เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228...

6

Upload: others

Post on 29-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม
Page 2: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม

ธันวาคม 2559 1227

“ผูช้าย” เพศทีถ่กูสร้างขึน้มาภายใต้ความแขง็แกร่ง

และเข้มแข็ง. แต่ใครจะไปรู้ว่า อันที่จริงในลักษณะทาง

พันธุกรรม โครโมโซมเพศ Y ที่เป็นตัวบ่งบอกความเป็น

ชายนั้นมีความอ่อนแอกว่า X หรือจะบอกได้ว่า แท้ที่จริง

แล้วความเป็น “ผู้ชาย” ก็ไม่ได้แข็งแรงไปทั้งหมด, มีมุม

อ่อนแอและอ่อนโยน. เรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพก็เช่นกันที่

ไม่ใช่แค่สุขภาพกาย แต่หมายรวมถึงสุขภาพจิตใจ. จริง

ไหม ... ที่เกิดเป็นผู้ชายต้องไม่ร้องไห้; ภายใต้บริบทของ

วัฒนธรรมที่ตีกรอบมา ท�าให้ผู้ชายต้องเก็บซ่อนความ

รู้สึกอ่อนแอของตนเอง; สิ่งนี้จะมีผลต่อสุขภาพจิตใจ

ของผู้ชายหรือไม่ หรือแม้แต่สุขภาพทางเพศ. ประโยชน์

ของฮอร์โมนเพศชายที่เป็นสารที่กระตุ้นการแสดงออก

ถึงความเป็นชายที่แข็งแรง มีประโยชน์เพียงแค่นี้หรือ

เปล่า. และนอกจากนีย้งัมหีลายๆ มมุมองทีน่่าสนใจ. บาง

เรื่องยังเป็นข้อถกเถียง, บางเรื่องยังหาข้อสรุปไม่ได้. ไม่

ว่าจะเป็นแนวทางรักษามะเร็งต่อมลูกหมากในปัจจุบัน,

การเจาะ Tumor maker “PSA” หรือแม้กระทั่งการขลิบ

หนังปลายองคชาต. วารสาร “คลินิก” ฉบับนี้ได้สรรหา

และมาตอบข้อสงสัยให้กับผู้อ่านทุกท่าน ร่วมกับการ

แบ่งปันประสบการณ์การพยาบาลผู้ป่วยชาย, การพยา-

บาลทีม่เีพศสภาวะเป็นตวัขวางกัน้ จะมวีธิอีย่างไรในการ

approach ผู้ป่วยผู้ชายให้ราบรื่น. ส่วนในคอลัมน์ Young

blood ฉบบันี ้เราได้ว่าทีค่ณุหมอฟัน “หมอต้น” นกัศกึษา

ทนัตแพทย์สขุสนัตภิพ จนัทร์ชมุ อดตีพยาบาลวชิาชพี

เฉพาะทางดมยาผู้ซึ่งผันตัวมาเรียนต่อทันตแพทย์ด้วย

แรงปณิธานที่อยากท�าเพื่อสร้างสังคม. หลายคนคงเคย

เห็น “หมอต้น” ผ่านผลงานโฆษณามาบ้าง. คลินิกฉบับนี้

เรื่องของ “ผู้ชาย”สุขภาพในหลายมุมมอง

บทบรรณาธิการ

กอนนพ.ปกรณ์กิจ พฤกษาอุดมชัย

ID Line : makorn_clinic , e-mail : [email protected]

“Metal health Issue”

จะมาแชร์ประสบการณ์ส่วนตัวและเล่าถึง life style ชีวิต

ถือได้ว่าเป็น Young blood ประจ�า “Men issue” ที่น่า

สนใจอย่างยิ่ง.

ส�าหรับฉบับนี้ก็ถือได้ว่า เป็นฉบับสุดท้ายของปี

2559. ในนามทีมบรรณาธิการวารสาร “คลินิก” ต้องขอ

กราบขอบพระคณุทกุท่านทีอ่ยูร่่วมกนักบัพวกเรา, เตบิโต

มาพร้อมๆ กับเรา, ร่วมเปลี่ยนผ่านไปกับเรา. พวกเรามี

ความรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ท�าหน้าที่เป็นส่วนหนึ่ง

ของการน�าความรู้ทางการแพทย์มาน�าเสนอทุกท่าน.

หวงัว่าด้วยก�าลงัของทมีบรรณาธกิาร, ทมีงานและผูเ้ขยีน

ทั้งหมดของวารสารเรา จะมีส่วนช่วยพัฒนาวงการสา-

ธารณสขุของประเทศไทย แม้เพยีงเลก็น้อย พวกเรากร็ูส้กึ

อิ่มใจ. เพื่อสืบสานปณิธานของมูลนิธิหมอชาวบ้าน พวก

เราจะพยายามเข้มแข็งและยืนหยัดในวิกฤตสื่อสิ่งพิมพ์

ตอนนี้ให้ได้ยืนยาวที่สุด.

Page 3: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม

คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 121228

“ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม ความ-

เชื่อ และศาสนา ทั้งในสังคมไทย สังคมชาวพุทธ

คริสต์ หรืออิสลาม มักจะถูกสังคมตั้งความคาด

หวังไว้ให้เป็นผู้น�า, มีความเข้มแข็ง, มีสิทธิและ

หน้าที่บางอย่างที่ต้องเป็นผู้ชายเท่านั้นถึงจะ

ท�าได้. ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีกระแสสังคมที่มี

การเรียกร้องให้มีสิทธิสตรีขึ้นมาเทียบเท่าแล้ว

ก็ตาม.

เนือ่งจากเหตผุลในข้างต้น ท�าให้ผูช้ายนัน้

มีปัญหาสุขภาพทางด้านจิตใจ, สังคม และจิตวิญญาณ แตกต่างออกไปจากผู้หญิง; ร่วมกับสรีระ

ทางกายภาพและฮอร์โมนทีแ่ตกต่างออกไป; จงึคงจะไม่ครบถ้วนทีท่างวารสารจะน�าเสนอแต่ข้อมลู

ทางสุขภาพแต่เฉพาะสตรี.

ในฉบับนี้ ทางวารสารคลินิกจึงขอน�าเสนอข้อมูลทางสุขภาพของผู้ชาย ทั้งในเรื่องประโยชน์

ของฮอร์โมนเพศชายที่ออกฤทธิ์นานต่อสุขภาพที่ยืนยาว, การตรวจคัดกรองและการตัดสินใจใน

การรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก, ข้อดีและข้อเสียของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย, บทบาท

ความเป็นชายในสังคมสู่ผลกระทบทางด้านสุขภาพ, เทคนิคการพยาบาลผู้ป่วยชาย และคอลัมน์

ประจ�าอื่นๆ ที่น่าสนใจ.

หวังว่าเนื้อหาในวารสารฉบับนี้ จะท�าให้ผู้อ่านจะได้ความรู้และสามารถน�าไปประยุกต์ใช้กับ

ตนเอง คนรอบข้าง และผู้ป่วยได้นะครับ.

“ขอพระเจ้าอวยพรทุกคนครับ”

หมอท้อป

นายแพทย์ชัยอนันต์ ยุวพัฒนวงศ์

เพราะว่า “ผู้ชาย” เปน็พระฉายาและพระรศัมขีองพระเจา้

บทบรรณาธิการร่วม

Men Health Issue

Page 4: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม

ตุลาคม 2559 1229

ISSUE ธันวาคม 2559

Contents

384

1271 YOUNG BLOOD หมอต้น อาชีพที่ใฝ่ฝันเพื่อสังคม

1227 บทบรรณาธิการ เรื่องของ “ผู้ชาย” สุขภาพในหลายมุมมอง

ปกรณ์กิจพฤกษาอุดมชัย

1228 บรรณาธิการร่วม เพราะว่า “ผู้ชาย” เป็นพระฉายาและพระรัศมี

ของพระเจ้า

ชัยอนันต์ยุวพัฒนวงศ์

1232 มองผ่านเลนส์ สร้างเสริมสุขภาพด้วยหลัก “เข้าใจ เข้าถึง

พัฒนา”

สุรเกียรติอาชานานุภาพ

บทความวิชาการ1235 แนวทางการตรวจคดักรองวนิจิฉยั และรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกตอนที่2 วีรพัฒน์สุวรรณธรรมา

1242 เทคโนโลยีช่วยการนอนกรน (ตอนที่2) ปารยะอาศนะเสน

1249 ภาวะน�้าตาลต�่าในเลือด(CME) จีรศักดิ์กาญจนาพงศ์กุล

1255 โรคอะมีบากินสมอง(ตอนที่2) ภูษณุธนาพรสังสุทธิ์,จิระจันท์แสนโรจน์,

ยงภู่วรวรรณ

1259 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ ดอกบัวหลวง(ตอนที่2) ประธานฦๅชา,ธีระฤทธิรอด,

ศศิธรหันตุลา,พงศกรศรีมุกข์

1264 WHAT’sNEW ประโยชน์ของฮอร์โมนเพศชายที่ ออกฤทธิ์นานต่อสุขภาพที่ยืนยาว สายัณห์สวัสดิ์ศรี

1271 YOUNG BLOOD (พรรณทิภาไตรประวัติบรรณาธิการ)

หมอต้น อาชีพที่ใฝ่ฝันเพื่อสังคม

บทความพิเศษ1279 มะเร็งต่อมลูกหมาก:รักษาไหม? สันต์หัตถีรัตน์

1282 ลูกผู้ชายต้องไม่ร้องไห้ ธนาคารสาระค�า

Page 5: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม

คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 101230

1306 หมอๆตะลุยโลก เนปาล มนต์เสน่ห์ที่ไม่เคยจางหาย

อรรควิชญ์หาญนวโชค

1308 ข่าวสารจากแพทยสภา แพทย์ดเีด่น ปชูนยีแพทย์ และแพทย์เกยีรตยิศ

แพทยสภา เนื่องในวาระครบรอบ 48 ปี

แพทยสภา

ชัญวลีศรีสุโข

1313 ปัจฉมิพากย์ เมื่อคนขับขาดสมาธิบังคับรถ

ไพบูลย์สุริยะวงศ์ไพศาล

1289 การตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูก- หมาก(ด้วยการตรวจPSA) ยศศักดิ์สกุลไชยกร

1292 การขลิบ:ข้อดี-ข้อเสีย? ดลลชาวาณิชย์การ

Nurse to U1296 สิบหกปีกับประสบการณ์การให้ การพยาบาลผู้ป่วยชาย สุกฤตญาผาสีกา,องค์อรประจันเขตต์

1299 ประวัติศาสตร์ ทางการแพทย์ Gleason grading

and scoring

system

ธีรวัฒน์บูระวัฒน์

1302 แพทย์กับกระบวนทัศน์ใหม่ ของขวัญจากความใกล้ตายของชายคนหนึ่ง

พิชญ์สุวรรณเศรษฐ์, สายพิณหัตถีรัตน์

1305 เฉลยข้อสอบCMEชุดที่268 โรคเรื้อน

คลินิก : เป็นหนึ่งใน “โครงการเผยแพร่ความรู้ทางสิ่งพิมพ์” ของมูลนิธิหมอชาวบ้านที่ประมวลความรู้ทางเวชปฏิบัติและการใช้ยาสำาหรับผู้ประกอบเวชปฏิบัติทุกสาขา จัดพิมพ์โดยสำานักพิมพ์หมอชาวบ้าน เป็นวารสารรายเดือน จัดส่งให้แก่ผู้ที่บอกรับเป็นสมาชิกในอาชีพที่เกี่ยวข้องเท่านั้น บทความ : บทความต่างๆ ที่ปรากฏในวารสารคลินิก เขียนโดยกองบรรณาธิการและผู้เชี่ยวชาญที่ทรงคุณวุฒิต่างๆ เพื่อให้ “เป็นความรู้ที่ทันสมัย ถูกต้อง กะทัดรัด และประยุกต์ใช้ง่าย” ต้นฉบับ : ติดต่อส่งต้นฉบับมาได้ที่ นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ 36/6 ซอยประดิพัทธ์ 10 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2618-4710, 0-2618-6391 ต่อ 21 โทรสาร 0-2271-1806, ส่งทาง E-mail : [email protected]

บทความต่างๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสารคลินิกถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ และผู้เขียน ห้ามนำาไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาต

ISSUE พฤศจิกายน 2559

Contents

384

Page 6: เรื่องของthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/471673842.pdf1228 คลินิก ปีที่ 32 ฉบับที่ 12 “ผู้ชาย” ในบริบทของแต่ละสังคม

ตุลาคม 2559 1231

วารสารคลินิก : www.thaihealthbook.com, E-mail : [email protected] อัตราค่าสมาชิก 1 ปี 960 บาท, 2 ปี 1,920 บาท, 3 ปี 2,880 บาท ขายปลีกฉบับละ 80 บาท โดยส่งเป็นธนาณัติ, ตั๋วแลกเงิน, เช็คธนาคาร หรือเช็คส่วนตัว สั่งจ่ายสำานักพิมพ์หมอชาวบ้าน ธนาณัติสั่งจ่าย ปณ.ประดิพัทธ์ บรรณาธิการจัดการ นิตยา พิริยะพงษ์พันธ์ กองบรรณาธิการจัดการ นิฤมล ลี้สธนกุล กราฟฟิกดีไซน ์อดิศร จินดาอนันต์ยศ, สุธาทิพย์ รักพืช, สงวน ศรีบุรินทร์ ออกแบบปก สงวน ศรีบุรินทร์ สมาชิกสัมพันธ์ ปัทมาวดี ประจันทร์ โทรศัพท์ 0-2618-4710 ต่อ 27 ติดต่อลงโฆษณาได้ที่ คุณเอกชัย ศิลาอาสน์ โทรศัพท์ 0-2618-4710 ต่อ 29 จัดพิมพ์โดย สำานักพิมพ์หมอชาวบ้าน 36/6 ซอยประดิพัทธ์ 10 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2618-4710, 0-2278-1616 โทรสาร 0-2271-1806, 0-2271-0170 เพ็ญบุญจัดจำาหน่าย พิมพ์ที ่พิมพ์ดี

โฆษณา : “โฆษณาที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคลินิก คณะบรรณาธิการไม่จำาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป”

คณะที่ปรึกษาศ.นพ.เกษม วัฒนชัยอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหิดล

นพ.เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติประธานชมรมแพทย์ชนบท

รศ.ดร.ภก.จักรพันธ์ ศิริธัญญาลักษณ์คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รศ.ดร.จุฑามณี สุทธิสีสังข์คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รศ.ดร.จุไรรัตน์ นันทานิชคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

นพ.เฉลิม หาญพาณิชย์นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชนแห่งประเทศไทย

ศ.นพ.ชัยรัตน์ นิรันตรัตน์คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

รศ.นพ.ชาญชัย พานทองวิริยะกุลคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นพ.นพพร ชื่นกลิ่นผู้อำานวยการองค์การเภสัชกรรม

นพ.บุญชัย สมบูรณ์สุขเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยารศ.ดร.นพ.ประยูร ฟองสถิตย์กุลคณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ศ.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภาคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

รศ.นพ.ปรีชา วาณิชยเศรษฐกุลคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธราคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

นพ.พีระพงษ์ สายเชื้อปลัดกรุงเทพมหานคร

รศ.ดร.ไพบูลย์ ดาวสดใสคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นพ.ไพโรจน์ นิงสานนท์อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

รศ.ดร.รัชนี คงคาฉุยฉายผู้อำานวยการสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผศ.ดร.รุ่งเพ็ชร สกุลบำารุงศิลป์คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขานายกแพทยสภา

ผศ.ดร.สิริรัศมิ์ ปิ่นสุวรรณคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.นพ.สุธรรม ปิ่นเจริญคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

นพ.สุรสิทธิ์ จิตรพิทักษ์เลิศนายกสมาคมแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย

นพ.โสภณ เมฆธนปลัดกระทรวงสาธารณสุข

นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนามอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

กองบรรณาธิการนายแพทย์กัมมันต์ พันธุมจินดาแพทย์หญิงแก้วตา นพมณีจำารัสเลิศแพทย์หญิงจันทพงษ์ วะสีนายแพทย์จิตร สิทธีอมรแพทย์หญิงจินตนา ศิรินาวินนายแพทย์ดิลก ภิยโยทัยนายแพทย์ธนา นิลชัยโกวิทย์นายแพทย์ธนาธิป ศุภประดิษฐ์นายแพทย์ธันย์ สุภัทรพันธุ์นายแพทย์ธีรชัย ยงชัยตระกูลนายแพทย์ธีระ กลลดาเรืองไกรแพทย์หญิงนลินี อัศวโภคีนายแพทย์นิพนธ์ พวงวรินทร์นายแพทย์นิรันดร์ วรรณประภานายแพทย์นิวัติ พลนิกรนายแพทย์บุญชู กุลประดิษฐารมณ์นายแพทย์บุญส่ง องค์พิพัฒนกุลนายแพทย์ประกอบ ผู้วิบูลย์สุขนายแพทย์ประวิตร พิศาลบุตรนายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภานายแพทย์ปราโมทย์ ธีรพงษ์นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรานายแพทย์พงษ์ศักดิ์ ชัยศิลป์วัฒนานายแพทย์พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์

นายแพทย์พิทยา จันทรกมลนายแพทย์ยงยุทธ สหัสกุลนายแพทย์ยุษฐิสถิระ ภิรมย์ภักดิ์แพทย์หญิงวรนุช ตั้งเจริญเสถียรนายแพทย์วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์นายแพทย์วิทยา ตันสุวรรณนนท์นายแพทย์วิโรจน์ ชดช้อยแพทย์หญิงสกาวรัตน์ คุณาวิศรุตนายแพทย์สมพล พงศ์ไทยนายแพทย์สมิง เก่าเจริญแพทย์หญิงสยมพร ศิรินาวินแพทย์หญิงสุกัญญา ศรีปรัชญาอนันต์นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพนายแพทย์สุเทพ สัจเทพนายแพทย์สุพจน์ พงศ์ประสบชัยนายแพทย์สุรจิต สุนทรธรรมนายแพทย์สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์นายแพทย์สุรพงษ์ ดวงรัตน์นายแพทย์สุรัตน์ บุญญะการกุลนายแพทย์เสรี ธีรพงษ์นายแพทย์อภิชาติ ศิวยาธรนายแพทย์อมร ลีลารัศมีแพทย์หญิงอัจฉรา สัมบุณณานนท์นายแพทย์อำานาจ บาลีนายแพทย์อุดม คชินทร

บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณานายแพทย์ประเวศ วะสี

บรรณาธิการอำานวยการนายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ

ประธานคณะบรรณาธิการบริหารนายแพทย์ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์

คณะบรรณาธิการบริหารผศ.ดร.จีราภรณ์ กรรมบุตรแพทย์หญิงฉันทนา ผดุงทศนายแพทย์ชเนษฎ์ ศรีสุโขนายแพทย์ชัยอนันต์ ยุวพัฒนวงศ์พทป.ณิชมน มุขสมบัติพว.นิศารัตน์ ยุวพัฒนวงศ์นายแพทย์ปกรณ์กิจ พฤกษาอุดมชัยนายแพทย์พงศ์กร จันดาวัฒนะนายแพทย์พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์แพทย์หญิงพรรณทิภา ไตรประวัติแพทย์หญิงเพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐแพทย์หญิงภัทราภรณ์ พุ่มเรืองพทป.ภูริทัต กนกกังสดาลนายแพทย์วิชัย เอกพลากรนายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมานายแพทย์ศุภชัย ครบตระกูลชัยแพทย์หญิงสายพิณ หัตถีรัตน์พันเอกหญิง ดร.สายสมร เฉลยกิตติเภสัชกรสุภัสร์ สุบงกชนายแพทย์อิทธพร คณะเจริญ