กรณีตัวอย างการออกแบบ...

12
ภาคผนวก กรณีตัวอยางการออกแบบ ระบบบําบัดมลพิษ

Upload: others

Post on 25-Sep-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

ภาคผนวก ค

กรณีตัวอยางการออกแบบระบบบําบดัมลพิษ

Page 2: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

ภาคผนวก ค.1

ระบบบําบัดน้ําเสีย

Page 3: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

ภาคผนวก ค.1 ตัวอยางระบบบําบัดน้ําเสียโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย

โรงงานผลิตนํ้าตาลทราย มีปริมาณนํ้าเสียรวมที่เกิดขึ้น 500 ลบ.ม./วัน

โดยนํานํ้าเสียทั้งหมดมาบําบัดที่ระบบบําบัดนํ้าเสียของโรงงาน

รูปแบบของระบบบําบัดที่เลือกใช : ระบบ Stabilization Pond

รายการคํานวณระบบบําบัดนํ้าเสีย : ระบบ Stabilization Pond

ขอมูลที่ใชในการออกแบบ

ปริมาณนํ้าเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย = 500 ลบ.ม./วันลักษณะของมลพิษ:

- BOD5 = 10,000 มก./ล.

บอหมัก 1 (Anaerobic Pond 1)

กําหนดอัตราภาระ BOD เชิงปริมาตร = 0.4 กก./ลบ.ม.-วันดังน้ัน ปริมาตรบอที่ตองการ = 12500 ลบ.ม.ดังน้ัน เวลาเก็บกักนํ้า = 25 วันกําหนดความลึกนํ้า = 3.5 ม.ดังน้ัน พื้นที่บอที่ตองการ = 3571 ตร.ม.ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 41 ม.ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 81 ม.ระยะ Free Board = 0.5 ม.คาออกแบบ

กําหนดความลาดของบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2ความลึกบอ = 4 ม.ความกวางที่ขอบบอ = 50 ม.ความยาวที่ขอบบอ = 90 ม.

กําหนดประสิทธิภาพการกําจัด BOD = 60 เปอรเซ็นตดังน้ัน คา BOD ของนํ้าออกเมื่อผานบอหมัก 1 = 4000 มก./ล.

Page 4: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

บอหมัก 2 (Anaerobic Pond 2)

กําหนดอัตราภาระ BOD เชิงปริมาตร = 0.3 กก./ลบ.ม.-วันดังน้ัน ปริมาตรบอที่ตองการ = 6667 ลบ.ม.ดังน้ัน เวลาเก็บกักนํ้า = 13 วันกําหนดความลึกนํ้า = 3.5 ม.ดังน้ัน พื้นที่บอที่ตองการ = 1904 ตร.ม.ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 41 ม.ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 81 ม.ระยะ Free Board = 0.5 ม.คาออกแบบ

กําหนดความลาดของบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2ความลึกบอ = 4 ม.ความกวางที่ขอบบอ = 50 ม.ความยาวที่ขอบบอ = 90 ม.

กําหนดประสิทธิภาพการกําจัด BOD = 60 เปอรเซ็นตดังน้ัน คา BOD ของนํ้าออกเมื่อผานบอหมัก 1 = 1600 มก./ล.

บอ Facultative Pond 1

กําหนดอัตราภาระ BOD เชิงพื้นที่ = 0.045 กก./ตร.ม.-วัน

ดังน้ัน พื้นที่บอที่ตองการทั้งหมด = 17777 ตร.ม.

กําหนดความลึกนํ้า = 2 ม.

ดังน้ัน เวลาเก็บกักนํ้า = 71 วัน

ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 94 ม.

ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 194 ม.

ระยะ Free board = 0.5 ม.

คาออกแบบ

กําหนดความลาดของขอบบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2

ความลึกบอ = 2.5 ม.

ความกวางที่ขอบบอ = 100 ม.

ความยาวที่ขอบบอ = 200 ม.

กําหนดประสิทธิภาพการกําจัด BOD = 40 เปอรเซ็นต

ดังน้ัน คา BOD ของนํ้าออกเมื่อผานบอ Facultative Pond 1 = 960 มก./ล.

Page 5: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

บอ Facultative Pond 2

กําหนดอัตราภาระ BOD เชิงพื้นที่ = 0.035 กก./ตร.ม.-วัน

ดังน้ัน พื้นที่บอที่ตองการทั้งหมด = 13714 ตร.ม.

กําหนดความลึกนํ้า = 2 ม.

ดังน้ัน เวลาเก็บกักนํ้า = 54.8 วัน

ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 94 ม.

ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 194 ม.

ระยะ Free board = 0.5 ม.

คาออกแบบ

กําหนดความลาดของขอบบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2

ความลึกบอ = 2.5 ม.

ความกวางที่ขอบบอ = 100 ม.

ความยาวที่ขอบบอ = 200 ม.

กําหนดประสิทธิภาพการกําจัด BOD = 40 เปอรเซ็นตดังน้ัน คา BOD ของนํ้าออกเมื่อผานบอ Facultative Pond 2 = 576 มก./ล.

บอ Facultative Pond 3

กําหนดอัตราภาระ BOD เชิงพื้นที่ = 0.025 กก./ตร.ม.-วัน

ดังน้ัน พื้นที่บอที่ตองการทั้งหมด = 11520 ตร.ม.

กําหนดความลึกนํ้า = 2 ม.

ดังน้ัน เวลาเก็บกักนํ้า = 46 วัน

ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 94 ม.

ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 194 ม.ระยะ Free board = 0.5 ม.

คาออกแบบ

กําหนดความลาดของขอบบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2

ความลึกบอ = 2.5 ม.

ความกวางที่ขอบบอ = 100 ม.

ความยาวที่ขอบบอ = 200 ม.

กําหนดประสิทธิภาพการกําจัด BOD = 40 เปอรเซ็นต

ดังน้ัน คา BOD ของนํ้าออกเมื่อผานบอ Facultative Pond 2 = 345.6 มก./ล.

Page 6: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

บอผึ่ง (Polishing Pond)

เวลากักพักชลศาสตร = 5 วัน

ดังน้ัน ปริมาตรบอที่ตองการ = 2500 ลบ.ม.

กําหนดความลึกนํ้า = 1 ม.

ระยะ Free board = 0.5 ม.

ความกวางบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 46 ม.

ความยาวบอ (ที่ก่ึงกลางความลึกนํ้า) = 96 ม.

คาออกแบบ

กําหนดความลาดของขอบบอ (แนวด่ิง : แนวราบ) = 1 : 2

ความลึกบอ = 1.5 ม.

ความกวางที่ขอบบอ = 50 ม.

ความยาวที่ขอบบอ = 100 ม.

หมายเหตุ : เน่ืองจากการผลิตของโรงงานน้ําตาลโดยทั่วไป จะทําการผลิตปละ 4 - 5 เดือน ดังน้ันปริมาณน้ําเสีย

จะเกิดข้ึนในชวง 4 - 5 เดือนท่ีมีการทําการผลิต ในการออกแบบและเดินระบบบําบัดนํ้าเสียของโรงงาน

จะออกแบบใหเวลาเก็บกักนํ้าของทุกบอรวมกันแลวมากกวาเวลาที่ใชในการผลิตแตละป เพ่ือปองกัน

ไมใหมีการระบายออก

ปริมาณน้ําตลอด 5 เดือน = 500 x 30 x 5

= 75,000 ลบ.ม.

ปริมาตรบอท้ังหมด = 12,500 + 6,667 + 35,554 + 27,428

+ 23,040 + 2,500

= 107689.0 ลบ.ม.

ปริมาตรบอท้ังหมดมากกวาปริมาณน้ําตลอด 5 เดือน

Page 7: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ
Page 8: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ
Page 9: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

ภาคผนวก ค.2

ระบบบําบัดมลพิษอากาศ

Page 10: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

1. คํานํา

โรงงาน ................................................................... ประกอบกิจการ ผลิตน้ําตาลทราย ตั้งอยู ณ. เลขที่..........

..............................................................มีหมอน้ําตมกําลัง ซ่ึงใชเช้ือเพลิง จากชานออย

ขนาดหมอน้ํา 20 ตัน / ช่ัวโมง เลือกติดตั้งระบบขจัดฝุนละอองเปนแบบ Multi Cyclone โดยแสดงรายละเอียด

การคํานวณ ดังตอไปนี้

2. ขอมูลการออกแบบ

- Boiler Capacity = 20 tons / hr.

- Fuel Type = ชานออย

- Flue gas exhaust = 50,000 cfm. ( at 180 o C )

- Flue gas Temp. = 180 o C

( after economizer )

- Dust Collector = Multi - Cyclone

3. Calculation

3.1) Ducting System

ooo Exhaust rate = 50,000 cfm.

Design duct velocity = 3,500 - 4,000 fpm.

Duct size Ø = 1,300 m.m.

3.2) Multi Cyclone

# Design Cyclone inlet velocity = 70 - 90 fps.

# Inlet area of unit cyclone , @ = 0.2 ft.2

ooo Exhaust rate = 50,000 cfm.

Design multiple unit of unit cyclone

= 7 x 7

= 49 units

รายการคํานวณ ระบบขจัดฝุนละออง

Page 11: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ

oo

o Actual Cyclone inlet velocity

= 50,000 / (49)(0.2)

= 5,102 fpm.

= 85 fps. …………….O.K.

Design static pressure in Cyclone & Duct-works

= 6 in.WC.

3.3) Fan Design ( I.D. Fan ) oo

o Fan Hp. (Q) ( P)

( 6,356) ( EFF.)

where ;

Q = Exhaust flow rate , cfm.

= 50,000 cfm.

P = Total static pressure , in.WC.

= 6 in.WC.

EFF. = 50%

oo

o Fan Hp. (50,000) (6)

( 6,356) ( 0.5)

= 94.4 Hp.

Select a back-ward urve centrifugal blade fan exhaust capacity 50,000 cfm.,

Static pressure 6.0 in.WC. Belt-drive with motor 100 Hp. >> 94.40 Hp.

…………………….O.K.

Page 12: กรณีตัวอย างการออกแบบ ระบบบําบัดมลพ ิษ · ภาคผนวก ค.1 ตัวอย างระบบบ ําบัดน้ําเสียโรงงานอ