การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง...

144
การศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและ SET Index ของประเทศไทย นายเทวัญ สิงหสุริยะกุล การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2551 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย

Upload: others

Post on 30-Dec-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

การศึกษาความสัมพนัธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและ

SET Index ของประเทศไทย

นายเทวัญ สิงหสุริยะกุล

การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2551

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย

Page 2: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

หัวขอการศึกษาคนควาดวยตนเอง การศึกษาความสัมพันธระหวางอัตรา

ดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย

ช่ือผูศึกษา นายเทวัญ สงิหสุริยะกุล

ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา การเงิน

อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยสุดา ปตะวรรณ

ปการศึกษา 2551

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง “การศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย” มีวิธีการดําเนินการศึกษา โดยเก็บขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน จากขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและโดยรวบรวมขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย ตั้งแตเดือน มกราคม 2543 ถึง ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2348 ขอมูลเปนระยะเวลา 9 ป มีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาความสัมพันธและความเปนเหตุเปนผล ระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย มีสมมติฐานหลักคืออัตราดอกเบ้ียเงินฝากประจํา 3 เดือนไมมีความสัมพันธกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย และสมมติฐานรองคือ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนมีความสัมพันธกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทยในระดับปกติไมสามารถปฏิเสธ สมมติฐานหลักที่วาชุดขอมูลที่ทําการทดสอบ Correlogram และ ทดสอบ Unit Root ทั้ง 2 ตัวแปรพบวาตัวแปรนั้น มีรูปแบบ Non-Stationry มีคาแตกตางจากศูนยอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ (Level) แลว เราจะทําการทดสอบที่ระดับผลตาง ในระดับผลตางลําดับที่ 1 (First Difference) ในการทดสอบ Stationary ที่ระดับหน่ึง (First Difference) จะพิจารณาเลือกความยาวตัวแปรลาชา (Lagged) ที่มากที่สุดจากที่ระดับ หน่ึง (First Difference) พบวาขอมูลเกิดความนิ่ง และไมเกิดปญหาขอมูลสัมพันธกันเอง ขั้นตอนตอไปก็ทําการทดสอบ Co-integration test ขอมูลปรับเปนคา log ที่ระดับผลตางที่ลําดับที่ 1 (First Difference) พบวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย ไมมีความสัมพันธเชิงดุลยภาพในระยะยาว สามารถอธิบายไดดี เมื่อพิจารณาจากคา R2 และ

Page 3: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สอดคลองกับการทดสอบดวยวิธี Granger Causality ที่พบวาอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย น้ัน เม่ือพิจารณาความสัมพันธพบวาที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 มีคา Prob. ที่ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักของ Granger Causality ได ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ในประเทศไทยไมมีความสัมพันธกัน เน่ืองจากระยะหางแตละชวงเวลาอาจทํา ใหไมสามารถตรวจสอบพฤติกรรมหรือจับตาความเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน ไดไมดีเทาที่ควรนักเพราะเนื่องจากประเทศไทยมีวันหยุดทําการตอปหลายวัน อาจเปนผลใหขอมูลรายวันมีการคลาดเคลื่อนไป

Page 4: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาคนควาดวยตนเองฉบับนี้สําเร็จไดดวยดี ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณ

ผูชวยศาสตราจารยสุดา ปตะวรรณ อาจารยที่ปรึกษาการศึกษาคนควาดวยตนเอง ที่ไดใหความกรุณาเสียสละเวลาแนะนํา และแนะแนวทางการเรียนรู ทั้งยังเปนผูวางรากฐานความรูทางดานการเงินใหกับผูศึกษา ทําใหมีแนวคิดในเรื่องที่ศึกษา และการทํางานในอนาคต

กราบขอบพระคุณ อาจารย ดร.วรรณรพี บานชื่นวิจิตร และ อาจารยลิศรา เตชะเสริมสุขกูล ที่ไดใหความกรุณาแนะแนวทางในการศึกษาเพ่ิมเติม

ขอบคุณเจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัยที่ไดใหความชวยเหลือตลอดเวลาที่ศึกษาอยู รวมถึงพ่ี ๆ เพ่ือน ๆ นักศึกษาปริญญาทุกทานที่ไดใหกําลังใจและความชวยเหลือตลอดมา

ทายสุดน้ี กราบขอบพระคุณ ครอบครัวของขาพเจาที่ไดใหกําลังใจ และใหการสนับสนุนเสมอมาตลอดการทําการศึกษาคนควาดวยตนเอง

อันความดีและประโยชน ของการศึกษาคาควาดวยตนเองฉบับนี้ ขอมอบใหแกคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย แตหากมีขอบกพรองผูศึกษา ตองขออภัยและขอนอมรับไวแตผูเดียว

Page 5: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ ........................................................................................................................ ง

กิตติกรรมประกาศ .......................................................................................................... ฉ

สารบัญ ........................................................................................................................... ช

สารบัญตาราง ................................................................................................................ ญ

สารบัญรูป ....................................................................................................................... ฎ

บทที ่ 1. บทนํา ................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา .......................................................... 1 วัตถุประสงคของการศึกษา ............................................................................. 4 สมมติฐาน ...................................................................................................... 4 ขอบเขตการวจัิย ............................................................................................ 5 คํานิยามศัพท ................................................................................................. 6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ............................................................................. 6

2. แนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เก่ียวของ ................................................................. 7 ดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index) .......................... 7 มูลคาตลาดรวมวันฐาน (Base Market Value) ................................................ 8 วิธีการคํานวณราคาปดของหลักทรัพย (Closing Price Index) ......................... 8 อัตราดอกเบี้ย ................................................................................................ 9 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของ ฟชเชอร .................................................................. 9 ทฤษฎีการออม-การลงทุน ............................................................................ 11 มาตรการอัตราดอกเบ้ียในตลาดเงินของประเทศไทย ..................................... 12 ทฤษฎีอนุกรมเวลา (Time Series Data) ....................................................... 15 ขอมูลอนุกรมเวลาที่มีลักษณะนิ่ง (Stationary) .............................................. 16 ปญหาความสมัพันธไมจริงและแนวทางแกไข ............................................... 17 การทดสอบยูนิทรูท (Unit Root) ................................................................... 19

Page 6: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที ่ การทดสอบโครีโลแกรม (Correlogram) ......................................................... 21 Granger Causality Tests ............................................................................. 22 Co-integration Test ..................................................................................... 26 งานวิจัยที่เก่ียวของ ....................................................................................... 30

3. วิธีการดําเนินการวิจัย ........................................................................................ 30 ประชากรและกลุมตัวอยาง ............................................................................ 30 ตัวแปรในการวิจัย ......................................................................................... 30 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ................................................................................ 31 การเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................................... 31 การวิเคราะหขอมูล ........................................................................................ 32 การนําเสนอขอมูล ......................................................................................... 33

4. ผลการศึกษาวิเคราะหขอมูล ............................................................................... 34 ผลการทดสอบ โครีโลแกรม (Correlogram Test) ........................................... 34 ผลการทดสอบ ความน่ิงของอนุกรมเวลา (Unit Root Test) ............................ 40 ผลการทดสอบ Lag length ............................................................................ 43 ผลการทดสอบ Cointegration Test ............................................................... 45 ผลการทดสอบ Granger Causality Tests ..................................................... 47

5. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ .................................................... 49 สรุปผลการศกึษา .......................................................................................... 49 อภิปรายผลการศึกษา ................................................................................... 50 ขอเสนอแนะการศึกษา .................................................................................. 51 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป ............................................................... 51

Page 7: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที ่บรรณานุกรม ................................................................................................................. 52

ภาคผนวก ...................................................................................................................... 53 ก. ขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย(set index) ของประเทศไทย 54 ข. แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ................................................ 131

ประวตัิผูศกึษา .............................................................................................................. 135

Page 8: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1. แสดงสวนแบงการตลาดของธนาคารพาณิชย (2550) ............................... 13 2. แสดงผลการทดสอบยูนิทรูทของดัชนีหลกัทรัพย (set index) .................... 41 3. แสดงผลการทดสอบยูนิทรูทของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ............................. 42 4. แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 4 ................................. 43 5. แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 8 ................................. 44 6. แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 12 ............................... 44 7. แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และและดัชนีหลักทรัพย (set index)ทีร่ะดับปกต ิ ........................................................................... 45 8. แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และและดัชนีหลักทรัพย (set index)ทีร่ะดับความแตกตางอันดับที่ 1 .............................................. 46

9. แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และและดัชนีหลักทรัพย (set index) ทีป่รับเปนคา Log ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ................ 47 10. แสดง Granger Causality ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (set index)ทีร่ะดับความแตกตางอันดับที่ 1 .............................................. 48 11. แสดง Granger Causality ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (set index) ทีป่รับเปนคา Log ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1................... 48

Page 9: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

สารบัญรูป

รูปที่ หนา 1. แสดง อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ................... 5 2. แสดงการกําหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ .................................................. 11 3. แสดงสวนแบงการตลาดสินทรัพยของธนาคารพาณิชย ............................. 14 4. แสดงสวนแบงการตลาดเงินฝากของธนาคารพาณิชย ............................... 14 5. แสดงโครีโลแกรมของขอมูลที่มีปจจัยแนวโนม (Nonstationary) ................ 21 6. แสดงโครีโลแกรมของขอมูล “ไมน่ิง” จากผลตางอันดับที่ 1 ....................... 22 7. แสดงโครีโลแกรมจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ระดับปกติ .......................... 35 8. แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา Log ระดับปกติ ....... 35 9. แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ... 36 10. แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ..................................... 37 11. แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (set index) ที่ระดับปกติ ....................... 37 12. แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (set index) ที่ปรับเปนคา Log ระดับปกติ ................................................................... 38 13. แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (set index) ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ............................................................... 39

14. แสดงโครีโลแกรมราคาดัชนีหลักทรัพย (set index) ที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ..................................... 40

Page 10: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index)

ของประเทศไทยตองเขาใจถึงตัวแปร (Variable) ตาง ๆ ที่เกี่ยวของและความเชื่อมโยงของตัวแปรที่กอใหเกิดผลกระทบสําคัญ ในปจจุบันตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ก็เปนอีกหนึ่งชองทางในการระดมเงินทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจซ่ึงการเคลื่อนยายเงินทุนไหลเขาประเทศ ขึ้นอยูกับหลายๆปจจัย หนึ่งในปจจัยดังกลาวที่นักลงทุนใหความสําคัญ คือ สวนตางอัตราดอกเบี้ยในประเทศและตางประเทศ ทั้งในตลาดเงิน ตลาดทุน และการลงทุนโดยตรง แตสวนใหญจะเปนการไหลเขามาลงทุนในตลาดหลักทรัพย ที่สะทอนไดจากดัชนีตลาดหลักทรัพยที่ปรับตัวสูงขึ้น สอดคลองกับมูลคาการซ้ือขายทีเ่พ่ิมขึน้ในกระดานตางประเทศ อีกทั้งนักลงทุนจะตองติดตามปจจัยตางๆ ที่สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาดหลักทรัพยอยางใกลชิด

ตลาดหลักทรัพย เปนตลาดทุนที่เปนสวนสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เน่ืองจาก เปนแหลงจัดหาเงินทุน ใหแก ธุรกิจ ดังนั้นรัฐบาลไทยจึงไดใหความสําคัญตอการพัฒนาตลาดทุน โดยมีการจัดตั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (Securities Exchange of Thailand) เม่ือวันที่ 30 เมษายน 2518 เพ่ือเปนศูนยกลางในการซื้อขายหลักทรัพย โดยตลอดเวลาตลาดหลักทรัพยไดมีการพัฒนาตลาดหลักทรัพยนั้น ขึ้นอยูกับความสามารถที่จะโนมนาวใหประชาชนหันมาสนใจลงทุนในหลักทรัพยเพ่ิมขึ้นและเปนการถาวร โดยตลาดหลักทรัพยไดมีการเผยแพรความรูและขอมูลที่เปนประโยชนแกการลงทุน อีกทั้งสงเสริมการออกตราสารอนุพันธและเปนเคร่ืองมือบริหารความเสี่ยงสภาวะตลาดสําหรับกองทุนรวมตางๆ ตลาดหลักทรัพย สิ่งที่สําคัญที่จูงใจใหแกนักลงทุนลงทุนในตลาดหลักทรัพย คือ ผลตอบแทนจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย และมีเคร่ืองมือวัดสภาวะตลาดหลากหลาย แตที่สําคัญคือ ดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index)

ดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ของประเทศไทยก็จะเปนอีกหน่ึงดัชนีที่นักลงทุนใชประกอบการตัดสินใจลงทุน เน่ืองจากเปนตัวสะทอนภาพรวมของตลาดในขณะนั้น และหลักทรัพยที่มีการเปลี่ยนแปลงก็อยูในความสนใจของนักลงทุน ประโยชนในการเปนบรรทัดฐานเพ่ือวัดผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุน หรือ Performance Benchmark สําหรับการจัดพอรดลงทุนของกองทุนรวม พรอมทั้งยังเปนเครื่องมือทางการเงินในการเปรียบเทียบกับ

Page 11: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

2

บริษัทอ่ืนๆที่อยูในกลุมเดียวกันได และเพื่อเปนการสงเสริมใหมีการกระจายการลงทุนไปสูบริษัทขนาดรองลงมาเพิ่มมากขึ้นดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ของประเทศไทย เปนตัวอยาง ตัวแทนหลักทรัพยทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย เน่ืองจากหลักทรัพยบางตัวมีขนาดเล็ก หรือมีจํานวนหุนในตลาดนอย นักลงทุนจึงไมใหความสนใจในหลักทรัพยดังกลาว สงผลใหมีการเคลื่อนไหวของราคานอยมาก

เนื่องจากตัวแปรตาง ๆ ที่อาจเปนสาเหตุใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ของประเทศไทย ซ่ึงการศึกษาและคนควาที่ผานมาน้ันก็ไดศึกษาเฉพาะตัวแปรทางการเงินที่สําคัญและหาขอมูลได อีกทั้งการศึกษาความสัมพันธดังกลาว ทําใหประเทศที่พัฒนาแลว เชนไดมีการศึกษาความสัมพันธของเงินเฟอกับผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย และศึกษาถึงความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยกับผลการตอบแทนจาการลงทุนในหลักทรัพย ซ่ึงผลจากการศึกษาชี้ใหเห็นวาความสัมพันธในแตละประเทศมีความแตกตางกัน

ในบรรดาตัวแปรที่มีความสัมพันธตอการออมและการลงทุนของประเทศไทย อัตราดอกเบ้ีย นับไดวาเปนตัวแปร ที่สําคัญในเศรษฐศาสตรมหภาค เม่ือรัฐบาลเพ่ิมปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ จะมีผลทําใหอัตราดอกเบี้ยลดลง การที่อัตราดอกเบี้ยลดลงจะนําไปสูการลงทุนที่เพ่ิมขึ้น ทําใหเกิดความเสถียรภาพทางการเงินเกิดความมั่นคงและระบบเศรษฐกิจมีรายไดประชาชาติสูงขึ้น เกิดการจางงานเต็มที่ นอกจากน้ี อัตราดอกเบี้ยยังเปนสิ่งจูงใจใหเกิดการลงทุนทั้งในภาคผลิตและภาคการเงิน การลงทุนของผูมีเงินออมขึ้นอยูกับผลตอบแทนที่จะไดรับ จึงมีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงของการออมและการลงทุนดวย เหตุนี้ประเทศไทยไดใชอัตราดอกเบี้ยเปนเครื่องมือชนิดหน่ึงในการกําหนดนโยบายทางการเงิน ซ่ึงในอดีตที่ผานมา ธนาคารแหงประเทศไทยไดกําหนดเพดานอัตราดอกเบี้ยประเภทตางๆเพ่ือใชควบคุมเสถียรภาพทางการเงิน การกําหนดอัตราดอกเบ้ียลอยตัวเพ่ือรักษาเสถียรภาพทางการเงินจึงไดถูกนํามาใชในประเทศไทยเปนครั้งแรก เม่ือวันที่ 1 มิถุนายน 2535 และในอดีตที่ผานมาการกําหนดอัตราดอกเบี้ยประเภทตางๆ ไดถูกใชเปนเคร่ืองมือทางการเงินเรื่อยมา โดยสามารถแกไขปญหาหรือรักษาเสถียรภาพไดระดับหน่ึง แตหลังจากการเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 ซ่ึงสงผลใหเกิดวิกฤติการณทางการเงินในประเทศไทย จนทําใหเกิดวิกฤติการณทางการเงินทั่วทั้งเอเชีย ดวยเหตุการณดังกลาว ประเทศไทยจึงไดนําหลายมาตรการมาลดวิกฤติการณดังกลาว ซ่ึงมาตรการหนึ่งที่รัฐบาลเลือกใช คือมาตรการทางดานอัตราดอกเบี้ยเปนในการกระตุนเศรษฐกิจและแกปญหาทางเศรษฐกิจ

สภาวะเศรษฐกิจในชวงตนป พ.ศ. 2543 ถึงไตรมาสแรกของป พ.ศ. 2545 เปนชวงเศรษฐกิจซบเซา และเริ่มมีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น ตั้งแตไตรมาสที่สอง ของป พ.ศ. 2545 เปนตนมา ตอเน่ืองจนถึงชวงปลายป แตสภาวะเศรษฐกิจยังคงมีความไมแนนอนเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจโลก เชน ความไมชัดเจนวาจะมีการเกิดสงครามขึ้นระหวางสหรัฐอเมริกากับอิรักหรือไม, ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ,

Page 12: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

3

การเกิดโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (โรคซารส) ระบาด เปนตน แตชวงระยะเวลาดังกลาวธนาคารพาณิชยประเทศไทยไดปรับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลดลงอยางตอเน่ือง จนกระทั่งไตรมาสที่สาม ของป พ.ศ. 2546 เศรษฐกิจโลกฟนตัวตอเน่ืองและขยายตัวไดเร็วขึ้นในทุกกลุมเศรษฐกิจ การลงทุนรวมในประเทศขยายตัวรอยละ 10.8 จากไตรมาสเดียวกันปที่แลว สูงกวาการขยายตัวรอยละ 9.1 ในไตรมาสที่สอง โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 16.5 และการลงทุนภาครัฐขยายตัวรอยละ 1.7 และธนาคารพาณิชยประเทศไทยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําไดปรับตัวสูงขึ้นตามเศรษฐกิจในอีกทางหนึ่งดวย

ในป พ.ศ. 2547 เกิดวิกฤตการณราคานํ้ามันผันผวนกดดันตอ อัตราเงินเฟอทะยานสูงเกินเพดานรวมไปถึงความเสี่ยงจากความผันผวนของปจจัยภายนอก อาทิ ความรอนแรงของภาวะเศรษฐกิจจีน แนวโนมอัตราดอกเบี้ยตางประเทศที่ปรับเพ่ิมขึ้นผลักดันใหอัตราดอกเบี้ยของไทยตองปรับขึ้นตามสภาพคลองสวนเกินเหลืออยูจํานวนมาก จากปจจัยบวกจะมาจากการลงทุนจํานวนมากของภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะลงทุนในสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ขณะเดียวกันจะมีแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของการสงออกที่ปรับตัวดีขึ้น ทําใหประเทศ มีสภาพคลองสวนเกิน ธปท.จึงมีนโยบายที่จะดึงเม็ดเงินจํานวนหนึ่งมาลงทุนในโครงการตางๆ ของรัฐ ปลายป พ.ศ. 2548 เศรษฐกิจโลกชะลอลง การปฏิรูปทางการเมือง และราคาน้ํามันผันผวนทําใหเกิดการประหยัดพลังงาน ซ่ึงในที่สุดราคาน้ํามันทรงตัวในระดับสูง

ตนป พ.ศ. 2550 ภาวะเศรษฐกิจไทยจะยังคงซึมตอเน่ืองจากปจจัยลบสําคัญ คือ ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ดอกเบี้ยสูง ภาวะทางการเมืองและราคาน้ํามันแพง รัฐบาลหาทางชวยเหลือเพ่ือพยุงเศรษฐกิจ แตไมประสบผลสําเร็จ ธปท ประกาศลดอัตราดอกเบี้ย ตนป พ.ศ. 2551 อัตราเงินเฟอกลับมาสูงขึ้นไดอีก ขณะที่รายไดเกษตรกรยังขยายตัวในระดับสูง ซ่ึงมีสวนชวยพยุงเศรษฐกิจใหสามารถขยายตัวได อยางไรก็ตามปญหาวิกฤติการเงินในสหรัฐฯ ที่เร่ิมขยายวงกวาง ไปยังประเทศอ่ืนๆ โดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลัก เชน สหภาพยุโรป และญี่ปุน ซ่ึงลวนเปนประเทศคูคาสําคัญของไทย ตลอดจนปญหาการเมืองในประเทศที่มีทีทาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เปนปจจัยเสี่ยงสําคัญตอการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย

อัตราดอกเบ้ียเงินในปจจุบัน มีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลาจึงสงผลกระทบใหมีการนําเงินไปฝากธนาคาร เพ่ือไดรับผลตอบแทนที่อยูในรูปของดอกเบี้ย การลงทุนในหลักทรัพยอาจจะเรียกกันโดยทั่วไปวา การซื้อขายหุน เปนการลงทุนที่ผูลงทุนคาดหวังผลตอบแทนอาจจะอยูในรูป เงินปนผล และกําไรสวนเกินที่เกิดขึ้นจากความแตกตางของราคาหลักทรัพย เน่ืองจากราคาหลักทรัพยมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลาเชนเดียวกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากแตเคลื่อนไหวมากกวา เราจะทราบกันดีอยูแลววาถาอัตราดอกเบี้ยขึ้นแลวมูลคาการลงทุนในตลาดหลักทรัพยจะลดลงเพราะวานักลงทุนจะนําเงินไปฝากธนาคาร แตถาอัตราดอกเบ้ียลดลงแลวมูลคาการลงทุนในตลาดหลักทรัพยจะเพ่ิมขึ้นและจะทําให ดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ของประเทศไทย

Page 13: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

4

เพ่ิมขึ้น เพราะวานักลงทุนถอนเงินออกจากธนาคารเพื่อนําเงินมาลงทุน จะเห็นไดวาอัตราดอกเบี้ยมีความสัมพันธในทิศทางผกผันกับมูลคาการลงทุนในตลาดหลักทรัพย

ตามที่ไดกลาวมาแลวขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทราบถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทย จะสงผลกระทบตอดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย วาถาอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปรอยละ 1 แลวจะใหดัชนีหลักทรัพย (SET Index) ของประเทศไทย เปลี่ยนแปลงไปเทาไหร หรือวาอาจจะไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย

2. เพ่ือศึกษาวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนเปนเหตุและเปนผลตอดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย สมมติฐาน

สมมติฐานหลกั: อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนไมมีความสัมพันธกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย

สมมติฐานรอง: อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนมีความสัมพันธกับดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทย

Page 14: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

5

ขอบเขตของการศึกษา

1. ขอมูลการศึกษาเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือน (คาเฉลี่ยเงินฝากประจํา 3 เดือนของ 5 ธนาคารไดแก ธนาคากกรุงศรีอยุธยา, ธนาคากรุงเทพ, ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย) เน่ืองจากเปนธนาคารพาณิชยที่มีความม่ันคง นาเชื่อถือได ระยะเวลาตั้งแต ป พ.ศ. 2543 จนถึง 2551

2. ขอมูลการศึกษาอัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ประเทศไทยระยะเวลาตั้งแต ป พ.ศ. 2543 จนถึง 2551

3. เก็บรวบรวมขอมูล โดยขอมูลที่ใชในการศึกษาเปนขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) แบบอนุกรมเวลาตั้งแต ป พ.ศ. 2543 จนถึง 2551 จากสถิติขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําของธนาคารแหงประเทศไทยและสถิติดัชนีตลาดหลักทรัพย จากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยดังภาพตอไปน้ี

รูปที่ 1 ภาพอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index)

ที่มา: ตารางภาคผนวก ก

Page 15: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

6

คํานิยามศัพท

1. หลักทรัพย (Securities) หมายถึงสินคาที่นํามาซ้ือขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จะตองเปนหลักทรัพยจดทะเบียน และหลักทรัพยรับอนุญาต ซ่ึงเปนหลักทรัพยที่มีคุญสมบัติตามประกาศกระทรวงการคลัง

2. ดัชนีราคาหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index) เปนดัชนีราคาหลักทรัพยที่ทางตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนผูจัดทําขึ้น เพ่ือแสดงถึงการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพยที่ทําการซ้ือขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยเปนการเปรียบเทียบมูลคาตลาดรวมวันปจจุบัน (ราคาตลาด * จํานวนหลักทรัพยที่จดทะเบียน ณ วันปจจุบัน) กับมูลคาตลาดรวมวันฐานคือวันที่ 30 เมษายน 2518 ซ่ึงเปนวันแรกที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปดใหมีการซื้อขายหลักทรัพยและจะมีการปรับฐานในกรณีที่มีหลักทรัพยใหมเขาตลาด หรือมีการเพิกถอนหลักทรัพยออกจากตลาด หรือบริษัทหลักทรัพยมีการเพ่ิมทุน ลดทุน หรือควบรวมกิจการกับบริษัทนอกตลาดหลัพทรัพยแหงประเทศไทย

3. ผลตอบแทนจากหลักทรัพย (Security Return) หมายถึง ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง (Realized Return) และผลตอบแทนที่คาดหวัง (Expected Return) ผลตอบตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงเปนผลตอบแทนที่เกิดขึ้นหลังจากความจริงไดเกิดขึ้น หรือไดรับผลตอบแทนท่ีคาดหวังน้ันแลว สวนผลตอบแทนที่กลาวน้ีอาจเปน ดอกเบี้ย (Interest) เงินปนผล (Dividend) และกําไรจากการที่ราคาหลักทรัพยเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (Capital Gain) หรือลดลง (Capital Loss) ทั้งน้ีขึ้นอยูกับประเภทของหลักทรัพยที่ถืออยู

4. โอกาสการลงทุนในระบบเศรษฐกิจ ขึ้นอยูกับอัตราการเจริญเติบโตที่แทจริงของระบบเศรษฐกิจ ถาในระยะยาวเศรษฐกิจมีการขยายตัวจะทํา ใหมีโอกาสมากขึ้นในการลงทุน อัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงที่ผูลงทุนตองการจะเพ่ิมขึ้น

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

ผลจากการศึกษาวิจัยน้ี 1. สามารถนําไปประยุกตใชจริงในสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน 2. เปนแนวทางประกอบการตัดสินใจในการลงทุน และการวางแผนการลงทุน 3. สนับสนุนในการตัดสินใจใหแกนักลงทุนที่สนใจโดยทั่วไป ไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. สามารถนําขอมูลในการศึกษาวิจัยไปใชในการวิจัยอ่ืนที่เก่ียวของ หรือเปน

แนวทางในการวิจัยขั้นตอไป

Page 16: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวของ

ในงานวิจัยคร้ังนี้ไดมีการใชแนวคิดทฤษฏีที่เก่ียวของกับการออม ไดผลตอบแทนเปน

ดอกเบ้ีย เงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน และการลงทุนไดผลตอบแทนเปน เงินปนผล ความแตกตางทางดานราคาหลักทรัพย วัดไดดัชนีตลาดหลักทรัพย พรอมทั้ง ทฤษฏีและแนวคิดที่ใชในการศึกษานี้ ประกอบดวย ทฤษฎีที่เก่ียวของในการกําหนดอัตราดอกเบี้ย ดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index) และ อนุกรมเวลา ขอมูลอนุกรมเวลาที่มีลักษณะไมน่ิง (Non-stationary) รวมถึงงานวิจัยที่เก่ียวของโดยมีรายละเอียดดังน้ีขอดังตอไปน้ี

ดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index)

เปนดัชนีราคาหลักทรัพยที่ทางตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนผูจัดทําขึ้น เพื่อแสดงถึงการเคลื ่อนไหวของราคาหลักทรัพยที่ทําการซ้ือขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซ่ึงเปนดัชนีที่ใหภาพรวมของตลาดหลักทรัพยของไทย และเปนดัชนีตัวชี้ภาวะตลาดหลักทรัพยในเวลานั้น โดยเปนการเปรียบเทียบมูลคาตลาดรวมวันปจจุบัน กับมูลคาตลาดรวมวันฐานคือวันที่ 30 เมษายน 2518 ซ่ึงเปนวันแรกที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปดใหมีการซ้ือขายหลักทรัพยและจะมีการปรับฐานในกรณีที่มีหลักทรัพยใหมเขาตลาด หรือมีการเพิกถอนหลักทรัพยออกจากตลาด หรือบริษัทหลักทรัพยมีการเพ่ิมทุน ลดทุน หรือควบรวมกิจการกับบริษัทนอกตลาดหลัพทรัพยแหงประเทศไทยดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพย (SET Index) คํานวณโดยใชวิธีถวงน้ําหนักดวยมูลคาตามราคาตลาด (Market Capitalization weighted) ดวยการเปรียบเทียบมูลคาตลาดในวันปจจุบันของหลักทรัพย (Current Market Value) กับมูลคาตลาดหลักทรัพยในวันฐานของหลักทรัพย (Base Market Value) คือ วันที่ 30 เมษายน 2518 ซ่ึงดัชนีมีคาเริ่มตนที่ 100 จุด

Page 17: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

8

มูลคาตลาดรวมวันฐาน (Base Market Value)

ทั้งน้ี ตลาดหลักทรัพยจะปรับฐานการคํานวณดัชนีทุกคร้ังที่มีการเปลี่ยนแปลง มูลคาของหลักทรัพยที่ใชในการคํานวณ เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนของหลักทรัพยที่เปนผลมาจากเหตุการณตางๆ เชนการเพ่ิมทุนของบริษัท การแปลงสภาพหุนกูเปนหุนสามัญ และใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิเพ่ือซ้ือหุนสามัญของบริษัท เปนตน เพ่ือใหดัชนีราคาหลักทัพยสะทอนเฉพาะภาพการเปลี่ยนแปลงดานราคาเพียงอยางเดียว โดยไมรวมผลกระทบจากจํานวนหุนที่เพ่ิมขึ้นหรือลดลง สูตรการคํานวณดัชนีราคาหุนตลาดหลักทรัพย (SET Index) SET Index = มูลคาตลาดรวมวันปจจุบัน (Current Market Value) x 100

มูลคาตลาดรวมวันฐาน (Base Market Value) วิธีการคํานวณราคาปดของหลักทรัพย (Closing Price Index)

เพ่ือเปนการลดโอกาสในการสรางราคาปดและทําใหราคาปดของหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจึงเปลี่ยนแปลงวิธีการคํานวณราคาปดของหลักทรัพยจากเดิมที่กําหนดใหราคาซ้ือขายครั้งสุดทาย (Last Transaction) เปนราคาปด เปนการใชวิธีผสมผสานระหวางการสุมเลือกเวลา (Random Time) และวิธี Call Market

ในการคํานวณราคาปดตลาดหลักทรัพย จะยังคงเปดใหซ้ือขายไดตามปกติจนถึงเวลา 16.30 น. จากน้ันระบบจะหาเวลาปดโดยการสุมเลือก (Random) เวลาในชวง 16.35-16.40 น. และเปดโอกาสใหสมาชิกสามารถสงคําส่ังซื้อขายเพิ่มเติมไดอีกเปนเวลาอยางนอย 5 นาที คือตั้งแต 16.30 น. ถึงเวลาปดที่ไดจากการสุมเลือก และจะยังไมจับคูการซ้ือขาย จนกวาจะถึงเวลาปด จึงใชวิธี Call Market (ซ่ึงเปนวิธีเดียวกับวิธีการคํานวณหาราคาเปดในชวง Pre-open) คํานวณหาราคาปด โดยนําคําสั่งซื้อขายทั้งหมดที่คางอยูในระบบจนกระทั่งถึงเวลาปด มาคํานวณหาราคาปดตามหลักการดังน้ี

- เปนราคาที่ทําใหเกิดการซ้ือขายไดปริมาณมากที่สุด - ถามีราคาที่ทําใหเกิดปริมาณซ้ือขายมากท่ีสุดมากกวา 1 ราคา ใหใชราคาที่

ใกลเคียงกับราคาซื้อขายคร้ังสุดทายกอนหนาน้ันมากที่สุด - ถามีราคาที่ใกลเคียงกับราคาซื้อขายคร้ังสุดทายกอนหนาน้ันมากกวา 1 ราคา ให

ใชราคาที่สูงกวาเปนราคาปด

Page 18: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

9

อยางไรก็ตาม หากระบบไมสามารถคํานวณหาราคาปดของหลักทรัพยตามหลักเกณฑขางตนได ใหถือวาราคาซ้ือขายคร้ังสุดทายของหลักทรัพยในวันนั้นเปนราคาปด (สํานักงานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย)

อัตราดอกเบี้ย

อันที่จริงแลวในทางเศรษฐศาสตรดอกเบ้ียหมายถึง คาตอบแทนปจจัยการผลิตชนิดหน่ึง ซึ่งจัดไดวาเปนคาตอบแทนปจจัยการผลิตประเภททุน แตสําหรับในดานของการเงินแลวดอกเบี้ยจะหมายถึง จํานวนเงินที่ผูกูตองจายชําระแกผูใหกู เน่ืองจากไดนําเงิน หรือของมีคาของผูกูไปใชประโยชน โดยสัญญาวาจะชําระคืนเต็มมูลคาในวันกําหนด ในอนาคต โดยทั่วไปดอกเบี้ยคิดเปนรอยละของเงินตนเรียกวา “อัตราดอกเบี้ย” ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของ ฟชเชอร (นายสันติ ชางประดิษฐ ,2547)

โดยในเน้ือหาทฤษฎีวาดวยอัตราดอกเบี้ยของฟชเชอรน้ัน จะประกอบไปดวยสองสวนสําคัญคือ ผลกระทบแบบฟชเชอรและฟชเชอรระหวางประเทศ (Fisher Effects) น้ันคือ การที่ในตลาดเงินของแตละประเทศ อัตราดอกเบี้ยที่เปนตัวเงินจะเทากับอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงซ่ึงคาดไวบวกกับอัตราเงินเฟอที่คาดการณ และอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงในแตละตลาดมีแนวโนมที่เทากัน ฉะน้ันอัตราดอกเบี้ยที่เปนตัวเงินจะผันแปรตามอัตราเงินเฟอที่คาดการณไวในแตละประเทศ โดยที่อัตราดอกเบี้ยที่แสดงในหนังสือพิมพการเงินหรือธุรกิจเปนอัตราในนามหรือเปนตัวเงินนั่นเอง กลาวคือ เปนการแสดงอัตราแลกเปลี่ยนของเงินดอลลารในปจจุบันกับเงินดอลลารในอนาคต ตัวอยางเชน อัตราดอกเบี้ยในนาม 8% ของเงินกูหน่ึงปหมายความวาเงินจํานวน $ 1.08 จะตองนํา มาใชชําระหนี้เงิน $ 1.00 ที่กูยืมในวันนี้ในหนึ่งป แตสิ่งที่มีความหมายตอทั้งสองฝายจริง ๆ คือ อัตราดอกเบี้ยจริง หรืออัตราที่สินคาปจจุบันถูกแปลงเปนสินคาในอนาคต

ในดานหนึ่งอัตราดอกเบี้ยแทจริง ก็คือ การเพ่ิมขึ้นสุทธิในทรัพยสินที่ประชาชนคาดหวังวาจะไดรับเม่ือเขาเก็บออมและลงทุนรายไดปจจุบันของเขา หรืออาจจะมองอีกดานไดวาเปนการเพ่ิมการบริโภคในอนาคต ซ่ึงบริษัทที่เปนผูขอกูสัญญาวาจะมอบใหแกผูใหกู เพ่ือเปนการตอบแทนที่ผูใหกูเลื่อนการบริโภคในปจจุบันออกไป และในสายตาของบริษัทการแลกเปลี่ยนนี้จะคุมคาหากที่บริษัทสามารถจัดหาการลงทุนที่ใหผลประโยชนที่เหมาะสมได

อยางไรก็ดี เนื่องจากในความเปนจริงน้ันสัญญาณทางการเงินทั้งหลายทั้งปวงตางแสดงอยูในรูปของอัตราในนาม ดังนั้นอัตราดอกเบี้ยแทจริงจะตองถูกปรับใหสะทอนใหเห็นสภาพเงินที่คาดการณไวดวย ผลกระทบแบบฟชเชอร กลาววา อัตราดอกเบี้ยในนาม หรือ r น้ัน

Page 19: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

10

ประกอบขึ้นมาจากสองสวนดวยกัน สวนแรก คือ อัตราผลตอบแทนที่แทจริงที่ตองการหรือ a และสวนที่สอง คือ พรีเมี่ยม (inflation premium) ซึ่งจะเทากับอัตราเงินเฟอที่คาดการณไว ซ่ึงเราไดสูตรดังน้ี

1+ nominal rate = (1 + real rate) / (1 + expected inflation rate)

หากให r = อัตราดอกเบี้ยในนาม a = อัตราผลตอบแทนที่แทจริงที่ตองการ i = พรีเม่ียมเงินเฟอ (inflation premium)

ดังน้ัน 1 + r = (1 + a) / (1 + i) r = a + i + ai หรือ r = a + i โดยประมาณ สมการของฟชเชอร กลาววา หากอัตราผลตอบแทนที่ตองการ คือ 3% และอัตราเงิน

เฟอที่คาดการณก็คือ 10% ดังน้ัน อัตราดอกเบี้ยในนามจะเปนประมาณ 13% (หรือ 13.3%) หลักตรรกวิทยาที่อยูเบื้องหลังผลลัพธนี้ ก็คือ การที่เงิน $ 1.00 ในปหนาจะมีอํานาจซื้อเพียง $ 0.90 ในรูปของเงินดอลลารของวันน้ี ฉะนั้นผูขอกูจะตองจายเงิน $0.103 เพ่ือชดเชยการเสื่อมหรือการกรอนของอํานาจซื้อแกผูใหกู สําหรับเงินทั้งเงินตนและดอกเบี้ยจํานวน $ 1.03 เพ่ิมเติมขึ้นจากเงิน $ 0.03 ที่จําเปนจะตองจายเปนผลตอบแทนแทจริง 3% สรุปผูขอกูตองจายคืนรวม $ 1.133

รูปแบบทั่วไปของผลกระทบแบบฟชเชอร แสดงวา ผลตอบแทนแทจริงจะเทากันหมดในทุกประเทศ ทั้งน้ีโดยผานการทํา กํา ไรในเวลาเดียวกันในสองตลาด (Arbitrage) น่ันคือ

Ah = af (h = home, f = foreign) หากผลตอบแทนแทจริงที่คาดการณไวสํา หรับเงินสกุลหน่ึงสูงกวาเงินอีกสกุลหน่ึงแลว

เงินทุน (Capital) จะไหลออกจากประเทศหลังไปประเทศแรกและกระบวนการ การทํากําไร ในเวลาเดียวกันในสองตลาด (arbitrage) ในกรณีน้ีจะมีตอไปเรื่อย ๆ หากปราศจากการเขาแทรกแซงของรัฐบาล จนกระทั่งอัตราผลตอบแทนที่คาดการณไวจะเทากัน ดังน้ัน หากไมมีการแทรกแซงของรัฐบาลแลว ณ จุดดุลยภาพจะทํา ใหความแตกตางของอัตราดอกเบี้ยในนามเทากับความแตกตางของอัตราเงินเฟอที่เกิดขึ้นโดยประมาณ หรือ จะได rh – rf = ih – if เม่ือ r = อัตราดอกเบี้ยในนาม และ

i = พรีเม่ียมเงินเฟอ

Page 20: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

11

ทฤษฎีการออม-การลงทนุ (Saving-Investment Theory of Interest Or Real Theory)

ทฤษฎีน้ีเปนการรวมแนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสํานักคลาสสิค คือ อัตราดอกเบี้ย จะถูกกําหนดโดย demand และ supply ฟงกชั่นของทุน หรืออาจจะกลาวไดวาปจจัยที่เปนตัวกําหนดอัตราดอกเบี้ยน้ันประกอบไปดวย 1.demand สําหรับเงินทุนที่จะใช มีความสัมพันธในทางตรงขามกับอัตราดอกเบี้ย และ 2.supply ของเงินออมซึ่งมีความสัมพันธทางเดียวกับอัตราดอกเบี้ย โดยที่เราสามารถแสดงใหเห็นถึงจุดกําเนิดของอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพไดดังรูปที่ 2 ตอไปน้ี

รูปที่ 2 แสดงการกําหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ

อัตราดอกเบี้ย S = Supply Of Saving

R a D = Demand for Investment 0 การออม การลงทุน Q

จากรูปที่ 2 จะเห็นไดวาการตัดกันของเสน Supply กับเสน Demand ทึ่จุด a น้ันจะกอใหเกิดอัตราดอกเบี้ยที่เปนดุลยภาพในที่น้ีใหแทนดวย R และ Q คือปริมาณเงินทุนที่ตองการทั้งน้ีเน่ืองจากการออม และการลงทุนนั้นถูกจัดใหเปนสวนหนึ่งของรายได หรือผลผลิต ซ่ึงเปนปจจัยที่มีความเกี่ยวโยงกับสินคา และบริการท่ีแทจริง เราจึงสามารถเรียกทฤษฎีน้ีไดอีกชื่อหน่ึงวา ทฤษฎีที่แทจริง (Real Theory) เม่ือเรามาพิจารณาถึงซัพพลายทางดานการออม โดยทางเศรษฐศาสตรน้ันเราจะมี ขอสมมติที่วา การออม น้ันจะมีความสัมพันธไปในทางเดียวกันกับอัตราดอกเบี้ย โดยที่คนเราน้ันมักจะออมมากขึ้นเม่ืออัตราดอกเบี้ยสูง ทั้งนี้เปนเพราะแตละบุคคลมีความพึงพอใจตอการบริโภคในปจจุบัน และอนาคตไมเหมือนกัน แตจะหาความพึงพอใจในการบริโภคในปจจุบัน และของอนาคตรวมกัน คือ ยอมออม หรือละการบริโภควันนี้แตไดรับการชดเชยเปนตัวดอกเบี้ย

Page 21: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

12

ในอนาคต ซ่ึงมากพอที่จะชดเชยกับผลประโยชนที่เสียไปในอดีต แตอยางไรก็ตามก็ยังคงมี ขอโตแยงที่วา ในการออมนั้นบุคคลจะมีจํานวนที่กําหนดไวในใจอยูแลว ยิ่งอัตราดอกเบี้ยสูงมากขึ้นเทาใด เขาเหลาน้ันก็จะยิ่งออมเงินนอยลงเทาน้ันทั้งนี้เพ่ือใหไดเงินที่กําหนดเอาไว อีกกรณีหน่ึงมีการโตแยงวาการออมน้ันนาจะขึ้นตรงกับรายได มากกวาอัตราของดอกเบี้ย สําหรับ ในสวนของดีมานดเพ่ือการลงทุนน้ัน ก็จะมีขอสมมุติที่วาเศรษฐกิจมีฐานะคงที่ มีการจางงานเต็มที่ รายได และผลผลิตก็จะคงที่ ดังน้ันการลงทุนจะมีความความสัมพันธในทางตรงขามกับอัตราดอกเบี้ย โดยที่เราสามารถใชกฎของการลดนอยถอยลง (Law of diminishing returns) เปนตัวอธิบาย กลาวคือ คนเราจะตองลงทุนมากถาผลตอบแทนมีมาก ซ่ึงผลตอบแทนที่จะทําใหเกิดดุลยภาพการลงทุนน้ันมักตรงกับอัตราดอกเบี้ย ดังนั้นจึงอาจจะกลาวไดวาเม่ือผลตอบแทนสูงกวาอัตราดอกเบี้ยก็จะทําใหการลงทุนเพ่ิมขึ้น แตเม่ือลงทุนเพ่ิมขึ้นในขณะที่เศรษฐกิจน้ันอยูในสภาพที่คงที่ ก็จะทําใหผลตอบแทนนั้นลดลงไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเทากับอัตราดอกเบี้ย แตจะไมยอมใหต่ํากวาอัตราดอกเบี้ยเพราะวานักลงทุนน้ันจะมีการถอนตัวออกจากตลาดลงทุนไป มาตรการอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินของประเทศไทย

สําหรับประเทศไทยนั้น ในอดีตที่ผานมาอัตราดอกเบี้ยจะถูกกําหนดอัตราดอกเบี้ยมาจากธนาคารแหงประเทศไทย ตอมาเม่ือระบบการเงินทั่วโลกมีการพัฒนาไปอยางมาก ประเทศตางๆ จึงตองมีการปรับปรุงพัฒนาระบบเศรษฐกิจการเงินใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น เพ่ือใหมีระบบเศรษฐกิจการเงินที่ม่ันคง แข็งแรงและมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน เพ่ือเตรียมความพรอมทางดานการเงินและเศรษฐกิจ ธนาคารแหงประเทศไทยจึงไดปรับปรุงมาตรการ ทางการเงินอยางตอเน่ืองการยกเลิกเพดานอัตราดอกเบ้ียเงินฝากประจํา ของอัตราดอกเบี้ยอางอิงจะคํานวณมาจากอัตราดอกเบี้ยลาสุดเฉลี่ยของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ 5 ธนาคาร ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ ธนาคารแหงประเทศไทย ไดประกาศยกเลิกอัตราดอกเบ้ียอางอิง โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 17 กุมภาพันธ 2547 เพ่ือใหอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลอยตัวอยางแทจริง ซ่ึงจะทําใหผูฝากเงินไดรับผลตอบแทนอยางเต็มที่ เน่ืองจากเห็นวาระบบสถาบันการเงินปจจุบันมีสภาพคลองสูง ทําใหการแขงขันเพ่ือระดมเงินฝากไมรุนแรงเหมือนในชวงวิกฤติสถาบันการเงินที่ผานมา ทั้งนี้ เพื่อสงเสริมใหอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลอยตัวอยางแทจริง เพ่ือกระตุนใหสถาบันการเงินแขงขันกันอยางเสรี ตลอดจนเพ่ือพัฒนาตราสารทางการเงินขึ้นมาเปนทางเลือกใหมของการลงทุน

อัตราดอกเบี้ยอางอิง (Reference Rate) เปนอัตราดอกเบี้ยที่ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศทุกวันศุกร เพ่ือใชในการอางอิงสําหรับการกําหนดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของ

Page 22: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

13

ธนาคารพาณิชยไทยในสัปดาหถัดไป ประกอบดวย อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย อัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน

การจัดเก็บขอมูลและการประมวลผล ขอมูลอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงิน เปนอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารแหงประเทศไทย จัดเก็บรวบรวมจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นในตลาดเงินแตละวันแลวถั่วเฉลี่ยเปนรายเดือน สวนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูยืมของสถาบันการเงินเปนอัตราดอกเบี้ย ณ วันสิ้นเดือนที่สถาบันการเงินแตละแหงประกาศกําหนด โดยขอมูลของธนาคารพาณิชยจะแสดงคาสูงสุดและต่ําสุดของ 5 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ในปจจุบันน้ีสวนแบงการการตลาดของ 5 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ ตารางตอไปน้ี

ตารางที่ 1 สวนแบงการตลาดของธนาคารพาณิชย(2550)

หนวย:ลานบาท ธนาคาร สินทรัพย สวนแบง

การตลาด เงินฝาก สวนแบง

การตลาด

กรุงเทพ 1,572,778 17.46% 1,267,068 19.48%

กรุงไทย 1,211,330 13.45% 1,002,098 15.40%

พาณิชย 1,112,824 12.36% 849,334 13.06%

กสิกรไทย 994,149 11.04% 784,408 12.06%

กรุงศรีอยุธยา 650,623 7.22% 500,406 7.69%

ธ.อ่ืน ๆ 3,464,767 38.47% 2,101,835 32.31%

ระบบธนาคารพาณิชย 9,006,471 100.00% 6,505,149 100.00%

ที่มา: 56-1 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ธนาคารกสิกรไทย ป 2550

Page 23: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

14

รูปที่ 3 แสดงสวนแบงการตลาดสินทรัพยของธนาคารพาณิชย

ที่มา: จากตารางที่ 1 รูปที่ 4 แสดงสวนแบงการตลาดเงินฝากของธนาคารพาณิชย

ที่มา: จากตารางที่ 1

Page 24: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

15

ทฤษฎีอนุกรมเวลา

อนุกรมเวลา (Time Series) คือ ขอมูลทางสถิติที่ไดจัดเรียงไปตามลําดับเวลาที่เกิดขึ้น เชน ขอมูลผลผลิตขาวที่เก็บเปนรายป ยอดขายของบริษัทแหงหน่ึงเก็บรวบรวมเปนรายเดือน การวิเคราะหอนุกรมเวลา คือ การศึกษาถึงความเคลื่อนไหวขึ้นลงหรือการเปลี่ยนแปลงของขอมูลตามงวดระยะเวลาสนใจจะศึกษา ตลอดจนดูแนวโนมของขอมูลเพ่ือคาดคะเนหรือพยากรณขอมูลที่เกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยเทคนิคของการพยากรณมาชวยในการหารูปแบบการเพ่ิมขึ้นหรือลดลงของขอมูลน้ัน

ในการใชขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series) เพ่ือศึกษาความสัมพันธของตัวแปรในเชิงเศรษฐกิจน้ัน ปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับตัวแปรคลาดเคลื่อน (error term) ก็คือ การมีอัตสหสัมพันธ (autocorreclation) และปญหาที่สําคัญ แตยังไมไดกลาวถึงในรายละเอียดคือการที่อนุกรมมีลักษณะไมน่ิง (non-stationary)

ความไม น่ิงของอนุกรมเปนปญหารุนแรงในการถดถอยสมการเพราะทําใหความสัมพันธของตัวแปรตามกับตัวแปรอธิบายตางๆ ดูดีและนาพอใจมากทั้งๆ ที่อาจเปนความสัมพันธไมแทจริงโดยสิ้นเชิง (spurious) ในขณะที่การเกิดปญหาความสัมพันธรวมระหวางตัวแปรอิสระ (multicollnearity) เปนผลสืบเน่ืองมาจากตัวแปรอิสระตางๆ เคลื่อนไหวเพ่ิมขึ้นหรือลดลงไปในทิศทางเก่ียวกับภาวะเศรษฐกิจทั่วไปนั้น ตัวแปรตามก็อาจเคลื่อนไหวไปในทิศทางเชนเดียวกันและดวยเหตุผลเดียวกันไดตัวอยางเชนในภาวะเศรษฐกิจรุงเรืองระดับราคาจะสูงขึ้นการบริโภคหรืออุปสงคจะสูงขึ้นเชนเดียวกับการสงออกและอ่ืนๆ ดังน้ันความสัมพันธที่แทจริงระหวางตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระจึงอาจจะถูกกลบดวยความสัมพันธเชิงอนุกรมเวลาที่เขมกวา ผลการวิเคราะหถดถอยจึงเปนความสัมพันธที่ไมแทจริงผลลัพธจากการถดถอยจะไดการประมาณคาที่เอนเอียง (biased) และไมคลองจองหรือไมแนบนัย(inconsistent)

ดวยเหตุผลเบื้องตนดังกลาวน้ี การใชขอมูลอนุกรมเวลา จึงควรระมัดระวังปญหาความไมน่ิงของตัวแปร ซ่ึงจําเปนตองมีการทดสอบกอนที่จะนําขอมูลน้ันไปใชถดถอย การทดสอบความไมน่ิงหรือการหา Unit root จึงเปนสิ่งจําเปน หากพบวาอนุกรมมีลักษณะไมน่ิง ทางหน่ึงที่สามารถแกปญหาก็คือ การแปลงขอมูล (transformation) (แตการแปลงขอมูลก็อาจสรางปญหาในตัวเองไดเหมือนกัน และอีกวิธีหน่ึงก็คือการใชเทคนิคที่เรียกวา cointegration หรือการรวมกันไปดวยกัน

ในหัวขอตอไปนี้จะนําเสนอแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะของตัวแปรอนุกรม การทดสอบความไมน่ิงหรือการหา Unit root ของอนุกรม เทคนิคการทํา cointegration

Page 25: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

16

ขอมูลอนุกรมเวลาที่มีลักษณะน่ิง (Stationary)

ขอมูลอนุกรมเวลามีการเรียงตัวตามลําดับของเวลากอนหลัง เวลาจึงมีผลอยางมากตอคาสถิติของตัวแปรชุดน้ันๆ ซ่ึงไดแก คาเฉลี่ย (Mean) คาความแปรปรวน (variance) ซ่ึงเปนโมเมนต (moment) ที่ 1 และ 2 และโมเมนตในระดับอื่นๆ อาจกลาวไดวาขอมูลอนุกรมเวลาถูกสรางขึ้นมาดวยกระบวนการสุม (random process) หรือกระบวนการเฟนสุม (stochastic process) คาของตัวแปรอนุกรมเวลาที่สังเกตเห็นเปนคาที่เกิดขึ้นจริง (realization) ซ่ึงถือไดวาเปน .ตัวอยาง. (Sample) ในขณะที่คาที่เปนของประชากร (population) เกิดจากกระบวนการสุม ดังน้ันความแตกตางของคาประชากรและคาที่ไดจากตัวอยางก็คือ ความแตกตางระหวางกระบวนการสุมกับคาที่สังเกตไดจริง

ในการใชขอมูลอนุกรมเวลา เราใชคาที่เกิดขึ้นจริงที่สังเกตได (Realization) เพ่ือลงความเห็นเก่ียวกับประชากรหรือเก่ียวกับกระบวนการเฟนสุม (stochastic process) ในทํานองเดียวกับที่เราใชขอมูลตัวอยางในขอมูลตัดขวาง (cross section data) เพ่ือลงความเห็นเก่ียวกับประชากรนั่นเอง

เม่ือ x เปนตัวแปรอนุกรมเวลา ซ่ึงเขียนไดวา xt = μ + et

แสดงวาคาของ x ณ เวลาหนึ่งนั้นเทากับคาเฉลี่ยบวกดวยคาความคลาดเคลื่อนซึ่ง คาความคลาดเคลื่อนนี้เกิดจากกระบวนการสุม ในสมการนี้คาเฉลี่ยมีคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงตามเวลาซึ่งตางกับแบบจําลองในสมการที่ (2) ที่คาเฉลี่ยแปรตามเวลา ดังน้ี

xt = μt + et ในการท่ีจะศึกษาความสัมพันธทางเศรษฐกิจ เพ่ือนําไปสูการลงความเห็นเก่ียวกับ

ประชากรนั้นขอมูลอนุกรมเวลาท่ีควรนํามาใชคือ ขอมูลที่เกิดจาก กระบวนการเฟนสุม (Stochastic process) จะถูกเรียกวา "น่ิง (stationary)" ถาคาเฉลี่ย (mean) และความแปรปรวนของกระบวนการเฟนสุมดังกลาวมีคาคงที่เม่ือเวลาเปลี่ยนไปและคาของความแปรปรวนระหวางสองคาบเวลาจะขึ้นอยูกับระยะทาง (distance) หรือความลาหรือลาหลัง (lag) ระหวางคาบเวลาทั้งสองดังกลาวเทาน้ัน และไมขึ้นอยูกับเวลาที่เกิดขึ้นจริงที่ความแปรปรวนรวมไดถูกคํานวณ

คํานิยามของคําวา "น่ิง (stationary)" ของกระบวนการเฟนสุม (stochastic process) ตามที่กลาวน้ี เปนที่รูจักกันวาเปน weakly stationary stochastic process ซ่ึงใชกันมากในทางปฏิบัติ จากคํานิยามดังกลาวเราสามารถเขียนในรูปของสัญลักษณทางคณิตศาสตรไดดังน้ี

Page 26: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

17

กระบวนการเฟนสุม (xt ) จะถูกเรียกวา "น่ิง (stationary)" ถา

จะเห็นไดวาคาเฉลี่ย (Mean) และความแปรปรวนมีคาคงที่ (constant) เม่ือเวลา

เปลี่ยนไปในขณะที่คาความแปรปรวนรวม (covariance) ระหวางสองคาบเวลาจะขึ้นอยูกับ

ชองวาง (gap) ระหวางคาบเวลาเทาน้ัน ไมไดขึ้นอยูกับเวลาที่เกิดขึ้นจริง และถาหากเง่ือนไขใด

เง่ือนไขหนึ่งไมเปนไปตามที่กลาวมานี้ กระบวนการเฟนสุมดังกลาว จะถูกเรียกวามีลักษณะ "

ไมน่ิง (nonstationary)"

ปญหาความสัมพันธไมจริงและแนวทางแกไข

ความไมน่ิง (Nonstationarity) ของขอมูลอนุกรมเวลาสรางปญหา 3 ประการ คือ ประการแรกเม่ือประมาณสมการถดถอยระหวางตัวแปรอนุกรมเวลา 2 ตัวแปร เรามักจะได R2 ที่สูงมาก

ประการที่สองคาสถิติ t จะมีนัยสําคัญ ทั้งๆ ที่ความสัมพันธของตัวแปรทั้งสองดังกลาวโดยทางทฤษฎีแลวไมมีความหมายในทางเศรษฐศาสตรเลย ซ่ึงปญหาท่ีสองนี้เกิดขึ้นเพราะวาอนุกรมเวลา ทั้งสองมีแนวโนมที่เขมแข็งมาก (strong trend) เชนมีแนวโนมที่เพ่ิมขึ้นหรือลดลงอยางถาวร R2 ซ่ึงความสัมพันธแบบถดถอยของตัวแปรที่ไมน่ิง ( nonstationary variables) น้ัน คาสถิติ t (t statistics) ปกติที่ใชกันก็จะมีการแจกแจงไมใชแบบมาตรฐาน (nonstandard distribution) เพราะฉะนั้นถาใชตาราง t มาตรฐานที่ใชกันตามปกติก็จะนําไปสูการลงความเห็นที่ผิดพลาดได

ปญหาที่สามก็คือวา การพยากรณดวยแบบจําลองที่ใชขอมูลอนุกรมเวลายังคงถูกตอง (Valid) หรือไมถาอนุกรมเวลาดังกลาวมีลักษณะ "ไมน่ิง (nonstationary)" ที่สูงมากเชนน้ีก็มาจากที่อนุกรมเวลามีแนวโนมน่ันเอง ไมใชเน่ืองจากความสัมพันธที่แทจริงระหวางตัวแปรอนุกรมเวลาทั้งสองตัวแปร ดังน้ันจึงจําเปนที่จะตองคนหาใหไดวาความสัมพันธระหวางตัวแปรทางเศรษฐศาสตรตางๆ เปนความสัมพันธที่แทจริงหรือไม Granger ไดใหกฎงายๆ ไววา ถา R2 > D.W. (D.W. คือ คา Durbin-Watson statistic) ใหสงสัยไววาการถดถอยที่ประมาณคาไดน้ันไดมาจากการถดถอยที่ไมแทจริง (spurious regression)

นอกจาก R2 ที่สูงแลว Granger ยังพบวา จากการสรางอนุกรมเวลาที่เปนแนวเดินเชิงสุม (random walk) ที่เปนอิสระตอกัน 100 คู โดยตัวแปรแตละตัวมีลักษณะไมน่ิง (nonstationary)

Page 27: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

18

ในลักษณะที่วาถานํามาหาผลตางคร้ังแรก (first difference) แลวตัวแปรที่เปนผลตางคร้ังแรก (first difference) จะมีลักษณะนิ่ง (stationary) และนําตัวแปรอนุกรมเวลาทั้งสองมาทําการถดถอยเชิงเสนโดยใชวิธีการกําลังสองนอยที่สุดสามัญ (Ordinary Least Squares (OLS) method) พบวาคาสถิติ DW (Durbin-Watson Statistic) มีคาต่ํามากซ่ึงจะนําไปสูคาประมาณของคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard errors) ที่ต่ํากวาความเปนจริง ซ่ึงทําใหไดคาสถิติ t ที่สูงเกินความจริง และการประมาณคาใหม ซ่ึงเปนการแกไขปญหา DW ต่ํา ดวยวิธี Cochrane - Orcutt AR (1) แมวาจะลดปญหาได แตก็ไมไดขจัดปญหาความนาจะเปนที่จะมีการ ลงความเห็นผิด (incorrect inference) ไปได

ในการหลีกเลี่ยงเพ่ือไมใหเกิดปญหาการถดถอยที่ไมแทจริง (Spurious regression) วิธีปฏิบัติที่ใชกันอยูโดยท่ัวไปก็คือ การถดถอยตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ โดยมีตัวแปรแนวโนม (trend variable) t เปนตัวแปรอธิบายอีกหน่ึงตัวเขาไปในสมการถดถอยท่ีนอกเหนือไปจากตัวแปรอิสระอ่ืนดวย ซ่ึงเปนการขจัดผลของแนวโนม (trend effect) ออกไป ทั้งจากตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ

อยางไรก็ตามไดมีขอโตแยงวาวิธีการดังกลาวโดยใชตัวแปรแนวโนม (Trend variable) จะเปนที่ยอมรับไดก็ตอเม่ือตัวแปรแนวโนม (trend variable) น้ัน มีลักษณะเชิงกําหนด (deterministic) และไมใชลักษณะเชิงเฟนสุม (stochastic) และแนวโนมจะมีลักษณะเปนเชิงกําหนด (deterministic) ก็ตอเม่ือแนวโนมน้ันมีลักษณะที่สามารถพยากรณไดอยางสมบูรณ (perfectly predictable) และไมใชเปนตัวแปรที่มีความแปรปรวน ซ่ึงลักษณะเชนนี้มักไมเปนจริง ดังน้ันการใสตัวแปรแนวโนม (trendvariable) จึงมีปญหาเชนกัน

การใชขอมูลอนุกรมเวลา โดยไมไดตรวจสอบความนิ่ง (stationarity) ของขอมูล ซ่ึงโดยทฤษฎีแลวการถดถอยดวยตัวแปรที่เปนความไมน่ิง(nonstationary) คาสถิติ t (t-statistics) จะมีการแจกแจงไมมาตรฐาน (nonstandard distributions) ซ่ึงผลที่ตามมาก็คือ การใชตารางมาตรฐาน (standard tables) ตางๆ อาจนําไปสูการลงความเห็นที่ผิดซ่ึงเปนไปไดที่จะนําไปสูการมีการถดถอยที่ไมถูกตอง (spurious regressions) เวนแตวาความสัมพันธดังกลาวจะมีลักษณะเปนความสัมพันธแบบการรวมกันไปดวยกัน(cointegrating relationship) ซ่ึงจะทําใหคาสถิติ t และ F ที่เราใชกันตามปกติสามารถที่จะใชทดสอบได

ในแบบจําลองถดถอยที่ผานมานั้นเรามีขอสมมุติ (Assumptions) อยูเบื้องหลังการประมาณคาทางเศรษฐมิติที่มีการใชขอมูลอนุกรมเวลาอยูแลวน่ันคือ ขอสมมุติเก่ียวกับความนิ่ง (stationarity) ของขอมูลโดยสมมุติวามีแบบจําลอง:-

และ

Page 28: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

19

โดยที่ e2t เปนอนุกรมของตัวแปรสุม (random variables) ที่มีการแจกแจงแบบปกติที่เหมือนกันและเปนอิสระตอกัน โดยมีคาเฉลี่ย (mean) เทากับศูนย และคาความแปรปรวน (variance) คงที ่ซ่ึงตัวแปร x น้ัน ก็จะเปนแนวเดินเชิงสุม (random walk) และเปน integrated of order one, I(1) เพราะฉะน้ันตัวแปร y ก็จะเปน I(1) ดวย การทดสอบคาสถิติตางๆ ก็อาจนําไปสูการลงความเห็นหรือขอสรุปที่ผิดพลาดไดดังไดกลาวไวแลวขางตน

ดังน้ันในการใชขอมูลอนุกรมเวลาจึงจําเปนที่จะตองทําการทดสอบวาตัวแปรแตละตัวมีลักษณะนิ่ง (Stationary) หรือไม ซ่ึงเปนการทดสอบวามี unit root หรือไม น่ันเอง

การทดสอบยูนิทรูท (Unit root)

วิธีการทดสอบที่เรียกวา Unit root เปนวิธีทดสอบเพ่ือแสดงวากระบวนการของ Ι(1) มี unit root น่ันเอง ถาเราไมสามารถปฏิเสธ สมมติวาตัวแปรหนึ่งๆ (x) เปน unit root แลวก็เทากับเราพบวาตัวแปรนั้นไมน่ิง วิธีทดสอบมีหลายวิธีนอกเหนือจากวิธีของ Dicky - Fuller (DF) และ Augmented Dicky .Fuller (ADF) แลว ยังมีวิธีที่ปรับปรุงจากสาแหรกการตัดสินใจ (decision tree) และนํามาใชโดยในที่น้ีเราจะเสนอวิธีทดสอบที่แพรหลายคือ DF และ ADF ดังตอไปน้ี

การทดสอบ Unit root ที่ใชการทดสอบแบบ Dicky-Fuller (DF) และการทดสอบแบบ Augmented Dicky-Fuller (ADF) น้ันมีสมมุติฐานวาง(null hypothesis) ของการทดสอบ DF (DF test) คือ H0 : 1 p = จากสมการ ซ่ึงเรียกวาการทดสอบ Unit root ถา p <1 แลวจะกลาวไดวา xt มีลักษณะนิ่ง (stationary) และถา p = 1 xt จะมีลักษณะไมน่ิง (nonstationary) อยางไรก็ตามการทดสอบน้ี สามารถทําไดอีกทางหนึ่ง ซ่ึงใหผลเหมือนกับสมการ (14.5) กลาวคือ

ซ่ึงก็คือ xt = (1 + ) xt -1 + t ซ่ึงคือสมการที่น่ันเอง โดยท่ี p = (1+ ) ถา ใน

สมการ มีคาเปนลบ จะไดวา p ในสมการมีคานอยกวา 1 ดังน้ันสามารถสรุปการทดสอบไดวา เราปฏิเสธ H0 : = 0 ซ่ึงเทากับเปนการยอมรับ Ha : < 0 หมายความวา p < 1และ xt มี integration of order zero น่ันคือ xt มีลักษณะนิ่ง (stationary) แตถาเราไมสามารถปฏิเสธ H0 :

= 0 ได ก็จะหมายความวา xt มีลักษณะไมน่ิง(nonstationary)

Page 29: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

20

ถา xt เปนแนวเดินเชิงสุมซ่ึงมีความโนมเอียงทั่วไปรวมอยูดวย (random walk with drift) เราสามารถจะเขียน แบบจําลองไดดังน้ี และถา Xt เปนแนวเดินเชิงสุมซ่ึงมีความโนมเอียงทั่วไปรวมอยูดวย (random walk with drift) และมีแนวโนมตามเวลาเชิงเสน (linear time trend) เราสามารถจะเขียนแบบจําลองไดดังน้ี โดยที่ t = เวลา ซ่ึงก็จะทําการทดสอบ H0 : = 0 โดยมี Ha : < 0 เชนเดียวกับที่กลาวมาขางตน โดยสรุปแลว Dickey and Fuller (1979) ไดพิจารณาสมการถดถอย 3 รูปแบบที่แตกตางกันในการทดสอบวามีunit root หรือไม ซ่ึง 3 สมการ ดังกลาว ไดแก โดยตัวพารามิเตอรที่อยูในความสนใจในทุกสมการ คือ น่ันคือ ถา = 0 ; xt จะมี unit root โดยการเปรียบเทียบคาสถิติ t (t.statistic) ที่คํานวณไดกับคาที่เหมาะสมที่อยูในตาราง Dickey-Fuller (Dickey.Fuller tables) หรือกับ คาวิกฤติ MacKinnon (MacKinnon critical values)

นอกจากน้ี คาวิกฤติ (critical values) จะไมเปลี่ยนแปลง เม่ือสมการ ถูกแทนที่โดยกระบวนการเชิงอัตถดถอย(autoregressive processes) ดังน้ี

จํานวนของตัวแปรลา (Lagged difference terms) ที่จะนําเขามารวมในสมการนั้นจะตองมีมากพอที่จะทําใหตัวแปรความคลาดเคลื่อน (error terms) มีลักษณะเปนอิสระตอกัน (serially independent) และเม่ือนําเอาการทดสอบ Dickey. Fuller (DF) มาใชกับสมการ เราจะเรียกวาการทดสอบ augmented Dickey. Fuller (ADF) คาสถิติทดสอบ ADF มีการแจกแจงเชิงเสนกํากับ

Page 30: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

21

(asymptoticdistribution) เหมือนกับสถิติ DF ดังน้ันจึงสามารถใชคาวิกฤติ (critical values) แบบเดียวกันได

การทดสอบโครีโลแกรม (Correlogram) (ทรงศักด์ิ ศรีบุญจิตต, 2547)

การพล็อตอนุกรมเวลาในบอยครั้งน้ันเพียงพอที่จะบอกวาขอมูลน้ันมีลักษณะนิ่ง

หรือไมน่ิง (Stationary or nonstationary) ในขณะเดียวกันเราก็สามารถใชการพล็อตของอัตสหสัมพันธในการตรวจสอบวาขอมูลนั้นน่ิง (stationary) หรือไมน่ิงได

ถาอัตสหสัมพันธ (Autocorrelations) ของขอมูลไดสูศูนยหลังจากคาลาหรือคาลาหลังของเวลา คร้ังที่สองหรือครั้งที่สาม แสดงวาขอมูลมีลักษณะนิ่ง

ถาอัตสหสัมพันธ (Autocorrelations) ของขอมูลมีคาแตกตางไปจากศูนยอยางมีนัยสําคัญในหลายคาบเวลา แสดงวาขอมูลน้ันไมน่ิง (nonstationary)

รูปที่ 5 แผนภาพโครีโลแกรมของขอมูลที่มีปจจัยแนวโนม (Nonstationary)

ที่มา: จากการคํานวณ หาโดยใชสูตรโครโีลแกรม

ดังน้ันกอนที่จะดําเนินการสรางแบบจําลองอนุกรมเวลาจะตองขจัดความไมน่ิงออกไป

กอน การขจัดความไมน่ิงในอนุกรมเวลา ดังรูปที่ 5 ซ่ึงสามารถทําไดโดยการหาผลตาง (Differencing) ดังน้ี

1−−=′ ttt XXX ในกรณีที่อัตสหสัมพันธของขอมูลที่ไดจากการหาผลตางอันดับที่หน่ึง (1st Difference)

ไมไดเขาใกลศูนยหลังจากคาคาบเวลาลาหลัง (Lag) คร้ังที่สองหรือคร้ังที่สาม แสดงวายังไมเกิด

Page 31: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

22

ความนิ่งขึ้น ดังนั้นจะตองหาผลตางอันดับที่หนึ่ง ของขอมูลที่ไดจากการหาผลตางอันดับที่ 1 อีกคร้ัง จะไดผลตางอันดับที่สอง (2nd Difference) ดังน้ี

1−′−′=′′ ttt XXX ( ) ( )211 −−− −−−=′′ ttttt XXXXX

รูปที่ 6 แผนภาพโครีโลแกรมของขอมูล “ไมน่ิง” จากผลตางอันดับที ่1

ที่มา: จากการคํานวณ หาโดยใชสูตรโครีโลแกรม อัตสหสัมพันธในรูปที่ 6 ไดแสดงวาขอมูลมีลักษณะนิ่ง (Stationary) สวนอัต

สหสัมพันธบางสวน (partial autocorrelation) และ อัตสหสัมพันธ (autocorrelation) มีคาไมแตกตางไปจากศูนย

Granger Causality Tests (นายอัครพงศ อ้ันทอง, 2550)

ถามีตัวแปร 2 ตัวแปร มักจะมีคําถามในการวิเคราะหอยูเสมอวาตัวแปรใดเปนสาเหตุ

ของการเปลี่ยนแปลงของอีกตัวแปรหนึ่ง หรือตัวแปรทั้งสองกําหนดซ่ึงกันและกัน หรือตางก็เปน ตัวแปร Endogenous ในป ค.ศ. 1969 Prof. Granger ไดนําเสนอตัวทดสอบที่เรียกวา "Granger Causality Test" สําหรับทดสอบในประเด็นดังกลาว สมมติวาเรามีตัวแปรอนุกรมเวลาอยู 2 ตัวแปร คือ X และ Y แนวคิดของ Granger ตองการทดสอบดูวา การเปลี่ยนแปลงของตัวแปร X เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร Y หรือวาการเปลี่ยนแปลงของตัว

Page 32: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

23

แปร Y จะเปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร X โดยมีสมมติฐานหลักของการทดสอบทั้งสองกรณี คือ H0: X ไมไดเปนสาเหตุของ Y (X does not Granger Cause Y) H1: Y ไมไดเปนสาเหตุของ X (Y does not Granger Cause X)

โดยสมการที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน ก็คือ 0 1 1 1 1 1 1... ...t t p t t t py y y x xα α α β β− − − −= + + + + + + (Unrestricted regression) 0 1 1 1...t t p t t py y yα α α− − −= + + + (Restricted regression) 0 1 1 1 1 1 1... ...t t p t t t px x x y yα α α β β− − − −= + + + + + + (Unrestricted regression) 0 1 1 1...t t p tx x xα α α− −= + + + (Restricted regression)

สมมติฐานหลักในเชิงสถิติของการทดสอบสมการแตละคูระหวาง Unrestricted regression กับ Restricted regression [การทดสอบมี 2 ชุด คือ X ไมไดเปนสาเหตุของ Y และ Y ไมไดเปนสาเหตุของ X ก็คือ

0 1 2 1... 0H β β β= = = = = 1 2 1... 0AH β β β= ≠ ≠ ≠ ≠

สําหรับสถิติทดสอบ (Test statistic) ไดแก สถิติ F (F-statistic) โดยมีสูตรการคํานวณ ดังน้ี

,( )( )

/( )r ur

p n kur

RSS RSS pFRSS n k−

−=

จากสมมติฐานหลักที่วา "H0: X ไมไดเปนสาเหตุของ Y (X does not Granger Cause Y)"

ถาคา F-statistic ที่คํานวณไดสูงกวาคาวิกฤ ติ [Prob. <α] แสดงวา ปฏิเสธ

สมมติฐานหลัก (H0) หมายความวา X เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ Y ในทํานอง

เดียวกันจากสมมติฐานหลักที่วา "H0: Y ไมไดเปนสาเหตุของ X (Y does not Granger Cause X)"

ถาคา F-statistic ที่คํานวณไดสูงกวาคาวิกฤติ [Prob.< α] แสดงวา ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0)

หมายความวา X เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ Y ในการทดสอบความเปนเหตุเปนผล (Granger Causality Test) ระหวาง It และ Yt และ

ในเบื้องตนจะตองหา lag ที่เหมาะสมที่จะใชในการประมาณสมการกอน สําหรับการเลือก Lag lagth (p-lag) ที่เหมาะสมในการทดสอบ Unit Root ของตัวแปร

น้ัน Enders (1995) ไดกลาววาควรเริ่มตนจาก lag length P* จนกระทั่ง lag length ที่ใชน้ันจะแตกตางจากศูนยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือก lag length ในการทดสอบ Causality

Page 33: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

24

ระหวางตัวแปรตนและตัวแปรตาม สวนใหญจะใชวิธีที่เรียกวา Arbitrary คือ กําหนดคาที่คิดวาเหมาะสมขึ้น ซ่ึงสวนใหญจะใช 4, 8 และ12 lags อยางไรก็ตาม การกําหนด Lag lagth ดวยวิธีการน้ีก็มีขอบกพรอง เน่ืองจากแตละคูความสัมพันธที่นํามาทดสอบอาจมีความไมเหมาะสม Lag lagth ที่ตางกันออกไป การกําหนด lag lagth แบบ arbitrary จึงอาจจะมีขอผิดพลาดได

ซึ่งการหา Lag lagth ที่เหมาะสมนั้นไดมีการนํา เสนอโดย Akaike (1969) ใหใชคา final prediction error (FPE) ซ่ึงมีสูตรคือ

FPEy, x (m) = [(T+m+n+l)/ (T-m-n-l)]*[RSS (m, n)/T] โดย T คือ number of observations

m คือ lag-length period ของ It n คือ lag-length period ของ Yt RSS คือ residuals sum of squares

ตอมาในป 1973 Akaike ไดคิดแนวทางการหาความยาวของ lag ขึ้นใหมเพ่ือขจัดปญหาการประมาณที่ผิดพลาด ซ่ึงมักจะเกิดจากการใช FPE โดยเรียกแนวทางใหมวา AIC criterion มีสูตรในการคํา นวณดังน้ี

AIC= N log (S2) + 2K โดย N คือ จํานวนขอมูล

S2 คือ variance of residual K คือ จํานวน parameter ที่ประมาณคา

อยางไรก็ตาม การใช AIC ยังเกิดปญหาการประมาณที่มากเกิน (over estimate) ของคาที่คํานวณได ดังน้ันในป 1978 Akaike จึงไดการพัฒนาการหาคาความยาวลาชาซ่ึงปจจุบันเปนแนวทางที่เหมาะสมที่สุด คือการพิจารณาจากคา BIC criterion ที่ตํ่าที่สุด ซ่ึงคํานวณจาก

BIC = N log (S2) + K log (N) โดย N คือ จํานวนขอมูล

S2 คือ variance of residual K คือ จํานวน parameter ที่ประมาณคา

ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงเทคนิค ดังนั้นการหา Lag lagth ตาง ๆ จึงเปนไปเพื่อหาจุดที่เหมาะสมสําหรับการทดความสัมพันธที่ตองการจะศึกษา ตัวแปรที่มี Lag lagth ตางกันจึงไมมีความหมายทางเศรษฐศาสตร ซ่ึงแตกตางจากการศึกษาที่เปนแบบสมการโครงสราง (structural model) ที่มีความหมายและอิทธิพลที่แตกตางกันในกรณีที่ตัวแปรมี lag ที่แตกตางกัน

Page 34: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

25

Hsiao (1981) ไดเสนอวิธีการกําหนด Lag lagth ที่ดีกวาวิธีเดิมคือ Minimum Final Prediction Error Criterion (FPE) ซ่ึงมีที่มาจากงานของ Akaike (1973) การกําหนด Lag lagth ในแบบจําลองของการทดสอบ Causality ที่ผานๆมาสวนใหญจะใหวิธีที่เรียกวา Arbitrary Specification คือกําหนดชวงเวลาที่คาดวามีความเหมาะสม ซ่ึงขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูทดสอบของแตละคนและมักจะไมมีวิธีการที่ชัดเจน วิธีการดังกลาวน้ีอาจจะกระทบตอการทดสอบไดเน่ืองจากถากําหนด Lag lagth สูงกวาที่ควรจะเปนก็อาจทําใหคา Variance ของการทดสอบมีคาสูงขึ้น แตถากําหนด Lag lagth ต่ํากวาที่ควรจะเปนอาจจะทําใหเกิด Biasness ขึ้นในการทดสอบได Akaike (1969) ไดกําหนดวิธีการเลือก Orders (Lag lagth) สําหรับ Autoregressive Model ขึ้นโดยใชหลักเกณฑที่เรียกวา The Minimum Final Prediction Error (FPE) Criterion และ Hsiao (1981) ไดนํา FPE Criterion มาเปนเครื่องมือในการกําหนด Orders ในแบบจําลองสําหรับ Causality Tests

การกําหนด Lag lagth มีปญหาอยูที่วา Lag lagth สูงไปอาจเกิด Inefficiency ในการทดสอบได แตถาใช Lag lagth ต่ําไปอาจจะเกิดปญหา Biasness ในการทดสอบไดเชนกัน Hsiao (1981) ไดเห็นวาวิธีการ FPE มีความเหมาะสมในการกําหนด Lag lagth เน่ืองจากเปนวิธีการที่จะชวยชดเชย (trade off) ในปญหาดังกลาว ดังน้ันในการศึกษาครั้งน้ีจะใช FPE ในการกําหนด Lag lagth ซ่ึงในกรณีของ The Direct Granger Approach ก็คือ การใช FPE กําหนดคา m, n ที่เหมาะสม

เมื่อสามารถหาคาความยาวลาชาที่เหมาะสมไดแลว ขั้นตอนตอไปเปนการทดสอบ วาตัวแปรที่ตองศึกษามีความสัมพันธแบบเปนเหตุเปนผลกันหรือไม ซ่ึงสามารถกระทําได 2 แนวทาง คือการเปรียบเทียบคา FPE ของ restricted regression กับ unrestricted regression โดยมีกฎการตัดสินใจดังน้ี

ถา FPEi (m) < FPEi, y (m, n) แสดงวาการทํา y เขามาในแบบจํา ลองไมไดชวยทํา ใหการพยากรณคา i ทํา ใหดีขึ้น (เพราะทํา ให prediction errors มีมากขึ้น) ซ่ึงจะสรุปไดวาไมมีความเปนเหตุเปนผล (causality) จาก Y ไปสู I

ถา FPEi (m) > FPEi, y (m, n) แสดงวาการทํา y เขามาในแบบจํา ลองจะชวยทํา ใหการพยากรณคา i ทํา ใหดีขึ้น และจะสรุปไดวามีความเปนเหตุเปนผล (causality) จาก Y ไปสู I สวนอีกแนวทางหนึ่ง คือ การพิจารณาจากคา F-statistic เพ่ือทดสอบสมมติฐาน คือ I ไมไดมีอิทธิพลตอ Yโดยสามารถเขียน null hypothesis ไดดังน้ี

H0 : ai = 0 สาํหรับทุก i H1 : ai ≠ 0 สําหรับทุก i

Page 35: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

26

สูตรการคํานวณหาคา F-statistic คือ F = (RSSR– RSSUR)/q]/ [(RSSUR)/ (T-k)]

โดย RSSR คือ the sums of squared residuals in the restricted regressions RSSURคือ the sums of squared residuals in the unrestricted regressions

T คือ จํานวนขอมูล (the number of observations) q คือ จํานวนของสัมประสิทธิท์ี่ประมาณคาใน restricted regressions k คือ จํานวนของสัมประสิทธิท์ี่ประมาณคาใน unrestricted regressions

การใชแนวทาง FPE ในการพิจารณาความสัมพันธแบบเปนเหตุเปนผลมีขอจํากัด คือ ไมสามารถระบุระดับความเชื่อม่ันที่ใชในการทดสอบได ดังนั้น ในที่น้ีจึงใชแนวทาง F-statistic ในการทดสอบสมมติฐาน ซ่ึงจะทดสอบที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% Cointegration Test

ขอมูลลักษณะไมน่ิง (Nonstationary data) หรือขอมูลแนวโนมไมวาแนวโนม (trends) น้ัน จะเปนแบบเฟนสุม (stochastic) หรือเชิงกําหนด (deterministic) ก็ตาม อาจจะนําไปสูการถดถอยที่ไมถูกตอง (spurious regression) ได คาสถิติ t ก็จะไมเปนการแจกแจงมาตรฐาน (standard distribution) หรือคาสถิติอ่ืนๆ ก็อาจจะบอกถึงความสามารถในการอธิบายแบบจําลอง (goodness of fit) ที่จะมีคาสูงเกินไป และโดยทั่วไปแลวจะประเมินผลลัพธจากการถดถอยไดยาก

อยางไรก็ตามถาตัวแปร 2 ตัวแปรแมจะมีลักษณะไมน่ิง แตก็อาจจะมีคาสูงขึ้นตามเวลาแบบไปดวยกัน ตัวแปรทั้งสองดังกลาวก็อาจจะสันนิษฐานไดวา มีการรวมไปดวยกันในอันดับเดียวกัน(integration of the same order) และถาความแตกตางระหวางตัวแปรทั้งสองไมมีแนวโนมที่จะเพ่ิมขึ้นหรือลดลงดวยแลวก็อาจเปนไปไดวาความแตกตางดังกลาว (หรือการรวมเชิงเสน (linear combination) ของตัวแปรทั้งสอง) อาจจะมีลักษณะนิ่ง ทั้งหมดดังกลาวน้ี คือ แนวคิดเก่ียวกับการรวมกันไปดวยกัน (cointegration) ตัวแปรสองตัว (หรือมากกวา) ที่มีลักษณะไมน่ิง ในกรณีที่ตัวแปรสองตัว (หรือมากกวา) มีลักษณะไมน่ิงตัวแปรทั้งสองนี้จะมีความสัมพันธระยะยาว (long runrelationship) (nonstationary) ไดก็ตอเม่ือสวนเบี่ยงเบน (deviations) ที่ออกไปจากทางเดินของความสัมพันธระยะยาว (long run path) จะตองมีลักษณะน่ิง (stationary) น่ันคือตัวแปรที่เราพิจารณาอยูมีการรวมกันไปดวยกัน (cointegrated) เพราะฉะน้ัน ตามคํานิยามของ Engle and Granger (1987)เก่ียวกับการรวมกันไปดวย (cointegration) ของสองตัวแปรจะเปนดังน้ีคือ

Page 36: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

27

ถา xt และ yt เปนอนุกรมเวลา (time series) xt และ yt จะถูกเรียกวาเปนอันดับของการรวมกันไปดวยกัน (cointegrated of order) d, b ซ่ึงเขียนแทนดวยสัญลักษณวา xt , yt ~ CI (d ,b) ถา xt และ yt เปน integrated of order d ซ่ึงเขียนแทนดวยสัญลักษณ I(d ) และจะตองมีการรวมเชิงเสน (linear combination)ของตัวแปรทั้งสองนี้ สมมุติวาเปน αxt + βyt ซ่ึงจะตองเปน integrated of orderd . b) โดยที่ d > b > 0 เวกเตอร [α, β] น้ีจะถูกเรียกวาเวกเตอรที่ทําใหเกิดการรวมกันไปดวยกัน (cointegrating vector)

สําหรับการศึกษาเศรษฐมิติเชิงประจักษน้ัน เราสนใจความสัมพันธระหวางตัวแปรทางเศรษฐกิจดังน้ัน ถา Xt คือ เวกเตอร n x1 ของอนุกรม x t , x t ,..., xnt และถาแตละ xit เปน Ι (d ) โดยที่ i =1,...n และอนุกรม xit ถูกแปลงคาดวย α ซ่ึงคือ เวกเตอร n x1 ( n x1 vector) ที่ทําใหXt′α ~ Ι (d − b) ดังนั้น Xt′α ~ CΙ (d − b) อนุกรม (series) ที่ถูกแปลง (transformed) ดวยเวกเตอรที่ทําใหเกิดการรวมกันไปดวยกัน (cointegrating vector) มีลักษณะนิ่ง (stationary) น่ันคือ กรณีที่d = b และสัมประสิทธิ์ของการรวมกันไปดวยกัน (cointegrating coefficients) สามารถที่จะหาคาไดดวยพารามิเตอรที่อยูในสมการความสัมพันธระยะยาวระหวางตัวแปรตางๆ ในแบบจําลอง

สําหรับการทดสอบการรวมกันไปดวยกัน (Cointegration) น้ันใหใชสวนที่เหลือ (residuals) จากสมการถดถอยที่เราตองการทดสอบการรวมกันไปดวยกัน (Cointegration) ซ่ึงคือ e^

t มาทําการถดถอยดังสมการดังตอไปน้ี และทําการทดสอบความน่ิงของคาสวนเหลือ (e^

t )โดยนําคาสถิติ t ซ่ึงไดมาจากอัตราสวนของ คาสัมประสิทธิ์หนา y^ กับความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard error) ของสัมประสิทธิ์ (y^ / S. E.y^ )ไปเปรียบเทียบกับคาวิกฤติ MacKinnon (MacKinnon critical values) โดยที่สมมุติฐานวางของการไมมีการรวมกันไปดวยกัน (null hypothesis of no cointegration) คือ H0 : y = 0 ถา y เปนคาลบและคาลบของคาสถิติ t ที่มีนัยสําคัญก็จะเปนการปฏิเสธ H0 ซ่ึงก็จะนําไปสูขอสรุปวาตัวแปรมีลักษณะนิ่ง(stationary) และ สรุปวาในสมการดังกลาว มีลักษณะรวมกันไปดวยกัน (cointegrated)น่ันคือ

H0 : y = 0 H1 : y < 0

ถาไมปฏิเสธ H0 แสดงวาตัวแปร x มีลักษณะไมน่ิง วิธีการทดสอบความนิ่งของเศษเหลือดังกลาวน้ี เปนวิธีที่เหมาะสมสําหรับแบบจําลองที่มีตัวแปรอธิบายเพียงตัวเดียว แตถาเปนแบบจําลองที่มีหลายตัวแปร (multivariate analysis) แลว จะมี k - 1 cointegrating vectors (เม่ือ k คือ จํานวนตัวแปรอธิบาย) ในกรณีเชนนี้ควรเลือกใชวิธีการของ Johanson

Page 37: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

28

ก็ตามถา สวนที่เหลือ (Residuals): e^ t ในสมการ ไมเปน white noise เราก็จะใชการ

ทดสอบ ADF (Augmented Dickey.Fuller test) แทนที่จะใชสมการ สมมุติวา vt ของสมการ มีสหสัมพันธเชิงอันดับ (serial correlation) เราก็จะใชสมการดังน้ี

และถา - 2 < y < 0 เราสามารถจะสรุปไดวา สวนตกคางหรือสวนที่เหลือ (residuals)

มีลักษณะนิ่ง (stationary) และ y t และ x t จะเปน Cl (1,1) โปรดสังเกตวาสมการ ไมมีคาตัดแกน (intercept term) เน่ืองจาก e^

t เปนสวนตกคางหรือสวนที่เหลือ (residuals) จากสมการถดถอยของแบบจําลองโครงสรางอยูแลว งานวิจัยที่เก่ียวของ

รุจกร ผลเพิ่ม (2549) ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยกับดัชนีราคา

หลักทรัพยหมวดอุตสาหกรรมของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพ่ือศึกษาถึงความสัมพันธ

ระหวางอัตราดอกเยี้ย R/P14 วันกับดัชนีราคาหลีกทรัพยหมวดอุตสาหกรรม ของตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย

ผลการศึกษาพบวา ดัชนีราคาหลักทรัพยหมวดอุตสาหกรรมทั้งหมดมีคาขอมูลระยะสั้น

คาความสัมพันธเปนลบ คาความคลาดเดลื่อนมีการปรับตัวเขาสูดุลยภาพในระยะยาว และ จะ

ลดลงเร่ือยๆ ยกเวนดชนีราคาหลักทรัพยหมวด หมวดสื่อสาร ที่ไมมีการปรับตัวเขาสูดูลยภาะ

ในระยะยาว สาวรดา สมเข่ือน (2548) ศึกษาและประยุกตใชโคอินทิเกรชันและแบบจําลองเอเรอร

คอรเรคชัน เพ่ือศึกษาวิธีโคอินทิเกรชัน, แบบจําลองเอเรอรคอรเรคชัน และประยุกตการวิเคราะหโคอินทิเกรชันและแบบจําลองเอเรอรคอรเรคชันกับขอมูลจริง

ผลการศกึษาพบวา ในการวิเคราะหข็อมูลอนุกรมเวลาที่มีลักษณะไมน่ิง มักเกิดปญหาความสัมพันธไมแทจริงขึ้น การวิเคราะหโคอินทิเกรชั่น และแบบจําลองเอเรอรคอรเรคชั่น น้ีสามารถชวยแกปญหา ไมใหเกิดความสัมพันธที่ไมแทจริงได เน่ืองจากขอมูลมีความสัมพันธ เชิงดุลยภาพระยะยาวดังน้ัน จึงทําใหโคอินทิเกรชันและแบบจําลองเอเรอรคอรเรคชันเปนเทคนิคที่ใชกันมากในทางเศรษฐศาสตรเพ่ือวิเคราะห ดูความผันแปรของภาวะเศรษฐกิจตาง ๆ

นายสันติ ชางประดิษฐ (2547) ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น

ในประเทศไทยกับตางประเทศ เพ่ือศึกษาความสัมพันธของขนาดและทิศทางของอัตราดอกเบี้ย

ระยะสั้นในตลาดเงินของประเทศไทยเม่ือพิจารณาตัวกําหนดจากตลาดเงินที่สําคัญของโลก

Page 38: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

29

ผลกาศึกษาพบวาทํา ใหเชื่อม่ันไดวาอัตราดอกเบี้ยระส้ันของประเทศไทยมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นกับประเทศสิงคโปรและญี่ปุน กลาวคือการเพ่ิมตัวแปร ในอดีตของอัตราดอกเบี้ยสิงคโปรหรือของญี่ปุนเขาไปในสมการจะสามารถอธบิายสมการไดดียิ่งขึ้น นอกจากนี้งานศึกษาในดานอัตราดอกเบี้ยของไทยโดยสวนใหญ ก็จะพบวาเม่ือตองการที่จะศึกษาเรื่องอัตราดอกเบี้ยหรืออัตราแลกเปลี่ยน ก็จะพบวาตัวแปรอัตราดอกเบี้ยจากประเทศสิงคโปรจะถูกนํา เขามาอธิบายในแบบจํา ลองในฐานะที่เปน ตัวแปรจากตางประเทศ นอกจากนี้ก็จะทํา ใหทราบวาอัตราดอกเบี้ยจากประเทศสิงคโปรและญี่ปุน จะสะทอนใหรับรูถึงการปรับตัว ความผันผวนในตลาดเงินที่จะสงผลตอตลาดเงินของไทยอีกทางหนึ่ง

สุรศักด์ิ มหาแกว (2545) ศึกษาผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยตอการออมและการ

ลงทุน กอนและหลัง พ.ศ. 2540 (วิกฤตทางเศรษฐกิจของไทย) เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบ

ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยที่มีผลตอเงินออม และ การลงทุนในภาวะเศรษฐกิจที่แตกตางกันวา

มีผลตางกันอยางไรและศึกษานโยบายของรัฐบาล ในปจจุบันวามีความสอดคลองเหมาะสมกับ

การฟนฟูระบบเศรษฐกิจ หรือไม อยางไร

ผลการศึกษาพบวา ในปจจุบันอัตราดอกเบี้ยมีผลตอการออมและการลงทุนลดลง

เน่ืองมาจากรัฐบาลเนนนโยบายการลดอัตราดอกเบี้ยใหต่ํา อาจจะกระตุนภาพรวมในการลงทุน

ไดดี และจะเห็นไดวาการที่รัฐบาลลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลงนั้น ไมสามารถทําใหปริมาณเงิน

ออมในระบบลดลง ทําใหการเงินในประเทศมีสภาพคลองสวนเกิน หรือ ปริมาณเงินฝากในระบบ

ธนาคารมากกวาอุปทานในการปลอยกู

รัชนก นุชพงษ (2540)ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนและสวนตางของ

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง เพ่ือตรวจสอบหาความสัมพันธทั้งขนาดและทิศทางระหวาอัตรา

แลกเปลี่ยนและสวนตางอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงกรณีศึกษาของประเทศไทยในชวงที่ประเทศ

สวนใหญในโลกหันมาใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ลอยตัวมากขึ้น

ผลการศึกษาพบ วาอัตราอัตราแลกเปลี่ยนและสวนตางของอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง

ระหวางประเทศมีความสัมพันธในระยะยาว

Page 39: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย มีวิธีการดําเนินการวิจัยดังน้ี

- ประชากรและกลุมตัวอยาง - ตัวแปรในการวิจัย - เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย - การเก็บรวบรวมขอมูล - การวิเคราะหขอมูล - การนําเสนอขอมูล

ประชากรและกลุมตวัอยาง

กลุมตัวอยางที่นํามาใชในการศึกษาเปนอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย โดยใชขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน ตั้งแต มกราคม 2543 ถึง ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2206 ขอมูลเปนระยะเวลา 9 ป

1. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน (คาเฉลี่ย 5 ธนาคารชั้นนํา ในประเทศไทยไดแก ธนาคากกรุงศรีอยุธยา, ธนาคากรุงเทพ, ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย) เฉลี่ยรายวัน

2. ดัชนีราคาหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index) ดัชนี ณ ปดตลาดรายวัน

ตัวแปรในการวิจัย

ในการวิจัยไดใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรของความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน (คาเฉลี่ย 5 ธนาคารชั้นนําในประเทศไทย) และดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย มีตัวแปรดังน้ี

Page 40: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

31

1. SETn = ดัชนีราคาหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET Index) ดัชนี ณ ปดตลาดรายวัน

2. ITRn = อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน (คาเฉลี่ย 5 ธนาคารชั้นนําในประเทศไทย) เฉลี่ยรายวัน

เม่ือ n = ขอมูลรายวนัที่เปดทําการของธนาคารแหงประเทศไทย ตั้งแต ป 2543 จนถึงป 2551

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาน้ี ประกอบดวยเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรโดยใชขอมูลทุติยภูมิในอดีต เปนการศึกษาเชิงประจักษที่อาศัยขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ทฤษฏีบทอนุกรมเวลาโดยมีขอสมมติวาขอมูลอนุกรมเวลาที่ไดมาน้ันจะมีลักษณะ "น่ิง" (Stationary) สามารถทดสอบความนิ่งดวยการทดสอบยูนิทรูท (Unit Root ) และการทดสอบ โครีโลแกรม (Correlogram)

หากอัตสหสัมพันธ (Autocorrelations) สําหรับขอมูลอนุกรมยังไมน่ิงหลังจากการหาผลตางแลว ใหแปลงอนุกรมเวลาเดิมโดยหาคา Logarithm Zt = ln(Xt) จนกวาจะไดคาอนุกรมเวลาใหมที่น่ิง

จากน้ันทําการทดสอบ Cointegration Test เพ่ือดูความสัมพันธกันในระยะยาว แลวจึงนําขอมูลอนุกรมเวลาที่มีความน่ิง ก็จะเขาสูการทดสอบวาตัวแปรทั้งสองเปนสาเหตุซ่ึงกันและกันหรือไมโดยใชการทดสอบ Granger’s Causality

การเก็บรวบรวมขอมูล

ในการศึกษาวิจัยความสัมพันธอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index)

ของประเทศไทย โดยรวบรวมขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน จากขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและโดยรวบรวมขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย ตั้งแตเดือนตั้งแต มกราคม 2543 ถึง ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2348 ขอมูลเปนระยะเวลา 9 ป

Page 41: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

32

การวิเคราะหขอมูล (รัชนก นุชพงษ ,2540) วิธีการศึกษาทางเศรษฐมิติในการวิเคราะหอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) ระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย ที่นํามาใชในการศึกษาครั้งน้ี คือ

1. ศึกษาเชิงพรรณนา เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศ ศึกษาแนวโนมของตัวแปรโดยการ Plot กราฟ

2. ศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) ซึงอาศัยวิธีการศึกษาดังน้ี 2.1 วิเคราะหเชิงถดถอยโดยใช Ordinary Least Square เพ่ือพิจารณา

ความสัมพันธระหวาตัวแปรทั้งสอง โดยแนวความคิดเพ่ือสรางแบบจําลองในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางตัวแปรทั้งสอง ซ่ึงจะไดรูปแบบความสัมพันธ

2.2 ในสวนตอไปวิธีการทดสอบความสัมพันธน้ันจะอาศัยวิธีการศึกษาตามแบบของ Engle – Granger (1987) ซ่ึงมีขั้นตอนในการทดสอบ 2 ขั้น คือ

ขั้นที่ 1 โครีโลแกรม (Correlogram) ซ่ึงพิจารณาตัวแปรทุกตัวในแบบจําลองวามีลักษณะ Stationary ที่ ระดับใด โดยใชการพล็อตของอัตสหสัมพันธในการตรวจสอบวาขอมูลน้ันน่ิง (Stationary) หรือไมน่ิง

Stationary Test เปนการทดสอบคุณสมบัติอนุกรมเวลา (Time Series) ของตัวแปรใด ๆ ที่จะนํามาทําการทดสอบเพ่ือคนหาความสมัพันธวาขอมูลอนุกรมเวลาของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทยมีคุณสมบัติเปน Stationry หรือไม โดยอาศัยพ้ืนฐานของ Unit Root หากพบวาตัวแปรนั้น มีรูปแบบ Non-Stationry มีคาแตกตางจากศูนยอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ (Level) แลว เราจะทําการทดสอบท่ีระดับผลตาง ในระดับผลตางลําดับที่ หน่ึง (First Difference) ในการทดสอบ Stationary ที่ระดับหน่ึง (First Difference) จะพิจารณาเลือกความยาวตัวแปรลาชา (Lagged) ที่มากที่สุดจากที่ระดับ หน่ึง (First Difference) หากพบวาตัวแปรนั้น มีรูปแบบ Non-Stationry เราจะทําการทดสอบท่ีระดับผลตาง ในระดับผลตางลําดับที่ สอง (Second Difference) แลวเราจะไดขอมูลที่มีคุณสมบัติเปน Stationry

ขั้นที่ 2 Cointegration Test เปนการทดสอบความสอดคลองของขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series ) ของคูตัวแปรใด ๆ วาในระยะยาวมีความสัมพันธเชิงดุลยะภาพในระยะยาวหรือไม (หรืออีกนัยหน่ึงเราเรียกวามี Cointegrated ระหวางตัวแปร) แมวาในระยะสั้นอาจมีคาแตกตางกันไปบางถาไดรับผลกระทบมาจาก Seasonal Factor แตถาพบตัวแปรเหลาน้ันมี Cointegrated ตอกันแลวในระยะยาวจะตองมีกลไกบางอยางทําใหเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน โดยทดสอบการเคลื่อนไหวของคาความคลาดเคลื่อน (Error Term) ของสมการความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ตองการทดสอบ

Page 42: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

33

นําตัวแปรที่ทดสอบความนิ่งมาทดสอบทิศทางความสัมพันธ วาตัวแปรทั้งสองกําหนดซ่ึงกันและกัน หรือตางก็เปนตัวแปรที่ไมมีสาเหตุซ่ึงกันและกัน โดยวิธีทดสอบดูวา การเปลี่ยนแปลงของตัวแปร ITRn เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร SETn หรือวาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร SETn จะเปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร ITRn โดยสถิติที่ใชในการทดสอบนั้นจะใชคาสถิติ F (F-statistic) ซ่ึงจะปฏิเสธสมมติฐานหลักเม่ือคาสถิติ F ที่คํานวณไดมีคามากกวาคาวิกฤติ ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% [Prob.<0.05] เพ่ือจะไดความผิดพลาดของขอมูลนอยที่สุด จากน้ันก็จะนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหตามวัตถุประสงคของการศึกษาครั้งน้ีตอไป

การนําเสนอขอมูล

จากขอมูลทุติยภูมิของอนุกรมเวลาของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศที่น่ิงแลว จะถูกนําไปหาความสัมพันธโดยใช Granger Causality Tests ทดสอบความสัมพันธของตัวแปร ITRn เปนตัวแปรตนเหตุตอ SETn หรือวาตัวแปร SETn จะเปนตัวแปรตนเหตุตอ ITRn โดยสถิติที่ใชในการทดสอบคือคาสถิติ F (F-statistic) ซ่ึงจะปฏิเสธสมมติฐานหลักเม่ือคาสถิติ F ที่คํานวณไดมีคามากกวาคาวิกฤติ ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% [Prob.<0.05]

Page 43: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บทที่ 4

ผลการศึกษาวิเคราะหขอมูล

ในการศึกษาวิจัยความสัมพันธอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย การศึกษาจะเปนการศึกษาตั้งแตเดือนตั้งแต มกราคม 2543 ถึง ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2206 ขอมูลเปนระยะเวลา 9 ป โดยมีขั้นตอนการศึกษาคือ ขั้นตอนแรกจะเปนการทดสอบความนิ่งของขอมูลวามีลักษณะนิ่งหรือไม และมีความสัมพันธอยูระดับใด โดยใชวิธีแผนภูมิโครีโลแกรม และ Unit root ในการทดสอบ ขั้นตอนที่สองเปนการหาความสัมพันธระยะยาวโดย Cointegration และ หาความสัมพันธระยะสั้น (Granger causality) ดังน้ี ผลการทดสอบโครีโลแกรม (Correlogram Test)

จากทฤษฏีแผนภูมิโครีโลแกรมที่กลาวมาแลวในบทที่ 2 ตองทําการทดสอบวาขอมูล ที่ทําการหาความสัมพันธวามีลักษณะของขอมูลมีความน่ิงหรือไมน่ิงเปนการเบื้องตน เน่ืองจากตัวแปรที่จะนํามาทดสอบ Granger Causality น้ันจําเปนที่จะตองทําการหาวาขอมูลน่ิงที่ระดับใดกอน จากการทดสอบแผนภูมิโครีโลแกรม ของขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทยพบวาทุกตัวแปรมีความนิ่งที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ดังน้ี

Page 44: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

35

รูปที่ 7 แสดงโครีโลแกรมจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ระดับปกต ิ

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 7 จะเห็นไดวาขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเกิดความไมนิ่ง หรือขอมูล

มีความสัมพันธกันเอง ซ่ึงแผนภูมิจะแสดงใหเห็นวาขอมูลเกิด Partial Correlation ไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงจะยังไมสามารถนําขอมูลไปใชในการหาความสัมพันธได ดังน้ันจึงไดทําการปรับขอมูลเปนคา log ดังรูปที่ 8 เพ่ือหาวาขอมูลน่ิงที่ระดับใด

รูปที่ 8 แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา Log ระดับปกต ิ

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ

Page 45: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

36

จากดังรูปที่ 8 จะเห็นไดวาขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเกิดความไมน่ิง หรือขอมูล มีความสัมพันธกันเอง ถึงแมวาจะไดมีการปรับเปนคา Log ซ่ึงแผนภูมิจะแสดงใหเห็นวาขอมูลเกิด Partial Correlation ไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงจะยังไมสามารถนําขอมูลไปใชในการหาความสัมพันธได ดังน้ันจึงไดทําการปรับขอมูลเปนการสรางความแตกตางอันดับที่ 1 สําหรับขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากดังแสดงในดังรูปที่ 9

รูปที่ 9 แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 9 จะเห็นไดวาขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากขอมูลเกิดความน่ิงเกิดขึ้นจากรูป

ซ่ึงจะสามารถนําอัตราดอกเบี้ยเงินฝากไปคํานวณเพื่อใชในขั้นตอนตอไปได แตก็จะทําการยืนยันอีกคร้ังดวยการคํานวณแผนภูมิโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ในรูปที่ 10

Page 46: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

37

รูปที่ 10 แสดงโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 10 จะเห็นไดวาขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา Log ระดับความ

แตกตางอันดับที่ 1 แลวน้ันก็จะเปนขอมูลที่มีความนิ่งเกิดขึ้น สามารถที่จะนําไปคํานวณในขั้นตอนไปได ซ่ึงจากแผนภูมิโครีโลแกรมของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากขางตน ทําใหทราบวาขอมูลของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่สามารถไปคํานวณไดน้ัน คือ แผนภูมิโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 และ 4 รูปโครีโลแกรมอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 รูปที่ 11 แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับปกต ิ

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ

Page 47: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

38

จากรูปที่ 11 จะเห็นไดวาขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับปกติ น้ันเกิดลักษณะที่ไมน่ิง และเกิดความสัมพันธในขอมูลระหวางกันเอง หรือเกิด Partial Correlation ซ่ึงจะไมสามารถนําขอมูลไปใชในการคํานวณขั้นตอนตอไปได จากน้ันจึงนําขอมูลไปคํานวณตอโดยปรับขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) เปนคา log ดังรูปที่ 2

รูปที่ 12 แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา Log ระดับปกต ิ

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 12 จะเห็นไดวาขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา Log ระดับปกติ

ขอมูลเกิดความไมน่ิง และเกิดความสัมพันธในขอมูลระหวางกันเอง หรือเกิด Partial Correlation ซ่ึงจะไมสามารถนําขอมูลไปใชในการคํานวณขั้นตอนตอไปได จากนั้นจึงนําขอมูลไปคํานวณตอโดยปรับขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) ระดับปกติ ใหเปนระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ดังรูปที่ 13

Page 48: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

39

รูปที่ 13 แสดงโครีโลแกรมดัชนีหลักทรัพย (set index) ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 13 จะเห็นไดวาขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับความแตกตาง

อันดับที่ 1 มีลักษณะนิ่งและไมเกิดความสัมพันธในขอมูลของดัชนีหลักทรัพย (Set index) เอง สามารถที่จะนําขอมูลราคาดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ไปคํานวณในขั้นตอนตอไปได แตเพ่ือเปนการยืนยัน โดยทําการคํานวณดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา Log ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ดังรูปที่ 14

Page 49: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

40

รูปที่ 14 แสดงโครีโลแกรมราคาดัชนีหลกัทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา Log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากรูปที่ 14 จะเห็นไดวาขอมูลดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา log ระดับ

ความแตกตางที่ 1 พบวาขอมูลเกิดความนิ่งและไมเกิดปญหาขอมูลสัมพันธกันเอง สามารถที่จะนําขอมูลราคาดัชนีหลักทรัพย (Set index) ไปคํานวณตอได ผลการทดสอบความนิ่งของอนุกรมเวลา (Unit Root Test)

ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ผลการทดสอบยูนิทรูทของดัชนีหลักทรัพย (Set index) จากแบบจําลองทั้งหมด

ไดแกแบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) แบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) และแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend) โดยการทดสอบ ADF Test (Augmented Dickey-Fuller test) ซ่ึงไดคาสถิต ิt-statistic ดังตารางที ่2 โดยมีคาสถิติ t-statistic มากกวาคา Mackinnon Critical โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% คือ

1. -1.941 สําหรับแบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) 2. -2.863 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) 3. -3.412 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend)

Page 50: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

41

จึงแสดงใหเห็นวาไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลกั H0: 0=θ น่ันคือ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) มียูนิทรูทอยูในชุดขอมูลดังน้ี

ตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบยูนิทรูทของดัชนีหลักทรัพย (Set index) ADF Test

None Intercept Intercept & Trend

คา t-statistic ณ ระดับปกติ

-0.4303 -1.1865 -0.8712

คา t-statistic ณ ปรับเปนคา log ระดับปกต ิ

-0.0626 -1.0762 -0.9340

คา t-statistic ณ ผลตางอันดับที่ 1

-46.4491 -46.4339 -46.4368

คา t-statistic ณ ปรับเปนคา log ผลตางอันดับที่ 1

-46.4670 -46.3310 -46.3253

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ หมายเหตุ: ** หมายถึงความมีนัยสําคัญทางสถิตทิี่ระดับความเชื่อม่ัน 95% ดัชนีหลักทรัพย (set index) มีความนิ่ง เม่ือแปลงขอมูลโดยการหาผลตางอันดับที่ 1

(1st Difference) และแปลงขอมูลโดยปรับเปนคา log แลวหาผลตางอันดับที่ 1 (1st Difference) ซ่ึงสามารถดูไดจากคาสถิติ t-statistic ที่นอยกวาคา Mackinnon Critical โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% คือ

1. -46.4491 และ-46.4670 สําหรับแบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) ตามลําดับ

2. -46.4339 และ-46.3310 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) ตามลําดับ

3. -46.4368 และ-46.3253 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend) ตามลําดับ

ดังน้ันสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 : 0=θ น่ันคือ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ไมมียูนิทรูทอยูในชุดขอมูลหรือมีความนิ่ง (Stationary) ที่ระดับผลตางอันดับที่ 1 และ แปลงขอมูลโดยปรับเปนคา log แลวหาระดับผลตางอันดับที่ 1 ทั้ง 3 แบบจําลอง

อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ผลการทดสอบยูนิทรูทของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก จากแบบจําลองทั้งหมด ไดแก

แบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) แบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) และแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend) โดยการ

Page 51: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

42

ทดสอบ ADF Test (Augmented Dickey-Fuller test) ซ่ึงไดคาสถิติ t-statistic ดังตารางที่ 3 โดยมีคาสถิติ t-statistic มากกวาคา Mackinnon Critical โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% คือ

1. -1.941 สําหรับแบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) 2. -2.863 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) และ 3. -3.412 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend) จึงแสดงใหเห็นวาไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 : 0=θ น่ันคือ อัตราดอกเบี้ย

เงินฝาก มียูนิทรูทอยูในชุดขอมูลดังน้ี ตารางที่ 3 แสดงผลการทดสอบยูนิทรูทของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก

ADF Test

None Intercept Intercept & Trend

คา t-statistic ณ ระดับปกติ

-0.8828 -1.4117 -1.3909

คา t-statistic ณ ปรับเปนคา log ระดับปกต ิ

-0.5472 -1.2903 -1.2584

คา t-statistic ณ ผลตางอันดับที่ 1

-19.0548 -19.0535 -19.0782

คา t-statistic ณ ปรับเปนคา log ผลตางอันดับที่ 1

-24.4737 -24.4573 -24.4971

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ หมายเหตุ: ** หมายถึงความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก มีความนิ่ง เม่ือแปลงขอมูลโดยการหาผลตางอันดับที่ 1 (1st

Difference) และแปลงขอมูลโดยปรับเปนคา log แลวหาผลตางอันดับที่ 1 (1st Difference) ซ่ึงสามารถดูไดจากคาสถิติ t-statistic ที่นอยกวาคา Mackinnon Critical โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% คือ

1. -19.0548 และ-24.4737 สําหรับแบบจําลองที่ปราศจากจุดตัดแกนและแนวโนม (None) ตามลําดับ

2. -19.0535 และ-24.4573 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนแตปราศจากแนวโนม (Intercept) ตามลําดับ

3. -19.0782 และ-24.4971 สําหรับแบบจําลองที่มีจุดตัดแกนและแนวโนม (Intercept & Trend) ตามลําดับ

Page 52: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

43

ดังน้ัน สามารถปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 : 0=θ น่ันคือ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ไมมียูนิทรูทอยูในชุดขอมูลหรือมีความนิ่ง (Stationary) ที่ระดับผลตางอันดับที่ 1 และ แปลงขอมูลโดยปรับเปนคา log แลวหาระดับผลตางอันดับที่ 1 ทั้ง 3 แบบจําลอง

ผลการทดสอบ Lag length

Lag length ที่ใชน้ันจะแตกตางจากศูนยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือก lag

length ในการทดสอบ Causality ระหวางตัวแปรตนและตัวแปรตาม สวนใหญจะใชวิธีที่เรียกวา Arbitrary คือ กําหนดคาที่คิดวาเหมาะสมขึ้น ซ่ึงสวนใหญจะใช 4, 8 และ12 lags

ตารางที่ 4 แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 4

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ

Page 53: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

44

ตารางที่ 5 แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 8

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ ตารางที่ 6 แสดง Lag lagth กําหนดคา Lag Specification ที่ 12

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ ดังน้ัน จากตารางการคํานวณทั้ง 3 ตารางสามารถหา FPE ในการกําหนด Lag lagth

คา m, n ที่เหมาะสม คือ 3 Lag

Page 54: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

45

ผลการทดสอบ Cointegration Test

การคํานวณ เพื่อหาความสัมพันธ ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย จะใชวิธีของ Cointegration Test เพ่ือดูความสัมพันธวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในระยะยาว โดยการหาความสัมพันธมีดังตอไปน้ี

ตารางที่ 7 แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับปกติ

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ

จากตารางที่ 7 พบวาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ระดับปกติ โดยการทดสอบ Cointegration Test ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ไมมีความสัมพันธกันในระยะยาว

Page 55: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

46

ตารางที่ 8 แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ

จากตารางที่ 8 พบวาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 โดยการทดสอบ Cointegration Test ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ไมมีความสัมพันธกันในระยะยาว

Page 56: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

47

ตารางที่ 9 แสดง Cointegration ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา log ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากตารางที่ 9 พบวาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ในประเทศไทย ที่ปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 โดยการทดสอบ Cointegration Test ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ไมมีความสัมพันธกันในระยะยาว ผลการทดสอบ Granger Causality Tests ซ่ึงจากการคํานวณ Unit root น้ันทําใหทราบวาขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก มีความน่ิงที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 และเม่ือมีการปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 และดัชนีหลักทรัพย (Set index) มีความนิ่งที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 และเม่ือมีการปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 ซ่ึงที่ระดับความนิ่งของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) สามารถนําขอมูลไปคํานวณเพื่อหาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย โดยใชวิธี Granger Causality การคํานวณเพ่ือหาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย จะใชวิธีของ Granger Causality เพ่ือดูความสัมพันธวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก เปนสาเหตุของดัชนีหลักทรัพย (Set index), ดัชนีหลักทรัพย (Set index) เปนสาเหตุ

Page 57: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

48

ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก หรืออัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index) มีเปนสาเหตุซ่ึงกันและกัน โดยการหาความสัมพันธมีดังตารางตอไปน้ี

ตารางที่ 10 แสดง Granger Causality การคํานวณหาของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากตารางที่ 10 พบวาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 มีคา Prob. ที่ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมตฐิานหลักของ Granger Causality ได ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทยไมมีความสัมพันธกันเลย

ตารางที่ 11 แสดง Granger Causality การคํานวณหาของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ที่ปรับเปนคา log ที่ระดับความแตกตางอันดับที่ 1

ที่มา: ไดมาจากการคํานวณ จากตารางที่ 11 พบวาความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทย ที่ปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 มีคา Prob. ที่ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักของ Granger Causality ได ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ในประเทศไทยไมมีความสัมพันธกันเลย

Page 58: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ซ่ึงอัตราดอกเบี้ยจะใชอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือนและดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความสัมพันธการศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย โดยใชวิธี Granger Causality โดยใชขอมูลรายวัน ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือน(คาเฉลี่ย 5 ธนาคาร)และดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทยในรูปลอการิทึมในชวงระยะเวลา 9 ป เริ่มตั้งแต 4 มกราคม 2543 ถึง 30 ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2348 วัน สรุปผลการศึกษา

จากผลการศึกษาพบวา ขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย น้ันพบวา ในระดับปกติไมสามารถปฏิเสธ สมมติฐานหลักที่วาชุดขอมูลที่ทํา การทดสอบน้ันเปน Unit Root น่ันคือตัวแปรทั้ง 2 ตัว ที่ทําการทดสอบมีคุณสมบัติเปน ไมน่ิง และเม่ือทดสอบ Co-integration test กับขอมูลที่ระดับผลตางที่อันดับเดียวกัน (ที่ระดับปกติ) พบวาอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย ไมมีความสัมพันธเชิงดุลยภาพในระยะยาว สามารถอธิบายไดดี เม่ือพิจารณาจากคา R2 และสอดคลองกับการทดสอบดวยวิธี Granger Causality ที่พบวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย น้ัน เม่ือพิจารณาความสัมพันธพบวาที่ปรับเปนคา log ระดับความแตกตางอันดับที่ 1 มีคา Prob. ที่ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักของ Granger Causality ได ณ ระดับความเชื่อม่ันที่ 95% ทําใหทราบวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ในประเทศไทยไมมีความสัมพันธกัน

Page 59: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

50

อภิปรายผลการศึกษา

การทดสอบความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย สรุปไดวา อัคราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย ปจจุบันมีความไมมีความสัมพันธกัน ซึ่งเปนการทดสอบขอมูลรายวัน นั่นคือ ความนาจะเปนดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทยเปนคาที่เปลี่ยนแปลงไดโดยอิสระ แตอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเปนคาที่เปลี่ยนแปลงไดโดยไมอิสระ ไมไดเปนไปตามทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย ของเคนส ไมเปนไปตามลักษณะอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2543 ถึง พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ข)กลาวคือ อัตราอัตราดอกเบี้ยมีความสัมพันธในทิศทางผกผันกับมูลคาการลงทุนในตลาดหลักทรัพย ดังนั้นมีความเปนไปไดวาผลการพยากรณที่คลาดเคลื่อนน้ันอาจเกิดจาก สภาวะเศรษฐกิจในชวงตนป พ.ศ. 2543 ถึงไตรมาสแรกของป พ.ศ. 2545 เปนชวงเศรษฐกิจซบเซา และเร่ิมมีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น ตั้งแตไตรมาสที่สอง ของป พ.ศ. 2545 เปนตนมา ตอเน่ืองจนถึงชวงปลายป แตสภาวะเศรษฐกิจยังคงมีความไมแนนอนเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจโลก เชน ความไมชัดเจนวาจะมีการเกิดสงครามขึ้นระหวางสหรัฐอเมริกากับอิรักหรือไม, ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ, การเกิดโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (โรคซารส) ระบาด เปนตน แตชวงระยะเวลาดังกลาว ธนาคารพาณิชยประเทศไทยไดปรับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลดลงอยางตอเน่ือง จนกระทั่งไตรมาสที่สาม ของป พ.ศ. 2546 เศรษฐกิจโลกฟนตัวตอเน่ืองและขยายตัวไดเร็วขึ้นในทุกกลุมเศรษฐกิจ การลงทุนรวมในประเทศขยายตัวรอยละ 10.8 จากไตรมาสเดียวกันปที่แลว สูงกวาการขยายตัวรอยละ 9.1 ในไตรมาสที่สอง โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 16.5 และการลงทุนภาครัฐขยายตัวรอยละ 1.7 และธนาคารพาณิชยประเทศไทยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําไดปรับตัวสูงขึ้นตามเศรษฐกิจในอีกทางหน่ึงดวย หลังจากนั้นป พ.ศ. 2548 เศรษฐกิจโลกชะลอลง ราคานํ้ามันยังผันผวนไปทั่วโลก ตามดวยปญหาวิกฤติการเงินในสหรัฐฯ ที่เริ่มขยายวงกวาง ไปยังประเทศอ่ืนๆ โดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลัก เชน สหภาพยุโรป และญี่ปุน ซ่ึงลวนเปนประเทศคูคาสําคัญของไทย ตลอดจนปญหาการเมืองภายในประเทศที่มีทีทาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศลดอัตราดอกเบี้ย ชวยพยุงเศรษฐกิจใหสามารถขยายตัวได

Page 60: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

51

ขอเสนอแนะจากการศึกษา

งานศึกษาในครั้งนี้เปนเพียงจุดเร่ิมตนในการตรวจสอบขอมูลของประเทศไทย ภายใตกรอบกลุมตัวอยางที่นํามาใชในการศึกษาเปนอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย โดยใชขอมูลทุติยภูมิเปนรายวัน ตั้งแต มกราคม 2543 ถึง ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 2348 ขอมูลเปนระยะเวลา 9 ป ไดไมดีเทาที ่ควรนัก เพราะเนื่องจากประเทศไทย มีวันหยุดทําการตอปหลายวัน อาจเปนผลใหขอมูลรายวันมีการคลาดเคลื่อนไป

ควรใชขอมูลรายสัปดาหหรือรายเดือน หรือทําการวิเคราะหเปนรายปแยกกัน ก็อาจจะสามารถติดตามผลลัพธภายใตตามกรอบทฤษฎี อาจจะมีความชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากน้ียังพบวาการใชขอมูลดิบโดยไมผานการทํา ผลตาง (Differencing) จะชวยใหขอมูลคงความเปนอิสระไว (Degree of Freedom) เพ่ือทดสอบดุลยภาพในระยะยาว แตการไมไดแปลงขอมูลอาจประสบปญหาคาสถิติตางๆได เชน ความคลาดเคลื่อนมีสหสัมพันธในตัวเองหรือกับตัวแปรดวยกันเอง นอกจากน้ียังพบวาคาความแปรปรวนมีคาไมคงที่ (Heteroskedasticity) การเขาไปแกไขปญหาใดปญหาหน่ึงอาจจะสงผลกระทบไปอีกปญหาหน่ึงได จึงควรที่จะประยุกตการใชเทคนิคและวิธีการวิเคราะหที่เหมาะสมที่สุดในการศึกษา และมีเปาหมาย วัตถุประสงคในการศึกษาที่ชัดเจน ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป

1. การศึกษาในครั้งน้ี โดยขอมูลที่ใชเร่ิมทดสอบน้ัน เร่ิมหลังจากที่ประเทศไทยประสบปญหาเศรษฐกิจป 2540 จึงควรศึกษาความสัมพันธของตัวแปรในชวงเวลากอนหนาน้ี ซ่ึงอาจสามารถอธิบายเปรียบเทียบไดวาตั้งแตอดีตเปนตนมา จนถึงปจจุบันทิศทางความสัมพันธของอัตราดอกเบี้ยเปนไปในทิศทางใด จึงขอเสนอแนะสําหรับผูที่จะศึกษาในอนาคตเปนแนวทางตอไป

2. ในการศึกษาครั้งนี้ เพ่ือทดสอบความสัมพันธของตัวแปรอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําระยะเวลา 3 เดือน และดัชนีราคาหลักทรัพยแหงประเทศไทย (Set Index) ประเทศไทยโดยไดเลือกใชเทคนิคทางดานการวิเคราะหขอมูลอนุกรมเวลา ดวยการทดสอบ Granger Causality และ Co-integration เพื่อหาความสัมพันธ ผูที่สนใจสามารถศึกษาดวยเทคนิคอ่ืนๆ ที่อาจจะเหมาะสมกับชนิดของขอมูล เชน VAR (Vector Auto-regressive Model), ARCH (Auto-regressive Condition Heteroskedasticity) หรือ GARCH (Generalize Autoregressive Condition Heteroskedasticity) เปนตน ซ่ึงจะสามารถอธิบายพฤติกรรมของตัวแปรไดดียิ่งขึ้น

Page 61: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

บรรณานุกรม

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. 2551. รูจักกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ. ทรงศักด์ิ ศรีบุญจิตต. 2547. เศรษฐมิติ ทฤษฏีและการประยุกต. พิมพคร้ังที่ 1.

เชียงใหม: คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รัชนก นุชพงษ (2540. “ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราแลกเปลี่ยนและสวนตางของอัตรา

ดอกเบี้ ยที่ แท จ ริ ง ” วิทยา นิพนธ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

รุจกร ผลเพ่ิม (2549). “ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบ้ียกับดัชนีราคาหลักทรัพยหมวดอุตสาหกรรมของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.” การคนควาแบบอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สันติ ชางประดิษฐ (2547). “ศึกษาความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในประเทศไทยกับตางประเทศ.” การคนควาแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เศรษฐศาสตร) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สาวรดา สมเขื่อน (2548). “ศึกษาและประยุกตใชโคอินทิเกรชั่นและแบบจําลองเอเรอรคอรเรคชั่น” การสัมมนาสถิติ : 208793 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สุรศักด์ิ มหาแกว (2545) “ศึกษาผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยตอการออมและการลงทุน กอนและหลัง พ.ศ. 2540 (วิกฤตทางเศรษฐกิจของไทย)” วิทยานิพนธปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

อัครพงศ อ้ันทอง 2550 คูมือโปรแกรม EViews เบื้องตน:สําหรับการวิเคราะหทางเศรษฐมิติ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 62: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

ภาคผนวก

Page 63: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

4/1/2000 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 498.46

5/1/2000 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 465.85

6/1/2000 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 443.46

7/1/2000 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 453.31

10/1/2000 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 3.75 459.47

11/1/2000 3.50 3.75 3.75 3.75 3.75 3.70 452.48

13/1/2000 3.50 3.75 3.75 3.75 3.75 3.70 458.40

14/1/2000 3.50 3.75 3.75 3.50 3.75 3.65 474.37

17/1/2000 3.50 3.75 3.50 3.50 3.50 3.55 477.09

18/1/2000 3.50 3.75 3.50 3.50 3.50 3.55 484.16

19/1/2000 3.50 3.75 3.50 3.50 3.50 3.55 486.33

20/1/2000 3.50 3.75 3.50 3.50 3.50 3.55 486.64

21/1/2000 3.50 3.75 3.50 3.50 3.50 3.55 478.92

24/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 477.22

25/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 473.22

26/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 469.22

27/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 474.91

28/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 477.45

31/1/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 477.57

1/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 474.39

2/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 470.62

3/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 465.78

4/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 470.34

7/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 471.97

ของประเทศไทย ในรูปแบบลอกาลิทึม

อัตราดอกเบี้ยเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

ภาคผนวก ก

แสดงขอมูลอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (set index)

Page 64: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

55

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

8/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 465.94

9/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 456.02

10/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 453.10

11/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 456.12

14/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 447.56

15/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 430.97

16/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 422.83

17/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 405.81

18/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 408.35

22/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 379.43

23/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 389.00

24/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.10

25/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 406.66

28/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 388.39

29/2/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 374.32

1/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 371.56

2/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 391.39

3/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 383.13

6/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 379.27

7/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 380.35

8/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 385.56

9/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 393.23

10/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 402.40

13/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 390.15

14/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 400.37

15/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 386.20

16/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.83

17/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 399.74

20/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 400.99

Page 65: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

56

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

21/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 398.26

22/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.15

23/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 399.03

24/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 404.16

27/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 408.24

28/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 412.44

29/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 410.69

30/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 399.59

31/3/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 400.32

3/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 399.74

4/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 392.70

5/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.33

7/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 403.45

10/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 403.32

11/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 400.74

12/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 414.45

17/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 392.88

18/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 385.25

19/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 391.22

20/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 389.48

21/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.06

24/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 395.00

25/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 396.48

26/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 394.56

27/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 393.36

28/4/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 390.40

2/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 385.44

3/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 379.80

4/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 379.97

Page 66: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

57

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

8/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 366.17

9/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 357.77

10/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 343.53

11/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 336.54

12/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 345.67

15/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 339.37

16/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 350.22

18/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 343.39

19/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 343.40

22/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 333.36

23/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 325.99

24/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 319.68

25/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 307.23

26/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 313.08

29/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 308.45

30/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 307.82

31/5/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 323.29

1/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 327.60

2/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 339.28

5/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 352.60

6/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 345.43

7/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 340.83

8/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 344.58

9/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 341.35

12/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 340.70

13/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 334.99

14/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 345.43

15/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 345.29

16/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 344.49

Page 67: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

58

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

19/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 340.66

20/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 339.77

21/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 338.12

22/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 334.03

23/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 333.31

26/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 330.73

27/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 334.18

28/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 334.48

29/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 323.35

30/6/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 325.69

3/7/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 319.26

4/7/2000 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 316.66

5/7/2000 3.50 3.50 3.50 3.25 3.50 3.45 322.85

6/7/2000 3.50 3.50 3.50 3.25 3.50 3.45 318.42

7/7/2000 3.50 3.50 3.50 3.25 3.50 3.45 322.87

10/7/2000 3.25 3.50 3.50 3.25 3.25 3.35 326.62

11/7/2000 3.25 3.50 3.25 3.25 3.25 3.30 325.72

12/7/2000 3.25 3.50 3.25 3.25 3.25 3.30 323.93

13/7/2000 3.25 3.50 3.25 3.25 3.25 3.30 320.45

14/7/2000 3.25 3.50 3.25 3.25 3.25 3.30 315.58

18/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 313.39

19/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 314.54

20/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 307.85

21/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 305.66

24/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 293.13

25/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 295.59

26/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 291.43

27/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 294.22

28/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 291.60

Page 68: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

59

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

31/7/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 284.67

1/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 295.49

2/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 301.22

3/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 307.97

4/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 311.42

7/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 306.72

8/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 318.15

9/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 315.02

10/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 309.42

11/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 316.60

15/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 321.44

16/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 327.46

17/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 322.50

18/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 319.22

21/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 312.66

22/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 316.48

23/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 308.37

24/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 307.32

25/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 306.84

28/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 305.72

29/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 309.24

30/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 309.67

31/8/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 307.83

1/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 310.73

4/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 309.01

5/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 308.25

6/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 302.51

7/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 298.31

8/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 297.07

Page 69: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

60

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 290.34

12/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 288.03

13/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.00 3.25 3.20 290.55

14/9/2000 3.25 3.25 3.25 3.00 3.25 3.20 287.21

15/9/2000 3.00 3.25 3.00 3.00 3.25 3.10 293.30

18/9/2000 3.00 3.25 3.00 3.00 3.00 3.05 286.81

19/9/2000 3.00 3.25 3.00 3.00 3.00 3.05 287.16

20/9/2000 3.00 3.25 3.00 3.00 3.00 3.05 282.23

21/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 283.13

22/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 274.14

25/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 280.25

26/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 282.08

27/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 285.38

28/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 279.75

29/9/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 277.29

2/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 276.69

3/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.38

4/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.85

5/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 269.51

6/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 267.68

9/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 261.29

10/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 256.98

11/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 250.60

12/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 257.74

13/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 254.26

16/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 258.08

17/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 259.95

18/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 268.18

19/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 276.19

Page 70: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

61

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

20/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 276.60

24/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 275.48

25/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.10

26/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 275.39

27/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 274.34

30/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 270.34

31/10/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.84

1/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 279.77

2/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 280.30

3/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 287.84

6/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 291.93

7/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 292.36

8/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 299.37

9/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 293.59

10/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 293.23

13/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 287.18

14/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 288.28

15/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 288.75

16/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 289.99

17/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 294.71

20/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 288.41

21/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 287.06

22/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 283.58

23/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 284.22

24/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 285.42

27/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 284.73

28/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 283.67

29/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 282.90

30/11/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 277.92

Page 71: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

62

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

1/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 273.86

4/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.47

6/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 272.03

7/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 272.71

8/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 273.69

12/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 269.62

13/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.92

14/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.29

15/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 273.17

18/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.19

19/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 271.09

20/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 269.91

21/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 269.85

22/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 267.09

25/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 266.52

26/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 264.86

27/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 266.47

28/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 267.71

29/12/2000 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 269.19

3/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 272.03

4/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 278.75

5/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 286.76

8/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 295.84

9/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 298.37

10/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 293.65

11/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 295.06

12/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 311.25

15/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 317.51

16/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 308.42

Page 72: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

63

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

17/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 314.98

18/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 314.26

19/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 316.86

22/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 319.09

23/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 325.62

24/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 325.59

25/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 339.68

26/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 332.13

29/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 332.54

30/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 325.21

31/1/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 332.77

1/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 330.46

2/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 334.10

5/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 329.08

6/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 323.16

7/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 327.51

9/2/2001 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 324.72

12/2/2001 3.00 3.00 3.00 2.50 3.00 2.90 318.20

13/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 322.04

14/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.25

15/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.15

16/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.00

19/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 309.64

20/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.32

21/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.23

22/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 309.02

23/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 324.24

26/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 321.33

27/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 326.92

Page 73: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

64

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

28/2/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 325.20

1/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.22

2/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 306.05

5/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 300.24

6/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 299.81

7/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 306.35

8/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 301.76

9/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 307.00

12/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 304.87

13/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 302.76

14/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 299.93

15/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 296.10

16/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 293.00

19/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 291.30

20/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 293.14

21/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 291.22

22/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 289.42

23/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 290.25

26/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 293.80

27/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 291.02

28/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 287.10

29/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 287.88

30/3/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 291.94

2/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 290.11

3/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 285.57

4/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.16

5/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 282.02

9/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 278.25

10/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.54

Page 74: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

65

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.54

12/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.54

17/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 286.62

18/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 297.33

19/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 298.07

20/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 292.58

23/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 290.54

24/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 296.95

25/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 296.86

26/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 297.14

27/4/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 297.21

2/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 299.52

3/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 301.09

4/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 306.48

9/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 311.73

10/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.13

11/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.93

14/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 307.53

15/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 307.47

16/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 300.25

17/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 300.98

18/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 300.64

21/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 298.21

22/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 304.53

23/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 311.17

24/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.27

25/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 311.11

28/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.88

29/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 309.52

Page 75: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

66

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

30/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.18

31/5/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.13

1/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.06

4/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 313.96

5/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.14

6/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 310.46

7/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 308.04

8/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.29

11/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 314.40

12/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 314.20

13/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 324.94

14/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 322.24

15/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 323.97

18/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 318.49

19/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 319.59

20/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 318.47

21/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.92

22/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 318.67

25/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 319.81

26/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 320.76

27/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 323.21

28/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 322.55

29/6/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 322.55

2/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 322.45

3/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 326.81

4/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 326.43

5/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 324.88

9/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 324.47

10/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 323.68

Page 76: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

67

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.64

12/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.00

13/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 314.31

16/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 309.38

17/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.21

18/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.16

19/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.02

20/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 312.27

23/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 309.58

24/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 308.87

25/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 308.10

26/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 305.33

27/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 301.09

30/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 298.33

31/7/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 297.69

1/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 300.53

2/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 303.23

3/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.95

6/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 314.06

7/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.63

8/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 323.09

9/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 316.77

10/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 315.87

14/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 314.25

15/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 317.77

16/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 317.77

17/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 323.25

20/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 319.70

21/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 319.14

Page 77: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

68

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 321.31

23/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 324.90

24/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 332.17

27/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 338.57

28/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 335.49

29/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 338.02

30/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 331.62

31/8/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 335.57

3/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 341.65

4/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 339.76

5/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 338.21

6/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 342.56

7/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 342.32

10/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 331.65

11/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 330.37

13/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 308.17

14/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 288.10

17/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 270.61

18/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 274.21

19/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 287.13

20/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.80

21/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 274.60

24/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.49

25/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 276.72

26/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 275.67

27/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 274.76

28/9/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 277.04

1/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 273.09

2/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 276.49

Page 78: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

69

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

3/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 276.09

4/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 283.02

5/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 280.88

8/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 277.28

9/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 286.60

10/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 286.72

11/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 286.42

12/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 284.97

15/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 282.06

16/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 283.42

17/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 287.83

18/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 286.15

19/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 284.72

22/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 283.43

24/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 284.06

25/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 280.62

26/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 279.90

29/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 278.16

30/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 273.60

31/10/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 275.09

1/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 273.64

2/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 274.22

5/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 272.99

6/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 271.44

7/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 265.22

8/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 268.34

9/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 268.11

12/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 271.75

13/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 270.80

Page 79: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

70

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

14/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 267.63

15/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 268.28

16/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 275.54

19/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 276.97

20/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 283.84

21/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 291.21

22/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 293.14

23/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 296.77

26/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 292.56

27/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 298.01

28/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 292.98

29/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 297.87

30/11/2001 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 302.62

3/12/2001 2.50 2.50 2.50 2.25 2.50 2.45 302.20

4/12/2001 2.50 2.50 2.50 2.25 2.50 2.45 303.81

6/12/2001 2.25 2.50 2.50 2.25 2.50 2.40 305.25

7/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 304.05

11/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 294.86

12/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 297.71

13/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 294.61

14/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 294.00

17/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 293.51

18/12/2001 2.25 2.50 2.25 2.25 2.25 2.30 292.87

19/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 295.34

20/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 297.92

21/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 296.69

24/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 302.01

25/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 301.81

26/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 304.44

Page 80: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

71

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

27/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 301.17

28/12/2001 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 303.85

2/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 305.19

3/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 312.05

4/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 315.73

7/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 317.69

8/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 318.64

9/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 319.24

10/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 319.30

11/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 322.55

14/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 325.66

15/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 323.39

16/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 319.57

17/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 319.18

18/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 317.52

21/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 314.38

22/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 317.27

23/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 326.92

24/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 333.96

25/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 338.99

28/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 337.49

29/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 339.69

30/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 340.40

31/1/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 340.82

1/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 336.65

4/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 336.15

5/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 343.37

6/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 348.17

7/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 346.77

Page 81: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

72

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

8/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 353.59

11/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 356.94

12/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 353.69

13/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 361.99

14/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 2.25 365.30

15/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.00 2.25 2.20 373.02

18/2/2002 2.25 2.25 2.25 2.00 2.25 2.20 375.63

19/2/2002 2.00 2.25 2.00 2.00 2.25 2.10 370.19

20/2/2002 2.00 2.25 2.00 2.00 2.00 2.05 376.31

21/2/2002 2.00 2.25 2.00 2.00 2.00 2.05 361.49

22/2/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 351.32

25/2/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 356.65

27/2/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 372.22

28/2/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 371.81

1/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 380.65

4/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 391.00

5/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 384.55

6/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 391.71

7/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 391.67

8/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 390.65

11/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 387.78

12/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 384.74

13/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 378.61

14/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 382.16

15/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 377.39

18/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 374.73

19/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 375.90

20/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 383.34

21/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 386.33

Page 82: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

73

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 389.31

25/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 387.12

26/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 384.80

27/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 377.10

28/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 379.55

29/3/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 373.95

1/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 375.52

2/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 370.82

3/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 364.11

4/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 361.95

5/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 369.99

9/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 370.86

10/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 372.67

11/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 377.95

12/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 379.63

17/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 390.73

18/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 387.48

19/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 386.51

22/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 386.92

23/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 381.43

24/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 380.76

25/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 373.04

26/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 376.44

29/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 371.01

30/4/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 371.42

2/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 369.86

3/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 374.05

7/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 374.65

8/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 382.48

Page 83: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

74

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

9/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 380.70

10/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 382.09

13/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 380.67

14/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 382.09

15/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 375.83

16/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 376.18

17/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 378.23

20/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 381.02

21/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 385.64

22/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 386.97

23/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 392.85

24/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 392.09

28/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 403.04

29/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 409.11

30/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 407.41

31/5/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 407.96

3/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 406.77

4/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 402.54

5/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 411.07

6/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 417.76

7/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 417.33

10/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 423.65

11/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 418.85

12/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 423.61

13/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 426.45

14/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 422.44

17/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 417.39

18/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 418.52

19/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 406.47

Page 84: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

75

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

20/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 403.31

21/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 395.46

24/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 393.88

25/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 398.53

26/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 381.21

27/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 383.02

28/6/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 389.10

2/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 390.78

3/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 395.15

4/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 397.79

5/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 401.10

8/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 398.75

9/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 403.22

10/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 402.97

11/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 397.97

12/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 400.66

15/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 399.36

16/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 392.55

17/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 394.32

18/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 397.91

19/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 394.27

22/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 383.07

23/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 387.96

24/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 374.44

26/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 366.47

29/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 366.48

30/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 374.08

31/7/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 376.68

1/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 376.68

Page 85: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

76

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

2/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 370.46

5/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 362.14

6/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 362.66

7/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 367.04

8/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 360.03

9/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 367.07

13/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 366.47

14/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 371.19

15/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 371.62

16/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 373.03

19/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 370.21

20/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 373.25

21/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 372.22

22/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 368.32

23/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 367.01

26/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 369.02

27/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 370.14

28/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 365.13

29/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 362.14

30/8/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 361.16

2/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 357.36

3/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 355.59

4/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 351.94

5/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 350.05

6/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 353.55

9/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 353.23

10/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 360.61

11/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 361.35

12/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 361.49

Page 86: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

77

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

13/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 357.15

16/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 351.88

17/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 359.30

18/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 354.00

19/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 352.34

20/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 351.52

23/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 347.97

24/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 340.33

25/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 336.00

26/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 335.82

27/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 338.72

30/9/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 331.79

1/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 333.69

2/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 335.43

3/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 336.55

4/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 340.92

7/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 335.88

8/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 337.84

9/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 338.37

10/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 333.75

11/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 330.41

14/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 323.86

15/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 328.29

16/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 332.80

17/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 333.18

18/10/2002 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 342.46

21/10/2002 1.75 2.00 2.00 1.75 2.00 1.90 344.28

22/10/2002 1.75 2.00 1.75 1.75 2.00 1.85 346.21

24/10/2002 1.75 2.00 1.75 1.75 1.75 1.80 346.59

Page 87: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

78

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

25/10/2002 1.75 2.00 1.75 1.75 1.75 1.80 348.46

28/10/2002 1.75 2.00 1.75 1.75 1.75 1.80 357.42

29/10/2002 1.75 2.00 1.75 1.75 1.75 1.80 353.95

30/10/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 355.00

31/10/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 357.22

1/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 357.68

4/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 358.80

5/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 355.77

6/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 353.80

7/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 357.46

8/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 355.00

11/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.36

12/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 345.07

13/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 343.67

14/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 348.95

15/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 356.24

18/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 357.10

19/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 353.62

20/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 352.18

21/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 358.44

22/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 362.59

25/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.53

26/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 361.21

27/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 361.35

28/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.29

29/11/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.90

2/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 366.67

3/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.19

4/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.94

Page 88: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

79

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

6/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 365.09

9/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 365.35

11/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 365.46

12/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 360.99

13/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 356.20

16/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 353.93

17/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 352.83

18/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.62

19/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.25

20/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.01

23/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.55

24/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 350.93

25/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 353.41

26/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 355.36

27/12/2002 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 356.48

2/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 351.52

3/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 357.23

6/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.15

7/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 365.51

8/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 360.41

9/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 358.76

10/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 360.37

13/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.05

14/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 373.33

15/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 371.82

16/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.48

17/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 367.16

20/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 371.45

21/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 375.91

Page 89: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

80

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 373.17

23/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 376.56

24/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 376.30

27/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.80

28/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 374.76

29/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 369.69

30/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.30

31/1/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.01

3/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 372.40

4/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 373.37

5/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 373.28

6/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 379.10

7/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 378.95

10/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 375.48

11/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 379.14

12/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 380.26

13/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.25

14/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 368.71

18/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 370.45

19/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 371.18

20/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.42

21/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 359.53

24/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 362.09

25/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 356.76

26/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 356.02

27/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 358.89

28/2/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 361.32

3/3/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 367.67

4/3/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 364.55

Page 90: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

81

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

5/3/2003 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 359.90

6/3/2003 1.75 1.75 1.75 1.50 1.75 1.70 358.96

7/3/2003 1.75 1.75 1.75 1.50 1.75 1.70 358.48

10/3/2003 1.75 1.75 1.50 1.50 1.75 1.65 353.29

11/3/2003 1.50 1.75 1.50 1.50 1.75 1.60 350.98

12/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 352.44

13/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 353.48

14/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 358.24

17/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 354.61

18/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 362.85

19/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 361.13

20/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 364.24

21/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 363.62

24/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 361.28

25/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 363.74

26/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 368.14

27/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 368.94

28/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 369.53

31/3/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 364.55

1/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 362.22

2/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 363.02

3/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 365.12

4/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 371.93

8/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 375.82

9/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 376.20

10/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 375.02

11/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 383.36

16/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 386.54

17/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 384.63

Page 91: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

82

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

18/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 384.50

21/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 385.50

22/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 378.97

23/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 375.39

24/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 369.71

25/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 368.53

28/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 368.85

29/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 372.92

30/4/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 374.63

2/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 375.24

6/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 380.05

7/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 379.45

8/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 378.20

9/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 384.32

12/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 383.49

13/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 386.79

14/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 385.22

16/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 383.00

19/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 379.03

20/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 382.97

21/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 387.37

22/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 388.62

23/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 395.52

26/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 396.88

27/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 400.69

28/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 402.98

29/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 403.40

30/5/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 403.82

2/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 404.78

Page 92: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

83

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

3/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 403.69

4/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 412.68

5/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 415.63

6/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 418.21

9/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 419.28

10/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 424.05

11/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 1.50 422.60

12/6/2003 1.50 1.50 1.50 1.25 1.50 1.45 431.73

13/6/2003 1.50 1.50 1.25 1.25 1.50 1.40 427.97

16/6/2003 1.25 1.50 1.25 1.25 1.25 1.30 429.75

17/6/2003 1.25 1.50 1.25 1.25 1.25 1.30 442.30

18/6/2003 1.25 1.50 1.25 1.25 1.25 1.30 446.20

19/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 454.19

20/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 452.66

23/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 458.79

24/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 450.02

25/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 453.89

26/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 459.34

27/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 457.51

30/6/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 461.82

2/7/2003 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 477.73

3/7/2003 1.25 1.25 1.25 1.00 1.25 1.20 489.80

4/7/2003 1.25 1.25 1.00 1.00 1.25 1.15 495.72

7/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.25 1.10 489.33

8/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.25 1.10 496.64

9/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.25 1.10 482.52

10/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.25 1.10 474.28

11/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.25 1.10 484.39

15/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 494.20

Page 93: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

84

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

16/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 503.19

17/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 495.08

18/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 493.04

21/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 487.44

22/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 488.58

23/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 480.44

24/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 478.90

25/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 484.86

28/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 480.48

29/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 478.29

30/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 474.90

31/7/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 484.11

1/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 491.54

4/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 494.84

5/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 489.99

6/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 489.77

7/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 498.38

8/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 503.20

11/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 513.19

13/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 525.15

14/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 518.83

15/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 519.04

18/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 520.51

19/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 525.94

20/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 521.10

21/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 530.21

22/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 534.81

25/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 529.53

26/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 531.06

Page 94: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

85

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

27/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 525.82

28/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 535.91

29/8/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 537.71

1/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 545.23

2/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 541.90

3/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 539.88

4/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 545.43

5/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 557.81

8/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 564.41

9/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 557.55

10/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 560.57

11/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 561.66

12/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 568.37

15/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 566.54

16/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 568.83

17/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 558.70

18/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 553.32

19/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 567.21

22/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 562.19

23/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 566.13

24/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 575.55

25/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 576.68

26/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 580.87

29/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 580.93

30/9/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 578.98

1/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 569.75

2/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 567.02

3/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 558.34

6/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 544.36

Page 95: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

86

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

7/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 544.39

8/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 560.74

9/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 573.63

10/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 582.15

13/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 578.59

14/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 568.47

15/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 576.10

16/10/2003 1.00 1.25 1.00 1.00 1.00 1.05 583.61

17/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 588.60

20/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 592.78

21/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 593.02

22/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 604.77

24/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 609.25

27/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 615.68

28/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 615.39

29/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 624.06

30/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 624.37

31/10/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 639.45

3/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.96

4/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 665.06

5/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 673.70

6/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.54

7/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 671.00

10/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.36

11/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 647.55

12/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 653.49

13/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 658.15

14/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 657.38

17/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 640.84

Page 96: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

87

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

18/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 636.75

19/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 619.03

20/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 614.23

21/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 613.43

24/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 605.29

25/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 605.03

26/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.82

27/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 635.25

28/11/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.03

1/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 641.15

2/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.64

3/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.43

4/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.29

8/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.36

9/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.08

11/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 674.00

12/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 674.45

15/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 689.05

16/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 691.88

17/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 687.88

18/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 700.93

19/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 709.15

22/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 718.33

23/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 718.47

24/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 723.39

25/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 721.65

26/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 734.89

29/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 746.81

30/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 764.23

Page 97: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

88

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

31/12/2003 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 772.15

5/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 790.93

6/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 769.68

7/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 750.97

8/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 773.55

9/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 783.44

12/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 794.01

13/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 792.23

14/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 790.84

15/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 767.39

16/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 778.44

19/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 774.67

20/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 771.88

21/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 766.72

22/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 760.17

23/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 754.44

26/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 725.56

27/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 739.47

28/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 722.14

29/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 714.04

30/1/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 698.90

2/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.33

3/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 699.75

4/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 718.06

5/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 734.55

6/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 711.15

9/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 732.05

10/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 739.64

11/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 753.24

Page 98: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

89

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

12/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 748.16

13/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 755.18

16/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 738.92

17/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 748.83

18/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 742.33

19/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 732.97

20/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 728.64

23/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 724.86

24/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 720.28

25/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 704.65

26/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 697.92

27/2/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 716.30

1/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 705.25

2/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.75

3/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 696.24

4/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 700.59

8/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 704.46

9/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 710.66

10/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 705.29

11/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 707.74

12/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 695.08

15/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 678.42

16/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 669.80

17/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 674.41

18/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 687.19

19/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.27

22/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.34

23/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 679.22

24/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 677.61

Page 99: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

90

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

25/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.66

26/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 665.25

29/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 645.80

30/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 649.21

31/3/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 647.30

1/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 671.92

2/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 693.12

5/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 709.89

7/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 698.82

8/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 691.69

9/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 691.39

12/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.72

16/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 712.20

19/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 704.65

20/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 713.95

21/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 706.65

22/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 690.96

23/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.88

26/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.61

27/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 680.89

28/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 672.34

29/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 656.38

30/4/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.15

4/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 644.10

6/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 634.01

7/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 636.80

10/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 605.62

11/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 618.10

12/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 622.01

Page 100: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

91

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

13/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 611.23

14/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 609.72

17/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 581.61

18/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 582.51

19/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 614.99

20/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 599.88

21/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 615.41

24/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 608.90

25/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 601.51

26/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 608.78

27/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.72

28/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 638.59

31/5/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 641.05

1/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 635.01

3/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 627.54

4/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 626.47

7/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 625.83

8/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 611.46

9/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 611.61

10/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 612.21

11/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 613.13

14/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 614.00

15/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 613.76

16/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 624.36

17/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 623.72

18/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 622.71

21/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.03

22/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 629.36

23/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 627.24

Page 101: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

92

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

24/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 637.03

25/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 644.00

28/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 651.86

29/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 649.62

30/6/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.64

2/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 647.57

5/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 655.87

6/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.69

7/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 666.43

8/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.14

9/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 666.59

12/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.49

13/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.00

14/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 652.79

15/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.76

16/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.11

19/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 642.12

20/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 645.58

21/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 655.82

22/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 650.12

23/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.47

26/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 633.42

27/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 633.21

28/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 634.73

29/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 631.42

30/7/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 636.70

3/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.81

4/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 619.19

5/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 618.90

Page 102: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

93

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

6/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 610.94

9/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 607.47

10/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 606.94

11/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 595.60

13/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 588.87

16/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 596.98

17/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 602.75

18/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 605.30

19/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 602.54

20/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 598.55

23/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 599.55

24/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 600.03

25/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 607.69

26/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 617.07

27/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 620.12

30/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 612.45

31/8/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 624.59

1/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 628.81

2/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 628.78

3/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 629.08

6/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.87

7/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 631.40

8/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 630.21

9/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 641.04

10/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 640.60

13/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 649.93

14/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 651.89

15/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 662.28

16/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 662.39

Page 103: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

94

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

17/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 668.73

20/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 668.29

21/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 660.92

22/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.51

23/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.80

24/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 654.60

27/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.78

28/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 637.89

29/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 636.57

30/9/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 644.67

1/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.23

4/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 679.13

5/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 673.88

6/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 668.51

7/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 670.06

8/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 676.15

11/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 677.93

12/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 658.27

13/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.29

14/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 641.30

15/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.48

18/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.51

19/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.00

20/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 652.46

21/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 649.27

22/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.05

26/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.38

27/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 626.85

28/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 621.57

Page 104: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

95

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

29/10/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 628.16

1/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 626.96

2/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 631.99

3/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 641.29

4/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 639.13

5/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 635.09

8/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 629.20

9/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 632.94

10/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 625.78

11/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 627.34

12/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 639.74

15/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 647.56

16/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 642.65

17/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 644.16

18/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.93

19/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 651.42

22/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 644.95

23/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 650.87

24/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 643.06

25/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 647.49

26/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.75

29/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 657.25

30/11/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 656.73

1/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 655.44

2/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.08

3/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.84

7/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 655.83

8/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 645.41

9/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 648.78

Page 105: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

96

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

13/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 645.75

14/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 646.08

15/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 657.18

16/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 661.42

17/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 669.46

20/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 675.71

21/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 671.50

22/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 672.79

23/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.90

24/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 670.35

27/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.86

28/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 662.39

29/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.46

30/12/2004 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 668.10

4/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.48

5/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 683.50

6/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 693.62

7/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 697.84

10/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 696.03

11/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 691.97

12/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 694.63

13/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 693.43

14/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.66

17/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 708.30

18/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 709.55

19/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 709.03

20/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 706.90

21/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 696.85

24/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 695.92

Page 106: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

97

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

25/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 702.14

26/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 702.66

27/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.25

28/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.66

31/1/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 701.91

1/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 708.73

2/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 710.33

3/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 716.92

4/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 719.10

7/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 725.76

8/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 731.42

9/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 735.63

10/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 736.22

11/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 726.20

14/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 728.80

15/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 736.91

16/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 739.37

17/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 734.68

18/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 737.50

21/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 725.89

22/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 730.56

24/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 736.89

25/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 740.04

28/2/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 741.55

1/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 738.75

2/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 720.92

3/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 720.39

4/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 728.42

7/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 737.42

Page 107: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

98

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

8/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 722.60

9/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 722.58

10/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 719.53

11/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 710.98

14/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 700.22

15/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 696.84

16/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 706.64

17/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 706.53

18/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 711.40

21/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 705.03

22/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 699.53

23/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 693.26

24/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 685.06

25/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 687.32

28/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 682.98

29/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 676.91

30/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 672.82

31/3/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.49

1/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 695.83

4/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 682.52

5/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.66

7/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 677.97

8/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 683.76

11/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 694.34

12/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 698.28

18/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 676.90

19/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 678.37

20/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.19

21/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 680.60

Page 108: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

99

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 677.25

25/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.47

26/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 662.13

27/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.63

28/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 659.24

29/4/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 658.88

3/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 669.72

4/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 675.03

6/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 689.36

9/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 688.21

10/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 681.83

11/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.65

12/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 682.12

13/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 679.11

16/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 670.76

17/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 664.61

18/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 672.19

19/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 676.54

20/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 670.65

24/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.66

25/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 660.18

26/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 662.64

27/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 663.48

30/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 668.20

31/5/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.55

1/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 667.52

2/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 672.81

3/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 676.70

6/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 682.30

Page 109: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

100

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

7/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 682.15

8/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.07

9/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 677.20

10/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 679.98

13/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 675.09

14/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 683.68

15/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 687.47

16/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 687.16

17/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 686.52

20/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 679.68

21/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 689.64

22/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 686.57

23/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 693.13

24/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 690.25

27/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.18

28/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 684.68

29/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 685.56

30/6/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 675.50

4/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 669.78

5/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 663.52

6/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 659.91

7/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 638.31

8/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 643.31

11/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 640.82

12/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 648.98

13/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 658.37

14/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 661.45

15/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 655.46

18/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 652.67

Page 110: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

101

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

19/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 648.67

20/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 650.04

21/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 648.92

25/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 659.64

26/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 656.91

27/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 665.72

28/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 670.09

29/7/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 675.67

1/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 674.99

2/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 683.16

3/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 687.94

4/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 684.57

5/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 686.01

8/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 686.32

9/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 681.54

10/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 684.59

11/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 681.95

15/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 675.52

16/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 667.18

17/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 667.49

18/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 672.02

19/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 680.83

22/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 690.77

23/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 690.39

24/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 695.67

25/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.38 1.08 692.14

26/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 695.89

29/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 691.33

30/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 692.86

Page 111: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

102

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

31/8/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 697.85

1/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 710.28

2/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 709.97

5/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 707.94

6/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 705.46

7/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 708.50

8/9/2005 1.00 1.00 1.00 1.00 1.63 1.13 715.08

9/9/2005 1.50 1.00 1.00 1.00 1.63 1.23 712.78

12/9/2005 1.50 1.00 1.00 1.00 1.63 1.23 712.80

13/9/2005 1.50 1.00 1.00 1.00 1.63 1.23 710.31

14/9/2005 1.50 1.50 1.00 1.75 1.63 1.48 717.77

15/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.63 1.63 711.20

16/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 708.26

19/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 708.98

20/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 723.16

21/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 721.16

22/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 725.64

23/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 725.31

26/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 721.28

27/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 724.24

28/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 723.20

29/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 722.83

30/9/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 723.23

3/10/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 717.42

4/10/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 714.90

5/10/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 717.17

6/10/2005 1.50 1.50 1.75 1.75 1.88 1.68 710.79

7/10/2005 1.50 2.00 1.75 1.75 1.88 1.78 708.98

10/10/2005 1.50 2.00 1.75 1.75 1.88 1.78 707.05

Page 112: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

103

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/10/2005 1.88 2.00 1.75 1.75 1.88 1.85 709.13

12/10/2005 1.88 2.00 1.75 1.75 1.88 1.85 709.20

13/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 1.88 1.90 704.32

14/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 700.02

17/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 696.28

18/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 695.18

19/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 684.07

20/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 681.92

21/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 686.21

25/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 676.84

26/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 685.04

27/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 685.29

28/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 682.25

31/10/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 682.62

1/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 693.27

2/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 699.88

3/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 704.79

4/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 706.23

7/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 700.75

8/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 695.60

9/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 696.85

10/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 694.44

11/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 690.45

14/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 683.41

15/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 681.58

16/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 675.31

17/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 672.63

18/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 676.41

21/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 672.06

Page 113: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

104

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 674.25

23/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 669.18

24/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 669.76

25/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 669.89

28/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 666.69

29/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 669.90

30/11/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 667.75

1/12/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 660.95

2/12/2005 1.88 1.88 1.88 2.00 2.13 1.95 659.91

6/12/2005 1.88 1.88 1.88 2.38 2.13 2.03 679.16

7/12/2005 1.88 1.88 1.88 2.38 2.13 2.03 694.87

8/12/2005 1.88 1.88 1.88 2.38 2.13 2.03 692.58

9/12/2005 2.38 1.88 2.38 2.38 2.13 2.23 697.74

13/12/2005 2.38 1.88 2.38 2.38 2.13 2.23 693.48

14/12/2005 2.38 1.88 2.38 2.38 2.13 2.23 694.72

15/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.13 2.33 690.49

16/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 691.17

19/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 691.28

20/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 698.68

21/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 698.43

22/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 696.41

23/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 698.95

26/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 701.37

27/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 706.47

28/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 705.29

29/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 710.22

30/12/2005 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 713.73

3/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 725.64

4/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 743.20

Page 114: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

105

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

5/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 741.28

6/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 747.34

9/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 762.26

10/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 759.32

11/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.88 2.50 2.50 764.01

12/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.88 2.50 2.50 753.04

13/1/2006 2.38 2.38 2.38 2.88 2.50 2.50 755.72

16/1/2006 2.88 2.38 2.88 2.88 2.88 2.78 752.00

17/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 750.73

18/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 736.40

19/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 744.98

20/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 747.70

23/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 750.28

24/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 745.95

25/1/2006 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 762.70

26/1/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 761.14

27/1/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 761.27

30/1/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 756.15

31/1/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 762.63

1/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 760.36

2/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 744.54

3/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 747.09

6/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 744.12

7/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 743.37

8/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 734.63

9/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 733.14

10/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 738.07

14/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 727.91

15/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 725.73

Page 115: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

106

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

16/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 735.16

17/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 739.35

20/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 734.65

21/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 727.76

22/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 728.60

23/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 732.68

24/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 741.80

27/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 753.10

28/2/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 2.88 2.93 744.05

1/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 748.28

2/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 752.52

3/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 753.39

6/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 750.81

7/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 738.36

8/3/2006 2.88 2.88 3.13 2.88 3.13 2.98 723.86

9/3/2006 2.88 2.88 3.13 3.13 3.13 3.03 728.99

10/3/2006 2.88 2.88 3.13 3.13 3.13 3.03 728.18

13/3/2006 2.88 2.88 3.13 3.13 3.13 3.03 732.88

14/3/2006 2.88 2.88 3.25 3.13 3.25 3.08 738.63

15/3/2006 3.38 2.88 3.25 3.13 3.25 3.18 741.21

16/3/2006 3.38 3.38 3.25 3.13 3.25 3.28 739.96

17/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.25 3.38 741.43

20/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.25 3.38 734.51

21/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.25 3.38 732.48

22/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 724.41

23/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 729.72

24/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 730.85

27/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 733.33

28/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 729.24

Page 116: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

107

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

29/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 724.87

30/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 730.99

31/3/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 733.25

3/4/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 738.67

4/4/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 745.33

5/4/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 768.15

7/4/2006 3.38 3.38 3.50 3.38 3.50 3.43 770.33

10/4/2006 3.38 3.38 3.63 3.38 3.50 3.45 757.51

11/4/2006 3.38 3.38 3.63 3.38 3.50 3.45 757.40

12/4/2006 3.38 3.38 3.75 3.63 3.75 3.58 755.43

17/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 759.42

18/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 764.17

20/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 774.57

21/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 773.06

24/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 771.54

25/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 763.88

26/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 770.40

27/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 770.01

28/4/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 768.29

2/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 768.26

3/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 774.44

4/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 768.22

8/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 782.91

9/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 785.38

10/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 784.28

11/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 782.50

15/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 765.97

16/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 761.87

17/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 762.36

Page 117: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

108

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

18/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 748.30

19/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 746.33

22/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 724.44

23/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 727.21

24/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 714.10

25/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.75 3.68 701.03

26/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 717.50

29/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 721.58

30/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 713.96

31/5/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 709.43

1/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 710.30

2/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 722.61

5/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 713.22

6/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 702.04

7/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 688.22

8/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 675.63

9/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 670.41

14/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 646.69

15/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 648.32

16/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 665.39

19/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.68

20/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 646.78

21/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 649.74

22/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.32

23/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.52

26/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.27

27/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.69

28/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 666.80

29/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 670.71

Page 118: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

109

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

30/6/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 678.13

3/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 683.98

4/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 694.52

5/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 680.72

6/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 688.96

7/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 686.11

10/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 684.55

12/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 686.02

13/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 672.34

14/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 661.59

17/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 653.02

18/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 659.58

19/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 660.11

20/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 668.96

21/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 685.71

24/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 683.76

25/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 688.35

26/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 690.92

27/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 695.83

28/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 691.43

31/7/2006 3.63 3.63 3.75 3.63 3.88 3.70 691.49

1/8/2006 3.63 3.63 3.88 4.13 3.88 3.83 686.97

2/8/2006 3.63 3.63 3.88 4.13 3.88 3.83 694.09

3/8/2006 3.63 3.63 3.88 4.13 3.88 3.83 703.10

4/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 703.28

7/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 705.35

8/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 711.80

9/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 708.93

10/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 698.12

Page 119: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

110

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/8/2006 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 708.42

15/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 707.68

16/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 712.07

17/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 709.01

18/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 708.49

21/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 705.93

22/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 706.30

23/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 698.01

24/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 692.17

25/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 689.13

28/8/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 682.07

29/8/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 686.24

30/8/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 684.51

31/8/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 690.90

1/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 696.44

4/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 703.53

5/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 701.10

6/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 701.96

7/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 692.56

8/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 692.46

11/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 686.03

12/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 687.76

13/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 698.19

14/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 701.97

15/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 700.61

18/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 705.89

19/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 702.56

21/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 692.57

22/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 681.71

Page 120: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

111

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

25/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 686.74

26/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 688.63

27/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 693.03

28/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 687.90

29/9/2006 3.63 3.88 4.13 4.13 4.13 3.98 686.10

2/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 683.84

3/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 681.84

4/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 687.96

5/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 695.72

6/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 694.60

9/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 692.26

10/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 699.16

11/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 697.82

12/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 709.67

13/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 712.05

16/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 717.11

17/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 710.74

18/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 718.74

19/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 720.87

20/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 724.98

24/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 728.53

25/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 732.80

26/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 728.49

27/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 725.77

30/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 718.74

31/10/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 722.46

1/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 730.87

2/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 729.03

3/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 732.30

Page 121: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

112

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

6/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 734.90

7/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 738.90

8/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 738.93

9/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 743.85

10/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 740.42

13/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 736.83

14/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 733.87

15/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 734.05

16/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 733.14

17/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 733.92

20/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 726.37

21/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 724.64

22/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 729.43

23/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 728.92

24/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 723.87

27/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 734.66

28/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 727.33

29/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 735.76

30/11/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 739.06

1/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 741.38

4/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 742.45

6/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 746.16

7/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 745.54

8/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 740.94

12/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 738.25

13/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 734.98

14/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 732.40

15/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 736.29

18/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 730.55

Page 122: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

113

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

19/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 622.14

20/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 691.55

21/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 676.10

22/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 680.31

25/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 684.32

26/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 688.72

27/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 687.88

28/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 680.36

29/12/2006 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 679.84

3/1/2007 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 659.25

4/1/2007 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 648.22

5/1/2007 3.63 3.88 4.00 4.13 4.13 3.95 628.19

8/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 633.82

9/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 616.75

10/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 622.27

11/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 637.63

12/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.13 4.13 3.93 645.71

15/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 656.31

16/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 655.90

17/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 651.47

18/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 654.89

19/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 658.17

22/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 655.12

23/1/2007 3.63 3.88 3.88 4.00 4.13 3.90 650.76

24/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 657.16

25/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 660.71

26/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 657.65

29/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 653.92

30/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 653.49

Page 123: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

114

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

31/1/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 654.04

1/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 4.00 3.85 657.00

2/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 670.60

5/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 674.42

6/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 673.63

7/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 675.33

8/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 691.28

9/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 695.27

12/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 697.46

13/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 692.48

14/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 697.84

15/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 693.86

16/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 688.01

19/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 685.38

20/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 690.67

21/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 692.38

22/2/2007 3.63 3.88 3.88 3.88 3.88 3.83 693.61

23/2/2007 3.63 3.88 3.75 3.88 3.88 3.80 690.76

26/2/2007 3.63 3.88 3.75 3.75 3.88 3.78 688.70

27/2/2007 3.63 3.88 3.75 3.75 3.88 3.78 683.95

28/2/2007 3.63 3.63 3.75 3.75 3.88 3.73 677.13

1/3/2007 3.63 3.63 3.75 3.50 3.75 3.65 680.60

2/3/2007 3.63 3.63 3.50 3.50 3.75 3.60 679.02

6/3/2007 3.50 3.63 3.50 3.50 3.50 3.53 674.24

7/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 670.37

8/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 671.98

9/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 671.17

12/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 672.36

13/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 675.20

Page 124: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

115

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

14/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 670.62

15/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 674.31

16/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 671.05

19/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 669.14

20/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 671.76

21/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 669.56

22/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 674.84

23/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 677.79

26/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 679.04

27/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 678.57

28/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 669.04

29/3/2007 3.50 3.50 3.50 3.38 3.50 3.48 671.62

30/3/2007 3.50 3.50 3.38 3.38 3.50 3.45 673.71

2/4/2007 3.38 3.50 3.38 3.38 3.50 3.43 679.62

3/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.50 3.40 686.53

4/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.50 3.40 693.54

5/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 692.47

9/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 688.55

10/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 689.48

11/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 695.10

12/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 692.46

17/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 695.03

18/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 692.27

19/4/2007 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 3.38 687.23

20/4/2007 2.88 2.88 3.38 3.38 3.38 3.18 687.53

23/4/2007 2.88 2.88 3.38 2.88 3.38 3.08 686.18

24/4/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 3.38 2.98 685.48

25/4/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 3.38 2.98 690.30

26/4/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 690.79

Page 125: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

116

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

27/4/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 695.11

30/4/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 699.16

2/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 705.47

3/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 709.91

4/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 716.44

8/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 712.87

9/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 706.29

10/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 707.19

11/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 706.90

14/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 712.18

15/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 713.27

16/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 721.66

17/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 724.37

18/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 728.76

21/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 728.22

22/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 732.77

23/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 2.88 731.22

24/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.38 2.88 2.78 720.72

25/5/2007 2.88 2.88 2.88 2.38 2.88 2.78 719.14

28/5/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 727.93

29/5/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 727.79

30/5/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 737.40

1/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 753.93

4/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 770.61

5/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 760.59

6/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 759.42

7/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 758.83

8/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 752.00

11/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 754.15

Page 126: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

117

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

12/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 743.42

13/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 726.60

14/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 734.93

15/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 744.25

18/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 766.20

19/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 763.78

20/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 777.10

21/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 776.20

22/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 772.05

25/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 764.12

26/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 766.97

27/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 771.00

28/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 777.68

29/6/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 776.79

2/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 792.71

3/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 813.52

4/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 825.45

5/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 823.93

6/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 832.38

9/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 844.19

10/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 858.45

11/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 846.28

12/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 843.87

13/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 859.14

16/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 857.08

17/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 856.91

18/7/2007 2.38 2.38 2.38 2.38 2.50 2.40 849.56

19/7/2007 2.25 2.38 2.38 2.38 2.50 2.38 847.26

20/7/2007 2.25 2.38 2.13 2.13 2.50 2.28 850.54

Page 127: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

118

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

23/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.50 2.23 862.62

24/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.50 2.23 880.95

25/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.50 2.23 883.65

26/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 884.16

27/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 863.58

31/7/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 859.76

1/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.47

2/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 830.29

3/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 837.73

6/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 815.87

7/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 814.40

8/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 831.64

9/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 811.83

10/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 804.84

14/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 793.82

15/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 773.92

16/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 750.69

17/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 758.42

20/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 792.02

21/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 764.40

22/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 784.43

23/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.50

24/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 790.72

27/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.17

28/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 788.21

29/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 792.04

30/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.58

31/8/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 813.21

3/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 820.19

Page 128: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

119

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

4/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 810.86

5/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 814.50

6/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 809.82

7/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 801.46

10/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 796.85

11/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 801.54

12/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 802.00

13/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 807.10

14/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 811.95

17/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 802.65

18/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 802.54

19/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 811.79

20/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 815.43

21/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 831.51

24/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 836.51

25/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 835.18

26/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 844.40

27/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 843.05

28/9/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.50

1/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 852.47

2/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 853.43

3/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 850.58

4/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 848.95

5/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 852.33

8/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 863.16

9/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 867.59

10/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 875.10

11/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 889.06

12/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 887.02

Page 129: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

120

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

15/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 897.10

16/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 894.53

17/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 884.53

18/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 876.75

19/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 875.83

22/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 860.09

24/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 866.03

25/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 893.45

26/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 894.57

29/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 915.03

30/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 906.66

31/10/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 907.28

1/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 902.73

2/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 894.34

5/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 872.86

6/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 886.31

7/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 880.27

8/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 873.64

9/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 874.64

12/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 861.93

13/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 857.66

14/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 861.51

15/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 855.52

16/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 849.07

19/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 831.14

20/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 830.05

21/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 807.58

22/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 808.82

23/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 824.25

Page 130: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

121

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

26/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.78

27/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 822.99

28/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 820.52

29/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 844.80

30/11/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 846.44

3/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 831.12

4/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.34

6/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.19

7/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 841.39

11/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 840.45

12/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 834.09

13/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.09

14/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 836.40

17/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 817.62

18/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 813.90

19/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 804.98

20/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.71

21/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 813.60

25/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 843.28

26/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 841.20

27/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 852.06

28/12/2007 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 858.10

2/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 842.97

3/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.63

4/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 821.71

7/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 808.31

8/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 811.69

9/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 820.47

10/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 800.18

Page 131: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

122

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

11/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 796.47

14/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.15

15/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 779.79

16/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 773.80

17/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 791.25

18/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 789.67

21/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 766.53

22/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 741.54

23/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 740.65

24/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 728.58

25/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 759.72

28/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 744.36

29/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 754.87

30/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 763.48

31/1/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 784.23

1/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 810.86

4/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 811.56

5/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 807.68

6/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 794.63

7/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 793.17

8/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 806.44

11/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 804.15

12/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 817.49

13/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 829.41

14/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.11

15/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 826.65

18/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 824.99

19/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 835.62

20/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 827.13

Page 132: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

123

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 826.86

25/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 838.74

26/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 834.67

27/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.04

28/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 842.12

29/2/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.76

3/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 842.92

4/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 831.41

5/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 824.98

6/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 827.71

7/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 821.57

10/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 806.65

11/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 819.83

12/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 827.00

13/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 814.31

14/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 818.04

17/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 806.74

18/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 812.32

19/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 807.67

20/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 798.11

21/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 803.32

24/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 807.28

25/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 820.31

26/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 817.57

27/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 822.96

28/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 825.17

31/3/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 817.03

1/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 823.36

2/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 825.71

Page 133: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

124

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

3/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 826.68

4/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 824.80

8/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 826.85

9/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 826.19

10/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 820.98

11/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 827.10

16/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.38

17/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.43

18/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.40

21/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 841.98

22/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 850.02

23/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 837.66

24/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 834.31

25/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.19

28/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 836.42

29/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.63

30/4/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.45

2/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 843.15

6/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 845.83

7/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 848.71

8/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 850.17

9/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 846.71

12/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 842.22

13/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 839.28

14/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 848.94

15/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 855.61

16/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 870.33

20/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 873.82

21/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 884.19

Page 134: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

125

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 874.54

23/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 875.59

26/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 856.80

27/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 855.60

28/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 832.99

29/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 830.61

30/5/2008 2.25 2.13 2.13 2.13 2.13 2.15 833.65

2/6/2008 2.50 2.13 2.13 2.13 2.13 2.20 810.22

3/6/2008 2.50 2.13 2.13 2.13 2.13 2.20 806.86

4/6/2008 2.50 2.13 2.50 2.50 2.13 2.35 808.92

5/6/2008 2.50 2.13 2.50 2.50 2.13 2.35 809.82

6/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.13 2.43 817.33

9/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 805.58

10/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 791.94

11/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 791.66

12/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 790.80

13/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 782.64

16/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 787.59

17/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 777.17

18/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 765.74

19/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 742.46

20/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 768.90

23/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 768.90

24/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 763.75

25/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 778.42

26/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 774.39

27/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 775.73

30/6/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 768.59

2/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 760.01

Page 135: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

126

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

3/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 742.15

4/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 743.03

7/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 730.56

8/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 722.50

9/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 721.13

10/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 721.86

11/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 730.29

14/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 717.06

15/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 693.41

18/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 664.52

21/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 687.30

22/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 682.15

23/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 694.14

24/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 691.48

25/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 685.47

28/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 685.53

29/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 676.73

30/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 669.90

31/7/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 676.32

1/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 678.66

4/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 674.67

5/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 667.12

6/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 676.35

7/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 705.35

8/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 690.70

11/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 702.93

13/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 701.60

14/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 705.60

15/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 707.48

Page 136: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

127

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

18/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 697.23

19/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 691.33

20/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 690.05

21/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 676.53

22/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 681.93

25/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 678.20

26/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 668.92

27/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 675.99

28/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 682.83

29/8/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 684.44

1/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 675.22

2/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 659.51

3/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 649.93

4/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 654.85

5/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 645.80

8/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 665.66

9/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 663.61

10/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 655.54

11/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 646.80

12/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 654.34

15/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 642.39

16/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 624.56

17/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 605.14

18/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 600.38

19/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 624.83

22/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 614.49

23/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 608.25

24/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 620.43

25/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 621.14

Page 137: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

128

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

26/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 618.97

29/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 601.29

30/9/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 596.54

1/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 594.45

2/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 597.69

3/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 590.05

6/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 551.80

7/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 528.71

8/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 492.34

9/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 499.99

10/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 451.96

13/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 476.33

14/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 500.77

15/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 481.50

16/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 477.73

17/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 471.31

20/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 476.95

21/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 478.79

22/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 465.24

24/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 432.87

27/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 387.43

28/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 398.04

29/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 384.15

30/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 408.31

31/10/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 416.53

3/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 449.19

4/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 457.62

5/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 457.36

6/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 462.93

Page 138: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

129

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

7/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 463.81

10/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 456.44

11/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 442.31

12/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 435.70

13/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 433.47

14/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 429.97

17/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 434.21

18/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 419.97

19/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 408.51

20/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 393.85

21/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 397.51

24/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 386.12

25/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 391.85

26/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 395.22

27/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 389.81

28/11/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 401.84

1/12/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 390.92

2/12/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 387.32

3/12/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 392.92

4/12/2008 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 2.50 392.87

8/12/2008 2.50 2.50 1.51 1.51 2.50 2.11 410.58

9/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 2.50 1.73 423.79

11/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 424.61

12/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 424.79

15/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 437.06

16/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 445.31

17/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 445.94

18/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 451.72

19/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 447.01

Page 139: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

130

D/M/Y SET

กรุงเทพ กรุงไทย กสิกรไทย ไทยพาณิชย กรุงศรีอยุธยา คาเฉลี่ย

อัตราดอกเบ้ียเงินประจํา 3 เดือน ของธนาคาร

22/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 434.08

23/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 440.40

24/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 439.17

25/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 444.64

26/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 446.62

29/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 446.70

30/12/2008 1.63 1.51 1.51 1.51 1.75 1.58 449.96

Page 140: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

ภาคผนวก ข รูปแสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และดัชนีหลักทรัพย (Set index)

ของประเทศไทย

รูปในภาคผนวก ข ที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2543

-100.00200.00300.00400.00500.00600.00

4/1/20

00

4/3/20

00

4/5/20

00

4/7/20

00

4/9/20

00

4/11/2

000

-

1.00

2.00

3.00

4.00

set

อัตราดอกเบี้ย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2544

-

100.00

200.00

300.00

400.00

3/1/20

01

3/3/20

01

3/5/20

01

3/7/20

01

3/9/20

01

3/11/2

001

-

1.00

2.00

3.00

4.00

set

อัตราดอกเบ้ีย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก

Page 141: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

132

รูปในภาคผนวก ข ที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2545

-100.00200.00300.00400.00500.00

2/1/20

02

2/3/20

02

2/5/20

02

2/7/20

02

2/9/20

02

2/11/2

002

-0.501.001.502.002.50

set

อัตราดอกเบ้ีย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2546

-

200.00

400.00

600.00

800.00

1,000.00

2/1/20

03

2/3/20

03

2/5/20

03

2/7/20

03

2/9/20

03

2/11/2

003

-

0.50

1.00

1.50

2.00

set

อัตราดอกเบี้ย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547

-

200.00

400.00

600.00

800.00

1,000.00

5/1/20

04

5/3/20

04

5/5/20

04

5/7/20

04

5/9/20

04

5/11/2

004

-0.200.400.600.801.001.20

set

อัตราดอกเบ้ีย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก

Page 142: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

133

รูปในภาคผนวก ข ที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2548

550.00

600.00

650.00

700.00

750.00

4/1/20

05

4/3/20

05

4/5/20

05

4/7/20

05

4/9/20

05

4/11/2

005

-0.501.001.502.002.503.00

set

อัตราดอกเบ้ีย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2549

-200.00400.00600.00800.00

1,000.00

3/1/20

06

3/3/20

06

3/5/20

06

3/7/20

06

3/9/20

06

3/11/2

006

-1.002.003.004.005.00

set

อัตราดอกเบ้ีย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2550

-200.00400.00600.00800.00

1,000.00

3/1/20

07

3/3/20

07

3/5/20

07

3/7/20

07

3/9/20

07

3/11/2

007

-1.002.003.004.005.00

set

อัตราดอกเบี้ย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก

Page 143: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

134

รูปในภาคผนวก ข ที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย (Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2551

-

200.00

400.00

600.00

800.00

1,000.00

2/1/20

08

2/3/20

08

2/5/20

08

2/7/20

08

2/9/20

08

2/11/2

008

-0.501.001.502.002.503.00

set

อัตราดอกเบี้ย

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก รูปในภาคผนวก ข ที่ 10 แสดงการเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และ ดัชนีหลักทรัพย

(Set index) ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2543-2551

-100.00200.00300.00400.00500.00600.00700.00800.00900.00

1,000.00

4/1/20

00

4/1/20

01

4/1/20

02

4/1/20

03

4/1/20

04

4/1/20

05

4/1/20

06

4/1/20

07

4/1/20

08

-

0.50

1.00

1.50

2.00

2.50

3.00

3.50

4.00

4.50

INT

SET

ที่มา: ไดมาจากขอมูลในภาคผนวก ก

Page 144: การศึกษาความส ัมพันธ ระหว าง ...eprints.utcc.ac.th/2061/2/2061fulltext.pdf · 2014-06-17 · จ สอดคล องก ับการทดสอบด

ประวัติผูศึกษา

นายเทวัญ สิงหสุริยะกุล เกิดเม่ือวันที่ 19 เดือน ตุลาคม ป พ.ศ. 2519 เกิดที่จังหวัด

ลําปาง สําเร็จการศึกษา บัญชีบัณฑิต สาขาตนทุน มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ในป พ.ศ. 2545 ไดเขาศึกษาตอในระดับปริญญามหาบัณฑิตบริหารธุรกิจ หลักสูตร CEO MBA สาขาการเงิน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปจจุบันปฏิบัติงานในตําแหนง เจาหนาที่การบัญชี ณ สํานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข