การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ...

11
โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที4 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อบูรณาการทองถิ่นอยางยั่งยืน493 การประยุกซใชไอโอทีสําหรับระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง Application of Internet of Things for a Temperature and Humidity Control System in Schizophyllum Mushroom Farm สุวลี ชูวาณิชย 1* , เกริกชัย ทองหนู 2 Suvalee Chuvanich 1* , Krerkchai Thongnoo 2 บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงโดยใชเทคโนโลยี อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง และวิเคราะหการใชงานระบบของเกษตรกรในชวงเวลา 10 เดือน โดยระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถ ตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ และควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดผานแอปพลิเคชันบนสมารทโฟนของ เกษตรกร จากผลการทดสอบพบวาระบบสามารถแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น รวมถึงสั่งควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ํา บนสมารทโฟนได จากการใชงานระบบของเกษตรกรเปนระยะเวลา 10 เดือน พบวาผลผลิตจากกอนเชื้อเห็ดแครงจะมีความ สมบูรณและเจริญเติบโตไดเร็วกวาปกติ และผลผลิตโดยรวมจากกอนเชื้อเห็ดจะเสียหายประมาณ 10 % ของผลผลิตเห็ด ทั้งหมด อีกทั้งเกษตรกรมีการปรับตัวและเรียนรูปญหาจากการใชงานเทคโนโลยีเพื่อชวยในการเพาะเห็ดไดเปนอยางดี คําสําคัญ: ไอโอที, ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้น, โรงเรือนเพาะเห็ด Abstract This research aims to develop a temperature and humidity control system in a Schizophyllum mushroom farm based on the Internet of Things and analyze the system effects to the farmers for the period of 10 months. The system was developed to measure the temperature and humidity in the mushroom farm and control the watering in it via the applications on the farmers' smartphones. The results show that the system can display the correct temperature and humidity, and control the pump when it is requested and controlled by the farmers using their smartphones. The yield of mushroom in a temperature and humidity controlled farm is higher than a traditional farm. The mushroom yield losses are about 10% of total. In addition, farmers have well adapted and learned how to use technology to assist their mushroom cultivation. Keyword: Internet of Things, temperature and humidity control system, mushroom farm 1 อาจารยประจําวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2 Research Consultant, TOYOTA TSUSHO NEXTY ELECTRONICS (THAILAND) CO., LTD * Corresponding author, E-mail: [email protected]

Upload: others

Post on 04-Sep-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

493

การประยุกซใชไอโอทีสําหรับระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง

Application of Internet of Things for a Temperature and Humidity

Control System in Schizophyllum Mushroom Farm

สุวลี ชูวาณิชย1*, เกริกชัย ทองหนู2

Suvalee Chuvanich1*, Krerkchai Thongnoo2

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงโดยใชเทคโนโลยี

อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง และวิเคราะหการใชงานระบบของเกษตรกรในชวงเวลา 10 เดือน โดยระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถ

ตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ และควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดผานแอปพลิเคชันบนสมารทโฟนของ

เกษตรกร จากผลการทดสอบพบวาระบบสามารถแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น รวมถึงสั่งควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ํา

บนสมารทโฟนได จากการใชงานระบบของเกษตรกรเปนระยะเวลา 10 เดือน พบวาผลผลิตจากกอนเชื้อเห็ดแครงจะมีความ

สมบูรณและเจริญเติบโตไดเร็วกวาปกติ และผลผลิตโดยรวมจากกอนเชื้อเห็ดจะเสียหายประมาณ 10 % ของผลผลิตเห็ด

ทั้งหมด อีกท้ังเกษตรกรมีการปรับตัวและเรียนรูปญหาจากการใชงานเทคโนโลยีเพื่อชวยในการเพาะเห็ดไดเปนอยางดี

คําสําคัญ: ไอโอท,ี ระบบควบคมุอุณหภมูิและความชื้น, โรงเรือนเพาะเห็ด

Abstract This research aims to develop a temperature and humidity control system in a Schizophyllum

mushroom farm based on the Internet of Things and analyze the system effects to the farmers for the

period of 10 months. The system was developed to measure the temperature and humidity in the

mushroom farm and control the watering in it via the applications on the farmers' smartphones. The

results show that the system can display the correct temperature and humidity, and control the pump

when it is requested and controlled by the farmers using their smartphones. The yield of mushroom in a

temperature and humidity controlled farm is higher than a traditional farm. The mushroom yield losses

are about 10% of total. In addition, farmers have well adapted and learned how to use technology to

assist their mushroom cultivation.

Keyword: Internet of Things, temperature and humidity control system, mushroom farm

1อาจารยประจําวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2Research Consultant, TOYOTA TSUSHO NEXTY ELECTRONICS (THAILAND) CO., LTD *Corresponding author, E-mail: [email protected]

Page 2: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

494

บทนํา ในปจจุบันเทคโนโลยีหลายศาสตรถูกนํามาใชในการพัฒนาทางดานเกษตรกรรมสมัยใหม รวมถึงเทคโนโลยี

อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรและสารสนเทศที่ถูกนํามาประยุกตใชงานในการจัดการและบริหารฟารมเกษตรกรรม เชน ระบบ

ตรวจวัดและแสดงผลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการเรื่องการใหน้ําและปุย ซึ่งชวยใน

การลดตนทุนการผลิต เปนตน โดยรูปแบบที่มีการนําเทคโนโลยีมาชวยในการพัฒนาฟารมเกษตรกรรมเรียกวาฟารมอัจฉริยะ

หรือ Smart Farm ซึ่งจะชวยใหเกษตรกรเขาถึงขอมูลสภาวะแวดลอมไดอยางแมนยํา สามารถควบคุมการผลิตผลผลิตทางการ

เกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น (ฤทัยชนก จริงจิตร, 2559 ) และนําไปสูการเกษตรกรรมอยางยั่งยืน

Thailand 4.0 เปนแนวคิดของรัฐบาลเพื่อเปนแนวทางในการขับเคลื่อนประเทศและพัฒนาเศรษฐกิจโดยมีการเพิ่ม

มูลคาและศักยภาพในการผลิตและบริการผานการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม ท้ังน้ีการนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพ

สิ่ง (Internet of Things หรือ IoT) มาใชในการจัดการฟารมอัจฉริยะจะสามารถยกระดับและเพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร

ได เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งเปนระบบโครงขายอินเทอรเน็ตที่เชื่อมตอกับอุปกรณหลากหลายชนิดเขาดวยกัน

(สมนึก จิระศิริโสภณ, 2559) เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ คอมพิวเตอร อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและเซนเซอร (Alaba et al., 2017)

ซึ่งระบบที่พัฒนาข้ึนจะสามารถทําใหอุปกรณเหลานี้สามารถติดตอสื่อสารกันไดอัตโนมัติ ทําใหเกษตรกรสามารถเขาถึงขอมูล

และควบคุมการผลิตผลิตผลทางการเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งชวยลดตนทุนในการผลิตบางสวนได (O’Grady and

O’Hare, 2017) ทั้งยังสามารถทําใหผูบริโภคสามารถเขาถึงขอมูลการผลิตบางสวนที่ชวยในการเพิ่มมูลคาและความนิยมของ

ผลผลิตทางการเกษตรนั้น

จากการลงพ้ืนที่เพื่อศึกษาปญหาของกลุมเกษตรกรในหมูที่ 6 ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวากลุม

เกษตรกรที่เพาะเลี้ยงเห็ดพบปญหาจากตนทุนทางเวลาและสภาพอากาศในการเพาะเลี้ยงเห็ด โดยเกษตรกรตองตรวจสอบ

อุณหภูมิและความชื้นของอากาศเพื่อใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเห็ด ซึ่งในบางฤดูกาล เชน ฤดูรอน เกษตรกรจะมี

ตนทุนทางเวลาที่สูงเนือ่งจากตองตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นของอากาศในโรงเรือนเพาะเห็ดอยางสม่ําเสมอ หากมีอุณหภูมิ

และความชื้นของอากาศไมเหมาะสม เกษตรกรตองรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดเพื่อปรับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศ ซึ่งใน

บางชวงเวลาจะสงผลกระทบตอการจัดการเวลาในชีวิตประจําวันหรือชวงเทศกาล เชน เทศกาลสงกรานตหรือเทศกาลปใหม

เปนตน อีกทั้งเกษตรกรบางรายยังพักอาศัยอยูหางจากโรงเรือนเพาะเห็ด ทําใหเกิดตนทุนจากการเดินทาง ดังน้ันผูพัฒนาระบบ

จึงมีแนวคิดในการพัฒนาระบบตรวจวัดและแสดงผลอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ รวมถึงสามารถควบคุมการรดน้ําใน

โรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟน (Smartphone) ของเกษตรกรโดยใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง ทั้งนีร้ะบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนเปนสวนหนึ่งของโครงการ “ชุมชน

พะตงอัจฉริยะดานการพัฒนาผลิตภัณฑเกษตรอินทรียและพลังงานทางเลือก” ซึ่งประกอบไปดวย 1) การใชพลังงานจากเซลล

แสงอาทิตย 2) ถุงหมักแกสชีวภาพ 3) ระบบสมารทฟารมสําหรับโรงเรือนเพาะเห็ด และ 4) เครื่องผลิตน้ําสมควันไม ซึ่งใน

ปจจุบันระบบทั้ง 4 สวนถูกดูแลและใชงานโดยเกษตรกรในศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะ หมูที่ 6 ตําบลพะตง อําเภอ

หาดใหญ จังหวัดสงขลา

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนโดยใชเทคโนโลยี

อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง

2. เพื่อวิเคราะหการใชงานระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนโดยใช

เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งของเกษตรกรเปนระยะเวลา 10 เดือน

Page 3: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

495

แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิด 1. เห็ดแครง

เห็ดแครง (Schizophyllum commune) เปนเห็ดที่มีโปรตีนสูงและพบวามีสารประกอบพวก Schizophyllan ใน

กลุม Polysaccharide มีฤทธิ์ยับยั้งเซลลมะเร็งปากมดลูก มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปอด (รัฐพล ศรประเสริฐ และ

สยาม อรุณศรีมรกต, 2557) ในอนาคตเห็ดแครงจึงเปนเห็ดที่มีแนวโนมที่จะมีการบริโภคมากขึ้น ทั้งนี้อุณหภูมิที่เหมาะสมใน

การเพาะบมเชื้ออยูระหวาง 25-35 องศาเซลเซียส (อรพรรณ แซตั้งและคณะ, 2560) หลังจากเห็ดเริ่มออกดอกจะตองรดน้ํา

อยางสม่ําเสมอเพื่อใหความชื้นแกกอนเชื้อเห็ดในโรงเรือน โดยการฉีดพนน้ําใหเปนฝอยในชวงเชาและเย็น แตถาอากาศแหงให

เพิ่มจํานวนครั้งมากขึ้นเพื่อใหโรงเรือนมีความชื้นประมาณ 80-90 % (ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจาก

พระราชดําริ อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี, 2556 ; รัฐพล ศรประเสริฐ และสยาม อรุณศรีมรกต, 2557; อรพรรณ แซตั้งและ

คณะ, 2560) ซึ่งจะเห็นไดวาคาความชื้นในอากาศมีความสําคัญตอผลผลิตของเห็ดแครง และเชื่อมโยงถึงการรดน้ําอยาง

สม่ําเสมอเพื่อควบคุมปริมาณคาความชื้นในอากาศภายในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง

2. ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสําหรับโรงเรือนเพาะเห็ด

จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวามีผูพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือน

เพาะเห็ดดังน้ี

ศุภวุฒิ ผากา และคณะ (2557) ไดพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเห็ด

ในโรงเพาะเห็ดบานทุงบอแปน ตําบลปงยางคก อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง โดยเลือกใชไมโครคอนโทรลเลอร ADU842 ใน

การประมวลผลและควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเพาะเห็ดนางฟา จากผลการวิจัยพบวาโรงเรือนเพาะเห็ดที่มีการควบคุม

อณุหภูมิและความชื้นสามารถเพิ่มผลผลิตของเห็ดไดเฉลี่ย 10.1 กิโลกรัมตอการเก็บผลผลิตเห็ด 1 ครั้ง

ลิขิต อานคําเพชร และธงรบ อักษร (2560) ไดการออกแบบและพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะ

ตอการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟาดวยไมโครคอนโทรลเลอร Arduino UNO R3 จากผลการทดสอบพบวาระบบที่ควบคุม

อุณหภูมิและความชื้นที่พัฒนาข้ึนสามารถเพิ่มผลผลิตของเห็ดไดมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณผลผลิตจากโรงเพาะเห็ดที่

ไมมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเพาะเห็ด

บุญยัง สิงหเจริญ และสันติ สาแกว (2559) ไดพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสําหรับโรงเรือนเพาะเห็ด

ดวยไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล STM32 โดยแบงการทดสอบออกเปน 2 สวน คือการทดสอบระบบควบคุมและการทดสอบ

ผลผลิตของดอกเห็ดนางรมและเห็ดนางฟาจํานวน 100 กอน ในโรงเรือนท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นกับโรงเรือนทั่วไป

จากผลการทดสอบพบวาระบบสามารถทํางานตามเงื่อนไขที่ออกแบบไวได โดยเห็ดที่เก็บจากโรงเรือนที่มีการควบคุมอุณหภูมิ

และความชื้นมีปริมาณที่มากกวาโรงเรือนแบบทั่วไป ซึ่งเห็ดที่ไดจากโรงเรือนที่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นมีน้ําหนัก

เฉลี่ย 1.865 กิโลกรัม และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.198 ในขณะที่เห็ดที่เก็บจากโรงเรือนแบบทั่วไปมีน้ําหนักเฉลี่ย 1.455

กิโลกรัมและมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.225 โดยผลวิจัยดังกลาวสอดคลองกับงานวิจัยของ วีรศักดิ์ ฟองเงิน และคณะ (2561)

เรื่องการประยุกตใชเทคโนโลยีไอโอทีควบคุมฟารมอัจฉริยะในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟา งานวิจัยชิ้นนี้ไดพัฒนาระบบดวย

ไมโครคอนโทรลเลอร Node MCU เบอร MCP3008 ซึ่งแบงการทดสอบออกเปน 2 สวน คือ การทดสอบในสวนของระบบ

ควบคุมและการทดสอบผลผลิตของดอกเห็ดในโรงเรือนที่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นกับโรงเรือนแบบทั่วไป โดยจะ

ทดสอบจากกอนเห็ดนางฟาจํานวน 300 กอน จากผลการทดสอบพบวาระบบสามารถทํางานตามเงื่อนไขที่ออกแบบไวและเห็ด

ที่ไดจากโรงเรือนที่มีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นมีปริมาณที่มากกวาเห็ดที่ไดจากโรงเรือนแบบทั่วไป ทั้งนี้เห็ดที่เก็บจาก

Page 4: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

496

โรงเรือนท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นมีน้ําหนักเฉลี่ย 1.506 กิโลกรัม และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.17 ในขณะที่เห็ดที่

เก็บจากโรงเรือนแบบท่ัวไปพบวามีน้ําหนักเฉลี่ย 1.206 กิโลกรัมและมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.28

จากผลการทดสอบปริมาณผลผลิตของเห็ดเมื่อเปรียบเทียบระหวางโรงเรือนเพาะเห็ดที่มีการควบคุมอุณหภูมิและ

ความชื้นกับโรงเรือนแบบทั่วไปของงานวิจัยที่กลาวมาขางตน พบวาเห็ดที่ไดจากโรงเรือนท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นมี

ปริมาณที่มากกวาเห็ดที่ไดจากโรงเรือนแบบท่ัวไป

3. อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง

อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งหรือ Internet of Things (IoT) เปนการเชื่อมตอระหวางสรรพสิ่งใดๆเขาไวดวยกันผาน

เครือขายอินเทอรเน็ต (สมนึก จิระศิริโสภณ, 2559) เชน เซนเซอร อุปกรณแสดงผลและคอมพิวเตอร (Alaba et al., 2017)

เปนตน สรรพสิ่งเหลานี้มีความสามารถในการรับรู ตอบสนอง สื่อสารกัน และควบคุมหรือสั่งทํางานได โดยจะเชื่อมโยงและ

สื่อสารกันผานระบบอินเทอรเน็ต (สุวิทย ภูมิฤทธิกุล, 2559) ในปจจุบันมีการใชงานอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งอยาง

แพรหลายมากขึ้น เชน การควบคุมกระบวนการเพาะปลูกหรือการผลิตผานเครือขายอินเทอรเน็ต (O’Grady and O’Hare,

2017) หรือการเฝาระวังและเตือนภัยตอสุขภาพของมนุษยแบบอัติโนมัติ (Sicari et al., 2017) เปนตน

4. ระบบ Cloud Service

การใหบริการแบบกลุมเมฆ หรือ Cloud Service เปนบริการที่ผูใชบริการสามารถเก็บขอมูลและบริหารจัดการขอมูล

บนเครือขายอินเทอรเน็ตดวยเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุมเมฆ (Cloud Computing) ซึ่งการประมวลผลแบบกลุมเมฆ

เปนลักษณะการทํางานที่ใชทรัพยากรตางๆที่มีอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน เครื่องแมขาย (Server) พื้นที่เก็บขอมูล

(Storage) หรือแอปพลิเคชัน (Application) ตางๆ เปนตน ทั้งนี้ผูใชบริการสามารถเลือกใชทรัพยากร เลือกจํานวนทรัพยากร

ประมวลผลขอมูลหรือเขาถึงขอมูลบนระบบ Cloud บนเครื่องคอมคอมพิวเตอรหรืออุปกรณของผูใหบริการผานเครือขาย

อินเทอรเน็ต (Gorelik, 2013)

5. กรอบแนวความคิด

จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวาคาความชื้นในอากาศมีความสําคัญตอผลผลิตของเห็ด และ

การรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดเปนอีกวิธีการในการควบคุมปริมาณคาความชื้นในอากาศในโรงเรือนใหเหมาะสม ซึ่งเปนปจจัย

สําคัญที่สงผลตอปริมาณผลผลิตของเห็ด ดังน้ันผูพัฒนาจึงไดออกแบบระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ด

แครงดวยสมารทโฟนดวยเทคโนโลยีอนิเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง โดยมีภาพรวมของระบบแสดงดังภาพ 1

Page 5: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

497

ภาพ 1 ภาพรวมของระบบควบคมุอุณหภมูิและความช้ืนในโรงเรือนเพาะเหด็แครงดวยสมารทโฟน

วิธีดําเนินการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัยจะแบงเปน 2 สวน คือ การพัฒนาและวิเคราะหการใชงานระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นใน

โรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนของเกษตรกรเปนระยะเวลา 10 เดือน โดยระบบที่พัฒนาขึ้นจะถูกติดตั้งและใชงานใน

โรงเรือนเพาะเห็ดแครงบนพ้ืนที่ของศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะ หมูที่ 6 ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ซึ่งมี

ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงานดังนี ้

1. การพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนโดยใชเทคโนโลยี

อินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง มีขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน ดงันี ้

1.1 การศึกษาความตองการของเกษตรกร

สอบถามความตองการของเกษตรกรถึงรูปแบบของระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง

เพื่อใชเปนขอมูลในการออกแบบ โดยเกษตรกรมีความตองการดังนี ้

- ระบบที่พัฒนาข้ึนสามารถแสดงผลคาอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงบนสมารทโฟนของเกษตรกร

ได

- เกษตรกรสามารถควบคุมการทํางานของปมน้ําเพื่อรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงผานสมารทโฟนของเกษตรกรได

1.2. การออกแบบและพัฒนาระบบ

การออกแบบและพัฒนาระบบในครั้งนี้ ผูพัฒนาไดศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการผลิตเห็ดแครง

การพัฒนาฟารมอัจฉริยะ ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ด เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง

รวมถึงอุปกรณที่จะใชในการพัฒนาระบบ โดยภาพรวมและอุปกรณที่ใชในการพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นใน

โรงเรือนเพาะเห็ดแครงแสดงดังภาพ 2

Page 6: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

498

ภาพ 2 ภาพรวมและอุปกรณที่ใชในการพัฒนาระบบควบคมุอุณหภมูิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเหด็แครง

ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงเปนระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อตรวจวัดอุณหภูมิและ

ความชื้นในอากาศโดยอัตโนมัติและสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อแสดงผลคาอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ รวมถึง

สามารถสั่งควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ําผานแอปพลิเคชันในสมารทโฟน โดยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งจะ

เปนเทคโนโลยีที่ชวยในการรับและสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ตของอุปกรณที่ใชงาน จากภาพ 2 จะเห็นไดวาระบบที่

พัฒนาขึ้นแบงเปน 3 สวนหลัก คือ เซนเซอร บอรดไมโครคอนโทรลเลอร และสวนแสดงผลขอมูล ซึ่งทั้ง 3 สวนจะ

ประกอบดวยเครื่องมือและอุปกรณดังนี ้

1.2.1 บอรด ET-ESP8266-RS485 เปนบอรดไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล ESP8266 โดยสามารถรับและสงขอมูล

ผานคลื่นความถี่มาตรฐานแบบสัญญาณไวไฟเพื่อเชื่อมตอ TCP/IP และประยุกตใชงานกับอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต

ของทุกสรรพสิ่งได บอรด ET-ESP8266-RS485 จะทําหนาที่อานขอมูลอุณหภูมิและความชื้นในอากาศที่สงมาจากเซนเซอร

และสงขอมูลในรูปแบบแพ็กเกจอินเทอรเน็ตไปที่เราเตอร (Router) เพื่อจะสงตอไปที่ Cloud Service ตอไป ในสวนของการ

ควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ํา บอรด ET-ESP8266-RS485 จะทําหนาที่รับขอมูลจาก Cloud Service ในรูปแบบ

แพ็กเกจอินเทอรเน็ตผานเราเตอรและสงสัญญาณไปควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ํา

1.2.2 เซนเซอร ET-SHT10 WATER PROOF SENSOR เปนเซนเซอรทีว่ัดไดทั้งคาอุณหภูมิและความชื้น

1.2.3 การแสดงผลคาอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ รวมถึงการควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ําจะใชงานผาน

แอปพลิเคชัน Blynk ในสมารทโฟน โดยแอปพลิเคชัน Blynk เปน platform การพัฒนาแอปพลิเคชันสําหรับเชื่อมตออุปกรณ

ผานเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งกับสมารทโฟนที่รอบรับทัง้ระบบปฏิบัติการ Android และ IOS

Page 7: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

499

1.3. การติดตั้งอุปกรณ ทดสอบและปรับปรุงการใชงานระบบใหตรงตามความตองการของเกษตรกร โดยขั้นตอนการ

ใชงานระบบของเกษตรกรแสดงดังภาพ 3 และตัวอยางการแสดงผลคาอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ และการควบคุมการ

ทํางานของเครื่องปมน้ําผานแอปพลิเคชัน Blynk ในสมารทโฟนแสดงดังภาพ 4

ภาพ 3 ขั้นตอนการใชงานระบบของเกษตรกร

Page 8: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

500

ภาพ 4 การแสดงผลคาอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ

และการควบคุมการทํางานของเครื่องปมน้ําผานแอปพลเิคชัน Blynk

2.1 การวิเคราะหการใชงานและปญหาของระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงของ

เกษตรกรในชวงระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ- พฤศจิกายน 2561 โดยการรวบรวมขอมูล ปญหาและอุปสรรคที่

เกิดขึ้นระหวางการใชงานและการสัมภาษณเกษตรกรผูใชงานระบบ

สรุปผลการวิจัย ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงสามารถแสดงคาอุณหภูมิและความชื้นในอากาศบน

สมารทโฟนของเกษตรกรผานแอปพลิเคชัน Blynk ได และเกษตรกรสามารถสั่งควบคุมเครื่องปมน้ําเพื่อรดน้ําในโรงเรือนเพาะ

เห็ดแครงผานแอปพลิเคชัน Blynk บนสมารทโฟนของเกษตรกรไดเชนกัน

จากการสัมภาษณเกษตรกรผูใชงานระบบพบวาตําบลพะตงมีกลุมการเพาะเลี้ยงเห็ดหลายกลุม เชน กลุมเพาะเลี้ยง

เห็ดฟาง ซึ่งยังใชระบบรดน้ําโรงเรือนเพาะเห็ดแบบทั่วไป โดยในชวงที่มีการเพาะเห็ด เกษตรกรจําเปนตองเดินทางมาตรวจวัด

อุณหภูมิและความชื้นภายในโรงเรือนเพาะเห็ด รวมถึงการรดน้ําในโรงเพาะเห็ดเมื่อความชื้นในโรงเรือนไมเหมาะสม ซึ่งมีความ

ไมยืดหยุนในเรื่องของเวลาและแรงงาน อีกทั้งยังมีตนทุนในเรื่องการเดินทางอีกดวย แตระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นใน

โรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนจะชวยประหยัดเวลาและน้ํามันในการเดินทาง สงผลใหเกษตรกรสะดวกสบายขึ้นและ

ยังสงเสริมคุณภาพชีวิตเนื่องจากเกษตรกรสามารถเดินทางระยะไกลไดเปนระยะเวลาหลายวัน เชน ในชวงเทศกาลปใหมหรือ

สงกรานต เปนตน

จากการใชงานระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนเปนระยะเวลา 10 เดือน

เกษตรกรพบวาผลผลิตจากกอนเช้ือเห็ดแครงจะมีความสมบูรณและเจริญเติบโตไดเร็วกวาการเพาะเห็ดแครงในโรงเรือนแบบ

Page 9: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

501

ทั่วไป โดยผลผลิตรวมที่ไดจากการเพาะเชื้อเห็ดแครง 1000 กอนจะเสียหายประมาณ 10 % ทั้งนี้กอนเชื้อเห็ดแครง 1 กอน จะ

สามารถผลิตเห็ดแครงไดน้ําหนักเฉลี่ยประมาณ 1.5 ขีด โดยมีตนทุนเชื้อเห็ดแครงกอนละ 7 บาทและจําหนายเห็ดแครงแหง

กิโลกรัมละ 1000 บาท ในสวนของเห็ดแครงสดจะจําหนายกิโลกรัมละ 250-300 บาท

จากการใชงานระบบเปนระยะเวลา 10 เดือนของเกษตรกร ผูวิจัยพบวาเกษตรกรมีการปรับตัวและเรียนรูการ

แกปญหาเบื้องตนเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีไดดวยตนเอง เนื่องจากในชวงระยะเวลา 2 เดือนแรกของการใชงานระบบ

เกษตรกรจะสอบถามเกี่ยวกับปญหาและวิธีการแกปญหาเมื่อไมสามารถสั่งควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงได ซึ่ง

ปญหาสวนใหญจะเกิดจากสัญญาณไวไฟบริเวณโรงเรือนเพาะเห็ดแครงหรือสัญญาณเครือขายอินเทอรเน็ตบนสมารทโฟนของ

เกษตรกรมีระดับต่ําเกินไป โดยในระยะ 8 เดือนหลังเกษตรกรจะสามารถแกปญหาเบื้องตนไดดวยตนเอง โดยเกษตรกรจะมี

ลําดับการตรวจสอบเบื้องตนดังนี้ 1) สัญญาณไวไฟ 2) เครื่องปมน้ํา และ 3) ปริมาณน้ําในถังเก็บน้ํา หากไมพบปญหาจาก 3

สวนดังกลาว เกษตรกรจึงจะปรึกษาผูพัฒนาระบบ

อภิปรายผลการวิจัย ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนสามารถชวยลดตนทุนทางเวลา แรงงาน

คาใชจายและเห็ดจะเจริญเติบโตไดเร็วกวาปกติ ซึ่งเกษตรกรสามารถเรียนรูและเปดรับการนําเทคโนโลยีใหมไปชวยในการ

เพาะปลูก อีกทั้งในการสัมภาษณเกษตรกรที่ใชงานระบบยังพบวาเกษตรกรมีขอเสนอแนะวาอยากใหระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถ

นําไปประยุกตใชกับการเพาะปลูกพืชชนิดอื่นดวย เชน ระบบตรวจวัดความชื้นในดินและควบคุมการรดน้ําของแปลงมะเขือเทศ

การควบคุมการรดน้ําของแปลงผักสลัด เปนตน

ขอเสนอแนะและการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน 1. จากการพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดวยสมารทโฟนโดยใชเทคโนโลยี

อินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่ง พบวาปญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการพัฒนาระบบคือเรื่องระดับสัญญาณไวไฟ

(Wi-Fi signal strength) ที่ติดตั้งบริเวณโรงเรือนเพาะเห็ดแครงบนพื้นที่ของศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะ เนื่องจากระดับ

สัญญาณไวไฟในการตดิตั้งระบบครัง้แรกมีระดับต่าํไมเพียงพอตอการรบัสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนั้นจึงจําเปนตอง

แกไขระดับสัญญาณไวไฟใหอยูในชวงที่เหมาะสมในการรับสงขอมูล โดยระดับสัญญาณไวไฟใหมที่ตรวจวัดไดและเพียงพอตอ

การรับสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ตบริเวณโรงเรือนเพาะเห็ดแครงบนพื้นที่ของศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะแสดงดัง

ภาพ 5

ภาพ 5 ระดบัสญัญาณไวไฟบนพื้นท่ีของศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะ

Page 10: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

502

2. เนื่องจากการตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น และการสั่งการควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง มีการ

รับสงขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนั้นในบางกรณีที่ไมสามารถใชเครือขายอินเทอรเน็ตหรือระบบปฏิบัติการบนสมารท

โฟนหรือแอปพลิเคชันที่ใชเกิดปญหา จนไมสามารถควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดแครง เกษตรกรควรมีแผนรองรับใน

กรณีดังกลาวเพื่อไมไหเกิดผลกระทบตอการเจริญเติบโตของเห็ดแครง

3. ปจจุบันการควบคุมการรดน้ําในโรงเรือนเพาะเห็ดแครงดําเนินการอยูในโรงเรือนตนแบบเพียงโรงเรือนเดียวทําให

ขอมูลที่ไดจากการดําเนินการยังไมมากพอที่จะมาใชในการวิเคราะหผลการวิจัยในเชิงลึกได อยางไรก็ตามหลังจากที่มีการ

เปดตัวโครงการอยางเปนทางการผานสื่อออกไป พบวาเกษตรกรใหความสนใจและประสงคจะติดตั้งระบบควบคุมการรดน้ํา

ดังกลาวเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการนําขอมูลที่บันทึกไวมาใชประโยชนในการพัฒนาระบบรดน้ําอัจฉริยะโดยการใชเทคนิคของ Big

Data นาจะเปนงานวิจัยในอนาคตที่จะกอใหเกิดประโยชนกับเกษตกรไดมากยิ่งขึ้น

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสมาคมศิษยเกาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ

โครงการคูปองวิทยเพื่อโอทอป (STI Coupon for OTOP Upgrade) และขอขอบคุณนายมนูญ แสงจันทรศิริ ประธานกลุม

วิสาหกิจชุมชนหมอนผลแปรรูปกลุมใตรมบุญและกลุมเกษตรกรในศูนยเรียนรูชุมชนพะตงอัจฉริยะ ขอขอบคุณ รศ.ดร.จันทิมา

ชั่งสิริพร หัวหนาโครงการชุมชนพะตงอัจฉริยะดานการพัฒนาผลิตภัณฑเกษตรอินทรียและพลังงานทางเลือก ผูที่ใหคําปรึกษา

และสนับสนุนการทําวิจัยจนสําเร็จลุลวงไปดวยดี

เอกสารอางอิง บุญยัง สิงหเจริญ และสันติ สาแกว. (2559). ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ด. การประชุมวิชาการ

ระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครัง้ท่ี 1. 22 มิถุนายน 2559. พระนครศรีอยุธยา.

รัฐพล ศรประเสริฐ และสยาม อรุณศรีมรกต. (2557). การเพาะเห็ดแครง (Schizophyllum commune) เสริมดวยใบ

หญาแฝกลุม (Vetiveria zizanioides) ในวัสดุเพาะขี้เลื่อยไมยางพารา. วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.

22(6); 837-847.

ฤทัยชนก จริงจิตร. (2559). เจาะลึก Smart Farmer แคแนวคิดใหมหรือจะพลิกโฉมการเกษตรไทย. (Online).

http://www.tpso.moc.go.th/sites/default/files/1074-img.pdf

ลิขิต อานคาเพชร และธงรบ อักษร. (2560). โรงเพาะเห็ดนางฟาอัจฉริยะ. การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัย

ระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 2 “การวิจัย 4.0 เพื่อการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”. 26-27

กรกฏาคม 2560. อุบลราชธาน:ี มหาวิทยาลัยราชธาน ี

วีรศักดิ์ ฟองเงิน สุรพงษ เพ็ชรหาญ และรัฐสิทธิ์ ยะจอ. (2561). การประยุกตใชเทคโนโลยีไอโอทีควบคุมฟารมอัจฉริยะใน

โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟา. วารสารการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. 5(1); 172-182

ศุภวุฒิ ผากา สันติ วงศใหญ และอดิศร ถมยา. (2557). การพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมตอการ

เจริญเติบโตของเห็ดในโรงเพาะเห็ดบานทุงบอแปน ตําบลปงยางคก อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง.

วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง. 7(1); 58-69.

Page 11: การประยุกซ ใช ไอโอทีสําหรับ ...ird.skru.ac.th/RMS/file/DQUXN.pdf · 2019. 11. 20. · The yield of mushroom in a temperature and

โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเครือขายภาคใต ครั้งที่ 4

“วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่บูรณาการทองถิ่นอยางย่ังยืน”

503

ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี. (2556). การเพาะเห็ด

เศรษฐกิจ. พิมพครั้งท่ี 1

สมนึก จิระศิริโสภณ. (2559). โครงการศึกษาดานสารสนเทศ เรื่อง Internet of Things. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร กรมชลประทาน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สุวิทย ภูมิฤทธิกุล และ ปานวิทย ธุวะนุติ. (2559). Internet of things for Human Healthcare Services and Data

Analytics with Hadoop. วารสารวิชาการปทมุวัน. 6(15); 61-72

อรพรรณ แซตั้ง นิสา พุทธนาวงศ และณัฐพล ธนเชวงสกุล. (2560). การออกแบบโรงเรือนสําหรับควบคุมอุณหภูมิและ

ความชื้น โดยใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง เพื่อสงเสริมการเพาะเลี้ยงเห็ดแครง. วารสารการอาชีวะและ

เทคนิคศึกษา. 7(13); 87-97.

Alaba A. F., Othman M., Hashem I.A.T., and Alotaibi F. (2017). Internet of Things security: A survey.

Journal of Network and Computer Applications. 88; 10–28.

Gorelik, E. (2013). Cloud Computing Models. Master of Management and Master of Engineering.

Massachusetts Institute of Technology

O’Grady M. J. and O’Hare G.M.P. (2017). Modelling the smart farm. Information Processing in Agriculture.

4( 3); 179-187.

Sicari, S., Rizzardi, A., Grieco, L.A., Piro, G. and Coen-Porisini, A. (2017). A Policy Enforcement Framework

for Internet of Things Applications in the Smart Health. Smart Health. 3(4); 39–74