๒) พ้ืนท่ีปฎิรูปท่ีดิน เนื้อท่ีประมาณ ๘๗๗ ไร และ ๓) ท่ีดินสาธารณประโยชน เนื้อท่ีประมาณ

๑,๐๘๕ ไร ๒ งาน ท่ีดินดังกลาวมีประชาชนใชประโยชนอยูแลวเชนกัน

ท้ังนี้ ในพ้ืนท่ีท่ีกําหนดเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ๑๑ ตําบล ซ่ึงมีเนื้อท่ีรวม ๓๖๑,๕๔๒

ไร ในนั้นเปนท่ีดินของรัฐถึงรอยละ ๔๑.๓๔ และเปนท่ีดินท่ีมีเอกสารสิทธิ์รอยละ ๕๘.๗๓ ของเนื้อท่ีรวมท้ังหมด

อยางไรก็ดี แมวาท่ีดินท่ีเปนของรัฐจะมีสัดสวนสูง แตพ้ืนท่ีดังกลาวมีชุมชนอาศัยอยูอยางหนาแนน ทําใหทาง

จังหวัด (ผูวาราชการจังหวัด) เห็นวาอาจเปนอุปสรรคในการดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ จึงทําหนังสือสงไป

ยังรัฐบาลขอเพ่ิมเติมพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารอีก ๑๔ ตําบล และท่ีกําหนดไวเดิม ๑๑ ตําบล รวมเปน

๒๕ ตําบล ใน ๓ อําเภอ คือ อําเภอเมืองมุกดาหาร อําเภอหวานใหญ และอําเภอดอนตาล โดยอธิบายเหตุผล

การขอเพ่ิมเติมพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารไว ดังนี้ 11

12

“เนื่องจากเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ตามท่ีไดมีประกาศ จํานวน ๓ อําเภอ ๑๑ ตําบล เปน

พ้ืนท่ีบริเวณชุมชนชายแดน ซ่ึงมีผูคนอาศัยอยูหนาแนน พ้ืนท่ีเพ่ือการลงทุนคอนขางเหลือนอย ราคาท่ีดินถีบตัว

สูงข้ึนกวาความเปนจริงมาก เกรงวาจะเปนขอจํากัดในการหาพ้ืนท่ีสําหรับการลงทุนของนักลงทุน อันจะทําให

การลงทุนไมสามารถบังเกิดข้ึนไดตามวัตถุประสงค ประกอบกับพ้ืนท่ีบริเวณดังกลาวเปนพ้ืนท่ีชุมชนติดกับ

แมน้ําโขง ซ่ึงเปนแหลงน้ําดิบเพ่ือการผลิตน้ําประปา หากมีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมเกรงวาจะสงผลกระทบ

จากการปลอยน้ําเสีย กอใหเกิดปญหาตอคุณภาพแหลงน้ําดิบ รวมท้ังปญหามลภาวะท่ีจะเกิดข้ึนตามมาได”

๓.๖ สรุป

แมวาท่ีผานมาประเทศไทยจะยังไมมีการจัดตั้งพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษเหมือนกับประเทศ

เพ่ือนบาน อยางเชนใน สปป.ลาว กัมพูชา หรือสหภาพเมียนมาร แตประเทศไทยก็ไดเขาไปเปนสวนหนึ่งของ

การเชื่อมโยงเศรษฐกิจบริเวณชายแดนท่ีติดกับประเทศเพ่ือนบานมานับตั้งแตยุคทศวรรษท่ี ๒๕๔๐ อันเปนผล

จากการรวมมือภายใตกรอบขอตกลงทางเศรษฐกิจในภูมิภาคแมน้ําโขงและอาเซียน ท่ีสําคัญ คือโครงการ

พัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) ในป

๒๕๓๕ แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ในป ๒๕๓๖ และกรอบ

ความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (ACMECS: Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong

Economic Cooperation Strategy) ในป ๒๕๔๕

12

หนังสือดวนมาก ท่ี มห ๐๐๒๒/๑๒๗๗ ลงวันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ ถึงปลัดกระทรวงมหาดไทย เรื่องขอเพ่ิมเติมพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

Page 20: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๗๙

ประเทศไทยไดดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนใหเปนประตูการคากับประเทศ

เพ่ือนบานท่ีมีชายแดนติดกับประเทศไทย ท้ังกับสปป.ลาว กัมพูชา สหภาพเมียนมาร และมาเลเซีย มีการขยาย

เสนทางคมนาคม การขนสง และดานศุลกากร เพ่ือเชื่อมโยงเศรษฐกิจการคากับประเทศในภูมิภาคแมน้ําโขง

รวมถึงจีน และทางชายแดนภาคใตติดกับประเทศมาเลเซีย ภายใตยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ

ดังกลาว

จากกรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ๕ จังหวัด ไดแก จังหวัดตาก เชียงราย หนองคาย

นครพนม และมุกดาหาร พบวา นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษในพ้ืนท่ีกรณีศึกษาดังกลาว มีพัฒนาการตอเนื่อง

จากการดําเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ซ่ึงรัฐบาลมีนโยบายและการดําเนินการในชวงทศวรรษท่ี

๒๕๔๐ – ๒๕๕๐ โดยมีพ้ืนท่ียุทธศาสตรนํารองท่ีอําเภอแมสอด จังหวัดตาก, อําเภอแมสาย เชียงแสน เชียงของ

จังหวัดเชียงราย ในภาคเหนือ (และอําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในภาคใต) สวนนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ

เกิดข้ึนในชวงทศวรรษ ๒๕๕๐ (เริ่มมีแนวคิดตั้งแตป ๒๕๔๗) โดยมีการดําเนินการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษข้ึน

เปนพ้ืนท่ีแรกท่ีอําเภอแมสอด จังหวัดตาก เพ่ือเปนพ้ืนท่ีนํารอง หรือ “แมสอดโมเดล” ในป ๒๕๕๓ เพ่ือเปน

ตนแบบท่ีจะขยายผลไปยังเขตเศรษฐกิจพิเศษในจังหวัดชายแดนอ่ืนๆ ในขณะท่ีอําเภอแมสาย เชียงแสน และ

เชียงของ จังหวัดเชียงราย ก็เปนอีกหนึ่งพ้ืนท่ีนํารองเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน แมจะไมมีการจัดตั้งเขต

เศรษฐกิจพิเศษเชนท่ีอําเภอแมสอด แตรัฐบาลก็มีแนวคิดท่ีจะตั้งนิคมอุตสาหกรรมท่ีอําเภอเชียงของมาตั้งแตป

๒๕๔๙

ในขณะท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จังหวัดหนองคาย นครพนม และ

มุกดาหาร ซ่ึงเปนจังหวัดท่ีตั้งเลียบแมน้ําโขงติดกับสปป.ลาว เปนพ้ืนท่ีเปาหมายทางยุทธศาสตร จากการเปน

ประตูการคาในการเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบาน และตั้งอยูตามแนวระเบียบเศรษฐกิจ ภายใตกรอบ GMS

ไดแก แนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต (North Southern Economic Corridor : NSEC) และแนวระเบียงทาง

เศรษฐกิจตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ผานจังหวัดหนองคาย และแนวระเบียงเศรษฐกิจ

ตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) ผานจังหวัดนครพนม และมุกดาหาร

เปาหมายการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในพ้ืนท่ีกรณีศึกษา ๕ จงัหวัด อันไดแก ๑) เขตเศรษฐกิจ

พิเศษตาก ตั้งเปาหมายใหเปน “ศูนยเปลี่ยนถายสินคาระหวางประเทศ/ เครือขายอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงาน

เขมขน” ๒) เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย ตั้งเปาหมายเพ่ือพัฒนาใหเปนฐานเศรษฐกิจและประตูการคา การ

ลงทุน อุตสาหกรรม และการทองเท่ียว ๓) เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย ตั้งเปาหมายใหเปนศูนยกลางการ

ขนสงและโลจิสติกส ศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร อุตสาหกรรมทองเท่ียว ๔) เขตเศรษฐกิจ

พิเศษนครพนม ตั้งเปาหมายดําเนินการใหเปนศูนยกลางการขนสงและโลจิสติกส เมืองผลิตอาหารปลอดภัย

และอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร และเมืองทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม และ ๕) เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

ตั้งเปาหมายเพ่ือการพัฒนาการคาและการลงทุนในพ้ืนท่ี ไดแก การสงเสริมสินคาท่ีมียอดการสงออกสูงลงทุน

ในพ้ืนท่ี การสงเสริมการลงทุนเพ่ือรองรับการผลิตภาคเกษตร และอุตสาหกรรมตอเนื่องจากการเกษตร และ

การสงเสริมการลงทุนในดานการบริการและการทองเท่ียว

ท่ีผานมาการดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ยังขาดขอมูลความชัดเจน เนื่องจากการ

ดําเนินการท่ีเรงรัด และรวบรัด โดยเฉพาะการจัดหาท่ีดิน แมวาจะมุงเนนไปท่ีดินท่ีเปนของรัฐ แตพ้ืนท่ีท้ังหมด

Page 21: บทที่...บทท ๓ การด าเน นนโยบายเขตเศรษฐก จพ เศษ กรณ ศ กษาจ งหว ดตาก เช ยงราย

๘๐

ลวนมีประชาชนอาศัยและทํากินอยูในพ้ืนท่ีแลว การขาดกระบวนการมีสวนรวมเพ่ือกําหนดทิศทางการพัฒนา

จากภาคสวนตางๆ ท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ี ไมวาจะเปนภาคธุรกิจ ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม การกําหนด

แนวทางดําเนินการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกรณีศึกษาท้ัง ๕ จังหวัด มาจากรัฐบาลสวนกลาง ซ่ึงเปนการ

ตัดสินใจจากบนลงลาง (Top down) โดยท่ียังไมมีงานศึกษาวาผลประโยชนท่ีเกิดข้ึนจะกระจายผลประโยชน

ไปสูทองถ่ิน และลดความเหลื่อมล้ําในพ้ืนท่ีไดหรือไม เพียงใด ขอสังเกตท่ีเปนผลกระทบและปญหาท่ีเกิดข้ึน

จากการดําเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษจะอธิบายเพ่ิมไวในบทท่ี ๕ และ ๖