ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป...

27
ตัวอยางการเขียนโครงรางโครงงานปญหาพิเศษ โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการออกแบบวงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ ชุดทดลองวงจรกําเนิดความถี่และวงจรกรองความถีเครื่องบันทึกขอมูลและความเร็วสําหรับรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร การสรางและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาเครื่องสงวิทยุและสายอากาศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Upload: others

Post on 31-Oct-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ตัวอยางการเขียนโครงรางโครงงานปญหาพิเศษ

โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟ

ชุดทดลองวงจรกําเนิดความถี่และวงจรกรองความถี ่

เครื่องบันทึกขอมูลและความเร็วสําหรับรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร

การสรางและหาประสิทธภิาพชุดการสอนวิชาเครื่องสงวิทยุและสายอากาศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 2: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

โครงราง

โครงงานปญหาพิเศษ

ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ชื่อเรื่อง

โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการออกแบบวงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ

ผูเสนอ

นางสาวนุสรา วรพัฒนผดงุ

รหัสประจําตัว 29-499-299-9 สาขาวิชาไฟฟา แขนงวิชาอิเล็กทรอนิกส

ปการศึกษา 2550

Page 3: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ชื่อเร่ือง โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟ

ผูเสนอ นางสาวนุสรา วรพัฒนผดุง

1.1 ความสําคัญและความเปนมาของโครงงาน

การพัฒนางานดานอิเล็กทรอนิกส โทรคมนาคม จะเกิดข้ึนไดตองมีการออกแบบและทดลองวงจรนั้นกอนนํามาใชงาน ซ่ึงบอยคร้ังท่ีการออกแบบหรือทดลองวงจร จะตองประสบกับปญหาการรบกวนของสัญญาณจากภายนอกท่ีไมตองการ ซ่ึงมีชวงความถ่ีเดียวกับความถ่ีท่ีใชงานภายในวงจร ทําใหวงจรอิเล็กทรอนิกสท่ีออกแบบข้ึนหรือกําลังทดลองอยูเกิดการทํางานท่ีผิดพลาดไป โดยสวนมากแลวเม่ือผูออก แบบทราบถึงสาเหตุของปญหาก็มักจะเลือกนําวงจรกรองความถ่ี ( filter ) ประเภทตางๆ มาใช เชน วงจรกรองความถ่ีตํ่าผาน ( low pass filter ) ,วงจรกรองความถ่ีสูงผาน ( high pass filter ) , วงจรกรองความถ่ีแบบแบนดพาส ( band pass filter ) หรือวงจรกรองความถ่ีแบบแบนดรีเจกต ( band reject filter ) (ศิวเมธ, 2542:1-2 ) ดร.จิรยุทธ มหัทธนกุล (2544) กลาวไววา วงจรกรองความถ่ีเปนวงจรที่สําคัญมากในงานดานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสหลายๆ ดาน เชน ใชในการกําจัดสัญญาณรบกวน (noise) ท่ีไมตองการในระบบส่ือสาร ใชในการกําจดัไซดแบนด (sideband) ในระบบส่ือสารแบบไซดแบนดเดี่ยว (single sideband) ใชในการดีมอดดูเลต (demodulate) สัญญาณ ใชในการตรวจจับ (detect) สัญญาณท่ีถูกมอดดูเลตแบบดิจิตอล เปนตน จะเหน็ไดวาวงจรกรองความถ่ีแบบตางๆ สามารถนําไปใชไดกับวงจรอิเล็กทรอนิกสหลายๆวงจร ซ่ึงวงจรกรองความถ่ีนั้นจะมีท้ังแบบพาสซีฟและแบบแอกทีฟโดยวงจรแบบพาสซีฟ จะเปนวงจรพื้นฐาน อุปกรณท่ีใชในวงจรเปนตัวเหน่ียวนําและตัวเก็บประจุท่ีสามารถหาซ้ือไดท่ัวไป สวนวงจรแบบแอกทีฟจะใชออปแอมปเปนอุปกรณหลัก ในการออกแบบตองเลือกออปแอมปท่ีทําใหวงจรทํางานตามตองการได ซ่ึงออปแอมปแตละเบอรก็มีขอจํากัดในการทํางานท่ีแตกตางกัน ดังนัน้ในการออกแบบวงจรกรองความถ่ีในงานหลายๆ ดานจึงมีการเลือกใชวงจรแบบพาสซีฟเพราะไมตองคํานึงถึงขอจํากัดของอุปกรณมากนกั แตการออกแบบวงจรเพื่อใหระบบมีคุณสมบัติตามท่ีตองการจะมีข้ันตอนท่ียุงยาก ตองใชเวลาในการคํานวณมาก และตองมีการทดสอบวงจรกอนนําไปใชจริง

ปจจุบันไดมีการนําคอมพิวเตอรมาใชในงานหลายๆดานรวมท้ังงาน ทางดานอิเล็กทรอนิกสโทรคมนาคม เพราะคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดหลายดานรวมถึงดานการคํานวณท่ีรวดเร็วและถูกตองแมนยํา ผูทําโครงงานจึงไดสรางโปรแกรมสําหรับออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟโดยนําเคร่ือง คอมพิวเตอรมาชวยแกปญหาทางดานของเวลาและการคาํนวณคาอุปกรณตางๆ พรอมท้ังแสดงผลตอบสนองทางความถ่ีของวงจร

Page 4: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน เพื่อออกแบบและสรางโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟ

1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1. การออกแบบและสรางโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับออกแบบวงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ ท่ีมีรายละเอียดดังนี ้

1.1 ทํางานภายใตโปรแกรมหลัก MATLAB 1.2 การใชงาน สามารถเลือกหนาท่ีการทํางานแบบเมนูเลือก 1.3 แสดงผลการออกแบบในรูปแบบของกราฟ และแสดงวงจรจริง

2. การออกแบบวงจรกรองความถ่ี มีหลักการดังนี ้2.1 ใชทฤษฎีการประมาณแบบ Butterworth โดยมีคาความตานทานดานอินพุทเทากับดาน

เอาทพุท (Rs = RL) 2.2 วงจรกรองความถ่ีท่ีออกแบบเปนแบบพาสซีฟ ดังนี้

2.2.1 วงจรกรองความถ่ีตํ่าผาน ( low pass filter ) 2.2.2 วงจรกรองความถ่ีสูงผาน ( high pass filter ) 2.2.3 วงจรกรองแถบความถ่ีผาน ( band pass filter ) 2.2.4 วงจรกรองแถบความถ่ีหยุด ( band stop filter )

3. เปรียบเทียบผลการคํานวณโดยใชโปรแกรม PSPICE สรางแบบจําลองเพ่ือตรวจสอบผลลัพธของโปรแกรมท่ีสรางข้ึน 4. คูมือการใชงานของโปรแกรม

Page 5: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.4 วิธีการดําเนินงาน การสรางโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟ มีข้ันตอนการดําเนินงานดังนี้ เร่ิมตน

ภาพท่ี 1 แผนผังข้ันตอนการทํา ปญหาพิเศษ

ศึกษาขอมูล การออกแบบวงจรกรองความถ่ีพาสซีฟ, MATLAB, Pspice

สรางหนาตางเมนูและแสดงผล

เขียนโปรแกรมคํานวณเพ่ือออกแบบวงจรกรองความถ่ี

ทดสอบโปรแกรม

แกไข

ไมผาน

ตรวจสอบโดย อาจารยที่ปรึกษา

ผาน

ไมผาน

ผาน

ทําคูมือการใชงาน

สิ้นสุด

เปรียบเทียบและวิเคราะหผลโดยโปรแกรม Pspice

Page 6: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

จากแผนผังในภาพท่ี 1 สามารถอธิบายรายละเอียด ดังนี้ 1.4.1 การศึกษาขอมูล

การสรางโปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟนั้น จําเปนจะตองศึกษาขอมูลหลายๆ ดานท่ีเกีย่วของกับการสรางโปรแกรม ซ่ึงประกอบดวยการออกแบบวงจรกรองความถ่ีแบบพาสซีฟ โปรแกรม MATLAB และโปรแกรม Pspice 1.4.2 สรางหนาตางเมนูและแสดงผล

การสรางหนาตางเมนูและแสดงผลลัพธจะใชวิธีการสรางรูปภาพกราฟฟก จากโปรแกรมMATLAB โดยทําตามข้ันตอนการสรางดังนี ้

- สรางรูปภาพเพื่อเช่ือมตอกับผูใชงาน ( Graphic User Interface : GUI ) จากหนาตางของ MATLAB

- ใชเคร่ืองมือของ GUI สรางเมนู , ปุมกด , หรือกลองรับคาตางๆ - จัดวางรูปภาพในตําแหนงท่ีตองการ - การเขียนโปรแกรมการคํานวณของการออกแบบวงจรกรองความถ่ี 1.4.3 การทดสอบ เม่ือสรางหนาตางเมนูหลัก และเขียนโปรแกรม MATLAB เรียบรอยแลว ตองมีการทดสอบการทํางานของโปรแกรมท่ีสรางข้ึนและเปรียบเทียบผลท่ีไดโดยการสรางแบบจําลองดวยโปรแกรม Pspice 1.4.4 การจัดทําคูมือใชงาน การจัดทําคูมือใชงานโปรแกรม ประกอบดวยรายละเอยีดดังตอไปนี ้

- โครงสรางและสวนประกอบของหนาตางเมนูหลัก - อธิบายวิธีการใชโปรแกรมจากหนาตางเมนูหลัก - ทฤษฎีของวงจรกรองความถ่ีและตัวอยางการคํานวณ - โปรแกรม MATLAB ท่ีสรางข้ึน

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ประหยัดเวลาในการออกแบบและคํานวณหาคาอุปกรณตางๆ และสามารถเช่ือถือได 2. สามารถนําไปใชเปนส่ือประกอบการเรียนการสอนในวิชาท่ีเกี่ยวของได 3. สามารถใชเปนตนแบบในการประยุกตสรางโปรแกรมออกแบบวงจรอื่นๆ ได

Page 7: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.6 เอกสารอางอิง

ภาษาไทย ผศ.ดร.สุธรรม ศรีเกษม และคณะ. MATLAB เพื่อการแกปญหาทางวศิวกรรม. กรุงเทพมหานคร :

มหาวิทยาลัยรังสิต, 2538. รศ.ดร.มนัส สังวรศิลป, วรรัตน ภัทรอมรกุล. คูมือการใชงาน MATLAB ฉบับสมบูรณ.

นนทบุรี : สํานักพิมพอินโฟเพรส, 2543. ภาษาอังกฤษ Wai-Kai, Chen. PASSIVE AND ACTIVE FILTER. United States of America : John Wiley &

Sons, 1986. Steve, Winder. Filter Design. Oxford : Reed Educational and Professional Publishing,

1998. Adrian, Biran., and Moshe, Breiner. MATLAB for Engineers. Cambridge : Addison- Wesley Publishing, 1996. Lamey, Robert. The Illustrated Guide to Pspice for Windows. New York : Delmar

Publishing, 1995.

Page 8: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

โครงราง โครงงานปญหาพิเศษ

ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ชื่อเรื่อง

การสรางและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาเคร่ืองสงวิทยแุละสายอากาศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผูเสนอ

นายบรรจง มะลาไสย

รหัสประจําตัว 29-499-299-9 สาขาวิชา ไฟฟา แขนงวิชาอิเล็กทรอนิกส

ปการศึกษา 2550

Page 9: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ชื่อเร่ือง การสรางและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาเคร่ืองสงวิทยแุละสายอากาศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผูเสนอ นายบรรจง มะลาไสย 1.1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา กกกกกปจจุบันเทคโนโลยีการส่ือสารไดมีการพัฒนาไปอยางมาก และการสงขอมูลขาวสารไดมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็วท้ังดานระยะทาง และจํานวนขอมูลขาวสาร หนวยงานองคกรตาง ๆ ท่ีอยูหางไกลตองอาศัยการรับขอมูลขาวสารผานระบบตาง ๆ ซ่ึงชีวิตประจําวนัของคนจะตองเกี่ยวของกับการรับและการสงขอมูล เชน โทรศัพท โทรทัศน วิทยกุระจายเสียง โดยเฉพาะเคร่ืองสงวิทยุท่ีกระจายเสียงท้ังระบบ AM และ FM ทําหนาท่ีสงขอมูลขาวสารไปยังชุมชนตาง ๆ เพื่อใหทราบขอมูลความเคล่ือนไหวทางดานการเมือง การเปล่ียนแปลงของโลก ความบันเทิง และดานการศึกษา สวนทางดานการศึกษานัน้มีการจัดการเรียนการสอนผานรายการวทิยุและโทรทัศน ซ่ึงมีการสงสัญญาณภาพและเสียงท้ังระบบ AM และระบบ FM ในการสงขาวสารใหไปไดไกล ๆ นัน้เคร่ืองสงวิทยุจะตองขยายสัญญาณใหมีความแรงพอท่ีจะสงออกอากาศไปไดในระยะทางตามท่ีตองการ สวนทางดานเคร่ืองรับจะทําการรับสัญญาณขอมูลท่ีสงมาและแปลงสัญญาณกลับมาเปนขอมูลดังเดิม ซ่ึงหลักการสงและรับขอมูลจะมีหลักการพื้นฐานคลายกันทุกระบบ แตจะแตกตางกันตรงกระบวนการในการจัดการกบัขอมูล กระบวนการในการเปล่ียนสัญญาณขาวสารเปนสัญญาณไฟฟา และมาทําการขยายแลวสงสัญญาณออกอากาศไปนั้นเปนข้ันตอนท่ีสําคัญ ภายในเคร่ืองสงวิทยุจะมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตอกันเปนวงจรจํานวนมากซ่ึงจะแบงเปนภาคการทํางานตาง ๆ เชน ภาคปรีแอมป มิกเซอร ออสซิลเลเตอร เพาเวอรแอมป เปนตน ซ่ึงแตละบลอกจะมีหนาท่ีการทํางานท่ีแตกตางกันและสัมพันธกันมีความสลับซับซอน ดังนั้นผูท่ีจะไปปฏิบัติงานหรือทํางานในการควบคุมและบํารุงรักษาเคร่ืองสงวิทยุจะตองมีความเขาใจในหลักการทํางานเบ้ืองตนของเคร่ืองสงวิทยเุปนอยางดี เพื่อใชในการปฏิบัติงานและการศึกษาช้ันสูงตอไป กกกกกกรมอาชีวศึกษาช่ึงเปนหนวยงานที่จัดการศึกษาวิชาชีพ ระดบัชางกึ่งฝมือ ชางฝมือ ชางเทคนิค และนักเทคโนโลย ี ไดเหน็ความสําคัญในกระบวนการรับ-สงขอมูลขาวสาร ของเคร่ืองสงวิทยุกระจายเสียงจึงบรรจุวิชาทฤษฎีเคร่ืองสงวิทยุ รหัสวิชา 2105-2302 ไวในหลักสูตรประกาศนยีบัตรวชิาชีพ พุทธศักราช 2538 และไดปรับปรุงหลักสูตรใหมเปนวิชาเคร่ืองสงวิทยุและสายอากาศ รหัสวิชา 2104-2210 พุทธศักราช 2545 ซ่ึงมีรายละเอียดคําอธิบายรายวิชาเหมือนกนัเปนสวนใหญ และจากสถิติผลการเรียนของผูเรียนวิชาทฤษฎีเคร่ืองสงวิทย ุ รหัสวิชา 2105-2302 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนคิจันทบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2545 มีนักเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาทฤษฎีเคร่ืองสงวิทยุท้ังส้ิน 72 คน และไดผลการเรียนแสดงดังตารางท่ี 1

Page 10: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ตารางท่ี 1 แสดงผลการเรียนของนักเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาทฤษฎีเคร่ืองสงวิทยุ ปการศึกษา 2545

การแบงชวงคะแนน ระดับคะแนน(เกรด) จํานวน(คน) 80-100 70-79 60-69 50-59 0-49

4 3 2 1 0 ขร

5 16 12 32 4 3

รวม 72 ท่ีมา : งานวดัผลวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี

จากตารางท่ี 1 พบวามีกลุมนักเรียนท่ีไดเกรด 0-2 จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 66.67 ซ่ึงมีเปนจํานวนมากกวาคร่ึงของนักเรียนท้ังหมด การที่ผลการเรียนของนักเรียนสวนใหญคอนขางตํ่ามาจากผลท่ีผูเรียนไมเขาใจพ้ืนฐานหลักการทํางานในเคร่ืองสงวิทยุ ซ่ึงเนื้อหาบางเร่ืองนั้น เปนเร่ืองท่ีซับซอนยากแกการเขาใจผูเรียนตองใชจินตนาการสูงและมองไมเห็นภาพการทํางาน เชน เร่ืองคล่ืนแมเหล็กไฟฟา และการสงสัญญาณออกอากาศ วงจรรีโซแนนซและวงจรกรองความถ่ี วงจรออสซิลเลเตอร วงจรมิกเซอร ของเคร่ืองสงวิทยุเปนตน ซ่ึงควรจะตองมีส่ือการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมเพื่อลดการจินตนาการของผูเรียน หากไมไดรับการแกไขจะสงผลตอการนําความรูไปใชในการปฏิบัติงาน และการศึกษาช้ันสูงตอไป

จากผลการสํารวจดวยแบบสอบถามอาจารยผูสอน สถาบันอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 3 (จังหวัดระยอง จังหวดัจันทบุรี และจังหวดัตราด) วิชาเคร่ืองสงวทิยุและสายอากาศ รหัสวิชา 2104-2210 (กรกฎาคม 2546) พบวา ครูผูสอนขาดคูมือครูท่ีเปนแนวทางเพื่อใชในการสอน ขาดรายละเอียดของเนื้อหาท่ีใชในการสอน ไมมีการกําหนดจุดประสงคท่ีแนนอน และส่ือท่ีใชในการสอนมีนอย ขาดการปรับปรุงและพัฒนาใหทันสมัยกับเทคโนโลยี การสอนของผูสอนสวนใหญจะเปนการสอนแบบบรรยาย ส่ือท่ีใชเปนกระดานดํา เนื่องจากอาจารยผูสอนมีภาระงานสอนมาก และสอนไมอยูในแนวเดยีวกัน หากไมไดรับการแกไขจะสงผลตอกระบวนการเรียนการสอน และสงผลโดยตรงตอผูเรียนคือหลักสูตรเดียวกันผูเรียนควรไดรับความรูเทากันหรือไกลเคียงกัน มีมาตรฐานเดยีวกนั ดังนั้นผูวิจยัคิดวาควรไดรับการปรับปรุงแกไข เพื่อใหผูเรียนท่ีสําเร็จการศึกษามีความรูความสามารถใกลเคียงกัน วิธีการท่ีจะทําใหผูเรียนเขาใจในเนื้อหาวิชาไดดข้ึีน และเพื่อลดการจินตนาการของผูเรียน คือการใชชุดการสอนท่ีประกอบดวย คูมือครู และส่ือการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม วิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา ซ่ึงการใชส่ือและรูปแบบการเรียนการสอนท่ีอยูในแนวทางเดยีวกันจะชวยลดปญหาดานประสิทธิภาพของการสอน เพราะทําใหผูเรียนไดรับความรูในแนวทางเดียวกัน และเขาใจในเนื้อหาท่ีซับซอนไดมากข้ึน

Page 11: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

กกกกกจากปญหาดังกลาวขางตน จึงเปนแรงจูงใจใหผูวิจัยจัดสรางชุดการสอนภาคทฤษฏีเร่ืองเคร่ืองสงวิทยุซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิชาเคร่ืองสงวิทยุและสายอากาศ รหัสวิชา 2104–2210 โดยกําหนดใหมีวัตถุประสงคท่ีชัดเจนและเนือ้หาครอบคลุมรายวิชา และใชส่ือท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงครายวชิา และระดบัของผูเรียนโดยคาดวาจะมีผลทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีข้ึน

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย กกก1.2.1 เพือ่ศึกษาและสรางชุดการสอนเร่ือง เคร่ืองสงวิทยุ ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิชาเคร่ืองสงวิทยแุละสายอากาศ รหสัวิชา 2104–2210 ตามหลักสูตรระดับประกาศนยีบัตรวิชาชีพ กรมอาชีวศึกษา พุทธศักราช 2545 กกก1.2.2 เพือ่หาประสิทธิภาพของชุดการสอนเร่ืองเคร่ืองสงวิทยุซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิชาเคร่ืองสงวิทยแุละสายอากาศ

1.3 สมมติฐานของการวิจัย กกก 1.3.1 ชุดการสอนท่ีสรางข้ึนใชสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด 80/80 กกก 1.3.2 ชุดการสอนท่ีสรางข้ึนผานการประเมินโดยผูเช่ียวชาญอยางนอย 5 ทานมีคาเฉล่ียของความเหมาะสมอยูในระดับดี (80%)

1.4 ขอบเขตของการวิจัย กกก1.4.1 ออกแบบและสรางชุดการสอนภาคทฤษฎีเร่ืองเคร่ืองสงวิทย ุ ซ่ึงเปนสวนหน่ึงของวิชา เคร่ืองสงวิทยแุละสายอากาศ รหัสวิชา 2104–2210 โดยมีสวนประกอบดังตอไปนี ้กกกกกก 1.4.1.1 คูมือครู 1.4.1.1.1 แผนการสอน กกกกกก 1.4.1.1.2 ใบเนื้อหา 1.4.1.1.3 แบบฝกหัด หรือแบบประเมินผลความกาวหนาระหวางเรียนพรอมเฉลย 1.4.1.1.4 แบบทดสอบ หรือแบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนพรอมเฉลย 1.4.1.2 ส่ือการสอน กกกกกก 1.4.1.2.1 โปรแกรมนําเสนอดวยเพาเวอรพอยต กกกกกก 1.4.1.2.2 ชุดสาธิตเคร่ืองสงวิทย ุAM-FM 1.4.2. ชุดการสอนภาคทฤษฎีเร่ือง เคร่ืองสงวิทยุ มีหัวขอดังนี ้กกกกกก 1.4.2.1 ยานความถ่ีและคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (Frequency Band and Electromagnetic) กกกกกก 1.4.2.2 วงจรรีโซแนนซและวงจรกรองความถ่ี (Resonant and Filter Circuit)

Page 12: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

กกกกกก 1.4.2.3 เคร่ืองสงวิทยุระบบ AM (Amplitude Modulation Transmitter System) 1.4.2.4 เคร่ืองสงวิทยุระบบ FM (Frequency Modulation Transmitter System) กกก1.4.3 ทดสอบและหาประสิทธิภาพของชุดการสอนภาคทฤษฎีเร่ืองเคร่ืองสงวิทยซ่ึุงเปนสวนหนึ่งของวิชาเคร่ืองสงวทิยุและสายอากาศตามมาตรฐานท่ีกําหนด

1.5 ขอตกลงเบื้องตน กกก1.5.1 การวิจัยคร้ังนี้ถือวา เพศ อายุ สติปญญา พื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม อารมณและชวงเวลาเรียนของกลุมตัวอยาง ไมมีผลตอการวิจัย กกก1.5.2 ในการทดลองคร้ังนี้ถือวา นักเรียนท่ีเรียนตามหลักสูตรนี้ มีคุณสมบัติเหมือนกนัทุกประการ เนื่องจากไดผานการสอบคัดเลือกเขาศึกษาภายใตหลักสูตรเดียวกัน

1.6 คําจํากัดความท่ีใชในการวิจัย กกก1.6.1 ชุดการสอน หมายถึง ชุดการสอนทฤษฎีประกอบการบรรยาย หรือชุดการสอนสําหรับครูท่ีผูวิจัยสรางข้ึน ซ่ึงประกอบดวย คูมือครู และส่ือท่ีใชประกอบการสอนประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอรในลักษณะการนําเสนอประกอบการบรรยายพรอมคูมือการใชส่ือ กกก1.6.2 คูมือครู หมายถึง โครงการสอนหรือแผนการสอน ซ่ึงประกอบไปดวย ลักษณะรายวิชา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม แผนการสอน ใบเน้ือหา แบบฝกหัด เฉลยแบบฝกหัด แบบทดสอบ และเฉลยแบบทดสอบ กกก1.6.3 ประสิทธิภาพชุดการสอน หมายถึง คุณภาพของชุดการสอนท่ีวัดจากคาคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดจากการทําแบบทดสอบทายบทเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กกก1.6.4 เกณฑท่ีกําหนด 80/80 หมายถึง ระดับคาคะแนนเฉล่ียในชุดการสอนท่ีคาดหวังของ ผูวิจัยท่ีกําหนดข้ึนจากการวเิคราะหวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในบทเรียนของชุดการสอน โดยกําหนดดังนี ้กกกกกก 1.6.4.1 80 ตัวแรก หมายถึง คาคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบทายบทเรียนไดถูกตอง โดยคิดเปนรอยละ กกกกกก 1.6.4.2 80 ตัวหลัง หมายถึง คาคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไดถูกตอง โดยคิดเปนรอยละ กกก1.6.5 นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปท่ี 2 สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี ปการศึกษา 2547 กกก1.6.6 ผูเช่ียวชาญ หมายถึง ผูท่ีมีวฒิุการศึกษาปริญญาตรีหรือสูงกวาและมีประสบการณการสอนเกี่ยวกับวิชาทางดานอิเล็กทรอนิกส หรือผูมีประสบการณดานการออกแบบส่ือการเรียนการสอนอยางนอย 5 ป

Page 13: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.7 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ กกก1.7.1 ชุดการสอนท่ีสรางข้ึนในวิชาเคร่ืองสงวิทยุและสายอากาศ รหัสวิชา 2104 – 2210 (เฉพาะทฤษฎี) ตามหลักสูตรระดบัประกาศนยีบัตรวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พุทธศักราช 2545 ท่ีสามารถนํามาใชสอนนักเรียน ไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน กกก1.7.2 ผลงานวิจยัสามารถนําไปใชเพือ่ชวยใหการดาํเนินการเรียนการสอนของผูสอนแตละคนอยูในแนวทางเดยีวกัน กกก1.7.3 ผลงานวิจยัท่ีไดสามารถใชเปนแนวทางในการสรางชุดการสอนในวิชาอ่ืน ๆ ตอไป

1.8 เอกสารอางอิง กานดา พนูลาภทวี. การวัดและประเมินผลการศึกษา. ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี ครุศาสตร

อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2528. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีทางการศึกษา : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

วัฒนาพานิช, 2526. บุญเกื้อ ควรหาเวช. นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทยการพิมพ, 2522. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจยัทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุวริียา

สาสน, 2538. สุนันท สังขออง. ส่ือการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดยีนสโตร,

2526. เสาวณยี สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยพีระจอม

เกลาพระนครเหนือ, 2528. อรอนงค วิริยานุรักษนคร. “การสรางและหาประสิทธิภาพชุดการสอน วิชาการวิเคราะหและออกแบบวงจร

ดิจิตอล หลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช 2543.” วิทยานพินธปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2545.

Page 14: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

โครงราง

โครงงานปญหาพิเศษ

ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ชื่อเร่ือง

ชุดทดลองวงจรกําเนิดความถี่และวงจรกรองความถ่ี

ผูเสนอ

นายไมตรี วิเชียรวรรธนะ

รหัสประจําตัว 29-499-299-9

สาขาวิชา ไฟฟา แขนงวิชาอิเล็กทรอนิกส

ปการศึกษา 2550

Page 15: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ชื่อเร่ือง ชดุทดลองวงจรกําเนิดความถี่และวงจรกรองความถ่ี

ผูเสนอ นายไมตรี วเิชียรวรรธนะ

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงงาน

ปจจุบันความกาวหนาทางดานวิชาการและเทคโนโลยีมีความกาวหนามากทําใหตองมีการพัฒนาทางดานการศกึษา ใหมีความเจริญกาวหนาทันกับเทคโนโลยีท่ีพัฒนาตัวอยางรวดเร็ว ประเทศไทยเองก็ตองมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะทางดานอิเล็กทรอนกิสก็เปนสวนหน่ึงท่ีควรไดรับการพัฒนาให มีความเจริญรุดหนาเห็นไดจากการท่ีเคร่ืองจักร และในสวนของงานอุตสาหกรรมมีสวนของวงจรอิเล็กทรอนิกสเปนสวนประกอบหรือทําการควบคุมการทํางานอยูดวยแทบทั้งส้ิน จึงกลาวไดวาการศึกษาทางดานอิเล็กทรอนิกสเปนสวนสําคัญและจําเปนอยางยิง่ท่ีควรใหมีการเรียนการสอน เพื่อสามารถทําการพัฒนาบุคคลากรใหมีความรูความสามารถกาวทันกับความเจริญกาวหนา จึงควรท่ีจะมีชุดทดลองท่ีมีรูปแบบหรือมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงชุดทดลองจะประกอบไปดวยชุดทดลองวงจรจริง การจําลองการทดลองในโปรแกรม PSpice และแบบประลอง รหัสวิชา 224303 ช่ือรายวิชาปฏิบัติการระบบส่ือสาร 1 (Communication Laboratory I) ตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ พ.ศ 2544 สําหรับการประลองในปจจุบัน วงจรกําเนดิความถ่ีและวงจรกรองความถ่ีจะเกดิความผิดพลาดในการตอวงจรจากผูทดลอง ดังนั้นจึงจําเปนตองมีชุดทดลองวงจรกําเนิดความถ่ีและวงจรกรองความถี่มาชวยในการลดขอผิดพลาด ท่ีมักจะเกิดปญหาการตอวงจรทดลองดวยโฟโตบอรดรวมถึงตัวอุปกรณเองท่ีมีคาความผิดพลาด และชวยเสริมความเขาใจทางดานการวิเคราะหการเกิดสภาวะออสซิลเลตได ในวงจรกาํเนดิความถ่ี และวเิคราะหวงจรกรองความถ่ีแบบแอกทีฟในสวนของการกรองความถ่ีตํ่าผาน ความถ่ีชวงกวางผาน และเสริมทักษะการเรียนรูในเร่ืองการใชคอมพิวเตอร มาชวยในการวิเคราะหวงจรกอนทําการทดลองโดยใชโปรแกรม PSpice มาใชในการวิเคราะห เพื่อใหทราบถึงปญหาท่ีเกิดข้ึนกอนทําการทดลอง เพื่อชวยลดระยะเวลาในการตอวงจรจริง ลดขอผิดพลาดในการตอ ซ่ึงจะเปนผลทําใหอุปกรณเสียหายโดยไมจําเปนและทําใหผูเรียนเขาใจในการทดลองและเห็นภาพ ประกอบไดอยางถูกตองชัดเจนยิ่งข้ึน จากเหตุผลดังกลาว ผูจดัทํามีแนวคิดท่ีจะแกปญหา โดยการจดัทําชุดทดลองวงจรกําเนิดความถ่ี และวงจรกรองความถ่ี เพื่อลดระยะเวลาการจําลองการทํางานในโปรแกรม PSpice ซ่ึงจะชวยลดขอผิดพลาดในการทดลอง ลดความเส่ียงในสวนของการสูญเสียอุปกรณอันเนื่องมาจากความผิดพลาดของผูทดลอง และชวยในการเปรียบเทียบกับการทดลองวงจรจริงของวงจร กําเนดิความถ่ีวงจรกรองความถ่ีข้ึนเพื่อเปนการสรางความเขาใจท่ีถูกตองในการทดลองและบรรลุวัตถุประสงคเร็วข้ึน

Page 16: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน เพื่อออกแบบและสรางชุดทดลองวงจรกําเนิดความถ่ีและชุดทดลองวงจรกรองความถ่ี เพื่อใชในการทดลองในรายวิชาปฏิบัติการระบบส่ือสาร 1 (Communication Laboratory I)

1.3 ขอบเขตของโครงงาน โครงงานนี้จัดโดยมีองคประกอบ 3 สวน ไดแก

1.3.1 ใบประลองเร่ืองวงจรกําเนิด และวงจรกรองความถ่ีประกอบไปดวยหวัขอการทดลอง ดังนี ้

1.3.1.1 การทดลองท่ี 1 การออกแบบวงจรกําเนิดความถ่ี 2 ยานความถ่ี ไดแก 1.3.1.1.1 วงจรกําเนิดความถ่ีแบบท่ีมียานความถ่ีเสียง (1 kHz) ผิดพลาดไมเกนิ 5% 1.3.1.1.2 วงจรกําเนิดความถ่ีท่ีมียานความถ่ีพาห (1MHz)ผิดพลาดไมเกิน 5%

1.3.1.2 การทดลองท่ี 2 การออกแบบวงจรกรองความถ่ี ประกอบดวยวงจร 2 วงจร ดังนี ้1.3.1.2.1 วงจรกรองความถ่ีชวงตํ่าผาน (LPF) 1.3.1.2.2 วงจรกรองความถ่ีชวงกวางผาน (BPF)

ในแตละการทดลองประกอบไปดวยรายละเอียดดังนี ้ก) วัตถุประสงค ข) อุปกรณท่ีใชในการทดลอง ค) ข้ันตอนการประลอง ง) คําถามทายการทดลอง จ) อภิปรายผล

1.3.2 การทดลองในแตละใบประลอง แบงออกเปน 2 สวน ไดแก 1.3.2.1 การจําลองโดยใชโปรแกรม PSpice มีแนวทางการจําลองดงัตอไปนี ้

1.3.2.1.1 ประกอบวงจรโดยทดลองบนโปรแกรม PSpice 1.3.2.1.2 แสดงผลและบันทึกผลการจําลอง 1.3.2.1.3 ปรับปรุงแกไขวงจรเพ่ือปรับเปล่ียนผลการทดลอง

1.3.2.2 การทดลองโดยใชชุดประลอง เพื่อเปรียบเทียบการทํางาน โดยมี รายละเอียดของชุดทดลองดังตอไปนี ้

1.3.2.2.1 วงจรกําเนิดความถ่ี ก) วงจรประกอบสําเร็จแลวอยูบนกลองขนาด 13x19x6.5 เซนติเมตร ข) มีชองเสียบสายอยูบนกลองเปนแบบ BNC ค) มีจุดวดัไมนอยกวา 3 จุดบนกลองทดลอง

Page 17: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.3.2.2.2 วงจรกรองความถ่ี ก) วงจรประกอบสําเร็จแลวอยูบนกลองขนาด 13x19x6.5 เซนติเมตร

ข) มีชองเสียบสายอยูบนกลองเปนแบบ BNC ค) มีจุดวัดไมนอยกวา 3 จุดบนกลองทดลอง

1.3.3 คูมือประกอบการทดลองพรอมเฉลย

1.4 วิธีการดําเนินงาน

การจัดสรางใบประลองและโปรแกรมการจําลองสําหรับการทดลองเร่ืองวงจรออสซิลเลเตอร (oscillator) และวงจรฟลเตอร (filter) ไดมีการวางแผน กําหนดข้ันตอนและวิธีการดาํเนินงานดังภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 ข้ันตอนการดําเนินงาน

Page 18: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ภาพท่ี 1 (ตอ) ผังข้ันตอนการดําเนนิงาน 1.4.1 การศึกษาและวิเคราะหขอมูล

ศึกษารายละเอียดท่ีเกี่ยวของกับกําเนดิความถ่ีและชุดทดลองวงจรกรองความถ่ีทางวารสารและทางอินเตอรเน็ทรวมถึงทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ ศึกษาทฤษฎีเบ้ืองตนของกําเนิดความถ่ี และชุดทดลองวงจรกรองความถ่ีและ ศึกษาการทํางานของวงจรกาํเนิดความถ่ี และชุดทดลองวงจรกรองความถ่ี แลวรวบรวมหา

Page 19: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ขอดีขอเสียของแตละวงจรจนไดวงจรกําเนิดความถ่ี และชุดทดลองวงจรกรองความถ่ี ท่ีมีความเสถียรภาพมากท่ีสุด 1.4.2 การเขียนวงจรลงบนโปรแกรม PSpice เม่ือไดวงจรท่ีตองการแลวทําการจําลองการทํางานบนโปรแกรม PSpice 1.4.3 การการออกแบบชุดทดลอง

เม่ือไดวงจรวงจรกําเนิดความถ่ีและชุดทดลองวงจรกรองความถ่ี ทําการออกแบบและวางอุปกรณตาง ๆ ท่ีจะใชกับวงจรทั้งหมด

ภาพท่ี 2 ตัวอยางกลองวงจรmf]v’ 1.4.4 การออกแบบและสรางใบประลอง เม่ือไดวงจรท่ีสมบูรณแลวทําแบบประลองข้ึนโดยอางอิงจากการทดลองวงจรจริงรวมกับการจําลองการทดลองจากโปรแกรม PSpice เพื่อเปนขอมูลในการออกแบบการประลองพรอมปรับปรุงแกไขใบประลองตามความเหมาะสมกับวงจรจริงและจากการจําลองการทํางานจากการจําลอง PSpice

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1.4.1 ชวยลดความส้ินเปลืองจากจํานวนอุปกรณทดลองที่ชํารุดจากการใชงาน

1.4.2 ไดชุดทดลองท่ีมีราคาถูก 1.4.3 สามารถนําเทคโนโลยมีาใชประกอบการเรียนการสอนในภาควิชาปฏิบัติ 1.4.4 ลดเวลาและความผิดพลาดจากการตอบนโฟโตบอรด

Page 20: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.4.5 สงเสริมใหผูเรียนวิเคราะหรูปคล่ืนสัญญาณท่ีไดจากวงจรกําเนดิความถ่ีและวงจร กรองความถ่ีไดดียิ่งข้ึน

1.4.6 แนวในการพฒันาส่ือการเรียนการสอนในวิชาท่ีเกี่ยวของตอไป

1.6 เอกสารอางอิง กฤษณะ โดษะนันท และปญญา ศรีกระจาง. ชุดประลองอิเล็คทรอนิคส. ปริญญานิพนธบัณฑิตคณะครุ ศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนอื , 2536. บํารุง กลัดเจริญ และฉววีรรณ กินาวงค , วิธีการสอนท่ัวไป , กรุงเทพ : โรงพิมพพิฆเณศ 2527. มนชัย เทียนทอง. อุปกรณชวยสอน . กรุงเทพ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. มนตรี ศิริปรัชญานันท หนังสือ Engineering Electronics II. ภาควิชาครุศาสตรไฟฟาสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนอื. สมศักดิ์ อรรคทิมากูล เอกสารประกอบการสอน ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนอื. สันติ วิริยาอรรถกิจ. การพฒันาหลักสูตรรายวิชา (Course Development) .ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนอื.

Page 21: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

โครงราง

โครงงานปญหาพิเศษ ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนือ

ช่ือเรื่อง

เคร่ืองบันทึกขอมูลและความเร็วสําหรับรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร

ผูเสนอ

นายนนัทวุฒ ิ เขมา

รหัสประจําตัว 29-499-299-9 สาขาวิชาไฟฟา แขนงวิชาอิเล็กทรอนกิส

ปการศึกษา 2550

Page 22: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

ชื่อเร่ือง เคร่ืองบันทึกขอมูลและความเร็วสําหรับรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร

ผูเสนอ นายนันทวุฒิ เขมา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงงาน

กกกกในปจจบัุนภาคอุตสาหกรรมสวนใหญ เม่ือเสร็จส้ินกระบวนการผลิตแลว จําตองมีการจัดสง ส่ิงของหรือผลผลิตตางๆ ซ่ึงปริมาณในการจดัสงจะมีมากนอยแลวแตภาคอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการจดัสงภายในประเทศสวนใหญเปนการขนสงทางบก โดยใชรถบรรทุกขนาดใหญในการขนสงการจัดสงสินคา โดยเฉพาะสินคาท่ีตองการความปลอดภยัและตองการความตรงตอเวลาในการจดัสง เชน รถบรรทุกแกส รถบรรทุกปูนซีเมนต ซ่ึงความตองการเหลานี้จะบรรลุตามวัตถุประสงคหรือไม ข้ึนอยูกับผูขับข่ีรถบรรทุก ซ่ึงเจาของกิจการหรือผูบริหารไมสามารถท่ีจะเขาไปตรวจสอบการใชความเร็วในการขับข่ีของพนักงานขับรถสงสินคาไดโดยตรง เนือ่งจากปริมาณสินคาท่ีจัดสงออกไปในแตละวันมีจํานวนมากและตองเดินทางไปในสถานท่ีไกล ๆ ทําใหยากตอการตรวจสอบวาผูขับข่ีรถบรรทุกไดปฏิบัติตามขอกําหนดความเร็วในการขับข่ีหรือไม หรือทําการจัดสงสินคาไดตรงตอเวลาเพยีงใด หรือขับข่ีรถตรงตามเสนทางท่ีกําหนดหรือไม ผูจัดทําจึงไดมีความคิดท่ีจะสรางชุดอุปกรณ ท่ีสามารถแจงเตือนผูขับข่ีได หากมีการใชความเร็วเกินกําหนด และสามารถเก็บขอมูลตาง ๆ ตลอดระยะเวลาในการขับข่ีของพนักงานขับรถ เชน ระยะทาง ระยะเวลาการเดินทาง เปนตน กกกกจากแนวทางดังกลาวมาขางตน ผูจัดทําจึงมีความคิดท่ีจะสราง ชุดจําลองเคร่ืองบันทึกขอมูลและความเร็วของรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร (Simulation Set of Data and Speed Recorder for Car Using Microprocessor) ซ่ึงจะใชควบคูกันกับชุดจําลองการตรวจจับความเร็วของมอเตอรท่ีสามารถปรับความเร็วได โดยเช่ือมโยงกับตัวตรวจจบัแลวสงสัญญาณผานไปยังตัวเคร่ืองบันทึก ซ่ึงสามารถกําหนดความเร็วในการตรวจจับ และเตือนใหผูใชทราบถึงขีดจํากัดความเร็วสูงสุดได เก็บบันทึกอัตราความเร็วในชวงความเร็วปกติ และชวงความเร็วเกินพิกัด โดยแสดงความเร็วบนหนาจอ แสดงผล LCD และสามารถตรวจสอบขอมูลท่ีถูกบันทึกไวดวยคอมพิวเตอร โดยสงผานชองสัญญาณ RS-232 เขาสูโปรแกรมหลัก โดยตัวโปรแกรมหลักสามารถท่ีจะแสดงผลเปนตัวเลข และเสนกราฟเพื่องายตอการตรวจสอบ และสามารถส่ังพิมพขอมูลตาง ๆ ออกทางเคร่ืองพิมพได โดยในโครงงานน้ีเนนการสรางเคร่ืองตนแบบ ท่ีสามารถนําไปพัฒนาใชงานจริงในภาคอุตสาหกรรมท่ีมีความตองการ ในการตรวจสอบ การดําเนินงานในดานการรับ-สงสินคา เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจจะเกดิข้ึนได ถาผูขับข่ีไมเคารพกฎกติกาในการขับรถ ซ่ึงกอใหเกิดปญหาการสูญเสียทรัพยสินจํานวนมาก

Page 23: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน กกกกเพื่อออกแบบและสรางเคร่ืองบันทึกขอมูลและความเร็วของรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร (Simulation Set of Data and Speed Recorder for Car Using Microprocessor)

1.3 ขอบเขตของโครงงาน กกกกชุดจําลองเคร่ืองบันทึกขอมูลและความเร็วของรถยนตโดยใชไมโครโปรเซสเซอร มีสวนประกอบดังนี ้กกกก1.กชุดจาํลองความเร็ว กกกกกกกก1.1กชุดจําลองระบบความเร็วดวยมอเตอร กกกกกกกก1.2กชุดควบคุมความเร็วมอเตอรท่ีสามารถปรับคาได กกกก2.กชุดควบคุมการวดั กกกกกกกก2.1กควบคุมดวยไมโครโปรเซสเซอรขนาดเล็ก กกกกกกกก2.2 สามารถกําหนดความเร็วในการตรวจจับไดโดยใชคียบอรด และแสดงคาทางภาคแสดงผล กกกกกกกก2.3กกสามารถเตือนใหผูใชงานทราบถึงขีดจํากัดความเร็วสูงสุด โดยใชเสียงและหลอดไฟ กกกกกกกก2.4กกเก็บบันทึกเวลาและความเร็วในชวงความเร็วปกติ กกกกกกกก2.5กกเก็บบันทึกเวลาและความเร็วในชวงความเร็วเกินขีดจํากัด กกกกกกกก2.6กกสามารถแสดงผลของเวลาและอัตราความเร็วผานจอ LCD กกกกกกกก2.7กกสามารถบันทึกเวลาเร่ิมตนและส้ินสุดของการเดินทาง กกกกกกกก2.8กกสามารถบันทึกระยะทางของการเดินทาง กกกก3.กกชุดโปรแกรมบนเคร่ืองคอมพิวเตอรประกอบดวย กกกกกกกก3.1กกโปรแกรมหลักภายใตโปรแกรมบันทึกความเร็ว โดยใชโปรแกรม Visual Basic กกกกกกกก3.2กกโปรแกรมติดตอใชรับ-สงขอมูลจากชุดบันทึกความเร็วไปยังชุดคอมพิวเตอร กกกกกกกก3.3กกสามารถแสดงผลการบันทึกขอมูลไดดังตอไปนี ้กกกกกกกกกกกก3.3.1 อัตราความเร็วสูงสุดท่ีกําหนด กกกกกกกกกกกก3.3.2กกเวลาเร่ิมตนและเวลาส้ินสุดการเดินทาง กกกกกกกกกกกก3.3.3กกจาํนวนระยะทางของการเดินทาง กกกกกกกกกกกก3.3.4กกอัตราความเร็วในชวงเวลาตาง ๆ ท่ีกําหนด กกกกกกกกกกกก3.3.5กกแสดงผลเปนรูปกราฟและตัวเลข กกกกกกกก3.4กกสามารถส่ังพิมพออกทางเคร่ืองพิมพเพื่อแสดงผลใหกับผูใชงานได กกกกกกกก3.5กกสามารถส่ังบันทึกในรูปแบบของ Text File ได

Page 24: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.4 วิธีการดําเนินการ ข้ันตอนการดําเนินงาน มีดังนี ้

ภาพท่ี 1กข้ันตอนและการดําเนินงาน

เร่ิมตน

ออกแบบชุดฮารดแวร

ศึกษาวงจร

ทดสอบ แกไข

ผาน

ปรึกษาอาจารย ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ

ความเห็น อ.ทีปรึกษา

ไมผาน

ผาน

แกไข ไมผาน

ออกแบบรและเขียนโปรแกรมควบคุมฮารดแวร

ทดสอบโปรแกรม

ส้ินสุด

แกไข ไมผาน

ผาน

วืเคราะหและสรุปผล

Page 25: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

กกกกในโครงงานนี้จะแบงข้ันตอนและการดําเนินงานออกเปน 2 สวนดังนี ้กกกก1.กกการดําเนินงานดานชุดบันทึกขอมูล กกกก2.กกการดําเนินงานดานโปรแกรมประมวลผลบนคอมพิวเตอร

ภาพท่ี 2กวงจรชุดบันทึกขอมูลและความเร็ว

STAR

TST

OP

SEND

RESE

T

+5 v

PIC1

6F628

RB

2 R

B3 RB5

RB4

RB6

RB7 RA

1RA

2

4 MHZ

VSS

RB1/R

XRB

2/TX

+ 5 V

E R

S R/W

LCD

D5

D6

D7

D

4

VR1

0K

+5V

+5V

SCL

SDA

+5V

A0

A1

A2

24LC

04

4.7K

4.7

K

+5V

A0 A1 A2

A

OU

TEX

TAG

ND

AIN

3

AIN

2

AIN

1

AIN

0

SDA

SCL

MAX2

32

+5V

2 1 3 6 4 7

8 9 10 11

12 13 18 17

6 4 5

2

3 111

1213

14

6 51 2 3 7

4 1614

5 6 7 15

812

1 2 3 4 1316 9

8 75

10 9

1615

615

6

9

1 5

7 81 3

4 5

162

Page 26: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

- การทํางานของวงจรเคร่ืองบันทึกขอมูล ดังในภาพท่ี 2 มีดังนี ้

กกกก PIC 16F628 เปนไมโครคอนโทรลเลอรทําหนาท่ีในการควบคุมการทํางานของอุปกรณทุกตัวในวงจรซ่ึงประกอบไปดวย PORT INPUT/OUTPUT เพื่อรับขอมูล แสดงผล และสงขอมูลออกโดยภายในตัว PIC จะถูกโปรแกรมใหทํางานตามคําส่ังท่ีกําหนด กกกกIC PCF8591 เปน A/D CONVERTER จะทําหนาท่ีเปล่ียนฐานขอมูลจาก ANALOG มาเปน DIGITAL จากนั้นฐานขอมูลจะถูกสงผานบัสขอมูล โดยตออยูกับ PORT RA0 และ RA1 เม่ือมีสัญญาณท่ีเปนแรงดัน 0-5 โวลตเขามา จะถูกแปลงใหเปนฐานดิจิตอล กกกกIC 24LC512 เปนหนวยความจําซ่ึงตออยูกับ PIC โดยใช PORT RA0 และ RA1 รวมกับ PCF8591 แตมีการกําหนดแอดเดรสในการทํางานท่ีตางกันดังนั้น IC แตละตัวจะไมทํางานชนกัน ซ่ึงการทํางานจะถูกควบคุมดวยคําส่ังภายในตัว PIC วาใหกระทําการเขียนหรืออานขอมูล สําหรับหนวยความจําจะถูกตรวจสอบวาเต็มหรือไมกอนทําการเขียนลงไปถาหากเต็มจะแสดงท่ีจอ LCD วา FULLMEM ก กIC MAX232 ทําหนาท่ีสงขอมูลท่ีถูกบันทึกไวในหนวยความจําเขาสูคอมพิวเตอร กก

- โปรแกรมแสดงผลทางคอมพิวเตอร

กกกกในสวนของโปรแกรมแสดงผลบนคอมพิวเตอรจะอธิบายดวยแผนผังรวม ซ่ึงในการเขียนโปรแกรมคําส่ังตาง ๆ เปนคําส่ังสําเร็จรูปท่ีโปรแกรมวิชวลเบสิคมีอยูแลว ดังตอไปนี้

ภาพท่ี 3กผังคําส่ังโปรแกรมประมวลผลบนคอมพิวเตอร

OPEN

MENU

SAVE AS PRINT RECIEVE พิกัดความเร็ว

Page 27: ตัวอย างการเข ียนโครงร างโครงงานป ญหาพ ิเศษte.kmutnb.ac.th/2008/download/example.pdfตัวอย างการเข

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

กกกก1.กเคร่ืองบันทึกขอมูลความเร็วนี้ สามารถท่ีจะนําไปประยุกตใชงานจริงในภาคอุตสาหกรรมท่ีตองมีการขนสง เพื่อเปนการตรวจสอบการขับข่ีรถขนสงของพนักงานวาปฏิบัติตามขอกําหนดในการขับข่ี เพื่อความปลอดภยัในการขับข่ียานพาหนะ และควบคุมการจดัสงสินคาใหเปนไปตามระยะเวลาท่ีกําหนด กกกก2.กสามารถนําเอาเคร่ืองตนแบบ ไปประยุกตใชในการตรวจสอบ และบันทึกขอมูลประเภทอื่น ๆ ได เชน ตรวจจับ และบันทึกอุณหภูมิในสถานท่ีมีอันตราย, ตรวจจับและบันทึกปริมาณน้าํฝนตามสถานท่ีตาง ๆ โดยการนําชุดตรวจจับไปตดิต้ังในระยะเวลาหน่ึง หลังจากนั้นนําผลทีบั่นทึกมารายงานผลดวยคอมพิวเตอร กกกก3.กเคร่ืองบันทึกขอมูลความเร็วนี ้ สามารถพัฒนาความรู ดานไมโครโปรเซสเซอร เพื่อใชประโยชนในดานภาคอุตสาหกรรม

1.6 เอกสารอางอิง

กฤษณะ โดษะนันท และปญญา ศรีกระจาง. ชุดประลองอิเล็คทรอนิคส. ปริญญานิพนธบัณฑิตคณะครุ- ศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนอื , 2536. บํารุง กลัดเจริญ และฉววีรรณ กินาวงค , วิธีการสอนท่ัวไป , กรุงเทพ : โรงพิมพพิฆเณศ 2527. มนชัย เทียนทอง. อุปกรณชวยสอน . กรุงเทพ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. มนตรี ศิริปรัชญานันท หนังสือ Engineering Electronics II. ภาควิชาครุศาสตรไฟฟาสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนอื. สมศักดิ์ อรรคทิมากูล เอกสารประกอบการสอน ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนอื.