ห้องปฏิบัติการ...

9
ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ตามมาตรการเพื่อการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Developing Skills, Technology & Innovation) ห้องปฏิบัติการที่มีความสามารถในการรองรับธุรกิจ ทางด้านการออกแบบอิเล็กทรอนิกส์ (LAB BROCHURE)

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE

    1

    ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

    ตามมาตรการเพื่อการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Developing Skills, Technology & Innovation)

    ห้องปฏิบัติการที่มีความสามารถในการรองรับธุรกิจทางด้านการออกแบบอิเล็กทรอนิกส ์(LAB BROCHURE)

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE2

    โครงการพัฒนาบุคลากรทางด้านการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยผ่านมาตรการ STI ซึ่งเป็นมาตรการที่มุ่งเน้นให้การสนับสนุน งานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางด้านทักษะ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยได้เล็งเห็นความสำคัญของอุตสาหกรรมการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Design) และการออกแบบวงจรรวม (Integrated Circuit Design) เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ความรู้เป็นวัตถุดิบหลักในการสร้างสรรค์ เทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ ทั้งยังเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำที่ทำให้เกิด การนำผลผลิตไปใช้ต่อยอดในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมการผลิตและประกอบชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งล้วนแต่เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย อย่างสูงในปัจจุบัน

    โดยทั้งสามอุตสาหกรรมดังกล่าวยังมีมูลค่ารวมทั้งโลกสูงกว่าหนึ่งแสน ล้านเหรียญสหรัฐ จึงมีโอกาสที่ประเทศไทยจะเข้าไปเติบโตในตลาด ดังกล่าวได้เป็นอย่างดีถ้าเรามีความสามารถในการออกแบบทางวิศวกรรม ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชนที่เล็งเห็นโอกาสและ ความสำคัญของอุตสาหรรมการออกแบบนี้จึงร่วมมือกันผลักดันให้เกิด การพัฒนากำลังคนเพ่ือรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมและเตรียมความพร้อม รบัการลงทุนจากบริษัทออกแบบข้ามชาติจากท่ัวโลก หน่วยงานจากภาคเอกชน ที่ร่วมโครงการได้แก่ บริษัทซิลิคอน คราฟท์ เทคโนโลยี ซึ่งมีความโดดเด่นใน เรือ่งการออกแบบวงจรรวมคลืน่วทิยพุลงังานตำ่ บรษิทัดไีซนเ์กตเวย ์เชีย่วชาญ เรื่องการรับออกแบบระบบสมองกลฝังตัวและระบบรับส่งข้อมูลความเร็วสูง และบริษัทโตโยต้าทูโชอิเล็กทรอนิกส์ ประเทศไทย ซึ่งชำนาญในเรื่อง การออกแบบระบบสมองกลฝงัตวัในรถยนต ์โดยรว่มมอืกบัหอ้งปฏบิตักิารวจิยั ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านจาก 6 สถาบันการศึกษา ได้แก่จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    LAB

    BRO

    CHU

    RE2

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE

    3

    Human Resource Development Program for Electronic Design Industry retains the grant from The Broad of Investment (BOI) and The National Science and Technology Development Agency through STI Scheme which is the measure that support project involves Skill, Technology and Innovation. STI thinks the Electronic and Integrated Circuit design industry is an industry that utilizes knowledge as a raw material to create new products and technologies. Furthermore, it is an upstream industry that generates products as an input for downstream industries such as automotive, telecommunication and electronic-component industries. These succeeding industries are all generating significant revenue for Thailand currently.

    At the global stage, the value of these three industries is larger than 100 billion US dollars which open an opportunity for Thailand to grow in this market if we can offer engineering design capability to the market. Therefore, many organizations from public and private sectors, foreseeing the opportunity and importance, have come together to drive the human resource development program to support the growth of the electronic design industry and prepare for the investment from giant MNCs around the globe. The 3 design companies from private sector are Silicon Craft Technology whose expertise is in low-power wireless IC design, Design Gateway whose specialties are in embedded-system design service and ultra-high-speed data communication system, and Toyota Tsusho Electronic Thailand specializing in embedded-system design for automotive. These companies have collaborated with expert from laboratories specialized in electronic design from 6 universities consisting of Chulalongkorn University, Kasetsart University, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Thammasart University, and Prince of Songkla University.

  • ขีดความสามารถของ LABTENSAI laboratory มุ่งเน้นศึกษาการพัฒนาซอฟต์แวร์ฝังตัวที่ครอบคลุมทั้ง 3 แนวทาง ได้แก่

    1. การพัฒนาอิงคอมโพเนนท์ (component-based development) เน้นการเขียน โค้ดภาษา C สำหรับโมดูลต่างๆในลำดับชั้นของเฟิร์มแวร์ โดยเน้นการใช้ระบบ ปฏิบัติการทันเวลาเพื่อรองรับความซับซ้อนในการจัดการ I/O การประมวลผล ข้อมูล และการสื่อสาร ตามเงื่อนไขของฟังก์ชัน กรอบเวลา และความน่าเชื่อถือ ในการทำงาน

    2. การพัฒนาอิงแพลตฟอร์ม (platform-based development) เน้นการสร้าง เฟิร์มแวร์บนแพลตฟอร์มลินุกซ์ฝังตัว เริ่มจากการสร้างไฟล์อิมเมจที่ประกอบจาก เคอรเ์นลและระบบไฟลร์าก จากนัน้จงึพฒันาสครปิตภ์าษา Python เพือ่รวบรวมขอ้มลู ประมวลผล และเช่ือมต่อผ่านอินเตอร์เน็ตไปยังเว็บบริการของระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ

    3. การพัฒนาอิงโมเดล (model-based development) เน้นการใช้องค์ความรู้ของ ระบบทางกายภาพควบคู่กับทักษะในการใช้งาน MATLAB/Simulink เพื่อสร้างแบบ จำลองที่อธิบายถึงพฤติกรรมของระบบในมุมมองที่สนใจ จากนั้นจึงใช้เครื่องมือ การจำลองผลควบคู่กับการสร้างโค้ดอัตโนมัติ เพื่อเร่งเวลาจากเฟสของการพิสูจน์ แนวคิดไปยังเฟสการพัฒนาก่อนการผลิตจริง

    เทคโนโลยีหลักการพัฒนาซอฟต์แวร์ฝังตัว

    ตัวอย่างผลงาน ผลงานวิจัย1. แพลตฟอรม์โมไบลค์ลาวดค์อมพวิตงิสำหรบังานโลจสิตกิส ์โดยใชส้มารต์โฟน Android

    ร่วมกับ Google App Engine2. การพัฒนาอิงแบบจำลองของระบบมองเห็นด้วยคอมพิวเตอร์บนบอร์ด Raspberry

    Pi ด้วย MATLAB/Simulink

    ห้องวิจัยระบบเครือข่ายสมองกลฝังตัวเพื่อความฉลาดแวดล้อมคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE

    19

    สิ่งพิมพ์1. S. Vorapojpisut, “The Estimation of Vehicle Queue Length using VANET”

    International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology, Pattaya, 2009

    2. S. Vorapojpisut, “Software Development for a Pediatric Gait Trainer: From LabVIEW VI to Arduino Sketch”, The 4th International Workshop on Computer Science and Engineering, Dubai, 2014.

    3. K. Jaksukam and S. Vorapojpisut, “A Probability Model of a Class of Multi-hop WSNs” International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology, South Korea, 2014.

    การอบรมสัมมนาคอร์สอบรมที่ครอบคลุมแพลตฟอร์มตั้งแต่ไมโครคอนโทรลเลอร์ (STM32, MSP430) ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ฝังตัว (OpenWrt, Raspberry Pi) ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ (Google App Engine) และสมาร์ทโฟน (Android + PhoneGap, Android on BeagleBoard)

    กิจกรรมที่เคยทำร่วมกับภาคอุตสาหกรรมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ การประยุกต์หลักการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ในองค์กร ซึ่งได้ร่วมกับบริษัทที่พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว จำนวน 4 บริษัท ได้แก่ ThaiGerTec, Silicon Craft, Mobilis Automata และ Venus Supply เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ของการประยุกต์หลักการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ภายในองค์กร

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE20

    ชื่อผู้ติดต่อ หรือผู้ประสานในแต่ละ Labผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย วรพจน์พิศุทธิ์

    [email protected]

    08 1551 3255

    0 2564 3010

    http://www.linkedin.com/in/vsupacha

    99 หมู่ที่ 18 ถนนพหลโยธิน อำภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

    2. โครงการประยุกต์หลักการวัดคุมร่วมกับระบบสมองกลฝังตัวเพื่อแก้ปัญหาในภาค อุตสาหกรรม ซึ่งได้รับความร่วมมือจากบริษัท 3 แห่ง ได้แก่ บริษัท Western Digital บริษัท Mobilis Automata และบริษัท LHV Energy เพื่อกำหนดโจทย์ให้กับกลุ่ม นักศึกษาพัฒนาซอฟต์แวร์ของระบบอัตโนมัติด้วย LabVIEW และ Arduino

    3. ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบริษัท Techsource Systems ในการกอ่ตัง้ศนูยอ์บรมโปรแกรม MATLAB/Simulink เพือ่สง่เสรมิการใชง้านโปรแกรม MATLAB และ Simulink ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มบริษัทการเงิน และสถาบันการศึกษา

    อุปกรณ์/เครื่องมือสำคัญของ LABMALAB/Simulink

    รายชื่อ/สาขาความเชี่ยวชาญของอาจารย์ประจำ LABผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย วรพจน์พิศุทธิ์

    จำนวนนักศึกษาที่มีความสามารถของ LAB ในแต่ละปี6 คน

  • Lab’s capabilityThe main target of TENSAI laboratory is to study and educate three major practices of embedded software development that correspond to different demands from modern products.

    1. Component-based development concentrates on C programming for modules in embedded software layers. This approach is classic and suitable for wide-area products such as electrical appliances or devices with simple functionalities. TENSAI laboratory aims to promote the development of complex and reliable firmware based on real-time operating system by joining modules related to I/O management, data processing, and communication features under multitasking capability.

    2. Platform-based development relies on the building of a software system consisting of operating system, device drivers, middleware, and applications, which are suitable for communication devices and products, require heavy data processing. TENSAI laboratory has adapted embedded Linux platform by constructing a firmware image with customized Linux kernel and flash-based root file system. Then Python scripts are developed to collect, process, and transfer environmental data to web services on cloud computing.

    3. Model-based development combines the knowledge of physical systems and skills of MATLAB/Simulink modeling to create a behavior model that explains the concerned viewpoint for a system of interest. Using simulation and code generation tools, this development practice is suitable for high-value industries, e.g. automotive and medical instrument industries; that demand both reliability and functionality.

    Core TechnologyEmbedded Software Development

    Thammasat Embedded Networked System for Ambient Intelligence

    laboratory: TENSAI

    Faculty of Engineering, Thammasat University

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE22

    Sample Research1. Mobile cloud computing platform for logistics applications: Android

    and Google App Engine.2. Model-based development for embedded vision systems using

    Raspberry Pi and MATLAB/Simulink.

    Publication1. S. Vorapojpisut, “The Estimation of Vehicle Queue Length using VANET”

    International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology, Pattaya, 2009

    2. S. Vorapojpisut, “Software Development for a Pediatric Gait Trainer: From LabVIEW VI to Arduino Sketch”, The 4th International Workshop on Computer Science and Engineering, Dubai, 2014.

    3. K. Jaksukam and S. Vorapojpisut, “A Probability Model of a Class of Multi-hop WSNs” International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology, South Korea, 2014.

    Training and SeminarTraining courses that cover embedded platforms including microcontroller programming (STM32, MSP430), embedded Linux development (OpenWrt, Raspberry Pi), cloud computing (Google App Engine) and smartphone (Android + PhoneGap, Android on BeagleBoard).

  • LAB

    BRO

    CHU

    RE

    23

    Contact person Assistant Professor Dr.Supachai Vorapojpisut

    [email protected]

    08 1551 3255

    0 2564 3010

    http://www.linkedin.com/in/vsupacha

    99 M.18 Paholyothin Rd., Klong Luang, Pathumthani 12120

    Collaboration1. Joint workshop with four companies (ThaiGerTec, Mobilis Automata,

    Silicon Craft, Venus Supply) on the topic of software engineering practices in companies with embedded products. This workshop was hold to exchange information and experience on software engineering practices for firmware projects.

    2. Project “applications of measurement/control/embedded systems for problems in industries” that collaborated with Western Digital, Mobilis Automata, and LHV Energy to visit and gather real-world problem in industries. Then students were assigned to study, develop, and demonstrate rapid prototypes of automation using LabVIEW and Arduino.

    3. MOU between Thammasat University and Techsource Systems to establish the first official MATLAB/Simulink training center in Thailand. The training center will promote the efficient way to use MATLAB and Simulink for automotive industry, financial businesses and academic institutes.

    Significant Tools of LABMALAB/Simulink

    Name’s List/ Expertise of Professors in LABAssistant Professor Dr. Supachai Vorapojpisut

    Amount of student’s ability in lab6 persons