ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... ·...

14
ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที4 1 ายการที17 ประวัติศาสตร ตอนที4 โดย .วราภรณ ตันติวิวัฒน สถาบันกวดวิชา Pinnacle การปกครองเอเชียใต มาเลเซีย - เมื่อไดเอกราชมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา - ใชการปกครองแบบรัฐสภา มีกษัตริยเปนประมุขตั้งแตป 2489 - พรรคการเมืองที่เปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาลคือพรรคอัมโน สิงคโปร - แยกจากมาเลเซียป 2508 มีประธานาธิบดีเปนประมุข นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาฝายบริหาร ฟลิปปนส - ไดรับเอกราชจากสหรัฐฯ มีการปกครองแบบประธานาธิบดี มาจากการเลือกตั้ง บรูไน - เปนเอกราชป 2527 มีสุลตานเปนประมุข อินโดนีเซีย - ไดรับเอกราชจากเนเธอรแลนด ระยะแรกเปนประชาธิปไตย กําหนดอุดมการณรัฐ คือ หลักปญจศีล ที่มี ทหารบริหารประเทศ คือ นายพลซูการโน และถูกรัฐประหาร โดยนายพลซูฮารโต และถูกกดดันให ลาออกจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ลาว กัมพูชา เวียดนาม - เปนอาณานิคมของฝรั่งเศสที่เรียกอินโดจีน - เมื่อสิ้นสุดสงครามเวียดนามป 2518 ลาว เวียดนามเปน คอมมิวนิสต - เขมรภายใตการผลักดันของอาเซียนและ UNTAC หนวยงานของ UN จึงใหเขมร 3 ฝายตกลงที่ปารีส - การเลือกตั้ง (2535) ไดนายกรัฐมนตรี 2 คน คนที1 คือเจารณฤทธิคนที2 คือ ฮุนเซ็น - ความขัดแยงของ 2 นายกฯ ทําใหฮุนเซ็นยึดอํานาจเมื่อวันที7 .. 2540 - และไดเลือกตั้งใหมเมื่อ 25 .. 41 ใหฮุนเซ็นเปนผูนํา - เจารณฤทธิ์ดํารงตําแหนงประธานรัฐสภา - การเลือกตั้งครั้งที3 เมื่อ 27 .. 46 ฮุนเซ็นไดคะแนนมากที่สุด

Upload: others

Post on 22-Jun-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 1

ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 โดย อ.วราภรณ ตันติวิวัฒน

สถาบันกวดวิชา Pinnacle

รการปกครองเอเชียใต ♣ มาเลเซีย

- เมื่อไดเอกราชมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา

- ใชการปกครองแบบรัฐสภา มีกษัตริยเปนประมุขตั้งแตป 2489

- พรรคการเมืองที่เปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาลคือพรรคอัมโน

♣ สิงคโปร - แยกจากมาเลเซียป 2508 มีประธานาธิบดีเปนประมุข นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาฝายบริหาร

♣ ฟลิปปนส - ไดรับเอกราชจากสหรัฐฯ มีการปกครองแบบประธานาธิบดี มาจากการเลือกตั้ง

♣ บรูไน - เปนเอกราชป 2527 มีสุลตานเปนประมุข

♣ อินโดนีเซีย - ไดรับเอกราชจากเนเธอรแลนด ระยะแรกเปนประชาธิปไตย กําหนดอุดมการณรัฐ คือ หลักปญจศีล ที่มี

ทหารบริหารประเทศ คือ นายพลซูการโน และถูกรัฐประหาร โดยนายพลซูฮารโต และถูกกดดันให

ลาออกจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ

♣ ลาว กัมพูชา เวียดนาม - เปนอาณานิคมของฝรั่งเศสที่เรียกอินโดจีน

- เมื่อส้ินสุดสงครามเวียดนามป 2518 ลาว เวียดนามเปน คอมมิวนิสต

- เขมรภายใตการผลักดันของอาเซียนและ UNTAC หนวยงานของ UN จึงใหเขมร 3 ฝายตกลงที่ปารีส

- การเลือกตั้ง (2535) ไดนายกรัฐมนตรี 2 คน คนที่ 1 คือเจารณฤทธิ์ คนที่ 2 คือ ฮุนเซ็น

- ความขัดแยงของ 2 นายกฯ ทําใหฮุนเซ็นยึดอํานาจเมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2540

- และไดเลือกตั้งใหมเมื่อ 25 ก.ค. 41 ใหฮุนเซ็นเปนผูนํา

- เจารณฤทธิ์ดํารงตําแหนงประธานรัฐสภา

- การเลือกตั้งครั้งที่ 3 เมื่อ 27 ก.ค. 46 ฮุนเซ็นไดคะแนนมากที่สุด

Page 2: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 2

ตัวอยางขอสอบ การที่ประเทศตางๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดรับเอกราชมีสาเหตุสําคัญจากเหตุการณใด 1. สงครามโลกครั้งที่ 2

2. ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตจีน

3. ฝร่ังเศสพายแพเวียดนามที่เดียนเบียนฟู

4. หลักการกําหนดอนาคตตนเองของประธานาธิบดี วูดโร วิลสัน

ขอใดคือมูลเหตุสําคัญของความขัดแยงในตะวันออกกลาง 1. การตอสูเพื่อเอกราชของอาณานิคม และการกอต้ังประเทศอิสราเอล

2. ความขัดแยงในอุดมการณทางการเมือง และการทําสัญญาพันธมิตรทางทหาร

3. การแขงขันอิทธิพลของมหาอํานาจ และความแตกตางในระบบเศรษฐกิจ

4. การแยงดินแดนที่มีทรัพยากรธรรมชาติ และความขัดแยงทางเชื้อชาติศาสนา

♣ ญี่ปุน - ปฏิรูปสมัยเมจิ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พัฒนาประเทศเปนประเทศผูนําอุตสาหกรรม

- มีการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา รัฐสภาเรียกวา ไดเอต

- สภาทั้ง 2 มาจากการเลือกตั้ง มีรัฐธรรมนูญชาติแรกของเอเชีย (1889)

- ปจจุบันญี่ปุนมีรัฐบาล พรรค LDP ไดคะแนนเสียงมากสุด

♣ จีน - 1 ต.ค. 1949 เหมา เจอ ตง สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดการปกครองแบบคอมมิวนิสต

- ในป 1973 กอนเหมา เจอ ตง เสียชีวิต ประธานาธิบดี ริชารด นิกสัน เยือนจีน

- ป 1973 (2516) จีนไดเปนสมาชิกสหประชาชาติแทนไตหวัน สมัยเติ้ง เสี่ยว ผิง และเปนจุดเริ่มตนที่เติ้ง

ดําเนินการไดฮองกงคืนจากอังกฤษในป 1998 และไดมาเกาคืนป ค.ศ. 2000 จึงใชนโยบาย “หนึ่ง

ประเทศ สองระบบ” ในการปกครองดินแดนทั้งสอง

ตัวอยางขอสอบ ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหการปกครองระบอบโชกุนของญี่ปุนสิ้นสุดลง 1. การใชนโยบายเปดประเทศ

2. การขยายตัวของการคาระหวางประเทศ

3. การใชนโยบายรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง

4. ความแตกตางและความขัดแยงของชนชั้นตางๆ ในสังคม

Page 3: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 3

ขอใดเปนปจจัยที่ชัดเจนที่ทําใหญี่ปุนสามารถสรางตนเปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจไดเร็วมาก แมจะเปนฝายพายแพในสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ตาม 1. ชาวญี่ปุนมีจรรยาบรรณในการทํางานที่ดี 2. ญี่ปุนมีพื้นฐานโครงสรางทางเศรษฐกิจที่ดี

3. ชาวญี่ปุนมีความรูสึกชาตินิยมอยางรุนแรง 4. ญี่ปุนใชงบประมาณดานการปองกันประเทศนอย

ขอใดมิใชการเปลี่ยนแปลงในสังคมจีนหลังการปฏิวัติ ในค.ศ. 1911 1. เกษตรกรสามารถมีที่ดินทํากินเปนของตนเอง

2. จีนเปดประเทศและรับวิทยากรจากโลกภายนอก

3. ราชวงศแมนจูยังดํารงอยู แตไมมีอิทธิพลทางการปกครอง

4. รัฐบาลกลางไมสามารถควบคุมมณฑลตางๆ ที่อยูใตอํานาจ ขุนศึก

ความขัดแยงและการประสานประโยชนระหวางประเทศ

♣ ความขัดแยงระหวางประเทศ เกิดจากความแตกตางดานสังคม วัฒนธรรม แตกตางดานอุดมการณ

การเมือง การแขงขันดานอาวุธ และลัทธิชาตินิยม

♣ สงครามโลกครั้งที่ 1 ค.ศ. 1914-1918

- เกิดจากความขัดแยงของมหาอํานาจ

- แขงขันในทางเศรษฐกิจ

- แยงชิงอาณานิคม

- ความรูสึกชาตินิยม

♣ สหรัฐเขาสูสงคราม ค.ศ. 1917 เยอรมันเองเกิดการปฏิบัติลมราชวงศไกเซอร ประกาศเปนสาธารณรัฐ

♣ การยุติสงครามโลกครั้งที่ 1 - ยุติ 11 พ.ย. 1918 เยอรมันเปนฝายแพ

- สหรัฐอเมริกากาวเขาสูความเปนมหาอํานาจ

♣ ประธานาธิบดีวูดโร วิลสัน เสนอแผนการ 14 ขอ เพื่อจัดตั้งองคกรระงับกรณีพิพาท แตสหรัฐไมไดเปน

สมาชิกสันนิบาตชาติ เพราะรัฐสภาประกาศใชนโยบายไมยุงเกี่ยว (ลัทธิมอนโร)

♣ สันนิบาตชาติ - ถือกําเนิดจากมาตรา 1-26 ของสนธิสัญญาแวรซายส (1919)

- สํานักงานใหญอยูที่เจนีวา (ปราสาทสันติภาพ)

- เซอรอีริค ดรัมมอนด เปนเลขาธิการคนแรก

Page 4: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 4

♣ สาเหตุสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) คือ

- ความไมเปนธรรมของสนธิสัญญาแวรซายส

- ความแตกตางของอุดมการณการเมือง

- การแขงขันทางเศรษฐกิจ

- การขยายอาณานิคม

- การไมรวมมือของมหาอํานาจ

- ความลมเหลวของสันนิบาตชาติ

♣ สงครามเกิดเมื่อ 3 ก.ย. 1939 - เยอรมันเปนฝายชนะในระยะแรกจนสหรัฐฯ เขาเปนพันธมิตร (7 ธ.ค. 1941)

- เยอรมันยอมแพวันที่ 7 พ.ค. 1945

- ดานเอเชีย สหรัฐฯ เปนประเทศคูสงครามกับญ่ีปุน

- สหรัฐฯ ทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ ญี่ปุนจึงยอมแพวันที่ 14 ส.ค. 1945

ตัวอยางขอสอบ ขอใดไมไดแสดงถึงความขัดแยงระหวางประเทศที่มีอุดมการณทางการเมืองที่แตกตางกัน 1. สงครามเย็น 2. กําแพงเบอรลิน

3. สงครามอาวเปอรเซีย 4. เกาหลีเหนือ - เกาหลีใต

ในปจจุบันความขัดแยงที่เกิดขึ้นระหวางกลุมตางๆ ในโลกเกิดจากสาเหตุใดนอยที่สุด 1. ความเชื่อทางศาสนา 2. ชาติพันธุและวัฒนธรรม

3. ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ 4. อุดมการณทางการเมือง

สงครามโลกครั้งที่ 2 แตกตางจากสงครามโลกครั้งที่ 1 อยางชัดเจนในประเด็นใด 1. การเขารวมสงครามของสหรัฐอเมริกา 2. การขยายตัวของสมรภูมิและความรายแรงของอาวุธ

3. สหภาพโซเวียตไมไดเขารวมสงคราม 4. สามารถยุติความขัดแยงในสังคมโลกไดอยางจริงจัง

ประเทศใดที่พยายามหลีกเลี่ยงการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ดวยการผอนปรนกับกลุมประเทศอักษะ 1. สหภาพโซเวียต 2. ออสเตรีย

3. อังกฤษ 4. สหรัฐอเมริกา

Page 5: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 5

♣ สภาวะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ความตึงเครียดของสงครามเย็น การผอนคลาย

1. วาทะทรูแมน 1. ขอตกลงเฮลซิงกิ

2. แผนการมารแชลส 2. การลดอาวุธ

3. ตั้ง NATO, SEATO, WARSAW 3. หลักการนิกสัน

4. โครงการสตารวอร 4. เปเรซทรอยกา - กลาสนอตต

ตัวอยางขอสอบ ขอใดคือจุดเริ่มตนของสงครามเย็น 1. การตอตานการขยายตัวของลัทธิทุนนิยม

2. การแขงขันเพื่อสรางอาวุธนิวเคลียรของชาติมหาอํานาจ

3. การแกงแยงผลประโยชนทางเศรษฐกิจของชาติมหาอํานาจ

4. การตอสูดานอุดมการณระหวางกลุมประเทศเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต

โครงการ STAR WAR หรือโครงการปองกันทางยุทธศาสตรของสหรัฐอเมริกาเปนความริเริ่มในสมัยประธานาธิบดีทานใด 1. โรนัลด เรแกน 2. ริซารด เอ็ม นิกสัน

3. จิมมี คารเตอร 4. จอหน เอฟ เคนเนดี

เหตุการณใดไมมีสวนเกี่ยวของกับการคลี่คลายของสงครามเย็น 1. หลักการนิกสัน

2. โครงสรางสตารวอรของเรแกน

3. นโยบายอยูรวมกัน และแขงขันกันอยางสันติของครุสซอฟ

4. นโยบายกลาสนอสต และเปเรสทรอยกา ของกอรบาชอฟ

เหตุการณใดไมใชปจจัยที่นําไปสูการสิ้นสุดของสงครามเย็น 1. การเดินทางหลบหนีของพลเมืองในเยอรมนีตะวันออกมาสูเยอรมนีตะวันตก

2. การประกาศรวมเยอรมนีตะวันตกและตะวันออกใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

3. การประกาศใชนโยบายกลาสนอสตและเปเรสทรอยกาของมิฮาอิล กอรบาชอฟ

4. การเปลี่ยนผูปกครองของสหภาพโซเวียตจากมิฮาอิล กอรบาชอฟ เปนบอริส เยลตซิน

Page 6: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 6

ปจจัยการลมสลายของสหภาพโซเวียต 1. การดําเนินนโยบายการปฏิรูป โดยประธานาธิบดีมิกาอิล กอรบาชอพ

ใชนโยบายเปเรซทรอยกา - กลาสนอตต ป 1986 ปฏิรูปทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการตางประเทศ

เปนไปในลักษณะประชาธิปไตย

2. ความพยายามแยกตัวเปนอิสระของรัฐตางๆ

3. การเปลี่ยนแปลงในยุโรปตะวันออก เร่ิมเกิดขึ้นในป ค.ศ. 1989

4. ปญหาทางเศรษฐกิจ ป 1985 กอรบาชอพ ประกาศแผนเปเรซทรอยกา เปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจ

ปญหาเศรษฐกิจตกต่ําที่สะสมมาจากการใชระบบวางแผนจากสวนกลาง

ตัวอยางขอสอบ เหตุการณใดที่ถือวาเปนการสิ้นสุดของสมัยสงครามเย็น 1. การลมสลายของสหภาพโซเวียต

2. การทําลายกําแพงเบอรลิน

3. การทําสนธิสัญญาจํากัดอาวุธทางยุทธศาสตรระหวางสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต

4. การเปดสัมพันธไมตรีระหวางสหรัฐอเมริกากับสาธารณรัฐประชาชนจีน

การแกไขความขัดแยง การแกไขความขัดแยงมี 3 วิธี คือ

สันติวิธี วิธีทางการทูตและการเมืองโดยเจรจา, ใชคนกลาง

วิธีทางกฎหมาย

- การตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ตั้งป

1945 เปนองคกรหลักของสหประชาชาติ

วิธีการบังคับ

Retortion

Reprisal

แตไมใชความรุนแรง จะใชเมื่อวิธีแรกไมไดผล

* การตอบโต

- รีทอรชั่น ไมขัดตอกฎหมายระหวางประเทศ เชน ตัดสัมพันธทางการทูต การ

ยกเลิกสิทธิพิเศษเกี่ยวกับภาษีศุลกากร ลดการให GSP

- รีไพรซอล ทําไดหลายแบบ เชน การไมยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญา, การยึด

ทรัพยสินของรัฐผูกอความเสียหาย, การบอยคอตหรือการคว่ําบาตร, เอมบารโก

* การปดทะเลอยางสันติ เชน กรณีฝร่ังเศสปดอาวไทย

การใชกําลัง สงครามจํากัดขอบเขต เพื่อใหเกิดดุลยภาพแหงอํานาจ มุงยึดพื้นที่บางสวนที่

ตองการ หรือมุงประโยชนเฉพาะจุดประสงค เชน จีนสั่งสอนเวียดนาม ขับไลอิรัก

ออกจากคูเวต

สงครามเบ็ดเสร็จ เชน เยอรมันกอสงครามโลกครั้งที่ 2

Page 7: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 7

♣ องคการสหประชาชาติถือกําเนิดจากกฎบัตรแอตแลนติกจากการประชุมบนเรือออกุสตา

♣ องคกรหลักของสหประชาชาติมี 6 องคกร

- สมัชชา เปนที่ประชุมของผูแทนจากสมาชิกทั้งหมด

- คณะมนตรีความมั่นคง มีสมาชิก 15 ชาติ ประจํา 5 หมุนเวียน 10

สมาชิกประจํา VETO ได

- คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม

- คณะมนตรีภาวะทรัสตี

- ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ เปนตุลาการของสหประชาชาติ

- สํานักเลขาธิการ ปจจุบันคือ นายบันคีมูน ชาวเกาหลีใต คนที่ 8 (1 ม.ค. 2007)

องคกรหลัก 1. สมัชชาใหญ

ประเทศสมาชิกมีสิทธิ มีคะแนนประเทศละ 1 เสียง

หนาที่ – พิจารณารับสมาชิกใหม 2. คณะมนตรีความมั่นคง

จัดการเรื่องความมั่นคง ตัดสินวินิจฉัยขอพิพาทขัดแยงของสมาชิก

สมาชิก – สมาชิกถาวร 5 ประเทศ มีสิทธิยับยั้ง (Veto) ได ไดแก สหรัฐ อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซีย จีน 3. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม

แกปญหารับผิดชอบดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิทธิมนุษยชน และงานพัฒนาตางๆ 4. คณะมนตรีภาวะทรัสตี

ใหความคุมครองดูแลประเทศที่ยังไมไดรับเอกราช 5. ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ

อยูที่กรุงเฮก เนเธอรแลนด 6. สํานักเลขาธิการ

เลขาธิการ – สมัชชาเปนผูเลือกจากคําแนะนําของคณะมนตรีความมั่นคง วาระละ 5 ป

หนาที่ – ปฏิบัติงานตามที่สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคง 7. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน

สมาชิก 47 ประเทศ ตั้งสมัย โคฟ อันนัน

♣ การประชุมที่ดัมบารตันโอกส จัดตั้ง “องคการสหประชาชาติ”

การประชุมที่ซานฟรานซิสโก เปนการประชุมคร้ังสุดทายทุกประเทศใหสัตยาบัน

วันที่ 24 ต.ค. จึงถือเปนวันสหประชาชาติ

สํานักงานใหญอยูที่ ก.แมนฮัตตัน นิวยอรค

Page 8: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 8

ตัวอยางขอสอบ การแกไขความขัดแยงวิธีใดรุนแรงที่สุด 1. การใชมาตรการเอ็มบารโก 2. การตั้งศาลอนุญาโตตุลาการ

3. การเรียกผูแทนทางการทูตกลับประเทศ 4. การฟองศาลยุติธรรมระหวางประเทศ

สาเหตุของสงครามขอใดไมถูกตอง1. สงครามครูเสด เกิดขึ้นเพราะความขัดแยงทางศาสนา

2. สงครามระหวางอินเดียกับปากีสถานเกิดขึ้นเพราะความขัดแยงเรื่องดินแดน

3. สงครามเย็น เกิดขึ้นเพราะความขัดแยงดานอุดมการณคอมมิวนิสตและประชาธิปไตย

4. สงครามอาวเปอรเซีย เกิดขึ้นเพราะความขัดแยงทางการเมืองของสองอภิมหาอํานาจ

เหตุการณใดเกิดจากลัทธิกอการราย 1. นาซีส่ังฆาชาวยิวในเยอรมนี 2. เขมรแดงสังหารหมูประชาชนชาวเขมร

3. เวียดกงลอบโจมตีทหารอเมริกันในดานัง 4. ชาวอาหรับหัวรุนแรงลอบสังหารประธานาธิบดีอียิปตที่ไคโร

การประสานประโยชน การประสานประโยชน หมายถึง การตกลงทําขอผูกพันรวมกันในเรื่องระหวางประเทศ เพื่อ

เสริมสรางสันติภาพ

ตัวอยางขอสอบ การประสานประโยชนระหวางประเทศเกิดขึ้นไดเพราะเหตุใด 1. การสรางดุลแหงอํานาจและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ

2. การมีเชื้อชาติและศาสนาเดียวกัน

3. การตั้งอยูในภูมิภาคเดียวกันของโลก

4. การมีอุดมการณทางการเมืองเดียวกัน

ขอใดกลาวถึงองคการสันนิบาตชาติไมถูกตอง1. ศาลยุติธรรมระหวางประเทศเปนองคกรหนึ่งในสันนิบาตชาติ

2. ประธานาธิบดีวูดโรว วิลสัน เปนผูริเร่ิมกอต้ังองคการสันนิบาตชาติ

3. ประเทศมหาอํานาจทุกประเทศในขณะนั้นเปนสมาชิกขององคการสันนิบาตชาติ

4. องคการสันนิบาตชาติเกิดขึ้นจากคําแถลงการณ 14 ประการ ในการประชุมสันติภาพที่แวรซายส

ขอใดไมใชขอแตกตางระหวางองคการสหประชาชาติกับองคการสันนิบาติชาติ 1. การมีกองกําลังของตนเอง 2. การสามารถลงโทษผูละเมิดมติ

3. การบังคับใชมติขององคการ 4. การอาศัยการเจรจาเพื่อยุติความขัดแยง

Page 9: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 9

องคกร สาระสําคัญ

EU (EC) สหภาพยุโรปเดิมมีสมาชิก 15 ประเทศ ไดแก ฝร่ังเศส เยอรมัน เบลเยี่ยม

เนเธอรแลนด ลักเซมเบอรก เดนมารก อังกฤษ ไอรแลนด กรีซ สเปน โปรตุเกส

ออสเตรีย สวีเดน ฟนแลนด

สํานักงานใหญ – กรุงบรัสเซลส เบลเยี่ยม

1 ม.ค. 2007 – โรมาเนีย บัลแกเรีย สโลวีเนีย ประกาศใชเงินยูโร

องคกรอื่นเชน

NAFTA เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือมี สหรัฐ แคนาดา เม็กซิโก

G7 กลุมประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํา 7 ประเทศ ไดแก สหรัฐ ญี่ปุน อังกฤษ ฝร่ังเศส

เยอรมัน อิตาลี แคนาดา (รัสเซีย - G8)

ASEAN, AFTA

OPEC กลุมประเทศผูสงออกน้ํามัน มีสมาชิก 11 ประเทศ

ตัวอยางขอสอบ ขอใดคือสาระสําคัญของสนธิสัญญาแมสทริซต (Maastricht Treaty) 1. การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจและการเงิน 2. การรวมมือกันทางการเมือง การทหาร และความมั่นคง

3. การดําเนินนโยบายตางประเทศรวมกัน 4. การรวมกันบริหารทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด

องคการใดมีเปาหมายหลักในการสรางความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 1. ILO 2. NATO

3. OPEC 4. APEC

องคการการคาโลก (WTO) ต้ังขึ้นเพื่อแกไขปญหาการคาระดับนานาชาติในเรื่องใด 1. การคาที่ไมเปนธรรม 2. การกีดกันทางการคา

3. การอุดหนุนทางการคา 4. การทุมตลาดทางการคา

แนวโนมของความสัมพันธระหวางประเทศในอนาคตมีลักษณะอยางไร 1. ความขัดแยงทางการเมืองเนื่องจากอุดมการณจะเพิ่มข้ึน

2. การแขงขันทางเศรษฐกิจมีอัตราสูงขึ้น

3. การรวมมือทางทหารจะมีมากขึ้น

4. การสะสมอาวุธจะเพิ่มมากขึ้น

Page 10: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 10

การปฏิรูประบบราชการไทย ตั้งแตวันที่ 1 ต.ค. 2545 การแบงกระทรวงทบวงกรมใหม จะเกิดขึ้นโดยผานความเห็นชอบจาก

คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ (ปร.ร.) แลว มีการจัดแบงโครงสรางใหม จากเดิม 13 กระทรวง 1 ทบวง

125 กรม มาเปน 20 กระทรวง

หนวยงาน 20 กระทรวง ประกอบดวย 1. สํานักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวงกลาโหม

3. กระทรวงเกษตรและสหกรณ 4. กระทรวงอุตสาหกรรม

5. กระทรวงพาณิชย 6. กระทรวงตางประเทศ

7. กระทรวงทรัพยากรณธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 8. กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

9. กระทรวงพลังงาน 10. กระทรวงคมนาคม

11. กระทรวงการคลัง 12. กระทรวงสาธารณสุข

13. กระทรวงศึกษาธิการ 14. กระทรวงวัฒนธรรม

15. กระทรวงกีฬาและการทองเที่ยว 16. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

17. กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ 18. กระทรวงมหาดไทย

19. กระทรวงยุติธรรม 20. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ตัวอยางขอสอบ “ศักดินา” ในอดีตหมายถึงขอใด 1. สิทธิในการครอบครองที่ดิน 2. การไดรับบรรดาศักดิ์ของขุนนาง

3. การควบคุมกําลังคนของมูลนาย 4. การกําหนดสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบ

ตามสถานภาพในสังคม

ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับสามัญชนในโครงสรางชนชั้นของสังคมไทยดั้งเดิม 1. สตรีตองรับภาระดูแลบุตรหลานและประกอบอาชีพเลี้ยงดูครอบครัว

2. ผูที่บวชเปนพระภิกษุถาสึกออกมารับราชการจะมีสถานภาพที่สูงขึ้น

3. ชายฉกรรจตองถูกเกณฑแรงงานเพื่อเปนทหารหรือชวยงานราชการอื่นๆ

4. สถานภาพของบุคคลยึดถือตามชาติกําเนิดและสืบทอดตอไปถึงบุตร

สังคมไทยกอนสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะอยางไร 1. ตั้งแตพระมหากษัตริยจนถึงทาสตางมีศักดินาตั้งแต 100,000 ไร ถึง 5 ไร ลดหล่ันกันไป

2. ไพรและทาสอยูภายใตการควบคุมของพระมหากษัตริย เจานาย และขุนนาง

3. ชนชั้นไพรและทาสเปลี่ยนแปลงฐานะไมได แตพระมหากษัตริยและเจานายสามารถเปลี่ยนแปลงฐานะได

4. พอคาและผูที่มีความรูไดรับการยกยองอยางสูงในสังคม

Page 11: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 11

ทาสในขอใดที่ไมอาจไถถอนตนเองใหเปนอิสระได 1. นางสีถูกพอนํามาขายใชหนี้การพนันแกนายอากรเส็ง

2. นายหมองถูกจับเปนเชลยศึกคราวสงครามเกาทัพ

3. นายยิ้มขายตนเองแกขุนชางตอนนาลม

4. หลวงวิเศษมอบนางขําใหแกธิดาของตนเมื่อออกเรือน

ทาสรุนแรกที่กลายเปนไทคือรุนใด 1. รุนที่เกิดในปที่รัชกาลที่ 5 พระราชสมภพ

2. รุนที่เกิดในปที่รัชกาลที่ 5 ทรงขึ้นครองราชสมบัติ

3. รุนที่เกิดในปที่มีการประกาศใชพระราชบัญญัติพิกัดเกษียณอายุลูกทาสลูกไทย

4. รุนที่เกิดในปที่มีการประกาศใชพระราชบัญญัติทาส ร.ศ. 124

ขั้นตอนแรกของการเลิกระบบไพรคือขอใด 1. การประกาศเงินคาราชการ

2. การประกาศใชพระราชบัญญัติจายเงินคาจาง

3. การประกาศใชพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร

4. การประกาศรับสมัครไพรเขาเปนทหารในกรมทหารหนา

ในการปลดปลอยทาสใหเปนไทแกตัวเอง รัชกาลที่ 5 ทรงมีนโยบายที่จะชวยเหลือใหทาสสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางไร 1. จัดสรรที่ทํากินใหตามความจําเปน

2. ใหทํางานกับนายโดยไดรับเงินเดือน

3. จัดการศึกษาเพื่อเปนชองทางหาเลี้ยงชีพไดตอไป

4. รัฐใหเงินชวยเหลือในชวงระยะเวลาหนึ่ง

การกําหนดแนวการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ “ทุนนิยมโดยรัฐ” ตรงกับสมัยใด 1. นายปรีดี พนมยงค 2. จอมพล ป. พิบูลสงคราม

3. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต 4. จอมพลถนอม กิตติขจร

สาเหตุที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยแรกที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี 1. แนวคิดเรื่องชาตินิยมของผูนําประเทศ

2. เพื่อรวมมือกับประเทศญี่ปุนในการทําสงครามมหาเอเชียบูรพา

3. โลกตะวันตกกําลังบอนทําลายวัฒนธรรมของชาติไทย

4. เศรษฐกิจโลกกําลังตกต่ําอยางรุนแรงและขยายตัวไปทั่วโลก

Page 12: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 12

เพราะเหตุใดพอคาชาวตะวันตกจึงไมพอใจกับสภาพการคาของไทยกอนการทําสนธิสัญญาเบาวริ่ง 1. มีการคาผูกขาดโดยพระคลังสินคา

2. มีการเก็บภาษีขาเขาในอัตราสูง

3. ไทยไมเขาใจธรรมเนียมการคาของชาวตะวันตก

4. ไทยใหสิทธิพิเศษทางการคาแกชาวตะวันออกมากกวาตะวันตก

ขอใดเปนวิธีการเก็บภาษีในระบบเจาภาษีนายอากรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 1. การจัดเก็บภาษีโดยการชักสวนสินคา 2. การเก็บภาษีเปนสิ่งของแทนเงิน

3. การใหเอกชนมีสิทธิในการเก็บภาษีแทนรัฐ 4. การตั้งหนวยงานกลางเพื่อเก็บภาษีอยางเปนระบบ

ขอใดมิใชการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 หลังการทําสนธิสัญญาเบาวริ่ง 1. การขุดคลองขยายพื้นที่การเพาะปลูก

2. การมีโอกาสเปนเจาของที่ดินของสามัญชน

3. การเคลื่อนยายแรงงานจากหัวเมืองเขาสูเมืองหลวง

4. การตั้งโรงสีขาวและโรงเลื่อยจักรริมแมน้ําเจาพระยา

ตัวอยางขอสอบ (เพิ่มเติม)

ขอใดคือปญหาสําคัญของรัฐบาลพมาในสายตาของประเทศตะวันตก ซ่ึงพยายามกดดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูในปจจุบัน 1. รัฐบาลพมาขาดเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม

2. พมาปกครองดวยรัฐบาลเผด็จการทหาร และมีปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน

3. พมามีปญหาการเมืองภายในประเทศระหวางชนกลุมนอยตางๆ ที่ยังสูรบกันอยู

ขอใดไมใชความรวมมือทางทหารที่ไทยมีตอองคการสหประชาชาติ 1. สงกองกําลังเขารวมรบในสงครามเกาหลี

2. สงกองกําลังเขารวมรบในสงครามเวียดนาม

3. สงกองกําลังเขารักษาความสงบในติมอรตะวันออก

4. สงแพทยสนามเขารักษาการในสงครามอาวเปอรเซียครั้งแรก

เหตุการณใดที่ทําใหบางประเทศคืนสิทธิสภาพนอกอาณาเขตใหไทย 1. รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชดําเนินเยือนนานาประเทศในยุโรป

2. การเจรจาของสมเด็จฯกรมพระยาเทววงศวโรปการ

3. ไทยยอมเสียดินแดนบางสวนใหแกอังกฤษและฝรั่งเศส

4. รัชกาลที่ 6 สงทหารเขารวมในสงครามโลกครั้งที่ 1

Page 13: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 13

การปฏิรูปการคลังของไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการดําเนินการหลายประการ ยกเวนขอใด 1. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน

2. การจัดทํางบประมาณแผนดิน

3. การกําหนดอัตราเงินเดือนประจําแกขาราชการ

4. การจัดเก็บภาษีขาเขา – ขาออก ใหสอดคลองกับความจําเปนของประเทศ

การแกปญหาเศรษฐกิจไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว มีลักษณะที่สําคัญอยางไร 1. ตัดงบประมาณรายจาย ลดจํานวนขาราชการ

2. ผลิตสินคาเพื่อการสงออกใหมีปริมาณเพิ่มข้ึน

3. กูเงินจากตางประเทศเพื่อมาสรางงานใหกับคนไทย

4. กีดกันการคาขายของคนตางดาวที่ทําธุรกิจการคาในประเทศไทย

การกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย เริ่มตนเมื่อใด 1. เมื่อมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

2. เมื่อส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

3. เมื่อมีการเสนอเคาโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค

4. เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี

เมืองที่รายลอมราชธานีถูกลดฐานะจากเมืองลูกหลวงลงเปนหัวเมืองชั้นใน ในสมัยใด 1. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อูทอง) 2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

3. สมเด็จพระนารายณมหาราช 4. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงแกไขปรับปรุงระเบียบการบริหารราชการแผนดินกอใหเกิดผลขอใด 1. มีความเสมอภาคในสังคมไทย 2. มีการกระจายอํานาจการปกครอง

3. มีเอกภาพในการควบคุมบังคับบัญชา 4. ลดภัยคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม

เหตุการณขอใดที่ไมเกี่ยวของกับความคิดที่นําไปสูการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย 1. การปรับปรุงประเทศใหทันสมัยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

2. คํากราบบังคมทูลของเจานายและขุนนางที่ขอใหพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเปลี่ยนแปลงการ

ปกครอง

3. การตั้งดุสิตธานีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

4. การสงสามัญชนไปศึกษาตอยังตางประเทศ

Page 14: ายการที่ 17 ประวัติศาสตร ตอนท ี่ 4 ... · 2020-03-16 · etv ติ มวเข สังคมศึกษา : 17 ประวัติ

ETV ติวเขม สังคมศึกษา : 17 ประวัติศาสตร ตอนที่ 4 14

ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จนนําไปสูการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 1. การลงทุนจํานวนมากในการพัฒนาเสนทางคมนาคม 2. ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก

3. ภัยธรรมชาติคุกคามผลผลิตทางดานการเกษตร 4. รายจายในราชสํานักเพิ่มสูงตั้งแตรัชกาลกอน

อภิรัฐมนตรีสภา “ต้ังขึ้น” ในสมัยใดและดวยเหตุผลใด 1. รัชกาลที่ 5 ทรงตองการสรางกลุมคนหนึ่งเพื่อถวงดุลอํานาจกับกลุมสยามเกา

2. รัชกาลที่ 5 ทรงตองการที่ปรึกษาในการบริหารบานเมือง

3. รัชกาลที่ 6 ทรงตองการฝกใหขุนนางรุนใหมรูจักการปกครองระบอบประชาธิปไตย

4. รัชกาลที่ 7 ทรงตองการผูเชี่ยวชาญมารวมบริหารราชการ