การพัฒนาระบบการจ ัดการเร...

189
นายธนาธร ทะนานทอง การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปการศึกษา 2551

Upload: others

Post on 18-Oct-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

นายธนาธร ทะนานทอง

การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ปการศึกษา 2551

Page 2: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

Tanatorn Tanantong

DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT

SYSTEM WITH WEBLOG TECHNOLOGY

.

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for

the Degree of Master of Engineering in Computer Engineering

Suranaree University of Technology

Academic Year 2008

Page 3: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

(รศ. ดร.กิตติศักดิ์ เกิดประสพ) ประธานกรรมการ (ผศ. ดร.คะชา ชาญศิลป) กรรมการ (อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ) (อ. ดร.ปรเมศวร หอแกว) กรรมการ p

(ศ. ดร.ไพโรจน สัตยธรรม) (รศ. น.อ. ดร.วรพจน ขําพิศ) รองอธิการบดีฝายวิชาการ คณบดีสํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร

Page 4: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ธนาธร ทะนานทอง : การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก (DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT SYSTEM WITH WEBLOG TECHNOLOGY) อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.คะชา ชาญศิลป, 170 หนา.

เว็บ 2.0 เปนยุคของการติดตอส่ือสารขอมูลบนอินเตอรเน็ตที่มีการแลกเปลี่ยนขอมูลตาง ๆ มากขึ้น เชน เสียง รูปภาพ และวีดีโอ เปนตน ซ่ึงเทคโนโลยีเว็บบล็อกก็เปนอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่อยูในยุคของเว็บ 2.0 มีลักษณะเปนเว็บไซตสวนตัวที่มีรูปแบบงายตอการใชงานและการจัดการเนื้อหาภายใน ดังนั้นจะพบวามีผูใชเว็บบล็อกเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น จากการที่เว็บบล็อกเปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย จึงกอใหเกิดสังคมออนไลนและองคความรูใหมเกิดขึ้น อาทิเชน การใชเว็บบล็อกในการเผยแพรบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระหวางการทําวิจัย การใชเว็บบล็อกเปนเวทีในการเปดโอกาสใหผูอ่ืนแสดงความคิดเห็นตอบทความของเจาของเว็บบล็อก และการใชเว็บบล็อกในระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) เปนตน โดยสังคมออนไลนและองคความรูตาง ๆ เหลานี้นับวาเปนจุดเริ่มตนของประเทศไทยในการกาวไปสูยุคของเว็บ 2.0 อยางแทจริง ในงานวิจัยช้ินนี้ จะทําการศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อกสําหรับใชในการจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : LMS) เพื่อเปนอีกหนึ่งทางเลือกในการจัดการเรียนการสอน ที่มีขั้นตอนในการจัดการขอมูลไดงายและสะดวกตอการใชงาน อีกทั้งยังเพิ่มความรวดเร็วในการคนหาและการนําขอมูลในระบบไปใช เนื่องจากเว็บบล็อกนั้นใชเทคโนโลยี RSS (Really Simple

Syndication) ที่มีรูปแบบการเก็บขอมูลเปนไฟล XML โดยระบบดังกลาวจะเปนสังคมออนไลนทางดานการศึกษารูปแบบใหม ที่เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมและเปนสวนหนึ่งของสังคมการศึกษาออนไลน

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ลายมือช่ือนักศึกษา

ปการศึกษา 2551 ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษา

Page 5: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษารวม

Page 6: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

TANATORN TANANTONG : DELEVOPMENT OF LEARNING

MANAGEMENT SYSTEM WITH WEBLOG TECHNOLOGY.

THESIS ADVISOR : ASST. PROF. KACHA CHANSILP, Ph.D., 170 PP.

WEBLOG/WEB 2.0/OPENSOURCE/LEARNING MANAGEMENT SYSTEM

Web 2.0 is the generation of internet communication that allows more

information sharing such as sound, images, video files, etc. Weblog technology is the

one of web 2.0 generation which is private, easy to use and manage the contents. So,

there are dramatically increasing numbers of the weblog users in a short time. As the

weblog is a very popular nowadays, the new on-line society and new knowledge are

generated such as the Weblog for research publication, the Weblog for comments, the

E-Commerce weblog, etc. which becomes the first step of web 2.0 generation in

Thailand.

This research will study and develop the weblog for Learning Management

System : LMS to become a new alternative way to manage the learning system that is

friendly to use and reduces time for data searching and presentation. Because of the

weblog is based on Really Simple Syndication : RSS Technology which keeps the data

file in XML format, it will be a system that aid to create the new leaning on-line

society and open for all participations to be a part of them.

School of Computer Engineering Student’s Signature

Academic Year 2008 Advisor’s Signature

CO-advisor’s Signature

Page 7: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ บุคคลดังตอไปนี้ ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ อยางดียิ่ง ทั้งในดานวิชาการ และ ดานการดําเนินงานวิจัย

- ผูชวยศาสตราจารย ดร.คะชา ชาญศิลป อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ - ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิชโยทัย มหัทธนาภิวัฒน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม - ผูชวยศาสตราจารย สมพันธุ ชาญศิลป อาจารยผูใหคําแนะนําปรึกษา - รองศาสตราจารย ดร. กิตติศักดิ์ เกิดประสพ หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

รองศาสตราจารย ดร. นิตยา เกิดประสพ อาจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

- ขอขอบคุณ คุณปาริฉัตร จงปตนา ที่ใหคําปรึกษาแนะนําและเปนกําลังใจในการทํางาน วิจัยนี้เปนอยางดี

- ขอขอบคุณ พญ.หฤทัย สันติเศรษฐสิน ที่ชวยตรวจทานวิทยานิพนธฉบับนี้ ใหออกมา สวยงาม เรียบรอย ถูกตองตามกําหนด

- ขอขอบคุณ คุณนรินทร หมื่นรัตน คุณนริศ มิ่งโมรา คุณอภิชัย ฤทธิ์ธงชัยเลิศ คุณวุฒติพล หมัดเส็น คุณณัฐพล พันนุรัตน และคุณวีรภัทร ศรีพิพัฒนกุล ที่ชวยใหคําปรึกษาแนะนําและทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้ จึงทําใหระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพ และขอขอบคุณเพื่อน ๆ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรทุกทาน ที่เปนกําลังใจและชวยเหลือดวยดีมาโดยตลอด

ทายนี้ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ใหกําเนิด อุปการะเลี้ยงดูอบรม และสงเสริมการศึกษาเปนอยางดีมาโดยตลอด จนทําใหผูวิจัยประสบความสําเร็จในชีวติตลอดมา

ธนาธร ทะนานทอง

Page 8: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (ภาษาไทย) .........................................................................................................................ก บทคัดยอ (ภาษาอังกฤษ).....................................................................................................................ข กิตติกรรมประกาศ..............................................................................................................................ค สารบัญ ............................................................................................................................................... ง สารบัญตาราง .....................................................................................................................................ซ สารบัญรูป .........................................................................................................................................ฌ บทท่ี

1 บทนํา .................................................................................................................................... 1 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจยั.............................................................. ....... 1 1.2 วัตถุประสงคการวิจยั .................................................................................................. 4 1.3 ขอตกลงเบื้องตน ........................................................................................................ 4 1.4 ขอบเขตของการวิจัย ................................................................................................... 5 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ........................................................................................ 5

2 ปริทัศนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ......................................................................... 6 2.1 เทคโนโลยีเวบ็ไซต ..................................................................................................... 6 2.1.1 ความหมายของเว็บไซต................................................................................. . 7 2.1.2 การพัฒนาของเทคโนโลยีเวบ็ไซต .................................................................. 9 2.2 ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System : CMS).................................... 15 2.2.1 ความหมายของ CMS.................................................................................... 15 2.2.2 โครงสรางของ CMS..................................................................................... 17 2.2.3 ประเภทของ CMS......................................................................................... 19 2.2.4 ตัวอยางของระบบ CMS ............................................................................... 21 2.2.5 ตัวอยางเว็บไซตที่พัฒนาดวย CMS ในประเทศไทย ..................................... 22 2.3 ระบบจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : LMS) ....................... 24 2.3.1 ความหมายของ LMS.................................................................................... 24

Page 9: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

หนา 2.3.2 โครงสรางของ LMS ..................................................................................... 25 2.3.3 ตัวอยางของระบบ LMS................................................................................ 25 2.3.4 ตัวอยางระบบ LMS ที่ใชในประเทศไทย...................................................... 26 2.4 เว็บบล็อก (Weblog) ................................................................................................. 28 2.4.1 ความหมาย .................................................................................................... 28 2.4.2 โครงสรางของเว็บบล็อก............................................................................... 30 2.4.3 ประเภทของเวบ็บล็อก .................................................................................. 31 2.4.4 เครื่องมือในการสรางเว็บบล็อก .................................................................... 32 2.4.5 ตัวอยางเว็บบล็อกในประเทศไทย ................................................................. 33 2.5 กระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) ............................................................. 37 2.5.1 การกําหนดปญหา (Problem Definition) ...................................................... 37 2.5.2 การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) ............................................... 38 2.5.3 การวิเคราะหระบบ (System Analysis) ......................................................... 38 2.5.4 การออกแบบระบบ (System Design) ........................................................... 38 2.5.5 การพัฒนาระบบ (Implementation)............................................................... 39 2.5.6 การทดสอบระบบ (System Testing)............................................................. 39 2.5.7 การบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) ............................................................ 39 2.6 งานวิจยัที่เกี่ยวของ.................................................................................................... 40 3 วิธีดําเนินการวิจัย................................................................................................................ 42 3.1 การกําหนดปญหา (Problem Definition)................................................................. . 42 3.1.1 รายละเอียดของแบบสอบถาม....................................................................... 42 3.2 การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study)......................................................... . 53 3.2.1 ความเปนไปไดทางดานเทคนิค (Technically Feasibility) ........................... 53 3.2.2 ความเปนไปไดดานการปฏิบัติ (Operational Feasibility) ............................ 53 3.2.3 ความเปนไปไดดานการลงทุน (Economic Feasibility)................................. 53

Page 10: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.3 การวิเคราะหระบบ (System Analysis)..................................................................... 53 3.3.1 สรุปผลขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอระบบ ........................... 53

3.3.2 วิเคราะหผลขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอระบบ..................... 56 3.4 การออกแบบระบบ (System Design)....................................................................... 59 3.4.1 ออกแบบโครงสรางของระบบ (Structure Design) ....................................... 59 3.4.2 การออกแบบแผนผังแสดงหนาที่การทํางานของระบบ (Use Case Diagram Design) ......................................................................... 62 3.4.3 การออกแบบฐานขอมูล (Database Design).................................................. 66 3.4.4 การออกแบบขอมูลนําเขา (Input Design) ..................................................... 66 3.4.5 การออกแบบจอภาพ (Output Design) .......................................................... 73 4 การพัฒนาและทดสอบระบบ .............................................................................................. 76 4.1 สถาพแวดลอมที่ใชในการพฒันาเครื่องมือ (Implementation).................................. 76 4.2 การพัฒนาระบบ (Implementation) .......................................................................... 77 4.2.1 ระบบหลัก (Main System)............................................................................ 77 4.2.2 ระบบบล็อก (Blog System) .......................................................................... 78 4.2.3 ระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System).............................. 83 4.3 การทดสอบระบบ (System Testing) ........................................................................ 89 4.3.1 สภาพแวดลอมที่ใชในการทดสอบระบบ...................................................... 89 4.3.2 ขั้นตอนในการทดสอบระบบ........................................................................ 89 4.4 การบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) ........................................................................ 98 4.5 อภิปรายผล ............................................................................................................... 98 5 สรุปผลการวิจัย................................................................................................................. 100 5.1 สรุปผลการวิจัย....................................................................................................... 101 5.1.1 ดาน Functional Requirement Test ............................................................. 101 5.1.2 ดาน Functional Requirement Test ............................................................. 101 5.1.3 ดาน Usability Test ..................................................................................... 101 5.1.4 ดาน Performance Test................................................................................ 101

Page 11: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

หนา 5.1.5 ดาน Security Test....................................................................................... 102 5.2 การประยกุตใชงานวิจยั .......................................................................................... 102 5.3 แนวทางในการพัฒนาตอ........................................................................................ 102 รายการอางอิง ................................................................................................................................. 103 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. บทความผลงานวิจยัที่นําเสนอในการประชมุทางวิชาการ NCIT2008 คร้ังที่ 2 (2nd National Conference on Information Technology 2008) วันที่ 6-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เร่ือง “ การวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยนื” ....................................................................... 107 ภาคผนวก ข. แบบสอบถามประกอบการวจิัยสําหรับอาจารย เร่ือง การพัฒนา ระบบจดัการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก .................................. 116 ภาคผนวก ค. แบบสอบถามประกอบการวจิัยสําหรับนกัศึกษา เร่ือง การพัฒนา ระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก .................................. 123 ภาคผนวก ง. แบบสอบถามประเมินประสทิธิภาพการทํางานของระบบเว็บบล็อก สําหรับการจัดการเรียนการสอน...................................................................... 130 ภาคผนวก จ. คูมือการติดตั้งระบบ และการใชงานระบบ BlogLMS.................................... 135 ภาคผนวก ฉ. ตัวอยาง Source Code บางสวนของระบบ BlogLMS...................................... 162 ประวัติผูเขียน ................................................................................................................................. 170

Page 12: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 3.1 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับเว็บบล็อกและระบบจัดการเรยีน การสอนในมหาวิทยาลัย ........................................................................................................ 44 3.2 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก........................... 44 3.3 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของอาจารย ................... 46 3.4 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกรายวิชา...................................... 47 3.5 แสดงความคิดเห็นของนกัศกึษาเกีย่วกับเวบ็บล็อกและระบบจัดการเรยีน การสอนในมหาวิทยาลัย ........................................................................................................ 48 3.6 แสดงความคิดเห็นของนกัศกึษาเกีย่วกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก ........................ 49 3.7 แสดงความคิดเห็นของนกัศกึษาเกีย่วกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของนักศึกษา............... 51 3.8 แสดงความคิดเห็นของนกัศกึษาเกีย่วกับโมดูลของเว็บบล็อกสําหรับรายวิชาตาง ๆ .............. 52 3.9 แสดงการเปรยีบเทียบความสัมพันธของโมดูลทั้งหมดในบล็อกแตละสวนของระบบ .......... 57 4.1 แสดงผลการทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบบแยกสวน (Unit Test) ในสวนของระบบหลัก (BlogLMS) ....................................................................................... 90 4.2 แสดงผลการทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบบแยกสวน (Unit Test) ในสวนของระบบจัดการเนื้อหาบล็อก ................................................................................... 91 4.3 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูดูแลระบบ ................ 92 4.4 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูสอน ......................... 93 4.5 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูเรียน ......................... 94 4.6 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Functional Requirement ................... 95 4.7 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Functional Test .................................. 96 4.8 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Usability Test.................................... 96 4.9 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Performance Test .............................. 97 4.10 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Security Test ..................................... 97

Page 13: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญรูป

รูปท่ี หนา 2.1 ลักษณะการทาํงานของเว็บไซต ............................................................................................... 8 2.2 แสดงลําดับชัน้ของเว็บไซต.................................................................................................... 10 2.3 แสดงการเปรยีบเทียบการทาํงานของเว็บ 1.0 กับ เว็บ 2.0...................................................... 14 2.4 แสดงการเปรยีบเทียบระหวาง Static กับ Dynamic Web ....................................................... 19 2.5 แสดงตัวอยางเว็บไซตที่พัฒนาดวย CMS Mambo ................................................................. 22 2.6 รูปแสดงตัวอยางเว็บไซตที่พฒันาดวย CMS Joomla.............................................................. 23 2.7 รูปแสดงตัวอยางเว็บไซตที่พฒันาดวย CMS XOOPS............................................................ 23 2.8 ตัวอยาง LMS ที่ใช Moodle.................................................................................................... 27 2.9 ตัวอยาง LMS ที่ใช ATutor .................................................................................................... 27 2.10 ตัวอยาง LMS ที่ใช LearnSquare............................................................................................ 28 2.11 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของคนวัยทํางาน .................................................................. 34 2.12 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของวัยรุน นักเรียนและนกัศึกษา .......................................... 35 2.13 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของนักวิจยัและอาจารย........................................................ 35 2.14 เว็บบล็อกที่มีวตัถุประสงคเปดกวางสําหรับผูเขียนบล็อก ...................................................... 36 2.15 ตัวอยางเว็บบล็อกที่ใหความรูเกี่ยวกับเวบ็บล็อก .................................................................... 36 2.16 แสดงกระบวนการในการพฒันาซอฟตแวร SDLC ................................................................ 37 3.1 แสดงโครงสรางหลักของระบบเว็บบล็อกสําหรับจัดการเรียนการสอน ................................ 59 3.2 แสดงโครงสรางการทํางานหลักของระบบ BlogLMS........................................................... 61 3.3 แสดง Use Case Diagram ของระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน................... 62 3.4 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกผูสอน (Instructor Blog) ............................................... 63 3.5 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกรายวชิา (Course Blog) ................................................. 64 3.6 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกผูเรียน (Learner Blog) .................................................. 65 3.7 แสดงแผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (E-R Diagram) ........................................ 66 3.8 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลตารางเรียน (TimeTable)........................................ 67 3.9 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลบันทึกบทความ (Article) ....................................... 67

Page 14: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

3.10 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลลิงคบทความอื่น (Permalink) ................................ 68

Page 15: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี หนา 3.10 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลลิงคบทความอื่น (Permalink) .................................68 3.11 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลลิงคบล็อกผูอ่ืน (Blogroll) ......................................68 3.12 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลลิงคบทความยอนหลัง (Archives) ..........................68 3.13 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลรายวิชา (Courses)...................................................69 3.14 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลอัพโหลดและดาวนโหลด (Upload & Download)...........................................................................................................69 3.15 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลแสดงความคิดเห็น (Vote) ......................................70 3.16 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test) .................................70 3.17 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลภาพกิจกรรม (Gallery) ...........................................71 3.18 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลการจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category)..................71 3.19 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลคนหาขอมูล (Search) .............................................71 3.20 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลแสดงขอความตอนเปดบล็อก (Popup) ...................72 3.21 แสดงหนาตางการนําเขาขอมลูของโมดูลเมลถึงผูเขียนบล็อก (Mail) .....................................72 3.22 แสดงการออกแบบจอภาพในของสวนระบบจัดการขอมูลการเรียนการสอนทั้งหมด ............73 3.23 แสดงการออกแบบจอภาพในสวนระบบเวบ็บล็อกทั้งหมด....................................................74 3.24 แสดงการออกแบบจอภาพในสวนของการจัดการเนื้อหาของระบบ .......................................74 4.1 แสดงโครงสรางหนาหลักของระบบ BlogLMS .....................................................................77 4.2 แสดงโครงสรางบล็อกรายวชิา (Course Blog) ........................................................................79 4.3 แสดงโครงสรางของหนาเขาสูระบบการจัดการเนื้อหาของระบบหลัก ..................................83 4.4 แสดงโครงสรางหนาจดัการเนื้อหาของระบบหลัก .................................................................84 4.5 แสดงโครงสรางของหนาเขาสูระบบการจัดการเนื้อหาของบล็อก ..........................................86 4.6 แสดงโครงสรางหนาจดัการเนื้อหาของบล็อก ........................................................................86 4.7 กราฟแสดงประสิทธิภาพของระบบ BlogLMS ในดานตาง ๆ เปนรอยละ..............................98

Page 16: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจัย

ปจจุบันเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตไดเขามามีบทบาทสําคัญตอการดําเนินชีวิตของเรามากขึ้น นับตั้งแตเราตื่นขึ้นมา เราอาจไมรูสึกตัววาอินเทอรเน็ตกลายเปนปจจัยที่สําคัญตอการดํารงชีวิตในยุคที่ขอมูลขาวสารมีความสําคัญคนหันมาบริโภคขอมูลขาวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตที่เปรียบเสมือนถนนสําหรับการเขาไปถึงขอมูลที่ตองการ เรายังตองการเครื่องมือที่จะสามารถสรางเนื้อหาและขอมูลตาง ๆ ไวรองรับการเขาถึงซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยีเว็บไซตที่เปนตัวกลางคอยใหขอมูลตาง ๆ แกผูใช โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเว็บไซตไดถูกเปลี่ยนแปลงจากเดิมไปมาก Wikipedia (www, 2007) ไดแบงลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีไดเปน 3 ยุค คือ

1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เนนการนําเสนอเนื้อหาใหกับผูใชงานเพียงทางเดียวไมเปดโอกาสใหผูใชงานมีสวนรวมกับเนื้อหา ผูที่พัฒนาเว็บไซตจะเปนผูกําหนดเนื้อหาเพียงผูเดียวและความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุคเว็บ 1.0 คือ 50 Kbps

2. ยุคเว็บ 2.0 (2547- ปจจุบัน) มีลักษณะการทํางานในรูปแบบของเว็บไซตที่เปนเครือขายทางสังคม (Social Network) เนนการปฏิสัมพันธระหวางผูใชงานที่อยูในเครือขายหรือกลุมบุคคลที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปดโอกาสใหผูใชงานทุกคนมีสวนรวมในการจัดการเนื้อหา มีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน จึงกอใหเกิดสังคมออนไลนทางความรูที่ประกอบไปดวยองคความรูใหม ๆ มากมาย มีคุณสมบัติที่เรียกวา Rich Internet Application (RIA) ซ่ึงเปนเทคโนโลยีที่ทําใหเว็บไซตมีประสิทธิภาพการทํางานเทียบเทากับแอพลิเคชั่นทั่วไป (Desktop Application) โดยจะมีลักษณะหนาตา (User Interface) ที่สวยงามมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของเว็บไซตในยุคเว็บ 2.0 ก็คือ เว็บบล็อก (Weblog) สารานุกรมออนไลน (Wiki) เปนตน โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเตอรเน็ตในยุคนี้ คือ 1 Mbps

3. ยุคเว็บ 3.0 (2553 - 2563) เปนการพัฒนาเว็บไซตใหเสมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรูพฤติกรรมของผูใชงานเว็บไซตได ใชขอมูลบางสวนเพื่ออธิบาย ความหมายของขอมูลในสวนใหญ (Tag) เว็บไซตในยคุเว็บ 3.0 นั้นกลาวไดวาเปนการพัฒนาตอมา จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซตกลายเปนเครือขายสังคมออนไลนขนาดใหญดังนั้นเนื้อหาและขอมูล

Page 17: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

2

ตาง ๆ จึงเพิ่มขึ้นตามมาดวย กอใหเกิดการพัฒนาเว็บไซตที่จะสามารถตอบสนองความตองการในการบริโภคขอมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นเนื่องจากเรามีขอมูลมากมายในเว็บไซต จึงตองเกิดการวิเคราะหและคัดแยกขอมูลใหตรงกับสิ่งที่ผูใชงานตองการมากที่สุด โดยตัวอยางของลักษณะเว็บไซตในยุคเว็บ 3.0 นั้นก็คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเตอรเน็ตเฉลี่ยในยุคนี้คือ 1.0 Mbps

สืบเนื่องจากการที่เทคโนโลยีเว็บไซตและอินเตอรเน็ตไดถูกพัฒนาขึ้นอยางกาวกระโดด จึงมีการนําขอดีของเทคโนโลยีเว็บไซตมาประยุกตใชกับการศึกษาในหลาย ๆ ดานดังนี้

1. ใชเปนสื่อกลางในการติดตอส่ือสารระหวางผูเรียนกับผูสอน เชน การใชงานอีเมลเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร เปนตน

2. ใชเปนเครื่องมือในการจัดทําบทเรียนและสื่อการเรียนการสอน เชน การใชงานระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน (Learning Management System : LMS) เพื่อใชจัดการเรียนการสอน เปนตน

3. ใชเปนเครื่องมือในการประเมินและวัดผลการเรียนการสอน เชน การใชเว็บไซตสํารวจพฤติกรรมและความพึงพอใจตอการเรียนการสอน (Poll) ของอาจารยและนักศึกษา เปนตน

เว็บบล็อก (Weblog) ดังที่กลาวไปแลวในเบื้องตนวา เว็บบล็อกเปนหนึ่งในเทคโนโลยีที่อยูในยุคเว็บ 2.0 โดยลักษณะการทํางานของเว็บบล็อกนั้นคลายกับไดอารี่ออนไลนที่เปดโอกาสใหบุคคลตาง ๆ จดบันทึกเรื่องราวที่เกิดขึ้นหรือสนใจในชีวิตประจําวัน ขอมูลที่ไดจากการจดบันทึกเหลานั้นจะถูกเขาชมและใหความคิดเห็นจากบุคคลอื่น ๆ ที่อยูในสังคม ขอมูลเหลานี้ถูกรวบรวมและกลายเปนองคความรูใหม (Knowledge) ที่ผานการคัดกรองจากความคิดเห็นของผูคนตาง ๆ เปนคลังขอมูลที่สําคัญขนาดใหญที่งายตอการคนหาและเขาถึงขอมูล จึงกอใหเกิดเปนสังคมออนไลน ที่นับวันก็จะยิ่งเติบโตและมีการพัฒนาไปไดในทุกทิศทางเสมือนกับสังคมตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ดูไดจากตัวเลขจํานวนบล็อกในเดือนเมษายน ปพ.ศ . 2550 จากการสํารวจของเว็บไซต Technorati (http://www.technorati.com/weblog/) พบวามีจํานวนเว็บบล็อกที่เปดใชบริการแลวทั้งสิ้นมากกวา 70 ลานบล็อก มีการเปดใชบริการเว็บบล็อกเพิ่มขึ้นประมาณ 120,000 บล็อกตอวัน และมีผูแสดงความคิดเห็น 1.5 ลานครั้งตอวินาที

ในดานของการศึกษานั้น เว็บบล็อกไดถูกนํามาเปนเครื่องมือชวยในการเรียนการสอนยุคใหม ซึ่งไมไดมีเพียงแตอาจารยเทานั้นที่จะเปนผูใหความรู จากการที่มีผูนิยมใชเว็บบล็อกกันอยางแพรหลาย จึงไดมีการนําเว็บบล็อกมาใชประโยชนในหลาย ๆ ดาน ในประเทศไทยไดมีการนําเว็บบล็อกมาเปนเครื่องมือสําหรับการพัฒนาระบบการศึกษาหรือเรียกวาอีกอยางหนึ่งวา การนําเว็บบล็อกมาใชสําหรับจัดการความรู โดยพัฒนาเปนเครื่องมือที่มีช่ือวา GotoKnow.org (จันทวรรณนอยวัน และ ธวัชชัย ปยะวัฒน, 2548) ซ่ึงมีลักษณะเปนระบบเว็บบล็อกที่เปดโอกาสใหบุคคลตาง ๆ เขามาเขียนบทความโดยแยกหัวขอของบทความใหเปนกลุมที่มีเนื้อหาสัมพันธกัน (Tag) กอใหเกิด

Page 18: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

3

สังคมออนไลนทางดานการศึกษาที่มีจํานวนผูใชและจํานวนบทความเพิ่มขึ้น ทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ เปนประโยชนสําหรับวงการการศึกษาของประเทศไทย ระบบดังกลาวสามารถนํามาประยุกตใชงานกับการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทย ซ่ึงถาสังเกตลักษณะการทํางานของระบบเว็บบล็อกสําหรับจัดการความรูที่กลาวไปนั้น กับระบบจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่สรางขึ้นดวยระบบจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ตัวอยางเชน Moodle LearnSquare และ Atutor เปนตน พบวาลักษณะการทํางานบางอยางสามารถที่จะนํามาประยุกตใชรวมกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบทั้งสองในการพัฒนาเปนสื่อการเรียนการสอนออนไลนที่สมบูรณแบบยิ่งขึ้น เว็บบล็อกเปนเครื่องมือที่ใชจัดการขอมูลและกอใหเกิดการแบงปนความรูใหแกกันและกัน โดยทุกคนที่อยูในสังคมออนไลนนั้นสามารถเปนทั้งผูใหและผูรับได องคความรูที่ไดจากการใชเทคโนโลยีเว็บบล็อกนั้น อาจกลาวไดวาเปนคลังขอมูลขนาดใหญที่เกิดการแบงปนขอมูลใหกับบุคคลอื่น ขอมูลเหลานี้จะถูกตรวจทานความถูกตองผานกระบวนการแสดงความคิด เห็นของบุคคลในสังคม องคความรูที่ไดจากเว็บบล็อกนั้นจึงเปนขอมูลที่มีคุณภาพและความถูกตองในระดับสูง ตัวอยางของเว็บบล็อกที่ใชในดานการศึกษาในเมืองไทย ไดแก http://researchers.in.th (เว็บบล็อกสําหรับครู อาจารยและนักวิจัย) http://learners.in.th (เว็บบล็อกสําหรับนักเรียนและนักศึกษา) และ http://gotoknow.org (เว็บบล็อกสําหรับคนกลุมวัยทํางานและผูสนใจทั่วไป) เปนตน จากที่กลาวไปแลวถึงรูปแบบในการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บไซตในทั้ง 3 ยุค จะพบวามีการพัฒนาขึ้นตามพฤติกรรมการใชงานของผูใชงานที่เปลี่ยนแปลงไปตามสมัย โดยงานวิจัยช้ินนี้จะเนนไปในการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บไซตในยุคของเว็บ 2.0 เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่ถูกใชกันอยางแพรหลายในปจจุบันนี้ และเจาะประเด็นไปที่การพัฒนาเทคโนโลยีเว็บบล็อกเพื่อใชในดานการจัดการเรียนการสอน เรียกวา WeBlog for Learning Management System (BlogLMS) ที่ใชสําหรับการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย โดยใชวิธีในการออกแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความตองการของระบบโดยแบงเปน 2 สวน คือ 1) แบบสอบถามสําหรับอาจารยซ่ึงสอบถามไปยังอาจารยสาขาวิชาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอรมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในประเทศไทย รวม 40 แหง แหงละ 5 ชุด รวมชุดแบบสอบถามทั้งสิ้น 200 ชุด และ 2) แบบสอบถามสําหรับนักศึกษาซึ่งสอบถามไปยังนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี รวมชุดแบบสอบถามจํานวน 100 ชุด แลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและพัฒนาระบบ BlogLMS ใหมีประสิทธิภาพและตรงความตองการของผูใชมากที่สุด BlogLMS ที่ถูกพัฒนาขึ้นในงานวิจัยช้ินนี้เปนเครื่องมือสําหรับการจัดการเรียนการสอนที่เปนทางเลือกใหมของการศึกษาในยุคปจจุบัน มุงเนนการประยุกตเทคโนโลยีที่อยูในกระแสความนิยมของคนกลุมใหญ นํามาประกอบกับการพัฒนาดานการศึกษาในประเทศไทยเพื่อกอใหเกิดเครื่องมือที่ชวยในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและตรงความตองการของผูใชงาน นอกจากนี้

Page 19: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

4

ระบบ BlogLMS ที่พัฒนาขึ้นจะถูกบรรจุอยูในลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชงานเพื่อสะดวกในการติดตั้งและงายตอการใชงาน 1.2 วัตถุประสงคการวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษาถึงเทคโนโลยีการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บไซตในยุคตาง ๆ และนํามาวิเคราะห เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย และนําผลสรุปที่ไดมาเปนแนวทางในการทําวิจัย

1.2.2 เพื่อศึกษาระบบการจัดการเรียนการสอนที่มีอยูในปจจุบัน 1.2.3 ทําการศึกษาและพัฒนาเครื่องมือสรางเว็บบล็อก เพื่อใชสําหรับการจดัการเรียนการ สอนในระดับมหาวิทยาลัย

1.2.4 เพื่อพัฒนาเครือ่งมือที่ชวยในการจัดการเรยีนการสอนออนไลนรูปแบบใหม สําหรับ การศึกษาระดบัมหาวิทยาลัยในประเทศไทยในปจจุบัน

1.2.5 เพื่อกอใหเกดิเครื่องมือที่สามารถจัดการกบัองคความรูอยางมีประสิทธิภาพ และตรง ความตองการของผูใชงานในกลุมอาจารยและนักศึกษา 1.3 ขอตกลงเบื้องตน

1.31 ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถใชงานไดในระบบปฏิบัติการ Windows และ Linux แต ในงานวิจัยช้ินนี้ จะบรรจุโปรแกรมลงบนลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนาเวอรช่ัน 5108 (SUTinsServer 5108)

1.3.2 ระบบสามารถทํางานไดบน Web Server โดยใช Apache Web Server เวอรช่ัน 2.2.4 ที่ไดถูกออกแบบเปนสคริปต PHP เวอรช่ัน 5.2.3 เปนภาษาสั่งการและใช MySQL เวอรช่ัน 5.0.45 เปนระบบฐานขอมูล

1.3.3 ใชไดดกีับ Web Browser คือ Internet Explorer เวอรช่ัน 6.0 ขึ้นไป และ Mozilla Firefox เวอรช่ัน 2.0 ขึ้นไป

1.3.4 ความละเอียดของจอภาพในการแสดงผลขอมูลตั้งแต 1024*786 Pixel ขึ้นไป

Page 20: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

5

1.4 ขอบเขตของการวิจัย ระบบที่พัฒนาขึ้นครอบคลุมเนื้อหาและรายละเอียดตาง ๆ สําหรับการจัดการเรียนการสอน

ซ่ึงความสามารถในการทํางานของระบบนั้น ผูวิจัยไดศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของจากการสอบถามขอมูลไปยังอาจารยและนักศึกษามหาวิทยาลัยตาง ๆ ในประเทศไทย และศึกษาจากระบบจัดการเรียนการสอนที่มีในปจจุบัน พัฒนาซอฟตแวรในรูปแบบโอเพนซอรส ดังนั้นงานวิจัยช้ินนี้ จะเปนการพัฒนาระบบเว็บบล็อกที่ใชสําหรับการจัดการเรียนการสอนที่จําเปนสําหรับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยเทานั้น

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1.5.1 พัฒนาเครื่องมอืสําหรับจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ที่มีรูปแบบสําหรับการ ศึกษาในประเทศไทย 1.5.2 ชวยอํานวยความสะดวกแกนักศึกษาและอาจารยที่ตองการมีเว็บบล็อก สําหรับการประยุกตใชกับการเรียนการสอน

1.5.3 สงเสริมและพัฒนาความคิดในการแบงปนความรู เพื่อกอใหเกดิสังคมแหงการพฒันา ในดานการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

1.5.4 กอใหเกิดองคความรูใหมที่มีคุณภาพและความถูกตองของเนื้อหา โดยไดผานขั้นตอน การตรวจสอบจากบุคคลในสังคม

Page 21: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

บทที่ 2

ปริทัศนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้จะเปนการนําเสนอปริทัศนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยนี้ โดยในหัวขอที่ 2.1 กลาวถึงความหมายและบทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีเว็บไซต รวมทั้งพัฒนาการของเทคโนโลยีเว็บไซต ตั้งแตยุคเริ่มตนจนถึงปจจุบัน โดยแบงโครงสรางของการพัฒนาเว็บไซตเปน 3 ยุค คือ เว็บ 1.0 2.0 และ 3.0 ตามลําดับ ในหัวขอที่ 2.2 กลาวถึงระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System : CMS) อธิบายความหมาย โครงสราง ประเภท และยกตัวอยางเครื่องมือที่ใชพัฒนา CMS อีกทั้งนําเสนอตัวอยางของเว็บไซตที่พัฒนาดวย CMS ในประเทศไทย ในหัวขอที่ 2.3 กลาวถึงระบบจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : LMS) อธิบาย ความหมาย โครงสราง และยกตัวอยางเครื่องมือที่ใชพัฒนา LMS อีกทั้งนําเสนอตัวอยางของระบบ LMS ที่ใชในประเทศไทย ในหัวขอที่ 2.4 กลาวถึงเว็บบล็อก (Weblog) อธิบายความหมาย โครงสราง ประเภท และยกตัวอยางเครื่องมือที่ใชพัฒนาเว็บบล็อก อีกทั้งนําเสนอตัวอยางของเว็บบล็อกที่ใชในประเทศไทย ในหัวขอที่ 2.5 กลาวถึงกระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) โดยแบงออกเปน 7 ขั้นตอนคือ กําหนดปญหา (Problem Definition) ศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) วิเคราะหระบบ (System Analysis) ออกแบบระบบ (System Design) การพัฒนาระบบ (Implementation) การทดสอบระบบ (System Testing) และการบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) และในหัวขอที่ 2.6 กลาวถึงงานวิจัยอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิจัยนี้ 2.1 เทคโนโลยีเว็บไซต

ปจจุบันนีเ้ทคโนโลยีเว็บไซต ไดเขามามีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวันของมนษุยมากขึ้น โดยอาจกลาวไดวา เว็บไซตเปนสวนหนึง่ของกิจวัตรประจําวนัไปแลว อาทิเชน เราใชอีเมลในการติดตอส่ือสารแทนจดหมาย เราสามารถโอนเงินผานทางเว็บไซตไดโดยไมตองเสยีเวลาไปที่ธนาคาร เราสามารถเรียนหนังสือไดผานทางเว็บไซตโดยไมตองไปที่มหาวิทยาลัย เปนตน ดวยบทบาทที่กลาวมาขางตน จึงกอใหเกดิการพัฒนาเทคโนโลยีของเว็บไซตและอนิเตอรเน็ตอยางตอเนื่อง โดยนับจากอดตี จากที่เราเคยใชอินเตอรเน็ตโดยใชโมเด็มทีม่ีความเร็วเฉลีย่ประมาณ 50 Kbps จนมาถึงปจจุบันที่ความเร็วเฉลี่ยของอินเตอรเน็ตประมาณ 1 Mbps และในอนาคตนั้นเทคโนโลยีอินเตอรเน็ต

Page 22: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

7

ในประเทศไทยจะกาวไปสูระดับความเร็วเฉลี่ยที่ประมาณ 10 Mbps ซ่ึงเมื่อความเร็วที่ใชในการเชื่อมตออินเตอรเน็ตสูงขึ้นนั้น ก็ทําใหเราสามารถใชงานเว็บไซตไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงมีการพัฒนาเว็บไซตใหมีความสามารถในการทํางานมากขึ้น

2.1.1 ความหมายของเว็บไซต วิกิพีเดีย (www, 2551ข) ใหความหมายของเว็บไซต หมายถึง หนาเว็บเพจหนาเดียวหรือหลายหนาที่มีการเชื่อมโยงกันผานทางไฮเปอรลิงค โดยมีวัตถุประสงคในการนําเสนอขอมูลตาง ๆ ผานทางคอมพิวเตอร การเรียกดูเว็บไซตจะทําผานซอฟตแวรที่เปนเว็บเบราวเซอร และขอมูลบนหนาเว็บไซตจะถูกจัดเก็บไวในเวิลดไวดเว็บ Gerti Kappel, Birgit Pröll, Siegfried Reich และ Werner Retschitzegger (2006) ใหความหมายของระบบเว็บไซต หมายถึง ระบบซอฟตแวรที่พัฒนาบนเทคโนโลยีและมาตรฐานขององคกร World Wide Web Consortium (W3C) โดยประกอบไปดวยแหลงขอมูลเฉพาะทาง เชน เนื้อหา และบริการตาง ๆ โดยเรียกดูผานทางเว็บเบราวเซอร บุญเลิศ อรุณพิบูลย (2547) ใหคําอธิบายของเว็บไซตไววา เว็บไซตเปนเครื่องมือที่ใชจัดเก็บขอมูลเปน Text File ที่ไมยึดติดกับระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) สามารถเรียกดูเว็บไซตแมจะใช OS ตางชนิดกันได และ เปนแหลงขอมูลที่สามารถเขาถึงไดผานทางระบบอินเตอรเน็ต จึงสามารถเผยแพรไดรวดเร็ว และกวางไกล อีกทั้งเว็บไซตเปนการทํางานในลักษณะโตตอบกับผูใชโดยธรรมชาติจึงอาจกลาวไดวาเว็บไซตเปนระบบแบบ Interactive จากความหมายของเว็บไซตขางตน ผูวิจัยขอสรุปเนื้อหาและอธิบายเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้นดังนี้ เว็บไซตเปนเครื่องมือในการนําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ผานทางอินเตอรเน็ต เชน ไฟลภาพ (*.jpg, *.gif, *.bmp) ไฟลวิดีโอ (*.mpeg, *.avi, *.3gp) และไฟลเพลง (*.mp3) เปนตน การติดตอส่ือสารขอมูลของเว็บไซตนั้นกระทําผานอินเตอรเน็ตโดยใชโพรโทคอล HyperText Transport Protocol (HTTP) เปนชองทาง โดยมีรูปแบบการทํางานของโพรโทคอล HTTP คือ ผูรับบริการจะสงคํารองขอ (Request) ไปยังผูใหบริการแลวรอขอมูลตอบกลับตามที่รองขอ ถือเปนอันสิ้นสุดการสื่อสาร ดังแสดงในรูปที่ 2.1

Page 23: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

8

Web Client

Web Server

Request Data

HTML Data

รูปที่ 2.1 ลักษณะการทํางานของเว็บไซต

จารุทรรศน พัฒนพันธชัย (2549) กลาวเกี่ยวกับเว็บไซตไววา เว็บไซตเปนเพียงเทคโนโลยีที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูลเทานั้นโดยในสวนการนําเสนอขอมูล สามารถแบงขอมูลตามรูปแบบการแสดงผลคือ เว็บเพจ (Web Page) เว็บไซต (Web Site) และโฮมเพจ (Home Page) 1) เว็บเพจ คือ หนาเว็บที่ประกอบไปดวยขอมูลตาง ๆ โดยที่ขอมูลบนเวบ็เพจแบงเปนสองสวนคือ สวนที่เปนตัวขอมูลและสวนที่เปนตวัเชื่อม (Link) ที่ทําหนาที่เชื่อมโยงขอมูลไปยงั ขอมูลอ่ืนที่เกี่ยวของ 2) เว็บไซต คือ แหลงที่รวบรวมขอมูลของเว็บเพจจํานวนหลาย ๆ หนาเขาไวดวยกัน เปรียบเสมือนหนังสือหนึ่งเลม 3) โฮมเพจ คือ เว็บเพจหนาแรกสุดในเว็บไซตทําหนาที่เสมอืนหนาปกของหนังสือ เปนสวนที่บงบอกชื่อเร่ือง หัวขอตาง ๆ และตัวเชื่อมไปยังขอมูลบนหนาเว็บเพจทั้งในเว็บไซตเดียวกันและตางเว็บไซต

Page 24: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

9

2.1.2 การพัฒนาของเทคโนโลยีเว็บไซต นับตั้งแตปลายป 1989 ไดมีการนําเสนอขอมูลในระบบ WWW (World Wide Web) โดย ทิม เบอรเนอร ลี นักวิศวกรรมซอฟตแวร จากหองปฏิบัติการทดลองทางจุลภาคฟสิกสแหงยุโรป (European Particle Physics Labs) ประเทศสวิตเซอรแลนด และไดมีการพัฒนาภาษาที่ใชสนับสนุน การเผยแพรเอกสารของนักวิจัยหรือเอกสารเว็บ (Web Document) จากเครื่องแมขาย (Server) ไปยังสถานที่ตาง ๆ ในระบบ WWW เรียกวา ภาษา HTML (HyperText Markup Language) (ประทานพร อุนออ, 2540) จนมาถึงปจจุบันนี้ จะพบวามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการใชงานเว็บไซตไปจากเดิมมาก จากแตกอนที่เว็บไซตเปนเพียงแคแหลงขอมูลที่เรามีสิทธิ์แคเพียงเขาชมเพียงอยางเดียว แตทุกวันนี้เว็บไซตกลายเปนสังคมเสมือนที่มีจํานวนประชากรในสังคมจํานวนมาก การที่เว็บไซตสามารถที่จะใหผูคนที่เขาใชงานมีสวนรวมกับเนื้อหานั้น กลายเปนแรงผลักดันใหเกิดการพัฒนาเว็บไซตใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อรองรับจํานวนประชากรที่ใชงานเว็บไซตที่เพิ่มขึ้นเปนทวคีณูกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาเว็บไซตในหลาย ๆ ดานดังนี้ 1) มีการพัฒนาภาษาทางโปรแกรมมิ่ง เพื่อรองรับผูใชในการพัฒนาเว็บไซตมากขึ้นเมื่อเทียบกับในอดีตที่มีเพียงภาษา HTML เทานั้น ตัวอยางเชน PHP, Ruby on rails, ASP, ASP.net และJavaScript เปนตน

2) มีการพัฒนาระบบการจัดการเว็บไซต (Content Managemet System : CMS) ขึ้นมาเพื่อใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาระบบเว็บไซต เชน Mambo, Joomla , XOOP และ PHPNuke เปนตน โดยผูที่ตองการสรางเว็บไซตไมจําเปนตองมีความรูดานโปรแกรมมิ่งก็สามารถใช CMS เปนเครื่องมือในการพัฒนาเว็บไซตได ทําใหสะดวกและงายตอการพัฒนา 3) มีการพัฒนารูปแบบในการนําเสนอขอมูลบนเว็บไซต โดยจะเห็นวาในปจจุบันการนําเสนอขอมูลบนเว็บไซตมีขอมูลที่หลากหลาย เชน วิดีโอ (*.flv) เสียง (*.mp3) รูปภาพ (*.JPEG, *.BMP) ภาพเคลื่อนไหว (*.gif, *.swf ) เปนตน ซ่ึงทําใหเว็บไซตมีความนาสนใจและดึงดูดใหคนเขาชมมากขึ้น Gerti Kappel, Birgit Pröll, Siegfried Reich และ Werner Retschitzegger (2006) ไดอธิบายถึงโครงสรางของเว็บไซตและประวตัิการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บไซต โดยการพัฒนานั้นเริม่จากการแบงโครงสรางเว็บไซตออกเปนลําดับชั้นและคอย ๆ เพิ่มความซับซอนของขอมูล ในลําดบัช้ันตามรูปแบบของการใชงาน ในแตละลําดับชั้นที่ถูกแบงออกมานัน้จะมีลักษณะเฉพาะของขอมูล โครงสรางของเว็บไซตที่มีความซับซอนนัน้จะประกอบไปดวยลําดับชัน้ตาง ๆ ของขอมูลหลายชนดิ ตัวอยางของเวบ็ไซตที่มีโครงสรางซับซอนนั้นไดแก ระบบซื้อขายออนไลนที่ไมเพียงแตประกอบไปดวยลําดับชัน้ของเนื้อหามากมาย แตยังประกอบไปดวยบริการตาง ๆ เชน การคนหา การติดตอ

Page 25: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

10

สถานะและการประมูล เปนตน รูปแบบของการแบงลําดับชั้นของเว็บไซตนั้น แสดงไดดังรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2 แสดงลําดับชั้นของเว็บไซต (Gerti Kappel, Birgit Pröll, Siegfried Reich และ Werner Retschitzegger, 2006)

จากรูปที่ 2.2 แสดงถึงลําดับชั้นของเว็บไซตโดยในแตละลําดับชั้นมีความหมาย

ดังตอไปนี้ Document Centric คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะการเก็บขอมูลของหนาเว็บ

ไวที่ Web server และสงขอมูลที่จัดเก็บไวไปใหกับผูรับบริการที่รองขอขอมูล โดยในลําดับชั้นนี้ขอมูลของเว็บไซตจะมีลักษณะเปนขอมูลที่คงที่ (Static) และขอมูลในแตละหนาเว็บจะตองถูกปรับปรุงขอมูลอยูเสมอเพื่อใหขอมูลมีความถูกตองและทันสมัย ขอดีของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ก็คือ ใชเวลาในการเขาถึงขอมูลนอย ตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บไซตขององคกรที่มีขนาดเล็ก เปนตน

Page 26: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

11

Interactive คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะของขอมูลแบบไมคงที่ (Dynamic) โดยขอมูลที่ไดนั้นจะมาจากการที่ผูใชงานปอนขอมูลผานฟอรมบนเว็บไซต เพื่อรองขอขอมูลที่ผูใชงานตองการตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บไซตขาว เปนตน

Transactional คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะการใหบริการขอมูลที่มีการโตตอบกัน ระหวางผูใหบริการและผูรับบริการบอยครั้ง มีการเก็บขอมูลสําหรับใหบริการไวที่ฐานขอมูล และสามารถเพิ่มเนื้อหาไดดวยภาษาของฐานขอมูล ในลําดับชั้นนี้จะเนนการปรับปรุงขอมูลใหถูกตองและทันสมัย ตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บไซตธนาคาร เว็บไซตระบบการจองโรงแรม

Workflow-based คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะการจัดการขั้นตอนตาง ๆ โดยบุคคลที่ไดรับสิทธิ์ มีรูปแบบในการใหบริการขอมูลตาง ๆ ในลักษณะของเว็บเซอรวิส โครงสรางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้คอนขางคงที่แตก็มีความยืดหยุนสามารถปรับเปลี่ยนไดในภายหลัง ตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บไซตธุรกิจตาง ๆ เปนตน

Collaborative คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะโครงสรางไมแนนอน เนนการติดตอส่ือสารขอมูลระหวางกันของกลุมผูใชที่มีความสัมพันธกัน เว็บไซตในลําดับชั้นนี้รองรับการใชขอมูลรวมกันและมีพื้นที่สวนตัวบนเว็บไซตที่จะสามารถ เพิ่ม ลบ แกไขเนื้อหาไดดวยตนเอง ตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บไซตการเรียนการสอนออนไลน (E-Learning) เปนตน

Social Web คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะคลายกับลําดับชั้น Collaborative แตจะเนนไปที่การติดตอส่ือสารขอมูลระหวางกลุมผูใชที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ตัวอยางของเว็บไซตในลําดับชั้นนี้ ไดแก เว็บบล็อก (Weblog) เปนตน

Portal-Oriented คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะในการแบงแยกขอมูลออกเปนหมวดหมู โดยเว็บไซตในลําดับชั้นนี้จะใหบริการขอมูลที่ไดถูกแบงแยกแลวใหกับผูใชงานผานทางวิธีการใหผูใชงานเขามาคนหาจากหนาเว็บไซตของผูใหบริการ ขอมูลที่ถูกจัดหมวดหมูของ Web Portal โดยทั่วไป จะเปนขอมูลที่มีความหลากหลายแตมีลักษณะเฉพาะ เชน ขอมูลทางดานธุรกิจ ขอมูลทางการตลาด เปนตน การติดตอส่ือสารขอมูลในลําดับชั้นนี้จะเนนไปที่กลุมผูใชเฉพาะดาน Ubiquitous คือ ลําดับชั้นของเว็บไซตที่มีลักษณะเนนการใหบริการขอมูลบนเว็บไซตไดทุกที่ ทุกเวลา และรองรับอุปกรณหลากหลายชนิด โดยการพัฒนาเว็บไซตใหสามารถรองรับการทํางานไดบนอุปกรณชนิดอื่นที่ไมใชเครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปนั้นจําเปนตองคํานึงถึงปจจัยแวดลอมที่เกี่ยวของกับการใชงาน เชน แบนดวิธ ขนาดหนาจอ และหนวยความจํา เปนตน

Semantic Web คือ ลําดับชั้นที่มีลักษณะการใหบริการขอมูลบนเว็บไซตที่ไมเพียงแตรองรับการใชงานของมนุษย แลวยังคํานึงถึงการอานขอมูลจากคอมพิวเตอรและอุปกรณอ่ืน ๆ

Page 27: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

12

ดังนั้นทําใหสะดวกตอการจัดการขอมูลบนเว็บไซตในสวนของการเชื่อมโยงและการนําขอมูลกลับมาใชใหม (Content Syndication) เนื่องดวยประสิทธิภาพการทํางานที่สูงขึ้นของเว็บไซต ทําใหเว็บไซตกลายเปนเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารขอมูลที่สําคัญในยุคปจจุบัน และสามารถแบงเว็บไซตตามลักษณะการออกแบบและการใชงานไดเปน 3 ยุค ดังตอไปนี้

1) ยุคของเว็บ 1.0 (Web 1.0) Wikipedia (www, 2007a) ใหคําอธิบายไววาเปนยุคของเว็บไซตที่อยูในชวง

ป 2537-2547 โดยคําวา เว็บ 1.0 เกิดขึ้นหลังจากที่มีการนิยามความหมายของเว็บ 2.0 โดยลักษณะรูปแบบของเว็บไซตที่อยูในยุค 1.0 ก็คือ การที่ผูเขียนเว็บไซตจะเปนผูกําหนดเนื้อหาบนเว็บไซต สามารถแกไขไดแตเพียงผูเดียว และเว็บไซตที่เกิดขึ้นในยุคของเว็บ 1.0 นั้น อยูในชวงที่ความเร็วอินเทอรเน็ตนั้นมีความเร็วเฉลี่ย 50 Kbps (Wikipedia, www, 2007b) การออกแบบเว็บไซตในยุคเว็บ 1.0 นั้น สวนใหญจะเปนรูปแบบหนาเว็บเพจแบบคงที่ (Static pages) ใชเฟรม (Framesets) ในการจัดวางโครงสรางของหนาเว็บไซต และปุมที่ใชในเว็บไซตจะใชไฟลรูปภาพแบบ GIF เปนตน

อีบิสไทยแลนดดอทคอม (www, 2550) ไดใหขอมูลเกี่ยวกับเว็บ 1.0 ไววา เปนหนา HTML แบบหยุดนิ่ง (Static) ที่ไมคอยไดปรับปรุงขอมูลและสวนใหญจะถูกสรางขึ้นจาก HTML

นฤมล แสงดวงแข (www, 2550) ไดกลาวถึงเว็บ 1.0 ไววา เปนยุคของเว็บไซตที่นําเสนอขอมูลตาง ๆ ของผูใหบริการเว็บไซตเผยแพรแกบุคคลทั่วไปที่สนใจ โดยเนื้อหาจะมีลักษณะเชนเดียวกับหนังสือ คือ ผูสนใจเขามาอานขอมูลตาง ๆ ไดเพียงอยางเดียวและมีสวนรวมในการนําเสนอนอยมาก

สมคิด เอนกทวีผล (www, 2550) ไดสรุปความหมายของเว็บ 1.0 ไวคือ เว็บยุคที่ 1 ที่เนนการสื่อสารทางเดียวโดยมีเจาของเว็บไซตเปนผูผลิตเนื้อหา และอาจเรียกไดวาเปน Brochureware คือ จัดเตรียมเนื้อหาขอมูลสําเร็จไวใหผูใชเขามาอาน จากความหมายขางตนสรุปไดวา เว็บ 1.0 คือ จุดเริ่มตนในการพัฒนาเว็บไซตในอดีตที่เนนการนําเสนอขอมูลตาง ๆ ใหกับผูใชบริการ โดยมีลักษณะเนื้อหาที่คอนขางคงที่ ไมคอยมีการเปลี่ยนแปลงบอยนัก เปดโอกาสใหผูใชบริการมีสวนรวมกับการนําเสนอเนื้อหาบนเว็บไซตนอยมาก เว็บ 1.0 นั้นอยูในชวงที่ความเร็วอินเทอรเน็ตเฉลี่ย 50 Kbps

Page 28: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

13

2) ยุคของเว็บ 2.0 (Web 2.0) Mary Zajicek (2007) ไดกลาวถึงความหมายของเว็บ 2.0 ไวคือ การเริ่มเขาสูยุค

ของเว็บที่มีการปฏิสัมพันธ ประกอบไปดวยเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน เชน การคนหาขอมูลสินคาที่มีประสิทธิภาพและราคาถูก เปนตน ดวยเหตุนี้ เว็บไซตจึงมีสวนในชีวิตประจําวันของผูคนมากขึ้น นฤมล แสงดวงแข (www, 2550) กลาวถึงไววา เว็บ 2.0 เปนยุคที่เปดโอกาสใหผูใชงานเว็บไซตมีสวนรวมในการสรางเนื้อหาและนําเสนอขอมูลตาง ๆ มีการแบงปนความรูซ่ึงกันและกัน อยางเชน เว็บสารานุกรมออนไลน wikipedia หรือการแชรไฟลมัลติมีเดียใน Youtube เปนตน นอกจากนี้ผูสนใจเขาเยี่ยมชมเว็บไซตหรือบุคคลทั่วไปยังสามารถเพิ่มเติมขอมูล หรือสารสนเทศตาง ๆ เพื่อใหเว็บไซตมีความสมบูรณและมีขอมูลที่ถูกตองที่สุด จากความหมายขางตนผูวิจัยขอสรุปและอธิบายความหมายเพิ่มเติม เพื่อใหเขาใจมากยิ่งขึ้นกลาวคือ เว็บ 2.0 เปนยุคของการพัฒนาเว็บไซตที่มีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางผูเขียนเว็บไซตกับผู เขาชมมากขึ้น และมีบริการผานโฮสต เชน เว็บไซตที่ เปนสื่อกลางทางการติดตอสื่อสาร (Social-Networking Sites) วิกี (Wikis) และ บล็อก (Blog) เปนตน ที่กอใหเกิดการแบงปนขอมูลระหวางผูใชงานเว็บไซต โดยคําวา เว็บ 2.0 มิใชขอกําหนดหรือหลักการในการพัฒนาเว็บไซตแตอยางใด เพียงแตเปรียบเสมือนนิยามของการพัฒนาเว็บไซตวาลักษณะการทํางานในรูปแบบนี้ จะเรียกวาเปนลักษณะการพัฒนาเว็บไซตที่อยูในยุคของเว็บ 2.0 แนวความคิดในการพัฒนาเว็บไซตในยุคของเว็บ 2.0 นั้นจะเปดโอกาสในทุกคนที่ใชงานเว็บไซตมีสวนรวมในเนื้อหาในรูปแบบที่กวางมากขึ้น เชน วิกีพีเดีย ที่เปนเสมือนสารานุกรมออนไลนที่เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการสราง แกไข และลบเนื้อหา ใชกระบวนการทางสังคมเปนตัวตัดสินความถูกตองของขอมูลโดยมีเกณฑแบงลําดับความนาเชื่อถือที่ไดจากคนที่เขาชมเนื้อหาบนเว็บไซต เปนตน ลักษณะการพัฒนาเว็บไซตที่เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมนั้นกอใหเกิดองคความรูใหม ๆ เกิดขึ้นโดยที่เราไมไดคาดคิด เทคนิคและเครื่องมือในการพัฒนาเว็บไซตในยุคของเว็บ 2.0 นั้นประกอบไปดวย Rich Internet Application (RIAs), Cascading Style Sheet (CSS) , Really Simple Syndication (RSS), Weblog, Wiki, Asynchronus JavaScript and XML (AJAX) เปนตน เว็บไซตที่เกิดขึ้นในยุคของเว็บ 2.0 นั้น อยูในชวงที่ความเร็วอินเทอรเน็ตนั้นมีความเร็วเฉลี่ย 1 Mbps

Page 29: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

14

รูปที่ 2.3 แสดงการเปรียบเทยีบการทํางานของเว็บ 1.0 กบั เว็บ 2.0 (Amit Agarwal, www, 2007)

จากรูปที่ 2.3 แสดงใหเห็นถึงความแตกตางในลักษณะการทํางานของเว็บไซตใน

2 ยุค คือ การทํางานของเว็บไซตในยุคเว็บ 1.0 จะเนนการนําเสนอขอมูลที่มาจากผูพัฒนาและเปดโอกาสใหผูใชงานมีสวนรวมนอยมาก แตการทํางานของเว็บไซตในยุคเว็บ 2.0 นั้นจะเนนการที่ผูพัฒนาเปดโอกาสใหผูใชงานมีสวนรวมกับขอมูลบนเว็บไซตมากขึ้น โดยผูใชงานมีสิทธิ์ในการเขาชมและสามารถนําเสนอขอมูลบนเว็บไซตที่เขาชมได ทําใหจํานวนผูใชงานมีจํานวนมากขึ้นกลายเปนแหลงขอมูลขนาดใหญที่ไดรับเนื้อหามาจากทุกคนที่อยูในสังคม

3) ยุคของเว็บ 3.0 (Web 3.0) Wikipedia (www, 2007c) ใหความหมายไวคือ เว็บ 3.0 เปนคําที่ใชอธิบายอนาคตของเว็บไซตหลังจากที่ไดมีการกลาวถึง เว็บ 2.0 และอธิบายลักษณะรูปแบบการทํางานของเว็บ 2.0 โดยเว็บ 3.0 นั้นจะเปนการพัฒนาเว็บไซตสําหรับอนาคตที่เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้นกวาในยุคเว็บ 2.0 โดยตัวอยางของลักษณะเว็บไซตในยุค 3.0 นั้นไดแก Semantic Web ที่จะเปนเสนทางในการใชงานเว็บไซตไปสูเว็บไซตอัจฉริยะ (Artificial Intelligence) นฤมล แสงดวงแข (www, 2550) ไดสรุปความหมายไววา เว็บ 3.0 เปนยุคที่มีผลมาจากการที่ในเว็บ 2.0 มีการจัดการขอมูลเพิ่มขึ้นอยางมหาศาล ทําใหเว็บไซตตาง ๆ พัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยรูปแบบ metadata ที่นําขอมูลมาบอกรายละเอียด

collective intelligence

Web 1.0 Web 2.0 “the mostly read-only Web” “the widly read-write Web”

250,000 sites 80,000,000 sites

published content

user generated content

published content

user generated content

45 billion global users 1 billion+ global users 1996 2006

Page 30: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

15

ของขอมูล (Data about data) โดยเว็บไซตจะจัดการคนหาขอมูลใหกับผูใชเองและดวยคุณลักษณะในเรื่องของประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขอมูล จึงทําใหเว็บ 3.0 เปนการนําเทคโนโลยี Semantic Web และ AI มาประยุกตใชรวมกัน ซ่ึงมีลักษณะเดนดังตอไปนี้

- Semantic Web เปนการเชื่อมโยงความสัมพันธขอมูลตาง ๆ ที่อยูบนเว็บไซตของผูพัฒนาและแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ทําใหเกิดระบบฐานขอมูลขนาดใหญ

- AI (Artficial Intelligence) เปนการเพิ่มความฉลาดใหกับระบบคอมพิวเตอรเพื่อใหสามารถวิเคราะหความตองการและคาดเดาพฤติกรรมของผูใชงานเว็บไซต ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการคนหาขอมูลมากยิ่งขึ้น จากความหมายขางตนสรุปไดวา เว็บ 3.0 คือ การพัฒนาเว็บไซตในยุคหลังสุด สืบเนื่องมาจากในยุคของเว็บ 2.0 นั้น จํานวนผูใชงานและขอมูลบนเว็บไซตมีอัตราการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดแหลงขอมูลขนาดใหญ ดังนั้นจึงเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีที่จะรองรับการจัดการขอมูลเหลานี้ใหมีประสิทธิภาพ โดยดําเนินการสรางความสัมพันธของขอมูลและเพิ่มความฉลาดใหกับระบบเว็บไซตเพื่อใหสามารถคาดเดาพฤติกรรมและตอบสนองการใชงานของผูใชงานไดตรงความตองการมากที่สุด 2.2 ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System : CMS)

2.2.1 ความหมายของ CMS วิกีพีเดีย (www, 2551) ไดใหความหมายของ CMS ไววา เปนซอฟตแวรคอมพิวเตอร

ที่ใชชวยเพิ่มความสะดวกในการสรางเนื้อหาขอมูล เอกสารตาง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โดยสวนใหญระบบจัดการเนื้อหาจะเปนเว็บแอพลิเคชั่น ซ่ึงใชจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต ตัวอยางเนื้อหาที่อยูบนระบบประกอบไปดวย ขอความตัวอักษร ไฟลรูปภาพ ไฟลเสียง ไฟลภาพเคลื่อนไหว ไฟลวิดีโอ และไฟลเอกสารอื่น ๆ เปนตน ระบบจัดการเนื้อหาโดยสวนมากจะมีขั้นตอนการทํางาน 3 ขั้นตอนคือ

1) ขั้นตอนการนําเนื้อหาเขาสูระบบ (Ingestion หรือ Creation) 2) ขั้นตอนการตรวจสอบเนื้อหา (Staging หรือ Approval) 3) ขั้นตอนการนําเนื้อหาไปเผยแพร (Delivery หรือ Publishing) ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม (www, 2551) ไดใหความหมายไววา CMS ยอมาจาก

คําวา Content Management System เปนระบบสําเร็จรูปที่ชวยในการสรางและบริหารจัดการเว็บไซต ผูใชงานไมจําเปนตองมีความรูดานการเขียนโปรแกรม ก็สามารถใชงานระบบ CMS ในการสรางเว็บไซตได CMS นั้นประกอบไปดวยโปรแกรมประยุกตที่พรอมใชมากมาย เชน ระบบจัดการบทความและขาวสาร (News and Story) ระบบจัดการบทวิจารณ (Review) ระบบจัดการ

Page 31: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

16

สมาชิก(Member) ระบบสืบคนขอมูล (Search) ระบบจัดการไฟลดาวนโหลด (Download) ระบบจัดการปายโฆษณา (Banner) และระบบการวิเคราะหและตรวจสอบสถิติความนิยมในเว็บไซต (Analysis Tracking and Statistics) เปนตน โดยระบบตาง ๆ เหลานี้ผูใชงานสามารถเลือกใชงานไดตามความตองการ หรืออาจดาวนโหลดโปรแกรมประยุกตอ่ืน ๆ ที่มีผูพัฒนาเพิ่มเติมมาติดตั้งในภายหลัง เพื่อเพิ่มความสามารถของ CMS ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตัวอยางของซอฟตแวรที่ใชสราง CMS มีหลายตัว อาทิเชน PostNuke, PHP-Nuke, MyPHPNuke, Mambo, eNvolution, MD-Pro, XOOPs, OpenCMS, Plone, JBoss และ Drupal เปนตน

อมรเดช คีรีพัฒนานนท (2549) ไดกลาวถึงความหมายของ CMS ไววา ระบบเว็บสําเร็จรูป ที่มีสวนของระบบการจัดการเนื้อหาเตรียมไวใหกับผูใชงาน โดยผูใชไมจําเปนตองมีความรูดานการพัฒนาเว็บไซต เนื่องจากมีสวนของการจัดการที่เตรียมไวใหผูใชเขามาเพิ่ม แกไข เนื้อหา ผานทางเว็บไซต ระบบจัดการเนื้อหาท่ีเตรียมไวใหนั้นอาจเรียกวาฟงกช่ันตาง ๆ โดยสวนใหญ CMS จะประกอบไปดวยฟงกช่ันพื้นฐานตาง ๆ ดังนี้ คือ ระบบตัวนับ ระบบจัดการขาวสาร ระบบจัดการบทความ ระบบเว็บลิงค ระบบสมาชิก และระบบดาวนโหลด นอกจากนี้หากผูใชตองการฟงกช่ันการทํางานที่มีความสามารถอื่น ๆ ก็สามารถที่จะเพิ่มฟงกช่ันเขาไปในระบบได

บุญเลิศ อรุณพิบูลย (www, 2549) ไดกลาวไววา CMS คือ ระบบจัดการบริหารขอมูลบนเว็บไซต เปนเครื่องมือที่ใชในการบริหารขอมูลภายในเว็บไซต สนับสนุนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขอมูลตาง ๆ ภายในเว็บไซต โดยมีระบบการควบคุมเนื้อหา รูปแบบ และกระบวนการนํ า เสนอเนื้ อหา เปน เอกลักษณ เฉพาะของระบบ ลักษณะเดนของ CMS คือ มีส วนของ Administration Panel (เมนูผูควบคุมระบบ) ที่ใชในการบริหารจัดการสวนการทํางานตาง ๆ ในเว็บไซต โดยการจัดการการทํางานนั้นจะดําเนินการผานเว็บ (Web Interface) ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บทา(Portal Systems)

อาณัติ รัตนถิรกุล (2551) ไดใหความหมายไววา CMS เปนระบบที่ใชบริหารและจัดการเนื้อหาเว็บไซตแบบสําเร็จรูป ผูใชงานไมจําเปนตองมีความรูดานการเขียนโปรแกรมมากนักก็สามารถสรางเว็บไซตใชงานได ภายใน CMS มีโปรแกรมประยุกตแบบพรอมใชงานอยูภายในมากมาย อาทิ เชน ระบบจัดการสมาชิก (Member) ระบบจัดการบทความและขาวสาร (News and Article) ระบบสืบคนขอมูล (Search) ระบบกระจายขาว (RSS) ระบบกระดานขาว (Forum) และระบบจัดการแบบสอบถาม (Poll) เปนตน รวมทั้งมีโปรแกรมเสริมความสามารถระบบ (Modules) และฉากหลังเว็บ (Themes) ใหผูใชงานเลือกใชมากมาย โดยสามารถนําระบบ CMS มาใชประยุกตใชในการพัฒนาเว็บไซตไดหลากหลาย เชน ใชทําเว็บไซตองคกร หรือเว็บไซตทา (Corporate Websites or Portals) ใชทําเว็บไซตซ้ือขายออนไลน (Online Commerce) ใชทําเว็บไซต

Page 32: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

17

องคกรธุรกิจขนาดเล็ก (Small Business Websites) และใชทําเว็บไซตสถาบันการศึกษา (School and Church Websites) เปนตน ศิริวรรณ สิริสินวิบูลย และเปรมพร เขมาวุฆฒ (2549) ไดกลาวสรุปถึงความหมายและโครงสรางของ CMS ไววา CMS เปนระบบที่ชวยในการสรางและบริหารเว็บไซตแบบสําเร็จรูป ซ่ึงชวยลดทรัพยากรในการพัฒนาและบริหารเว็บไซต ในเร่ืองของกําลังคน ระยะเวลา เงิน ที่ใชในการสรางและควบคุมดูแลเว็บไซต โดยโมเดลของ CMS แบงไดเปน 2 สวนคือ CMA (Content Management Application) ซ่ึงเปนโปรแกรมในสวนของการจัดการเนื้อหาทั้งหมด และสวน CDA (Content Delivery Application) ทําหนาที่นําเนื้อหาจากฐานขอมูลมาแสดงทางเว็บไซต ลักษณะการทํางานของ CMS นั้นแบงโครงสรางในการจัดการกับเนื้อหาบนเว็บไซตโดยแบงสวนเนื้อหาแยกออกจากสวนการแสดงผล ทําใหทั้งสองสวนเปนอิสระตอกัน สามารถแยกสวนในการทํางานได จากความหมายขางตนสรุปไดวา CMS คือ ระบบชวยในการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซตแบบพรอมใช ซ่ึงประกอบไปดวยฟงกช่ันการทํางานตาง ๆ ที่ระบบเตรียมไวใหเลือกใชงาน เชน ระบบจัดการสมาชิก (Member) ระบบจัดการบทความและขาวสาร (News and Article) ระบบสืบคนขอมูล (Search) ระบบกระจายขาว (RSS) ระบบกระดานขาว (Forum) และระบบจัดการแบบสอบถาม (Poll) เปนตน ผูใชงานสามารถเลือกใชฟงกช่ันการทํางานตาง ๆ ที่มีอยูไดตามตองการ หรืออาจจะติดตั้งฟงกช่ันอื่น ๆ เพิ่มเติมในภายหลัง CMS นั้นจะแยกสวนของการจัดการเนื้อหาและการแสดงผลออกจากกัน และการดําเนินการตาง ๆ บนระบบจะกระทําผานทางระบบเว็บไซต จึงสะดวกแกผูใชงานในการแกไข ปรับปรุง เนื้อหาใน CMS

2.2.2 โครงสรางของ CMS ศิริวรรณ สิริสินวิบูลย และเปรมพร เขมาวุฆฒ (2549) ไดทําการแบงโครงสรางของ CMS ออกไดเปน 2 สวน ไดแก Content Management Application (CMA) และContent Delivery Application (CDA)

1) CMA (Content Management Application) เปนโปรแกรมในสวนของการจัดการเนื้อหาทั้งหมด โดยผูดูแลเว็บไซตจะจัดการกับเว็บไซตผาน CMA ในการสราง แกไข ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดย CMA จะนําเนื้อหาไปเก็บในฐานขอมูลของระบบ โดยผูใชไมจําเปนตองมีความรูในการใชงานภาษา HTML

2) CDA (Content Delivery Application) จะทําหนาที่นําเนื้อหาจากฐานขอมูลมาแสดงทางเว็บไซต โดยมีการควบคุมและจัดการเนื้อหาบนเว็บไซตใหมีความทันสมัยอยูเสมอ ซ่ึงจะทําการดูแลจัดการรูปแบบของเอกสาร การเลือกเทมเพลต (Template) การจัดกลุมเนื้อหา การกําหนดวันหมดอายุของเนื้อหา การเปลี่ยนรูปแบบเอกสารใหอยูในรูปของสื่อส่ิงพิมพ เชน แค็ตตาล็อก

Page 33: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

18

ร.ต. นรินทร หมื่นรัตน (2550) ไดกลาวถึงโครงสรางของ CMS โดยแบงออกไดเปน 2 สวน คือ

1) ระบบจัดการหลัก เปนสวนของการกําหนดรายละเอียดและการวางโครงสรางที่เปนภาพรวมของทั้งระบบ ซ่ึงมีระบบจัดการที่เกี่ยวของคือ ระบบการจัดการหนากากเว็บไซต (Template) ระบบการเปด-ปดสถานะโมดูล ระบบการยายตําแหนงโมดูล และระบบการจัดการสมาชิก 2) โมดูล (Module) เปนสวนหลักในการเผยแพรและใหบริการขาวสารหรือการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นระหวางกัน โดยไดยกตัวอยางโมดูลพื้นฐานที่จําเปนสําหรับระบบ CMS ไว เชน ขอมูลทั่วไป (General Information) ขาวประชาสัมพันธ (News) ปฏิทินงาน (Calendar) ดาวนโหลด (Download) ขอความวิ่ง (Textrunning) กระดานสนทนา (Webboard) สนทนาออนไลน (Chat) สํารวจความคิดเห็น (Poll) การตอบปญหาที่มีผูถามบอย (FAQs) จดหมายอิเล็กทรอนิกส ( E-mail) ระบบค นหาข อมู ล ( Search) ป อปอั ฟ ( Popup) รวม ลิ งค ( Link) สมุ ด เ ยี่ ย มชม (Guestbook) สถิติผูเยี่ยมชม (Counter) และแผนที่เว็บไซต (Sitemap) เปนตน จากขอมูลขางตนผูวิจัยขอสรุปและอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวของโครงสราง CMS ดังนี้ โครงสรางของ CMS นั้นประกอบไปดวย 2 สวน คือ

1) สวนเบื้องหลัง (Backend) เปนสวนที่เตรียมไวสําหรับใหผูใชงานเขามาปรับปรุง แกไข และจัดการเนื้อหาตาง ๆ บนเว็บไซต โดยในสวนนี้จะแยกออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน ผูที่สามารถเขามาใชงานสวนเบื้องหลังไดนั้น จะตองเปนผูดูแลระบบ หรือ อาจเปนบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากผูดูแลระบบใหสามารถเขามาจัดการเนื้อหาได โดยผูดูแลระบบมีสิทธิ์ในการแกไข ปรับปรุงเนื้อหา รวมถึงสามารถจัดการเกี่ยวกับโครงสรางหลักของเว็บไซต เชน เพิ่ม ลบ เมนูตาง ๆ จัดเรียงลําดับการแสดงผลของโมดูลตาง ๆ การเปลี่ยนแปลงหนากากของเว็บไซต และการติดตั้งโมดูลอ่ืน ๆ เพิ่มเติม เปนตน การจัดการเนื้อหานั้นจะดําเนินการผานทางเว็บไซตโดยมีกระบวนการตรวจสอบสิทธิ์ในการดําเนินการดวยรหัสผานที่ไดมาจากผูดูแลระบบเทานั้น

2) สวนเบื้องหนา (Frontend) เปนสวนที่นําเสนอขอมูลเว็บไซตใหกับผูชมทั่วไปโดยผูชมทั่วไปจะเห็นเฉพาะสวนที่เปนโครงสรางและเนื้อหา แตจะไมสามารถเขามาจัดการ เปลี่ยนแปลงหรือแกไขเนื้อหาบนระบบได โดยในสวนนี้จะทําการดึงขอมูลที่เกี่ยวของกับเว็บไซตทั้งหมดมาจากฐานขอมูล ดังนั้นเนื้อหาในสวนนี้จะปรับเปลี่ยนไปตามที่ผูดูแลระบบไดทําการปรับปรุง แกไข จึงมีลักษณะเปน Dynamic Web Pages คือ ส่ิงที่แสดงผลบนเว็บไซตนั้นจะมีการเคลื่อนไหวอยูตลอด ขึ้นอยูกับขอมูลที่เก็บไวในฐานขอมูล

Page 34: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

19

รูปที่ 2.4 แสดงการเปรียบเทยีบระหวาง Static กับ Dynamic Web (อาณัต ิ รัตนถิรกุล, 2551)

2.2.3 ประเภทของ CMS เราสามารถแบงประเภทของ CMS ออกไดเปนหลายประเภทขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการจัดประเภทของ CMS วาตองการมองจุดเดนดานใดของ CMS เปนหลัก (สําราญ ชอบใจ, 2550) ในที่นี้จะขอแยกประเภทของ CMS ตามลักษณะตาง ๆ ดังนี้

1) แบงตามลักษณะของการไดมาซึ่งการใชงานของระบบ CMS ซ่ึงแบงไดออกเปน 2 ประเภท คือ - ซีเอ็มเอสเชิงการคา (Commercial CMS) เปน CMS ที่ผูใชจะตองใชเงินจายคาลิขสิทธิ์ในการใชงานกอน จึงจะสามารถใชงาน CMS ประเภทนี้ได หรือ อาจเปนการจางบริษัท Software ในการพัฒนาระบบ CMS ตามความตองการในการใชงานขององคกรหรือผูใชงาน ตัวอยางของ CMS ประเภทนี้ คือ IBM Enterprise Content Management (ECM), RedDot, Tridion, ReadPlanet และ NineNIC เปนตน ขอดี ของ CMS ประ เภทนี้ คื อ CMS ที่ นํ ามาใช ง านจะมีความสามารถการทํางานตรงตามที่ผูใชตองการ เนื่องจากผูใชงานสามารถกําหนดขอตกลงเกี่ยวกับความสามารถในการทํางานของ CMS ณ ตอนที่ซ้ือหรือจางพัฒนาระบบ และหากมีปญหาในการใชงาน CMS ผูใชงานสามารถติดตอบริษัทเจาของ CMS ซ่ึงสวนใหญจะตองมีสวนบริการลูกคาไวใหคําปรึกษาในการใชงานแกผูใชงาน

Database text html, xml, …

Contents

binaries applications

CMS

static dynamic

File Management Comunication Right and Access Content Creation

txt pdf

html xml cvs

Files

Page 35: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

20

- ซีเอ็มเอสฟรี (Open Source CMS) เปน CMS ที่พัฒนาตามแนวทาง Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GPL (Genaral Public License) ที่ผูใชสามารถนําไปติดตั้งใชงานไดฟรีโดยไมตองจายคาลิขสิทธิ์ ผูใชงานสามารถติดตอขอรับ CD จากผูพัฒนาหรืออาจจะดาวนโหลดผานทางเว็บไซตของผูพัฒนา ตัวอยางของ CMS ประเภทนี้ คือ PostNuke, Joomla, Mambo, XOOPS และ MyPHPNuke เปนตน ขอดีของ CMS ประเภทนี้คือ ผูใชงานสามารถใชงานไดฟรีและยังสามารถพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มเติมความสามารถของระบบได โดยศึกษาจากระบบเดิมเนื่องจาก CMS ประเภทนี้จะมีการเปดเผย Source Code ใหกับผูใชงาน นอกจากนี้ผูใชงานยังสามารถดาวนโหลดโมดูลความสามารถอื่นที่มีผูพัฒนาขึ้นเพิ่มเติมนอกจากโมดูลพื้นฐานที่เตรียมไวมาติดตั้งเพื่อเพิ่มเติมความสามารถของระบบตนเองได 2) แบงตามลักษณะของการนํา CMS ไปใชงาน โดยดูจากเนื้อหาขอมูล และวัตถุประสงคของการนํา CMS ไปใชงาน สามารถแบงไดออกเปน 5 ประเภท คือ - CMS Portals ใชเพื่อจัดการเนื้อหาของเว็บไซตองคกร หรือหนวยงานทั่วไป ตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก PHP-Nuke, PostNuke, Mambo และ Joomla เปนตน - CMS e-Learning ใช เพื่อจัดการเนื้อหาที่ เกี่ยวของกับการเรียนการสอน ตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก Moodle, Atutor และ Learn Square เปนตน - CMS e-Commerce ใช เพื่ อ จั ดก าร เนื้ อหาที่ เ กี่ ย วข อ งกั บด านพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก osCommerce, PhpShop และ Zen-Chart เปนตน - CMS Wiki ใชเพื่อจัดการเนื้อหาที่เกี่ยวของกับระบบสารานุกรมออนไลน ตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก Mediawiki, Wikipedia และ Wackowiki เปนตน - CMS Blog ใชเพื่อจัดการเนื้อหาที่เกี่ยวของกับเรื่องสวนตัว บันทึกเหตุการณ ประสบการณตาง ๆ ของผูสรางเว็บไซต ตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก Blogsphere, WordPress และ Drupal เปนตน

3) แบงตามภาษาที่ใชในการพัฒนา CMS โดยในที่นี้จะขอยกตัวอยางภาษาที่นิยมใชพัฒนา CMS ในปจจุบัน ซ่ึงสามารถแบง CMS ไดออกเปน 5 ประเภท คือ - ใชภาษา PHP ในการพัฒนา โดยตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก PHP-Nuke, PostNuke, MyPHPNuke, Mambo, phpWebsite, Drupal, Joomla และ Mambo เปนตน - ใชภาษา Perl ในการพัฒนา โดยตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก Slashdol, Bricolage, Mason, WebMake, Scoop และ Apache AxKit เปนตน

- ใชภาษา Python ในการพัฒนา โดยตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก Plone, Zope, Squishdot และ XIST เปนตน

Page 36: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

21

- ใชภาษา Java ในการพัฒนา โดยตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก JBoss, OpenCMS, Red Hat CCM และ Apache Cocoon เปนตน

- ใชภาษา Asp ในการพัฒนา โดยตัวอยาง CMS ประเภทนี้ ไดแก DotNetNuke, mojoPortal, ASPNuke และ Umbraco เปนตน

2.2.4 ตัวอยางของระบบ CMS ปจจุบัน CMS ถูกนํามาใชในการพัฒนาระบบเว็บไซตมากขึ้น เนื่องจากความ

สะดวกสบายในการใชงาน อีกทั้งยังประหยัดเวลาในการพัฒนาระบบเว็บไซต ในที่นี้จะขอยกตัวอยาง CMS ที่ไดรับความนิยมในประเทศไทยในปจจุบัน 1) Mambo เปนโปรแกรม Open Source ที่ถูกพัฒนาดวยภาษา PHP และฐานขอมูลMySQL โดย Mambo นั้นไดมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องจากเครือขายผูใชงาน Mambo นั้นไดรับความนิยมในการใชงานสูงเนื่องจากเปน CMS ที่มีระบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพและสะดวกในการจัดการเนื้อหาของผูใชงาน และไดรับรางวัล The Linux World Boston 2005 ที่เมืองบอสตัน จัดโดย Linux World Magazine (ไทยออลดอทคอม, www, 2551) นอกจากนี้ Mambo ยังมีรูปแบบการทํางานที่เปนสากล ทําใหงายตอการศึกษาและใชงาน โดยผูดูแลระบบสามารถออกแบบและสรางหนาตาของเว็บไซตไดตามตองการ หรืออาจจะดาวนโหลดหนากากเว็บไซตจากแหลงดาวนโหลดตาง ๆ เพื่อปรับปรุงหนาตาการทํางานของเว็บไซตใหสวยงาม สําหรับแหลงดาวนโหลด CMS Mambo นั้น สามารถดาวนโหลดไดจากเว็บไซต http://www.mambohub.com/th/ 2) Joomla เปน CMS แบบ Open Source พัฒนาดวยภาษา PHP และฐานขอมูลMySQL โดยความเปนจริงแลว Joomla นั้นถูกพัฒนาขึ้นจากทีมที่เคยพัฒนา Mambo โดยหลังจากเกิดความขัดแยงในทีมพัฒนา Mambo ของบริษัท Micro ในประเทศออสเตรเลีย ทีมพัฒนาสวนหนึ่งของ Mambo จึงไดแยกออกมาพัฒนา Joomla ตอยอดจาก Mambo และไดเปดตัวใหดาวนโหลดไปใชงานเปนครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2547 (วิกิพีเดีย, www, 2551) ความสามารถของ Joomla นั้นอาจกลาวไดในระยะแรกนั้น Joomla กับ Mambo มีความสามารถที่เหมือนกันทุกประการ แตเมือ่ถึงปจจุบันนี้ทีมพัฒนา Joomla นั้นไดพัฒนา Joomla ที่มีประสิทธิภาพการทํางานที่เหนือกวาและแตกตางจาก Mambo อยางชัดเจน ใน Joomla เวอรช่ัน 1.5 ซ่ึงสามารถดาวนโหลดระบบมาใชงานจากเว็บไซต http://www.joomla.org/ 3) XOOPS ยอมาจากคํ าว า eXtensible Object Oriented Portal System เปน CMS แบบ Open Source ที่พัฒนาดวยภาษา PHP และใชฐานขอมูล MySQL ภายใตลิขสิทธิ์การใชงานในลักษณะ GNU General Public License (GPL) โดยเปน CMS ที่พัฒนาภายใตแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OO : Object Oriented) XOOPS ถูกออกแบบมาใหใชพัฒนาเว็บไซตตั้งแตระดับขนาดเล็กไปจนถึงเว็บไซตที่มีขนาดใหญ (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

Page 37: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

22

กาญจนบุรี, www, 2551) ซ่ึงขึ้นอยูกับโมดูลที่ทําการติดตั้งวาตองการความสามารถของระบบอะไรบาง ตัวอยางเชน อาจจะติดตั้ง XOOPS ขนาดเล็ก ซ่ึงประกอบดวยโมดูลการทํางานเกี่ยวกับการเขียนเว็บบล็อก (Weblog) เพียงอยางเดียว ดังนั้นผูใชงานก็จะไดเว็บไซตที่มีความสามารถในการทํางานในรูปแบบเว็บบล็อก โดยหลังจากนั้นผูใชงานอาจจะเพิ่มความสามารถของเว็บไซตดวยการติดตั้งโมดูลการทํางานอื่น ๆ ในภายหลัง เปนตน XOOPS ไดรับรางวัล First Running Up จาก Sourceforge.net (ชุมชน Open Source ระดับโลก) ซ่ึงเปนสิ่งที่การันตีความนิยมในการใชงาน XOOPS นั้นสามารถดาวนโหลดระบบมาใชงานจากเว็บไซต http://www.xoops.org/

2.2.5 ตัวอยางเว็บไซตท่ีพัฒนาดวย CMS ในประเทศไทย ปจจุบันเว็บไซตในประเทศไทยที่พัฒนาดวย CMS นั้นมีอยูจํานวนมากมาย ในที่นี้จะ

ขอยก ตัวอยางเว็บไซตที่พัฒนาดวย CMS ที่ไดรับความนิยมในประเทศไทย คือ 1) http://www.nstda.or.th/ เปนเว็บไซตของสํานักงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่พัฒนาดวย CMS Mambo

รูปที่ 2.5 แสดงตัวอยางเว็บไซตที่พัฒนาดวย CMS Mambo (http://www.nstda.or.th/)

2) http://www.joomlacorner.com/th/ เปนเว็บไซตหลักของระบบ Joomla ที่พัฒนาดวย CMS Joomla โดยเปนแหลงขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ Joomla และเปนที่สําหรับดาวนโหลด Joomla เวอรช่ันลาสุด รวมถึงเปนแหลงรวมโมดูลตาง ๆ ที่มีผูพัฒนาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่เตรียมไวใหสําหรับใชงานในเบื้องตน

Page 38: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

23

รูปที่ 2.6 รูปแสดงตัวอยางเวบ็ไซตที่พัฒนาดวย CMS Joomla (http://www.joomlacorner.com/th/) 3) http://www.xoopsthai.com/ เปนเว็บไซตของชุมชนคนใชงานระบบ XOOPS ในประเทศไทยที่พัฒนาดวย CMS XOOPS โดยเปนแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับ XOOPS โดยมีขาวสารความเคลื่อนไหวตาง ๆ รวมถึงเปนแหลงดาวนโหลด XOOPS เวอรช่ันลาสุดและเวอรช่ันที่รองรับภาษาไทย

รูปที่ 2.7 รูปแสดงตัวอยางเวบ็ไซตที่พัฒนาดวย CMS XOOPS (http://www.xoopsthai.com/)

Page 39: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

24

2.3 ระบบจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : LMS) 2.3.1 ความหมายของ LMS

มนตชัน เทียนทอง (2549) ไดใหความหมายไวคือ LMS มีช่ือเรียกตางกันหลายชื่อ เชน ระบบบริหารการเรียน ระบบการจัดการบทเรียน ระบบจัดการเรียนการสอน เปนตน โดย LMS เปนระบบที่ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูดวยตัวเอง โดยใช e-Learning ผานทาง LMS ที่ทําหนาที่เปนศูนยกลางในการเปด-ปดรายวิชาเรียน ลงทะเบียนเรียน กําหนดลําดับเนื้อหาในบทเรียน นําสงบทเรียน ประเมินผลความสําเร็จของผูเรียน ควบคุมและสนับสนุนการใหบริการทั้งหมดแกผูเรียน LMS เปนองคประกอบที่สําคัญของการเรียนการสอนออนไลน โดย LMS ที่ดีจะตองทําหนาที่ติดตามผูเรียนตั้งแตเร่ิมตนจนผูเรียนจบหลักสูตร

สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยทักษิณ (www, 2551) ไดใหความหมายไวคือ LMS เปนคําที่ยอมาจาก Learning Management System เปนซอฟตแวรที่ทําหนาที่บริหารจัดการเรียนการสอนผานเว็บ ประกอบดวยเครื่องมืออํานวยความสะดวกใหแกผูสอน ผูเรียน และผูดูแลระบบ โดยชวยใหผูสอนนําเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซตตามตองการไดดวยความสะดวก ผูเรียนสามารถเขาถึงเนื้อหา กิจกรรมการเรียนตาง ๆ ผานทางเว็บไซต นอกจากนั้นแลวองคประกอบที่สําคัญของ LMS คือ การเก็บบันทึกขอมูล กิจกรรมการเรียนของผูเรียนไวบนระบบเพื่อใหผูสอนสามารถนําไปวิเคราะห ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชาไดอยางมีประสิทธิภาพ ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม (www, 2551ก) ไดใหความหมายไวคือ LMS เปนระบบที่ใชบริหารจัดการเกี่ยวกับการเรียน ชวยอํานวยความสะดวกในการจัดการเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ LMS เปนเครื่องมือที่ใชติดตอส่ือสารระหวางผูสอน (Instructor) กับผู เรียน (Student) โดยมีจุดประสงคหลักเพื่อสรางระบบการเรียนรู (Knowledge Management : KM) มนตรี โรจนศิริกูลกิจ (www, 2551) ไดใหความหมายไวคือ LMS เปนระบบจัดการดานการเรียนรู ซ่ึงเปนสวนสําคัญของ e-Learning โดย LMS นั้นจะจัดเตรียมหลักสูตรและเนื้อหาบทเรียนทั้งหมดไวใหกับผูเรียน ผูเรียนจะทําการเขามาดูเนื้อหาบทเรียนตาง ๆ ผานทางเว็บไซตของระบบ LMS นั้น ๆ หลังจากมีการเริ่มตนเขามาของผูเรียนนั้น ระบบก็จะทําการติดตามและบันทึกกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูเรียนไดดําเนินการ รวมถึงสรางรายงานกิจกรรมและผลการเรียนของผูเรียนจนกระทั่งจบหลักสูตร จากความหมายขางตนสรุปไดวา LMS คือ ระบบที่ชวยจัดการเนื้อหาที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนออนไลนผานทางระบบเว็บไซต โดยเปนเครื่องมือที่ชวยอํานวยความสะดวกแกผูสอนในการเผยแพรเนื้อหาบทเรียนตาง ๆ และเปนศูนยกลางขอมูลในการเรียนใหกับผูเรียน โดย LMS จะมีระบบในการติดตามและรายงานผลการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของผูเรียนตั้งแตเร่ิมเรียน

Page 40: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

25

จนจบหลักสูตร ผลการรายงานตาง ๆเหลานี้จะจัดไวใหผูสอนนําไปวิเคราะหหาแนวทางปรับปรุงคุณภาพการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนใหดีมากยิ่งขึ้น

2.3.2 โครงสรางของ LMS สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยทักษิณ (www, 2551) ไดแบงโครงสรางของ LMS

วาประกอบดวย 1) ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) ในสวนนี้เปนสวนหลักของระบบที่ใชควบคุมการทํางานของ LMS โดยจะแบงผูใชงานเปน 3 ระดับ คือ ผูเรียน ผูสอน และผูดูแลระบบ โดยผูดูแลระบบจะมีสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนโครงสรางและรูปแบบการทํางานทั้งหมด รวมถึงการมอบสิทธิ์ตาง ๆ ในระบบใหกับผูใชคนอื่น ๆ สวนผูสอนจะมีสิทธิ์ปรับเปลี่ยนเนื้อหาหรือหลักสูตรในสวนที่ผูดูแลระบบกําหนดสิทธิ์มาใหเทานั้น และสวนผูเรียนนั้นก็จะมีสิทธิ์ในการทํากิจกรรมตาง ๆ ในหลักสูตรที่ตนเปนสมาชิก 2) ระบบการสรางบทเรียน (Content Management) เปนระบบที่จัดเตรียมเครื่องมือในการชวยสรางเนื้อหาบทเรียนตาง ๆ ในรูปแบบขอมูลตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหว หรือ ขอมูลวิดีโอ เปนตน 3) ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) เปนระบบที่ใชในการวัดผลการเรียนการสอน ในรูปแบบของระบบคลังขอสอบ ที่เปดใหผูเรียนเขามาทําการสอบเพื่อทดสอบความเขาใจในเนื้อหา โดยสามารถใชระบบนี้แทนระบบการสอบแบบปกติเพื่อใชเก็บคะแนนวัดผลการเรียนของผูเรียน 4) ระบบสงเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบไปดวยเครื่องมือตาง ๆ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอส่ือสารระหวางผูเรียนกับผูสอน ตัวอยางเชน กระดานสนทนา (Webboard) และสนทนาออนไลน (Chatroom) เปนตน 5) ระบบจัดการขอมูล (Data Management System) เปนระบบที่ชวยในการจัดการไฟลตาง ๆ ที่ผูสอนตองการจะบันทึกเก็บไวใน LMS โดยจะมีสวนของการแยกขอมูลออกเปนโฟลเดอรตาง ๆ ที่ ผูสอนสามารถสรางขึ้นมาเพื่อแบงแยกเนื้อหาออกเปนแตละหัวขอ เพื่อประสิทธิภาพในการจัดเก็บเนื้อหาบทเรียนของผูสอน

2.3.3 ตัวอยางของระบบ LMS ในปจจุบันไดมีการพัฒนาระบบ LMS ขึ้นมาหลากหลายระบบ โดยแตละระบบก็มีลักษณะเดนที่แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับความตองการของผูใชงานที่ไดทําการเก็บรวบรวมขอมูล ในที่นี้จะขอยกตัวอยาง LMS ที่เปน Open Source และปจจุบันไดรับความนิยมใชในการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทย

Page 41: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

26

1) Moodle เปนโปรแกรม Open Source ที่มี ลิขสิทธิ์ แบบ GPL (General Public License) ที่ถูกพัฒนาดวยภาษา PHP ฐานขอมูล MySQL ผูพัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas มีลักษณะการทํางานเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน แบงเปน 2 สวน (ไทยออลดอทคอม, www, 2551ก) ไดแก

- ระบบจัดการเนื้อหา (CMS) คือ ระบบที่ใหบริการแกผูสอนในการจัดการเนื้อหา เตรียมเอกสาร และจัดทําแบบฝกหัดทบทวนความรูตามแผนการสอนที่ไดเตรียมไว

- ระบบจัดการเรียนรู (LMS) คือ ระบบที่จัดลําดับ ชวงเวลา ตามเงื่อนไขที่ผูสอนกําหนด เพื่อใหผูเรียนไดเขาเรียน และสวนของการติดตามวัดผลการเรียน โดยระบบตาง ๆ ที่มีใน Moodle ไดแก กระดานสนทนา (Webboard) สนทนาออนไลน (Chat) ระบบแบบทดสอบ ระบบการบาน และระบบสํารองขอมูล เปนตน Moodle นั้นสามารถดาวนโหลดมาใชงานไดจากเว็บไซต http://moodle.org/ 2) ATutor เปนระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรูทางเว็บเบส (Learning Content Management System : LCMS) ที่รองรับการเรียนการสอนออนไลนผานทางอินเตอรเน็ต พัฒนาดวยภาษา PHP ฐานขอมูล MySQL และเปนโปรแกรม Open Source ลิขสิทธิ์แบบ GPL (General Public License) (ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม, www, 2551) ATutor แบงผูใชงานออกเปน ผูดูแลระบบ อาจารย และสวนนักศึกษา ตัวติดตั้งของ ATutor นั้นมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับ Moodle สามารถดาวนโหลดระบบมาใชงานไดที่เว็บไซต http://www.atutor.ca/ 3) LearnSquare เปนระบบบริหารจัดการการเรียนรูออนไลนผ านเครือขายคอมพิวเตอร ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย บทความ ภาพ เสียง หรือวิดีโอ มีลักษณะรูปแบบในการส่ือสารเสมือนการเรียนในหองเรียน พัฒนาดวยภาษา PHP ฐานขอมูล MySQL และเปนโปรแกรม Open Source ลิขสิทธิ์ แบบ GPL (General Public License) โดย LearnSquare นั้นไดพัฒนาตามมาตรฐานสากล SCORM (Sharable Content Object Reference Model) และพัฒนาโดยชาวไทย การแบงระดับผูใชงานนั้น LearnSquare แบงผูใชงานออกเปน 4 กลุม คือ ผูเรียน ผูสอน ผูชวยสอน และผูดูแลระบบ (เลิรนสแควรดอทคอม, www, 2551) ซ่ึงสามารถดาวนโหลดระบบมาใชงานไดที่เว็บไซต http://www.learnsquare.com/

2.3.4 ตัวอยางระบบ LMS ท่ีใชในประเทศไทย LMS ไดถูกนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยอยางแพรหลาย อาทิ

เชน โรงเรียนระดับมัธยม มหาวิทยาลัยตาง ๆ องคกร และบริษัท เปนตน โดยในที่นี้จะขอยกตัวอยางระบบ LMS ที่ถูกนํามาใชในการเรียนการสอนในประเทศไทย ไดแก

Page 42: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

27

1) http://sutonline.sut.ac.th/moodle/ เปนเว็บไซตสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยใช Moodle ในการพัฒนาระบบ

รูปที่ 2.8 ตัวอยาง LMS ที่ใช Moodle (http://sutonline.sut.ac.th/moodle/) 2) http://course.swu.ac.th/login.php เปนเว็บไซตสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยใช ATutor ในการพัฒนาระบบ

รูปที่ 2.9 ตัวอยาง LMS ที่ใช ATutor (http://course.swu.ac.th/login.php)

Page 43: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

28

3) http://eastern.nfe.go.th/elearning/index.php เปนเว็บไซตสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลนของศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก จังหวัดระยอง โดยใช LearnSquare ในการพัฒนาระบบ

รูปที่ 2.10 ตัวอยาง LMS ที่ใช LearnSquare (http://eastern.nfe.go.th/elearning/index.php) 2.4 เว็บบล็อก (Weblog)

2.4.1 ความหมาย วิกีพีเดีย (www, 2008) ไดใหความหมายของ Weblog ไววามาจากคําสองคําคือ เว็บ

(Web) กับ การบันทึก (loging) ซ่ึงหมายถึงเว็บไซตที่ใชเก็บขอมูลบันทึกตาง ๆ เว็บบล็อกนั้นเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอส่ือสารกันผานอินเตอรเน็ตสวนประกอบของเว็บบล็อกโดยทั่วไปแลว จะประกอบไปดวย เนื้อหา รูปภาพ และลิงคไปยังเว็บบล็อกอื่น ๆ โดยเว็บบล็อกนั้นเปดโอกาสใหผูเขาชมสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาในเว็บบล็อกนั้นได

Magdalena Böttger (www, 2004) ไดกลาวเกี่ยวกับ Weblog ไววาเปรียบไดกับไดอารี่ออนไลน ที่สามารถสรางไดงายและมีระบบจัดการเนื้อหาที่ผูใชงานไมจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับการเขียนเว็บไซตก็สามารถสรางเนื้อหาบนเว็บบล็อกได Dave Winer (www, 2003) ไดสรุปเกี่ยวกับ Weblog ไววาเปนลําดับชั้นของขอความ รูปภาพ ส่ือและขอมูล ที่จัดเรียงตามวันที่ สามารถเปดดูไดโดยใชเว็บเบราวเซอร Thawatchai Piyawat, Jantawan Noiwan และ Anthony F. Norcio (2005) ไดกลาวถึงเกี่ยวกับ Weblog ไววาเปนเครื่องมือการเขียนขอมูลความคิดเห็นสวนตัวของเจาของเว็บบล็อก โดย

Page 44: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

29

มีรูปแบบที่คลายคลึงกับไดอารี่ เนื้อหาในเว็บบล็อกจะถูกปรับปรุงอยูบอย ๆ และเปดใหผูอ่ืนไดเขามาอาน อีกทั้งผูเขาชมยังสามารถจะแสดงความคิดเห็นฝากไวในเว็บบล็อกเพื่อใหเจาของบล็อกไดทราบความคิดเห็นที่มีตอเนื้อหาในเว็บบล็อกของตน สมคิด อเนกทวีผล (2550) ไดใหความหมายของ Weblog ไวคือ การบันทึกไวในเว็บ และไดถูกยอเหลือเพียงคําวาบล็อก หลังจากที่ไดมีการเกิดขึ้นของ blogger.com แนวคิดเกี่ยวกับเว็บบล็อกของคนชาติอเมริกาและชาติอ่ืน ๆ นั้นกวางกวาแนวคิดของคนไทยที่มองเว็บบล็อกเปนเพียงไดอารี่ออนไลน แนวคิดเกี่ยวกับบล็อกของคนชาติอเมริกาและชาติอ่ืน ๆ นั้น เว็บบล็อกนอกจากจะเปนการสรางเนื้อหาที่เกี่ยวของกับประสบการณของผูเขียนบล็อกเองแลว ยังถูกใชเพื่อเก็บบันทึกการทํางานของทีมงานหนึ่ง ๆ บริษัทองคกรหนึ่ง ๆ ทีมพัฒนาซอฟตแวร การวิจัยคนควา ไปจนถึงบันทึกการเดินทางของวงดนตรีและอื่น ๆ อีกมากมาย จันทวรรณ นอยวัน และ ธวัชชัย ปยะวัฒน (2548) ไดกลาวไววา Weblog เปนหนึ่งในเทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดการความรู ใชเปนเครื่องมือในการบันทึกเหตุการณความสําเร็จ และเร่ืองเลาตาง ๆ ตามประสบการณของผูเขียนเว็บบล็อก โดยระบบเว็บบล็อกนี้เปนระบบคอมพิวเตอรแบบหนึ่งที่ทํางานบนเครือขายอินเตอรเน็ต

เกงดอทคอม (www, 2548ก) ไดสรุปลักษณะการทํางานของ Weblog ไววาเปนการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต โดยเนื้อหาของเว็บบล็อกนั้น จะเปนเร่ืองราวของผูเขียนเอง หรือ เปนบทความในดานตาง ๆ เชน การเมือง กีฬา ธุรกิจ เปนตน เว็บบล็อกมีจุดเดนคือ ผูเขียนเว็บบล็อกนั้น จะเขียนบทความจากความคิดเห็นตนเอง ดังนั้นเนื้อหาบนเว็บบล็อกจึงมีลักษณะชวนใหนาติดตามอาน หรือ อาจกลาวไดวาเว็บบล็อก เปนเครื่องมือติดตอส่ือสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อความเปนกันเองระหวางผูเขียนเว็บบล็อก และผูอาน

จากความหมายขางตนสรุปไดวา Weblog คือ เว็บไซตที่มีลักษณะคลายกับไดอารี่ออนไลน ที่เปดโอกาสใหผูเขียนเว็บบล็อกและผูเขาชม มีปฏิสัมพันธกันในแงความคิดเห็นที่มีตอเนื้อหาในเว็บบล็อก สวนใหญเว็บบล็อกนั้นจะมีการปรับปรุงเนื้อหาโดยผูเขียนบล็อกอยูเปนประจํา โดยเนื้อหาที่อยูในเว็บบล็อกนั้นมีหลากหลายหัวขอ อาทิเชน การเรียน การทํางาน การวิจัยคนควา บันเทิง เปนตน ซ่ึงขึ้นอยูกับประสบการณของผูเขียนเว็บบล็อกนั้น ๆ วามีประสบการณเกี่ยวกับดานใด เว็บบล็อกเปนระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซตอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ออกแบบเพื่ออํานวยความสะดวกในการจัดการของผูใชงาน ผูเขียนเว็บบล็อกไมจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต ก็สามารถที่จะสรางเว็บบล็อกสวนตัวได สวนที่มาของคําวาเว็บบล็อก (Weblog) นั้น มาจากคําสองคําคือ เว็บ (Web) และการบันทึก (Loging) ในปจจุบันนั้นคําวา เว็บบล็อก (Weblog) สามารถเรียกยอใหส้ันเหลือเพียงคําวา บล็อก (Blog)

Page 45: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

30

2.4.2 โครงสรางของเว็บบล็อก ดังที่กลาวถึงความหมายของเว็บบล็อกไวในขางตนวา เว็บบล็อกเปนระบบจัดการ

เนื้อหาบนเว็บไซตชนิดหนึ่ง ดังนั้นจึงมีลักษณะโครงสรางการทํางานที่คลายคลึงกับระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต (Content Management System : CMS) ที่ประกอบไปดวย 2 สวน คือ สวนแสดงผลเนื้อหา และสวนจัดการเนื้อหา แตเว็บบล็อกนั้นจะมีโครงสรางของระบบที่เล็กและไมซับซอนเหมือนกับระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต เว็บบล็อกจะเนนในสวนของการแสดงความคิดเห็นของผูเขียนและผูอานที่มีตอบทความที่อยูในเว็บบล็อกนั้น ๆ เปนหลัก อีกทั้งเว็บบล็อกยังมีจุดเดนที่ใชงานไดงาย ผูใชงานไมจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับเว็บไซตก็สามารถใชงานได ดังนั้นโครงสรางของเว็บบล็อกนั้นจะถูกออกแบบใหมีโครงสรางไมซับซอน ใชงานงายและสะดวกตอการเขาใจโดยโครงสรางของเว็บบล็อกประกอบไปดวย (เกงดอทคอม, www, 2548ข)

1) ช่ือบล็อก ( ฺBlog Title) เปนชื่อที่ใชเรียกบล็อก 2) แท็กไลน (Subtitle หรือ Tag line) เปนคําจํากัดความของบล็อกที่อธิบายถึงตัว

บล็อกโดยสวนนี้จะมีหรือไมมีก็ได 3) วันที่และเวลา (Date & Time Stamp) โดยสวนใหญแลวสวนนี้จะประกอบอยูใน

บทความของบล็อกเพื่อแสดงใหเห็นวา บทความนั้นถูกเขียนขึ้นเมื่อไหร บางครั้งจะมีวันที่และเวลาอยูในสวนของ comment ดวย ซ่ึงเปนการบอกวา comment นั้นเขียนขึ้นเมื่อไหร

4) ช่ือบทความ (Entry Title) คือ ช่ือเร่ืองของบทความที่เขียนในบล็อก 5) ตัวเนื้อหาบทความ (Entry’s Main Body) เปนขอมูลที่อยูในบล็อก อาจเปน

ตัวหนังสือหรืออาจเปนรูปภาพ วีดีโอ หรืออนิเมชั่น เปนตน โดยสวนประกอบเหลานี้จะรวมเปนสวนเนื้อหาของบทความ

6) ช่ือผูเขียน (Blog Author) เปนสวนที่อยูในบล็อกหรือตัวบทความโดยบอกถึงวา บล็อกหรือ บทความนั้น ๆ ถูกเขียนโดยใคร ตําแหนงที่จะวางชื่อผูเขียนนั้น สามารถวางไวที่ตําแหนงใดของบล็อกก็ได เชน ดานขางของบล็อก (sidebar) เปนตน

7) คอมเมนต (Comment tag) เปนสวนของลิงคที่ใหผูเขาชมบล็อกสามารถคลิกเขาไปเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบล็อกนั้น ๆ หรือ อานความคิดเห็นของผูอ่ืน

8) ลิงคถาวร (Permalink) เปนสวนของลิงคไปยังบทความที่มีในบล็อกใชสําหรับใหผูเขียนบล็อกคนอื่น ๆ สามารถทําลิงคมาหาบทความของเราไดโดยผานทางลิงคถาวรนี้ โดยสวนของลิงคถาวรนี้จะไมเปลี่ยนไปตามวันที่และเวลาเหมือนกับลิงคของบทความ

9) ปฎิทิน (Calendar) สําหรับปฏิทินนั้น บล็อกบางแหงอาจมีปฏิทินอยูดวยโดยในปฏิทิน นั้นจะประกอบไปดวยลิงคไปหาบทความในแตละวัน เพื่อสะดวกแกผูอานบล็อกในกรณีที่ตองการอานบทความในวันที่ตาง ๆ ที่ตองการ

Page 46: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

31

10) บทความยอนหลัง (Archives) เปนสวนของลิงคไปยังบทความเกาในบล็อก ซ่ึงอาจมีการจัดเตรียมไวใหกับผูอานที่แตกตางกันไปขึ้นอยูกับผูเขียนบล็อก เชน บล็อกบางแหงจัดเรยีงบทความยอนหลังไวเปนรายเดือน หรืออาจจะแสดงรายการบทความยอนหลังทั้งหมด เปนตน

11) ลิงคไปยังเว็บไซตอ่ืน (Links) เปนสวนของลิงคไปยังเว็บไซตอ่ืน ๆ บล็อกอาจจะประกอบดวยลิงคเว็บไซตอ่ืน ๆ หลากหลายเว็บไซต เรียกสวนนี้ไดอีกชื่อหนึ่งวา blogroll

12) RSS เปนสวนของไฟล XML ที่มีการจัดรูปแบบเพื่อใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางเว็บบล็อก โดย RSS นี้อาจมีเตรียมไวใหใชงานอยูแลว ขึ้นอยูกับเครื่องมือสรางบล็อก ตัวอยาง เชน WorldPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงคเตรียมไวใหเราใชงาน เปนตน โดย RSS นี้จะชวยใหผูอานเขาถึงบทความของผูเขียนไดงายขึ้น โดยการใชโปรแกรมชวยอาน (Feed) และบางครั้งผูเขียนบล็อกผูอ่ืนก็ใช RSS นี้เพื่อประโยชนในการดึงขอมูลไปแสดงบนเว็บบล็อกของตน

2.4.3 ประเภทของเว็บบล็อก เว็บบล็อกนั้นสามารถแบงออกเปนประเภทตาง ๆ ไดมากมาย ขึ้นอยูกับวัตถุประสงค

ในการแยกประเภทวาตองการสื่อใหเห็นความแตกตางของสิ่งใด โดยในที่นี้ผูวิจัยแบงประเภทของเว็บบล็อกตามประเภทของเนื้อหาที่อยูในเว็บบล็อก แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ดังนี้

1) บล็อกสวนตัว (Personal Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอบันทึก ความคิดเห็นสวนตัวที่เปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากประสบการณตรงของตัวผูเขียนเอง

2) บล็อกขาว (News Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอขาวเหตุการณตาง ๆ เปนหลัก โดยมีลักษณะคลายกับเปนหนังสือพิมพออนไลน

3) บล็อกการเมือง (Politic Blog) เปนบล็อกที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการเมืองเปนหลัก โดยมีรูปแบบการนําเสนอเปนการเขียนรายงานขาวหรือเปนการเขียนบทความที่เปนลักษณะเปนการแสดงความคิดเห็นของผูเขียนเพื่อใหผูอ่ืนไดเขามาแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

4) บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับการบันเทิงตาง ๆ เชน ขาวดารา โปรแกรมหนัง และรายการโทรทัศน เปนตน

5) บล็อกกีฬา (Sport Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับขาวสารในวงการกีฬา เชน โปรแกรมการแขงขัน รายงานผลการแขงขัน และขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาตาง ๆ เปนตน

6) บล็อกการศึกษา (Educational Blog) เปนบล็อกที่ใชเปนสื่อในการเรียนการสอน นอกจากนี้การแบงประเภทของเว็บบล็อกตามประเภทของเนื้อหาแลว ยังสามารถแบงออกตามลักษณะของเนื้อหาที่มีอยูภายในเว็บบล็อกได ดังนี้

1) บล็อกรูปภาพ (Photo Blog) เปนบล็อกที่เนนเนื้อหาที่เปนลักษณะขอมูลที่เปนรูปภาพ บล็อกประเภทนี้จะไมเนนเนื้อหาที่เปนขอความ ผูเขียนบล็อกประเภทนี้จะนํารูปภาพที่

Page 47: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

32

ตองการเผยแพรมาโพส โดยอาจจะแบงตามหัวขอตาง ๆ เพื่อจัดหมวดหมูของรูปภาพใหเปนกลุม ตัวอยางของบล็อกประเภทนี้ คือ http://www.photoblog.com/

2) บล็อกวิดีโอ (Video Blog) เปนบล็อกที่รวบรวมวิดีโอคลิปไว เรียกชื่อส้ัน ๆ วา VBlog ซ่ึง เปนบล็อกประเภทที่นิยมกันมากในปจจุบัน ตัวอยางของบล็อกประเภทนี้ คือ http://www.you tube.com/blog

2.4.4 เคร่ืองมือในการสรางเว็บบล็อก ดังที่กลาวไปขางตนวาการสรางเว็บบล็อกนั้น ผูใชงานไมจําเปนจะตองมีความรู

เกี่ยวกับเว็บไซตก็สามารถที่จะสรางเว็บบล็อกได เนื่องจากเว็บบล็อกนั้นมีเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสรางเว็บบล็อกรองรับ เครื่องสรางในการสรางเว็บบล็อกนั้นถูกออกแบบมาใหผูใชจัดการเนื้อหาไดผานทางระบบเว็บไซตและมีขั้นตอนไมซับซอน โดยเครื่องมือในการสรางเว็บบล็อกนั้นมีอยูมากมาย แตละระบบก็มีลักษณะการทํางานที่แตกตางกันไป ในที่นี้จะขอยกตัวอยางเครื่องมือที่ใชสรางเว็บบล็อก Wordpress Drupal และ GotoKnow.org ซ่ึงเปนเครื่องมือที่กําลังไดรับความนิยมในปจจุบัน

1) Wordpress เปนเครื่องมือในการพัฒนาเว็บบล็อกที่แบงสวนของการแสดงผลและการจัดการเนื้อหาออกจาก Wordpress เปนระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต (Content Management System : CMS) อีกชนิดหนึ่ง ที่ถูกพัฒนาขึ้นดวยภาษา PHP และฐานขอมูล MySQL ภายในสัญญาอนุญาตใชงานแบบ General Public License (GNU) (สวนสนุกดอทคอม, www, 2551) โดยผูใชงานสามารถนํามาพัฒนาตอยอดเพื่อเพิ่มความสามารถตามที่ผูใชตองการ Wordpress นั้นสามารถดาวนโหลดระบบมาติดตั้งและใชงานไดที่เว็บไซต htpp://www.wordpress.org หรือ สามารถทดลองใชงานไดฟรีที่เว็บไซต http://www.word press .com

2) Drupal เปนระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต (Content Management System : CMS) ที่ไดรับความนิยมอยางสูง โดยไดรับรางวัล CMS Awards ’07 ในสาขา Overall Open Source CMS ของสํานักพิมพ Packt Publishing (วิกิพีเดีย, www, 2551ง) นอกจากความสามารถในการจัดการเนื้อหาบนเว็บไซตแลวนั้น Drupal ยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการสรางเว็บบล็อกไดโดยไมตองติดตั้งอะไรเพิ่มเติม เนื่องจาก Drupal ไดรวมสวนของเว็บบล็อกเปนสวนหนึ่งของระบบอยูแลว สมาชิกของระบบเว็บไซตที่สรางจาก Drupal ก็สามารถที่จะสรางเว็บบล็อกสวนตัวไดโดยงาย และในประเทศไทยนั้นมี เ ว็บไซตที่ ใหขอมูลรายละ เอี ยดต าง ๆ เกี่ ยวกับ Drupal ช่ือว า http://drupal.in.th/ 3) Gotoknow.org เปนเครื่องมือสรางเว็บบล็อกที่พัฒนาโดยนักวิจัยชาวไทย โดยไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม (สคส.) Gotoknow.org นั้นมีช่ืออยางเปนทางการวา The Gateway of Thailand Online Knowledge Management เปนเว็บบล็อกที่

Page 48: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

33

รองรับภาษาไทย โดยเมนูตาง ๆ ในระบบจะเปนภาษาไทยทั้งหมด มีความสามารถในการจัดการเนื้อหาตาง ๆ เหมาะสําหรับคนที่ตองการมีเว็บบล็อกสวนตัวที่เปนรูปแบบเว็บบล็อกภาษาไทย รองรับการใชงานแบบ Multi Community of Practice ซ่ึงหมายถึงการที่ผูเขียนบล็อกสามารถที่จะเปนสมาชิกของชุมชนบล็อกไดมากกวาหนึ่งชุมชน (จันทวรรณ นอยวัน และธวัชชัย ปยะวัฒน, 2548) สําหรับการใชงานระบบ Gotoknow.org นั้นสามารถใชเปดใชงานเว็บบล็อกไดที่เว็บไซต http://gotoknow.org

2.4.5 ตัวอยางเว็บบล็อกในประเทศไทย ปจจุบันเว็บบล็อกที่เปดใหใชงานในประเทศไทยนั้นมีอยูมากมาย ในที่นี้จะขอ

ยกตัวอยางของเว็บบล็อกสําหรับจัดการความรูที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน 1) เว็บไซต http://gotoknow.org เปนระบบเว็บบล็อกที่ใชเปนเครื่องมือในการ

จัดการความรูของคนวัยทํางาน โดยมีวัตถุประสงคหลักใหผูเขียนบล็อกเขียนบันทึกเลาเรื่องประสบการณตาง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตประจําวันในการทํางาน และความรูตาง ๆ ที่ไดจากการทํางาน อันจะเปนประโยชนแกผูอ่ืนในการนําไปปรับประยุกตใชในการทํางานของตนเอง ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2.10

2) เว็บไซต http://learners.in.th เปนระบบเว็บบล็อกที่ใชเปนเครื่องมือในการจัดการความรูของวัยรุน นักเรียนและนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงคหลักใหผูเขียนบล็อกเขียนบันทึกเลาเรื่องประสบการณตาง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตประจําวันในการเรียนและความรูตาง ๆ ที่ไดจากการเรียน อันจะเปนประโยชนแกผูอ่ืนในการนําไปปรับประยุกตใชในการเรียนของตนเอง ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2.11

3) เว็บไซต http://researchers.in.th เปนระบบเว็บบล็อกที่ใชเปนเครื่องมือในการจัดการความรูของนักวิจัยและอาจารย โดยมีวัตถุประสงคหลักใหผูเขียนบล็อกเขียนบันทึกเลาเรื่องประสบการณตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการทําวิจัยและความรูตาง ๆ ที่ไดจากการวิจัย อันจะเปนประโยชนแกผูอ่ืนในการนําไปปรับประยุกตใชในการทําวิจัยของตนเอง ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2.12

4) เว็บไซต http://www.bloggang.com เปนระบบเว็บบล็อกที่มีวัตถุประสงคเปดกวางสําหรับผูเขียนบล็อก โดยผูเขียนบล็อกสามารถที่เขียนเลาเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางอิสระ มีการจัดหมวดหมูตาง ๆ ไวมากมาย เชน ขาวเดน-ประเด็นดัง ดนตรี คอมพิวเตอร การเมือง และวิทยาศาสตร เปนตน ดังนั้นนับวา bloggang เปนเว็บบล็อกที่มีผูเขียนบล็อกเปนกลุมคนทุกเพศ ทุกวัย และมีเนื้อหาที่หลากหลาย ปจจุบัน bloggang นั้นมีจํานวนบล็อกที่อยูในระบบ 595,535 บล็อก และติดอันดับที่ 1 ของ google เมื่อคนหาดวย keywords คําวา blog (18 ตุลาคม 2551) ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2.13

Page 49: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

34

5) เว็บไซต http://keng.com เปนระบบเว็บบล็อกที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหขอมูลความรูเกี่ยวกับเว็บบล็อก และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับเว็บไซต อาทิเชน โครงสรางเว็บบล็อก เครื่องมือในการพัฒนาเว็บบล็อกและเทคนิควิธีในการเขียนบล็อกใหนาสนใจ เปนตน โดยมีรูปแบบนําเสนอที่หลากหลาย มีทั้งสวนที่เปนขอความ รูปภาพ และวิดีโอ การจัดแบงโครงสรางของระบบนี้นั้นถูกออกแบบใหคลายคลึงกับ CMS จึงทําใหเว็บบล็อก keng.com นี้ ดูเสมือนเปนเว็บไซตทั่วไปที่มีการนําเสนอขอมูลตาง ๆ ทําใหผูใชงานรูสึกคุนเคยและสะดวกตอการเขาใชงาน บล็อกนี้จึงกลายเปนเว็บบล็อกที่นิยม โดยเฉพาะกับผูที่ตองการหาความรูเกี่ยวกับเว็บบล็อกและเทคโนโลยีเว็บไซต โดยระบบเว็บบล็อกนี้ใชเครื่องมือที่มีช่ือวา Worldpress ในการพัฒนา ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2.14

รูปที่ 2.11 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของคนวัยทํางาน (http://gotoknow.org)

Page 50: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

35

รูปที่ 2.12 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของวัยรุน นกัเรียนและนกัศึกษา (http://learners.in.th)

รูปที่ 2.13 ตัวอยางเว็บบล็อกจัดการความรูของนักวิจยัและอาจารย (http://researchers.in.th)

Page 51: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

36

รูปที่ 2.14 ตัวอยางเว็บบล็อกที่มีวัตถุประสงคเปดกวางสําหรับผูเขียนบล็อก (www.bloggang.com)

รูปที่ 2.15 ตัวอยางเว็บบล็อกที่ใหความรูเกี่ยวกับเว็บบล็อก (http://keng.com)

Page 52: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

37

2.5 กระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) ร.ต. นรินทร หมื่นรัตน (2550) ไดกลาวไววา การพัฒนาซอฟตแวรโดยทั่วไปจําเปนจะตอง

มีการวางแผนในการดําเนินการพัฒนาเพื่อใหซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพ และตรงตามความตองการของผูใชงาน ซ่ึงการวางแผนขั้นตอนตาง ๆ ขององคกรที่พัฒนาซอฟตแวรสวนใหญ จะเริ่มจากการกําหนดปญหา การศึกษาความเปนไปได การวิเคราะหระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบ การทดสอบระบบ และการบํารุงรักษาระบบ ซ่ึงเรียกวา กระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) โดยมีรายละเอียดของแตละขั้นตอนดังนี้

รูปที่ 2.16 แสดงกระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร SDLC (ร.ต. นรินทร หมื่นรัตน, 2550)

2.5.1 การกําหนดปญหา (Problem Definition)

การกําหนดปญหา เปนกระบวนการเริ่มตนของการพัฒนาซอฟตแวร ผูพัฒนาจะตองทําการรวบรวมขอมูลปญหาที่เกิดขึ้นจากผูใชงาน เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบใหมที่สามารถตอบสนองความตองการของผูใช และสามารถแกไขปญหาใหกับผูใชงานได ในขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่จะกําหนดทิศทางของการพัฒนาระบบใหชัดเจน เชน เร่ืองของขอบเขตการพัฒนา

1. กําหนดปญหา

2. ศึกษาความเปนไปได

3.วิเคราะหระบบ

4.ออกแบบระบบ

6. ทดสอบระบบ

7. บํารุงรักษาระบบ

5.พัฒนาระบบ

Page 53: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

38

ซอฟตแวร งบประมาณในการจัดทํา เปนตน ในกระบวนการนี้นับเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาซอฟตแวร เนื่องจากผลลัพธของกระบวนการนี้จะเปนตัวกําหนดทิศทางและการดําเนินการในกระบวนการตอ ๆ ไป จนสิ้นสุดกระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร

2.5.2 การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) หลังจากที่ไดกําหนดปญหาในขั้นตอนแรกแลว ขั้นตอนตอไปผูพัฒนาจะตองทําการ

หาแนวทางในการแกไขปญหาของระบบที่ไดวางแผนไว โดยแนวทางการแกไขปญหานั้นอาจจะมีหลายแนวทาง ผูพัฒนาจะตองทําการเลือกแนวทางที่ดีที่ สุดเพื่อใหซอฟตแวรที่พัฒนานั้นมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยปจจัยในการพิจารณาถึงความเปนไปไดในการพัฒนาซอฟตแวรขึ้นมานั้น มี 3 ประการ คือ

1) ความเปนไปไดทางดานเทคนิค (Technically Feasibility) การศึกษาความเปนไปไดทางดานเทคนิคนั้น จะตองตรวจสอบความพรอมในดานอุปกรณตาง ๆ ที่ใชประกอบในการพัฒนาระบบซอฟตแวร เชน ซอฟตแวร คอมพิวเตอร อุปกรณตอพวง รวมถึงเครื่องมืออ่ืน ๆ วามีเพียงพอและสมรรถนะตรงตามความตองการหรือไม

2) ความเปนไปไดดานการปฏิบัติ (Operational Feasibility) การศึกษาความเปนไปไดดานการปฏิบัติ จะตองพิจารณาถึงแนวทางที่ไดเลือกเปนแนวทางที่ใชในการแกไขปญหานั้นวาสามารถตอบสนองความตองการของผูใชงานไดทั้งหมดหรือไม นอกจากนี้ยังตองพิจารณาจํานวนบุคลากรที่มีความรูและความสามารถวามีเพียงพอหรือไม

3) ความเปนไปไดดานการลงทุน (Economic Feasibility) การศึกษาความเปนไปไดดานการลงทุน จะตองพิจารณาคาใชจายตั้งแตเร่ิมดําเนินการในสวนตาง ๆ จนถึงสิ้นสุดการดําเนินการนั้น สามารถทําใหเสร็จสมบูรณโดยใชงบประมาณที่กําหนดไวหรือไม และคุมคากับการลงทุนหรือไม

2.5.3 การวิเคราะหระบบ (System Analysis) ในขั้นตอนนี้ จะเปนการนําขอมูลที่ไดจากการกําหนดปญหาและศึกษาความเปนไป

ไดมาวิเคราะหแลวสรางเปนแบบจําลองเชิงตรรกะ (Logical Model) โดยนักวิเคราะหจะออกแบบระบบตามขอมูลความตองการที่ไดวาระบบควรจะมีลักษณะการทํางานอยางไร มีรูปแบบในการแสดงผลอยางไร และมีการจัดเก็บขอมูลใดบาง ส่ิงที่ไดจากขั้นตอนการวิเคราะหระบบสวนใหญจะเปนแผนภาพกระแสขอมูล (System Flowchart) และอีอารโมเดล (Entity-Relationship)

2.5.4 การออกแบบระบบ (System Design) เปนขั้นตอนในการออกแบบระบบเพื่อแกไขปญหา โดยจะนําแบบจําลองเชิงตรรกะ

(Logical Model) มาสรางใหเปนแบบจําลองทางกายภาพ (Physical Model) ซ่ึงการออกแบบระบบในสวนนี้จะประกอบดวย

Page 54: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

39

1) การออกแบบขอมูลนําเขา (Input Design) และรูปแบบการรับขอมูลเปนการออกแบบหนาจอตาง ๆในระบบ ที่ใชติดตอกับผูใชงาน (User Interface)

2) การออกแบบจอภาพ (Output Design) เปนการออกแบบจอภาพที่ใชในการแสดงผลขอมูลของระบบ

3) การออกแบบผังระบบ (System Flowchart) เปนการออกแผนภาพที่แสดงถึงความสัมพันธตาง ๆ ของระบบในภาพรวมวาแตละสวนมีการทํางานเชื่อมโยงกันอยางไร

4) การออกแบบฐานขอมูล (Database Design) เปนการออกแบบฐานขอมูลวาระบบควรจะประกอบไปดวยขอมูลอะไรบาง และแตละขอมูลมีความสัมพันธกันอยางไร

5) การสรางตนแบบ (Prototype) เปนการสรางตัวอยางของระบบสําหรับนําไปทดลองใชงานหรือนําเสนอใหกับผูใชงานดูโครงสรางและหนาตาการทํางานของระบบ

2.5.5 การพัฒนาระบบ (Implementation) ในขั้นตอนการพัฒนาระบบ เปนขั้นตอนของการนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห

ระบบมาดําเนินการพัฒนาระบบ 2.5.6 การทดสอบระบบ (System Testing)

หลังจากไดทําการพัฒนาระบบเสร็จแลว เพื่อใหแนใจวาระบบสามารถทํางานเพื่อตอบสนองความตองการของผูใชงานไดจริง ไมมีขอผิดพลาดใด ๆ ดังนั้นจึงตองมีกระบวนการในการทดสอบระบบกอนนําไปสงมอบใหกับผูใชงาน โดยการทดสอบนั้นอาจกระทําโดยผูพัฒนาเองในเบื้องตน ทีมงานสําหรับการทดสอบระบบโดยเฉพาะ หรืออาจจะเชิญผูที่ใชงานจริงมาเปนสวนรวมในการทดสอบระบบเพื่อใหระบบที่ไดตรงความตองการและสามารถแกไขปญหาใหกับผูใชงานไดจริง

2.5.7 การบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) เปนขั้นตอนสุดทายในกระบวนการพัฒนาซอฟตแวร โดยในขั้นตอนนี้จะมีการ

กําหนดชวงเวลาของการบํารุงรักษาระบบไวเชน ภายหลังติดตั้งและใชงานจริง 1 ป เปนตน โดยในระหวางระยะเวลาของการบํารุงรักษาระบบนั้น หากระบบเกิดปญหาหรือไมสามารถทํางานได ทางทีมผูพัฒนาจะตองเขาไปดําเนินการปรับปรุงแกไขใหระบบสามารถทํางานไดเปนปกติ ซ่ึงการบํารุงรักษาระบบอาจมีคาใชจายที่สูง ดังนั้นผูพัฒนาจะตองวางแผนในการจัดการงบประมาณในสวนนี้ไวลวงหนาเพื่อควบคุมงบประมาณใหอยูภายใตแผนการดําเนินงานที่วางไว

Page 55: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

40

2.6 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ร.ต. นรินทร หมื่นรัตน (2550) ไดศึกษาและพัฒนาระบบจัดการเนื้อหาและจัดการเรียนการ

สอนบนเซิรฟเวอรพรอมใช โดยไดทําการพัฒนาระบบซึ่งรวมเอาความสามารถของระบบจัดการเนื้อหา และระบบจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษา ระบบนี้พัฒนาดวยภาษา PHP ใชฐานขอมูล MySQL เวอรชัน 4.4.1 และบรรจุลงในลีนุกเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนาเวอรช่ัน 2.3 (SUTinsServer 2.3) จึงสะดวกแกการติดตั้ง ระบบที่พัฒนานี้เปนโอเพนซอรส ผูใชงานสามารถที่จะพัฒนาระบบตอยอดเพื่อเพิ่มความสามารถของระบบได สวนของการทดสอบระบบนั้นไดมีการทดสอบการทํางานของระบบโดยอาจารยในระดับมัธยมศึกษาตาง ๆ ในเขตภาคอีสานและไดผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ 86.86 เปอรเซ็นต และในปจจุบันไดทําการเปดใหเขาใชงานของระบบบนเครือขายอินเตอรเน็ตจริงบนเว็บไซต http://www.clmsis.com/

จันทวรรณ นอยวัน และธวัชชัย ปยะวัฒน (2548) ไดเขียนบทความเรื่อง การใชระบบบล็อก GotoKnow.org เพื่อการจัดการความรูเขียนจากประสบการณของผูพัฒนาและดูแลระบบ โดยกลาวถึงการนําระบบเว็บบล็อกมาใชในการจัดการความรู (Knowledge Management) และยกตัวอยางเว็บไซต http://gotoknow.org ซ่ึงเปนเว็บไซตที่ใหบริการระบบเว็บบล็อกเพื่อการจัดการความรูสําหรับปจเจกบุคคลและชุมชนนักปฏิบัติของประเทศไทย โดยตัวเลขจํานวนเว็บบล็อกบนเว็บไซต http://gotoknow.org นั้น (16 กันยายน 2548) มีจํานวน 800 เว็บบล็อก มีบันทึกรวมทั้งหมด 3,500 บันทึก

สมพันธุ ชาญศิลป (2551) ไดพัฒนาระบบปฏิบัติการลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนา เวอร ช่ัน 5108 (SutinsServer 5108) ซ่ึ งพัฒนาตอยอดมาจากระบบปฏิบัติการ Ubuntu เวอรช่ัน 8.04 ซ่ึงระบบนี้มีความสามารถในการเปนเซิรฟเวอรไดอยางมีประสิทธิภาพเพราะสามารถทํา DHCP Server, DNS Server, Proxy Server, Mail Server และFTP Server เปนตน โดยระบบ SutinsServer นี้ สามารถเลือกติดตั้งลงบน Ext3 หรือระบบปฏิบัติการ Windows ซ่ึงรองรับการใชงานภาษาไทย เปดใหดาวนโหลดระบบมาใชงานไดจากเว็บไซต http://linux.sut.ac.th

มนตชัย เทียนทอง (2549) ไดเขียนบทความวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน : K-LMS ซ่ึงเปนงานวิจัยเชิงทดลอง โดยผูวิจัยและคณะไดทําการวิเคราะห ออกแบบและพัฒนาระบบดวยภาษา ASP บนระบบปฏิบัติ การ Microsoft Windows 2000 Server ใชฐานขอมูล Microsoft SQL Server 2000 ระบบ K-LMS ไดจําแนกผูใชออกเปน 4 กลุม คือ สวนของผูบริหารระบบ สวนของผูสอน สวนของผูเรียน และสวนของผูปกครอง โดยไดมีการทดสอบประเมินผลการทํางานของระบบดวยวิธี Blackbox Technique ไดผลการประเมินประสิทธิภาพอยูในเกณฑดี มีคาเฉลี่ยมากกวา 4.00 ในทุกดาน ปจจุบันระบบนี้ไดติดตั้งไวที่ ศูนย e-Learning ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 56: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

41

Martin Ebner (2007) เขียนบทความเรื่อง E-Learning 2.0 = e-Learning 1.0 + Web 2.0 ? ไววา E-Learning 2.0 นั้นเปนโมเดลในการพัฒนาระบบ E-Learning ในยุคใหมที่ใชหลักการในการพัฒนาเว็บไซตแบบ Web 2.0 เขามาเปนสวนหนึ่ง กอใหเกิดระบบ E-Learning รูปแบบใหมที่มีลักษณะการทํางานที่เปนเว็บไซตแบบ Social Network โดยตัวอยางเทคโนโลยีที่นํามาใชรวมในการพัฒนาระบบ E-Learning 2.0 นั้น ไดแก Weblogs, Wiki, Podcast และ Web Sharing Applications เปนตน

JingTao Yao (2006) เขียนบทความเรื่อง Supporting Research with Weblogs : A Study on Web-based Research Support Systems ไดอธิบายวาระบบเว็บไซตได ถูกนํามาเปนเครื่องมือสนับสนุนในการทํางานวิจัย โดยแยกประเภทของการสนับสนุนไวดังนี้ คือ เว็บไซตเปนเครื่องมือสนับสนุนการคนควาหาขอมูลในเบื้องตนของนักวิจัยเพื่อที่จะยืนยันวาแนวคิดที่มีนั้นมีความเปนไปไดเพียงใด (Explroing Support) เว็บไซตเปนเครื่องมือสนับสนุนการคนหาบทความตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิจัยของผูวิจัยเพื่อนํามาเปนขอมูลสนับสนุนในการทําวิจัย (Retrieval Support) และเว็บไซต เปน เครื่ องมือสนับสนุนในการ เผยแพรงานวิจั ยของผู วิ จั ยใหกับนักวิ จั ย ผู อ่ืน(Readingsupport) เปนตน โดยไดกลาวถึงระบบเว็บไซตประเภท Weblog ไววาเปนระบบที่มีความสามารถที่จะสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ในการดําเนินการวิจัย เชน เปนชองทางใหมในการเผยแพรงานวิจัย เปนแหลงขอมูลงานวิจัยที่เปดโอกาสใหผูมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและเปนที่อางอิงของงานวิจัย เปนตน จากการศึกษาปริทัศนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยจึงไดเกิดแนวคิดในการที่จะพัฒนาระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน (BlogLMS) ดังจะกลาวรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีดําเนินการวิจัยในบทที่ 3 ตอไป

Page 57: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การทําวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคที่จะพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก เพื่อเปนการนําเสนอเครื่องมือที่ใชสําหรับการจัดการเรียนการสอนที่ใชรูปแบบของเว็บบล็อก โดยมีกลุมเปาหมายคือ อาจารยและนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย รวมถึงผูสนใจทั่วไป ซ่ึงเนื้อหาในบทนี้จะนําเสนอถึงวิธีดําเนินการวิจัยซ่ึงประกอบไปดวยขั้นตอนตามกระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) ดังตอไปนี้ 3.1 การกําหนดปญหา (Problem Definition) ซ่ึงเปนขั้นตอนที่เก็บรวบรวมขอมูลความตองการจากผูใชงานเพื่อนํามากําหนดปญหาและหาแนวทางแกไข 3.2 การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) โดยนําแนวทางที่กําหนดเพื่อใชในการแกไขปญหามาวิเคราะหประเมินดูความเปนไปไดในการดําเนินการ 3.3 การวิเคราะหระบบ (System Analysis) และ 3.4 การออกแบบระบบ (System Design) โดยไดสรางแผนภาพและกรอบในการทํางานของระบบเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาระบบที่จะกลาวถึงตอไปในบทที่ 4 3.1 การกําหนดปญหา (Problem Definition)

สวนของการกําหนดปญหานั้นจะทําการเก็บรวมรวมขอมูลความตองการของระบบเพื่อนํามาเปนขอมูลในการพัฒนาระบบเพื่อแกไขปญหา โดยผูวิจัยไดดําเนินการจัดทําแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลความตองการของอาจารยและนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย โดยในสวนของแบบสอบถามของอาจารยนั้นไดทําการจัดสงไปยังมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในประเทศไทยรวม 40 แหง แหงละ 5 ชุด รวมทั้งสิ้น 200 ชุด และสําหรับสวนของนักศึกษานั้นไดทําการเก็บขอมูลจากนักศึกษาสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีจํานวน 100 ชุด ไดขอมูลที่มีรายละเอียดดังนี้

3.1.1 รายละเอียดของแบบสอบถาม จากแบบสอบถามทั้งหมดซึ่งประกอบดวย แบบสอบถามในสวนของอาจารยมีผูตอบ

แบบสอบถามในสวนนี้ทั้งสิ้น 26 คน และแบบสอบถามในสวนของนักศึกษามีผูตอบแบบสอบถามในสวนนี้ทั้งสิ้น 82 คน โดยเนื้อหาของแบบสอบถามทั้งสองสวนนั้นแบงเปน 4 ตอน ในแตละตอนมีรายละเอียดของขอมูลที่สอบถามแตกตางกันแบงตามลักษณะการใชงานของผูใช ซ่ึงผูวิจัยไดทําการห

Page 58: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

43

การแสดงผลของการสอบถามขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลทั้งหมดของระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน (BlogLMS) โดยมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 3.1 - 3.8 ตารางที่ 3.1 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับเว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนใน

มหาวิทยาลัย 1. ทานรูจักเว็บบล็อกหรือไม ? จํานวนเปอรเซ็นต

- รูจัก 96.2 - ไมรูจัก 3.8

2. ทานมีเว็บบล็อกสวนตัวของตัวเองหรือไม ? จํานวนเปอรเซ็นต - มี 30.8 - ไมมี 69.2 3. เนื้อหาในเว็บบล็อกของทานเกี่ยวของกับเรื่องใด ? จํานวนเปอรเซ็นต - งานวิจยั 53.8 - วิชาที่สอน 3.8 - เร่ืองทั่วไป 11.5 - เทคนิคความรูใหม 23.1 - อ่ืน ๆ 7.7 4. สถาบันการศึกษาของทานมกีารนําระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) มา ใชหรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- มี 84.6 - ไมมี 15.4 5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- Moodle 19.2 - Atutor 0 - Claroline 0 - LearnSquare 0 - VClass 3.8 - Sakai 0

- อ่ืน ๆ 42.3

Page 59: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

44

ตารางที่ 3.1 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกี่ยวกับเว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (ตอ)

5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบใด ? (ตอ)

จํานวนเปอรเซ็นต

- ไมแสดงความคิดเห็น 34.6 6. ทานตองการมีเว็บบล็อกท่ีสามารถประยุกตใชรวมกับการเรียนการสอน หรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- ตองการ 76.9 - ไมตองการ 19.2 - ไมแสดงความคิดเห็น 3.8

หมายเหต ุ: ขอมูลในตารางที่ 3.1 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 26 คน ตารางที่ 3.2 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกีย่วกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก

1. ทานตองการใหเว็บบล็อกมีขนาดการแสดงผลอยางไรบนจอภาพ ? จํานวนเปอรเซ็นต - แสดงผลเต็มจอภาพ 50 - 800*600 Pixel 11.5 - 1024*768 Pixel 23.1 - มากกวา 1024*768 11.5 - ไมแสดงความคิดเห็น 3.8 2. ทานตองการใหหนาแรกมีความยาวในการแสดงผลอยางไร ? จํานวนเปอรเซ็นต - ไมเกินหนึ่งจอภาพ 57.7 - ไมเกินสองจอภาพ 26.9 - ไมเกินสามจอภาพ 0 - ตามความเหมาะสม 15.4 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงใน รูปแบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- เรียงตามวนัที่เขียนบทความ 19.2 - เรียงตามตัวอักษร 0

Page 60: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

45

ตารางที่ 3.2 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกีย่วกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก (ตอ) 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงใน รูปแบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- เรียงตามวนัทีม่ีการแสดงความคิดเห็น 0 - สามารถกําหนดเองได 76.9 - ไมแสดงความคิดเห็น 3.8 4. ทานตองการใหหนาจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกนั้น มีรูปแบบใด ? จํานวนเปอรเซ็นต - รวมสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบลอ็กไวหนา เดียวกัน ถาตองการจัดการเนือ้หาใหใชปุมการจัดการ ณ ตําแหนง ของเนื้อหาสวนตาง ๆ

34.6

- แยกสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบลอ็กเปนคน ละหนา 57.7

- ไมแสดงความคิดเห็น 7.7 5. ทานตองการใหบุคคลอ่ืน ๆ สามารถแกไข ลบ เนื้อหาในสวนของ บทความในเวบ็บล็อกของทานไดหรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- แกไขไดโดยไมมีเงื่อนไข 11.5 - แกไขไมได 42.3 - แกไขไดแตจะตองมีการเก็บเนื้อหาสวนเดมิไวเพื่อนํามาแสดงใน ภายหลังได

46.2

หมายเหตุ : ขอมูลในตารางที่ 3.2 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 26 คน

Page 61: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

46

ตารางที่ 3.3 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกีย่วกับโมดลูของเว็บบล็อกในสวนของอาจารย หนวยนับ (จํานวนเปอรเซ็นต)

รายการ ตองการ ไม

ตองการ ไมแสดง

ความคิดเห็น 1. ประวัติสวนตวั (Profile) 61.5 11.5 26.9 2. ตารางสอน (Time Table) 88.5 0 11.5 3. บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการสอน (Article) 80.8 11.5 7.7 4. ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอ่ืน (Permalink) 92.3 3.8 3.8 5. รายวิชาที่สอน (Courses) 88.5 0 11.5 6. ปฏิทิน (Calendar) 88.5 3.8 7.7 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 88.5 0 11.5 8. ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอ่ืน (Blogroll) 76.9 11.5 11.5 9. แสดงความคิดเห็น (Vote) 80.8 3.8 15.4 10. กระดานสนทนา (Webboard) 76.9 3.8 19.2 11. สนทนาออนไลน (Chat) 38.5 42.3 19.2 12. ภาพกจิกรรม (Gallery) 76.9 3.8 19.2 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 80.8 3.8 15.4 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 73.1 11.5 15.4 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 69.2 15.4 15.4 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 88.5 3.8 7.7 17. คนหาขอมูล (Search) 92.3 3.8 3.8 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 88.5 3.8 7.7 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 53.8 30.8 15.4 20. เมลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) 73.1 7.7 19.2 21. สถิติการใชงาน (V-Stat) 80.8 0 19.2

หมายเหต ุ: ขอมูลในตารางที่ 3.3 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 26 คน

Page 62: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

47

ตารางที่ 3.4 แสดงความคิดเห็นของอาจารยเกีย่วกับโมดลูของเว็บบล็อกรายวิชา หนวยนับ (จํานวนเปอรเซ็นต)

รายการ ตองการ ไม

ตองการ ไมแสดง

ความคิดเห็น 1. รายละเอียดรายวิชา (Course Outline) 96.2 0 3.8 2. ตารางเรียนประจํารายวิชา (Time Table) 96.2 0 3.8 3. กิจกรรมตางๆในระหวางการเรียนการสอน (Article) 88.5 3.8 7.7 4. ลิงคบล็อกอาจารยและนกัศึกษาในรายวิชา (Permalink) 80.8 7.7 11.5 5. สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) 84.6 7.7 7.7 6. ปฏิทิน (Calendar) 88.5 3.8 7.7 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 88.5 0 11.5 8. แบบทดสอบออนไลน (Test) 80.8 3.8 15.4 9. แสดงความเหน็ (Vote) 76.9 7.7 15.4 10. กระดานสนทนา (Webboard) 76.9 7.7 15.4 11. สนทนาออนไลน (Chat) 19.2 57.7 23.1 12. ภาพกจิกรรม (Gallery) 76.9 3.8 19.2 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 88.5 3.8 7.7 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 73.1 7.7 19.2 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 84.6 0 15.4 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 80.8 3.8 15.4 17. คนหาขอมูล (Search) 88.5 3.8 7.7 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 92.3 3.8 3.8 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 65.4 19.2 15.4 20. สถิติการใชงาน (V-Stat) 88.5 0 11.5 21. ผูสนับสนุนและโฆษณา (Sponsor) 23.1 57.7 19.2 หมายเหต ุ: ขอมูลในตารางที่ 3.4 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 26 คน

Page 63: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

48

ตารางที่ 3.5 แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับเว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนใน มหาวิทยาลัย

1. ทานรูจักเว็บบล็อกหรือไม ? จํานวนเปอรเซ็นต - รูจัก 1.2 - ไมรูจัก 91.5 - ไมแสดงความคิดเห็น 1.2 2. ทานมีเว็บบล็อกสวนตัวของตัวเองหรือไม ? จํานวนเปอรเซ็นต - มี 42.7 - ไมมี 57.3 3. เนื้อหาในเว็บบล็อกของทานเกี่ยวของกับเรื่องใด ? จํานวนเปอรเซ็นต - งานวิจยั 40.2 - วิชาที่สอน 7.3 - เร่ืองทั่วไป 45.1 - เทคนิคความรูใหม 2.4 - อ่ืน ๆ 4.9 4. สถาบันการศึกษาของทานมกีารนําระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) มาใชหรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- มี 79.3 - ไมมี 15.9 - ไมแสดงความคิดเห็น 4.9 5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- Moodle 80.5 - Atutor 0 - Claroline 0 - LearnSquare 0 - VClass 0 - Sakai 0 - อ่ืน ๆ 1.2

Page 64: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

49

ตารางที่ 3.5 แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับเว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (ตอ)

5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบใด ? (ตอ)

จํานวนเปอรเซ็นต

- ไมแสดงความคิดเห็น 18.3 6. ทานตองการมีเว็บบล็อกท่ีสามารถประยุกตใชรวมกับการเรียนการสอน หรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- ตองการ 86.6 - ไมตองการ 8.5 - ไมแสดงความคิดเห็น 4.9

หมายเหตุ : ขอมูลในตารางที่ 3.5 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 82 คน ตารางที่ 3.6 แสดงความคิดเห็นของนักศกึษาเกีย่วกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก

1. ทานตองการใหเว็บบล็อกมีขนาดการแสดงผลอยางไรบนจอภาพ ? จํานวนเปอรเซ็นต - แสดงผลเต็มจอภาพ 47.6 - 800*600 Pixel 9.8 - 1024*768 Pixel 35.4 - มากกวา 1024*768 6.1 - ไมแสดงความคิดเห็น 1.2 2. ทานตองการใหหนาแรกมีความยาวในการแสดงผลอยางไร ? จํานวนเปอรเซ็นต - ไมเกินหนึ่งจอภาพ 30.5 - ไมเกินสองจอภาพ 4.9 - ไมเกินสามจอภาพ 2.4 - ตามความเหมาะสม 62.2 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงใน รูปแบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- เรียงตามวนัที่เขียนบทความ 31.7 - เรียงตามตัวอักษร 8.5 - เรียงตามวนัทีม่ีการแสดงความคิดเห็น 11

Page 65: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

50

ตารางที่ 3.6 แสดงความคิดเห็นของนักศกึษาเกีย่วกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก (ตอ) 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงใน รูปแบบใด ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- สามารถกําหนดเองได 48.8 - ไมแสดงความคิดเห็น 3.8 4. ทานตองการใหหนาจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกนั้น มีรูปแบบใด ? จํานวนเปอรเซ็นต - รวมสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบลอ็กไวหนา เดียวกัน ถาตองการจัดการเนื้อหาใหใชปุมการจัดการ ณ ตําแหนง ของเนื้อหาสวนตาง ๆ

54.9

- แยกสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบลอ็กเปนคน ละหนา

42.7

- ไมแสดงความคิดเห็น 2.4 5. ทานตองการใหบุคคลอ่ืน ๆ สามารถแกไข ลบ เนื้อหาในสวนของ บทความในเวบ็บล็อกของทานไดหรือไม ?

จํานวนเปอรเซ็นต

- แกไขไดโดยไมมีเงื่อนไข 3.7 - แกไขไมได 57.3 - แกไขไดแตจะตองมีการเก็บเนื้อหาสวนเดมิไวเพื่อนํามาแสดงใน ภายหลังได

34.1

หมายเหตุ : ขอมูลในตารางที่ 3.6 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 82 คน

Page 66: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

51

ตารางที่ 3.7 แสดงความคิดเห็นของนักศกึษาเกีย่วกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของนักศึกษา หนวยนับ (จํานวนเปอรเซ็นต)

รายการ ตองการ ไม

ตองการ

ไมแสดง ความคิดเห็น

1. ประวัติสวนตวั (Profile) 89.0 4.9 6.1 2. ตารางสอน (Time Table) 89.0 7.3 3.7 3. บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการเรียน (Article) 82.9 9.8 7.3 4. ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอ่ืน (Permalink) 80.5 11.0 8.5 5. รายวิชาที่เรียน (Courses) 90.2 3.7 6.1 6. ปฏิทิน (Calendar) 82.9 11.0 6.1 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 93.9 1.2 4.9 8. ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอ่ืน (Blogroll) 70.7 14.6 14.6 9. แสดงความคิดเห็น (Vote) 80.5 9.8 9.8 10. กระดานสนทนา (Webboard) 84.1 7.3 8.5 11. สนทนาออนไลน (Chat) 17.1 73.2 9.8 12. ภาพกจิกรรม (Gallery) 81.7 8.5 9.8 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 93.9 0 6.1 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 91.5 2.4 6.1 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 81.7 8.5 9.8 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 85.4 7.3 7.3 17. คนหาขอมูล (Search) 92.7 4.9 2.4 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 80.5 12.2 7.3 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 64.6 26.8 8.5 20. เมลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) 75.6 14.6 9.8 21. สถิติการใชงาน (V-Stat) 74.4 14.6 11.0

หมายเหต ุ: ขอมูลในตารางที่ 3.7 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 82 คน

Page 67: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

52

ตารางที่ 3.8 แสดงความคิดเห็นของนักศกึษาเกีย่วกับโมดูลของเว็บบล็อกสําหรับรายวิชาตาง ๆ

หนวยนับ (จํานวนเปอรเซ็นต) รายการ

ตองการ ไมตองการ

ไมแสดง ความคิดเห็น

1. รายละเอียดรายวิชา (Course Outline) 95.1 3.7 1.2 2. ตารางเรียนประจํารายวิชา (Time Table) 95.1 2.4 2.4 3. กิจกรรมตาง ๆ ในระหวางการเรียนการสอน (Article) 87.8 9.8 2.4 4. ลิงคบล็อกอาจารยและนกัศึกษาในรายวิชา (Permalink) 92.7 4.9 2.4 5. สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) 87.8 6.1 6.1 6. ปฏิทิน (Calendar) 81.7 12.2 6.1 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 95.1 1.2 3.7 8. แบบทดสอบออนไลน (Test) 92.7 2.4 4.9 9. แสดงความเหน็ (Vote) 85.4 8.5 6.1 10. กระดานสนทนา (Webboard) 89.0 4.9 6.1 11. สนทนาออนไลน (Chat) 9.8 80.5 9.8 12. ภาพกจิกรรม (Gallery) 78.0 13.4 8.5 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 95.1 1.2 3.7 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 93.9 2.4 3.7 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 84.1 7.3 8.5 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 92.7 3.7 3.7 17. คนหาขอมูล (Search) 95.1 3.7 1.2 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 90.2 6.1 3.7 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 72.0 23.2 4.9 20. สถิติการใชงาน (V-Stat) 74.4 17.1 8.5 21. ผูสนับสนุนและโฆษณา (Sponsor) 43.9 45.1 11.0

หมายเหต ุ: ขอมูลในตารางที่ 3.8 คิดจํานวนเปอรเซ็นตจากจํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 82 คน

Page 68: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

53

3.2 การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) 3.2.1 ความเปนไปไดทางดานเทคนิค (Technically Feasibility) ในงานวิจัยนี้ผูวิจัยดําเนินการพัฒนาระบบโดยเลือกใชเครื่องมือที่เปนโอเพนซอรส โดยใชภาษา PHP และฐานขอมูล MySQL ในการพัฒนา โดยพัฒนาระบบบนระบบปฏิบัติการ Linux (SUTinsServer 5108)

3.2.2 ความเปนไปไดดานการปฏิบัติ (Operational Feasibility) BlogLMS อยูในเกณฑดีมาก ผูใชงานสวนใหญมีความรู ความสามารถในการใชงานระบบเว็บไซตและระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) ดังนั้นระบบ BlogLMS ที่พัฒนาขึ้นซึ่งเปน LMS รูปแบบใหมที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย อีกทั้งระบบไดถูกออกแบบมาเพื่อเปนเครื่องมือในการจัดการความรูและกอใหเกิดแหลงองคความรูในระดับมหาวิทยาลัยขนาดใหญที่เปดโอกาสใหบุคคลทั่วไปไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่มีระบบ

3.2.3 ความเปนไปไดดานการลงทุน (Economic Feasibility) ระบบ BlogLMS ถูกพัฒนาดวยเครื่องมือตาง ๆ ที่เปนโอเพนซอรส และพัฒนาภายใตเงื่อนไขขอกําหนดทางลิขสิทธิ์ซอฟตแวรแบบ GPL (General Public License) จึงไมมีคาใชจายในดานลิขสิทธิ์ของการใชเครื่องมือ ดังนั้นในแงของการลงทุนจึงไมมีคาใชจายที่เกี่ยวของในการพัฒนาระบบ BlogLMS 3.3 การวิเคราะหระบบ (System Analysis)

3.3.1 สรุปผลขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอระบบ ในเบื้องตนผูวิจัยไดกําหนดกฎเกณฑในการพิจารณาเนื้อหาของแบบสอบถามสวนของความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลตาง ๆ ของระบบ โดยกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาประกอบในการพัฒนาระบบไววาจะตองมีเปอรเซ็นตความตองการในแตละโมดูลตั้งแต 50 เปอรเซ็นตขึ้นไป หรือกลาวคือมีผูแสดงความตองการในโมดูลนั้น ๆ ไมนอยกวาครึ่งหนึ่งของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด จึงถือวาเนื้อหาสวนนั้นมีความสําคัญและจําเปนสําหรับการพัฒนาระบบ และในกรณีที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาสวนที่มีการเก็บขอมูลจากทั้งอาจารยและนักศึกษา บางกรณีที่ความคิดเห็นไมสอดคลองกัน ผูวิจัยขอพิจารณาตามความเหมาะสมในเฉพาะสวนเนื้อหาที่มีความคิดเห็นไมสอดคลองกัน จากรายละเอียดแบบสอบถามทําใหสรุปไดวา ระบบเว็บบล็อกสําหรับจัดการเรียนการสอน จะตองประกอบดวยโครงสรางและรายละเอียดของระบบดังนี้

Page 69: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

54

1) รูปแบบการแสดงผล

- เว็บบล็อกมีขนาดในการแสดงผลเต็มจอภาพ - หนาแรกมีความยาวในการแสดงผลตามความเหมาะสม - เนื้อหาของบทความในเว็บบล็อกจัดเรียงตามที่ผูใชกําหนด - แยกสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบลอ็กเปนคนละหนา - เนื้อหาสวนของบทความในเว็บบล็อกไมอนุญาตใหผูอ่ืนแกไขได

2) รายการโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของอาจารย - ประวัติสวนตวั (Profile) - ตารางสอน (Time Table)

- บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการสอน (Article) - ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอ่ืน (Permalink) - รายวิชาที่สอน (Courses) - ปฏิทิน (Calendar) - อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) - ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอ่ืน (Blogroll) - แสดงความคิดเห็น (Vote) - กระดานสนทนา (Webboard) - ภาพกจิกรรม (Gallery) - ขาวประชาสัมพันธ (News) - การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) - บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) - การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) - คนหาขอมูล (Search) - ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) - หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) - เมลลถึงผูเขียนเวบ็บล็อก (Mail) - สถิติการใชงาน (V-Stat)

Page 70: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

55

3) รายการโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของนักศึกษา

- ประวัติสวนตัว (Profile) - ตารางสอน (Time Table) - บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการเรียน (Article) - ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอ่ืน (Permalink) - รายวิชาที่เรียน (Courses) - ปฏิทิน (Calendar) - อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) - ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอ่ืน (Blogroll) - แสดงความคิดเห็น (Vote) - กระดานสนทนา (Webboard) - ภาพกิจกรรม (Gallery) - ขาวประชาสัมพันธ (News) - การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) - บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) - การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) - คนหาขอมูล (Search) - ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) - หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) - เมลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) - สถิติการใชงาน (V-Stat)

Page 71: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

56

4) รายการโมดูลของเว็บบล็อกสําหรับรายวิชา (ความคิดเห็นของอาจารยและนักศึกษา)

- รายละเอียดรายวิชา (Course Outline) - ตารางเรียนประจํารายวิชา (Time Table)

- กิจกรรมตางๆในระหวางการเรียนการสอน (Article) - ลิงคบล็อกอาจารยและนักศึกษาในรายวิชา (Permalink) - สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) - ปฏิทิน(Calendar) - อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล(Upload & Download) - แบบทดสอบออนไลน(Test) - แสดงความเห็น(Vote) - กระดานสนทนา (Webboard) - ภาพกิจกรรม (Gallery) - ขาวประชาสัมพันธ (News) - การจัดการไฟลมัลติมเีดีย (Podcast) - บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) - การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) - คนหาขอมูล (Search) - ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) - หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) - สถิติการใชงาน (V-Stat)

3.3.2 วิเคราะหผลขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอระบบ จากการพิจารณาขอมูลสรุปผลขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอระบบนั้น พบวามีเนื้อหาบางสวนที่ผูวิจัยเห็นวานาจะปรับปรุงและเพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองกับระบบจัดการเรียนการสอนที่ใชเทคโนโลยีเว็บบล็อกเปนเครื่องมือ ซ่ึงเว็บบล็อกสําหรับผูสอน ผูเรียน และรายวชิา นั้นจะตองมีความสัมพันธและมีรูปแบบการทํางานในทิศทางเดียวกัน ผูวิจัยจึงไดนําขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามมาทําการเปรียบเทียบหาความสัมพันธของโมดูลทั้งหมดในเว็บบล็อกแตละสวนของระบบแสดงดังตารางที่ 3.9

Page 72: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

57

ตารางที่ 3.9 แสดงการเปรียบเทียบความสมัพันธของโมดูลทั้งหมดในบล็อกแตละสวนของระบบ ลําดับท่ี รายการโมดูลในบล็อก รายวิชา บล็อก

ผูสอน บล็อกผูเรียน

1 รายละเอียดของบล็อก (Course Outline, Profile) 2 ตารางเรียน (Time Table) 3 บันทึกบทความ (Article) 4 ลิงคบทความผูอ่ืน (Permalink) 5 สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) 6 รายวิชา (Courses) 7 ปฏิทิน (Calenda) 8 อัพโหลดและดาวนโหลด (Upload & Download) 9 ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตผูอ่ืน (Blogroll) 10 แบบทดสอบออนไลน (Test) 11 แสดงความคิดเห็น (Vote) 12 กระดานสนทนา (Webboard) 13 สนทนาออนไลน (Chat) 14 ภาพกจิกรรม (Gallery) 15 ขาวประชาสัมพันธ (News) 16 การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 17 บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 18 การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 19 คนหาขอมูล (Search) 20 ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 21 หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 22 เมลลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) 23 สถิติการใชงาน (V-Stat)

Page 73: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

58

หลังจากผูวิจัยไดทําการหาความสัมพันธของโมดูลในแตละสวนของเว็บบล็อกดังแสดงในตารางที่ 3.9 และนําขอมูลที่ไดมาทําการวิเคราะหแลวพบวา

1) เว็บบล็อกในแตละสวนอาจมีความสามารถของโมดูลแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน เชน เว็บบล็อกรายวิชานั้นจะมีสวนของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test) ซ่ึงเว็บบล็อกผูสอนและผูเรียนจะไมมีโมดูลสวนนี้ เปนตน ซ่ึงทําใหการพัฒนาระบบเปนอิสระตอกัน

2) โมดูลที่มีในระบบทั้งหมดมีบางสวนที่มีลักษณะการทํางานที่คลายคลึงกัน จึงสามารถยุบรวมโมดูลบางสวนเขาเปนโมดูลเดียวกันเพื่อประสิทธิภาพในการทํางานของระบบ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

- สวนของโมดูลกระดานสนทนา (Webboard) หลังจากไดทําการศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบเว็บบล็อกแลวพบวา เว็บบล็อกนั้นมีความสามารถและลักษณะในการทํางานที่เหมือนกับ Webboard ดังนั้นในสวนของโมดูล Webboard จึงไมพัฒนาแยกออกมาเปนสวนโมดูลยอย แตจะพัฒนาระบบ BlogLMS ที่มีความสามารถครอบคลุมการทํางานดังกลาวแทน

- สวนของโมดูลขาวประชาสัมพันธ (News) เนื่องจากระบบเว็บบล็อกเองมีรูปแบบเปนบันทึกออนไลนที่ผูเขียนตองการสื่อสาร และเผยแพรเนื้อหาใหกับผูอ่ืน ซ่ึงตรงกับความสามารถการทํางานของโมดูล News ดังนั้นในสวนของโมดูล News จึงไมพัฒนาแยกออกมาเปนสวนโมดูลยอย แตจะพัฒนาระบบ BlogLMS ที่มีความสามารถครอบคลุมการทํางานดังกลาวแทนการพัฒนาโมดูลยอยนี้ - สวนของโมดูลการจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) กับ โมดูลอัพโหลดและดาวนโหลด (Upload & Download) มีลักษณะการทํางานที่แตกตางกันของ 2 โมดูลนี้ คือ Podcast จะเปนโมดูลที่ใชจัดการเฉพาะไฟลมัลติมีเดีย เชน *.mp3, *.avi, *.flv เปนตน แตโมดูล Upload & Download นั้นใชจัดการไฟลไดทุกประเภทไมจํ ากัดชนิดของไฟล ดังนั้นอาจกลาวไดว าความสามารถการทํางานของโมดูล Uplooad & Download นั้นครอบคลุมการทํางานของโมดูล Podcast ในที่นี้ผูวิจัยจะพัฒนาเฉพาะโมดูล Upload & Download เพื่อลดการทํางานที่ซํ้าซอน - สวนของโมดูลสํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) เนื่องจากระบบ BlogLMS ที่พัฒนาขึ้นนี้ไดถูกติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ SUTinsServer 5108 ซึ่งมีฟงกชันรองรับการทําการสํารองขอมูลอยูแลว ในที่นี้ผูวิจัยจึงจะไมพัฒนาเปนโมดูลแยกออกมา โดยจะใชฟงกชันของระบบปฏิบัติการ SUTinsServer 5108 เพื่อทําการสํารองและนําเขาขอมูล

Page 74: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

59

3.4 การออกแบบระบบ (System Design) 3.4.1 การออกแบบโครงสรางของระบบ (Structure Design)

จากขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห สามารถนํามาออกแบบโครงสรางการทํางานของระบบไดดังแสดงในรูปตอไปนี้

BLOG LMS :

Create weblogs and way to all weblogs.

Instructor Blog

Learner Blog

Instructor Blog

Course Blog

Learner Blog Learner BlogLearner BlogLearner Blog

Course Blog Course BlogCourse Blog Course Blog

รูปที่ 3.1 แสดงโครงสรางหลักของระบบเว็บบล็อกสําหรับจัดการเรียนการสอน

จากรูปที่ 3.1 แสดงโครงสรางหลักของระบบเว็บบล็อกสําหรับจัดการเรียนการสอน จะพบวาผูวิจัยไดแบงระบบออกเปนทั้งหมด 4 สวนคือ 1. สวนระบบจัดการขอมูลการเรียนการสอนทั้งหมด (BlogLMS)

BlogLMS เปนสวนหลักและเปนหนาแรกของระบบ ที่ใชในการจัดการขอมูลรวมของเว็บบล็อกสวนอื่น ๆ เชน การเพิ่มเว็บบล็อกผูสอน จะดําเนินการโดยผูใชจะตองเขามาลงทะเบียนที่หนาหลักนี้ เปนตน 2. สวนระบบเว็บบล็อกผูสอน (Instructor Blog) Instructor Blog เปนสวนที่เตรียมไวสําหรับผูสอนเพื่อใชในการบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของกับตนเอง การสอน หรือ อ่ืน ๆ ที่ตองการ 3. สวนระบบเว็บบล็อกรายวิชา (Course Blog) Course Blog เปนสวนที่เกี่ยวของกับเนื้อหารายวิชาที่มีการเรียน การสอน โดยผูสอนจะทําหนาที่ในการนําเสนอขอมูลการสอนตาง ๆ ใหกับผูเรียน สวนผูเรียนก็สามารถเขามาดู

Page 75: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

60

ขอมูล แสดงความคิดเห็นหรือถามขอสงสัยตาง ๆ ในเนื้อหาที่ผูสอนนําเสนอผานในเว็บบล็อกรายวิชา 4. สวนระบบเว็บบล็อกผูเรียน (Learner Blog) Learner Blog เปนสวนที่เตรียมไวสําหรับผูเรียนเพื่อใชในการบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของกับตนเอง การเรียน หรือ อ่ืน ๆ ที่ตองการ

สวนของการวิเคราะหการกําหนดสิทธิ์การทํางานของผูใชนั้นแบงไดเปน 3 สิทธิ์ คือผูดูแลระบบ ผูสอน และผูเรียน ดังนั้นจึงนํามากําหนดสิทธิ์การใชงานได ดังนี้ 1. ผูดูแลระบบ (Administrator) - สามารถเพิ่ม ลบ แกไข เว็บบล็อกผูสอน ผูเรียน และรายวิชาได - สามารถจัดการเนื้อหาในระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอนทั้งหมด - สามารถกําหนดสิทธิ์ผูใชทั้งหมดในระบบ - สามารถเขาใชเว็บบล็อกผูสอน ผูเรียน และรายวิชาได

2. ผูสอน (Instructor) - สามารถจัดการเนื้อหาในสวนของเว็บบล็อกผูสอนและรายวิชาได - สามารถเขาใชเว็บบล็อกผูสอน ผูเรียน และรายวิชาได 3. ผูเรียน (Learner) - สามารถจัดการเนื้อหาในสวนของเว็บบล็อกผูเรียนได - สามารถเขาใชเว็บบล็อกผูสอน ผูเรียน และรายวิชาได

Page 76: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

61

เริ่มตนระบบ BLOG LMS

หนาหลักระบบBLOG LMS

หนาหลักสวนInstructor Blog

หนาหลักสวนCourse Blog

หนาหลักสวนLearner Blog

ตรวจสอบผูใชงานทั่วไป

ผูดูแลระบบ

ผูสอน

ผูเรียน

จัดการสวน BLOG LMS

จัดการสวน Course Blogจัดการสวน Instructor Blog

จัดการสวน Learner Blog

ใช

ตรวจสอบสิทธิ์ผูใชงาน

ไมใช

จบการทํางานระบบBLOG LMS

รูปที่ 3.2 แสดงโครงสรางการทํางานหลักของระบบ BlogLMS

จากรูปที่ 3.2 นั้นแสดงโครงสรางการทํางานหลักของระบบ BlogLMS เร่ิมตนจากผูใชงานเปดใชงานระบบ BlogLMS ผานทางเว็บบราวนเซอร ในสวนนี้ผูใชงานสามารถที่จะเขาดูระบบในสวนตาง ๆ แตจะไมสามารถจัดการขอมูลภายในไดจนกวาจะมีการเขาสูระบบ (Login) ดวยช่ือผูใช (Username) และรหัสผาน (Password) ที่ถูกตอง หลังจากนั้นระบบจะทําการตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงาน โดยระบบแบงสิทธิ์ออกเปน 3 สิทธิ์ คือ ผูดูแลระบบ ผูสอน และผูเรียน ดังที่ไดกลาวรายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิ์ในการใชงานไปแลวในขางตน

Page 77: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

62

3.4.2 การออกแบบแผนผังแสดงหนาท่ีการทํางานของระบบ (Use Case Diagram Design) หลังจากไดทําการออกแบบโครงสรางการทํางานของระบบแลว ในขั้นตอนนี้จะทํา

การออกแบบแผนผังแสดงหนาที่การทํางานของระบบ (Use Case Diagram) ซ่ึงเปน diagram พื้นฐานที่แสดงถึงสวนประกอบของกิจกรรมและหนาที่การทํางานของระบบทั้งหมด เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาระบบตอไป ดังแสดงในรูปที่ 3.3 - 3.6

รูปที่ 3.3 แสดง Use Case Diagram ของระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน ในสวนของรูปที่ 3.4 - 3.6 นั้นไดแสดงถึง Use Case Diagram ของบล็อกผูสอน

รายวิชา และผูเรียน โดยจะมีลักษณะโมดูลที่คลายคลึงกันในทั้งสามสวน มีเพียงบล็อกรายวิชาเทานั้นที่จะมีโมดูลที่แตกตางจากกลุม คือ เพิ่มเติมสวนของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test)

Page 78: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

63

รูปที่ 3.4 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกผูสอน (Instructor Blog)

Page 79: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

64

รูปที่ 3.5 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกรายวิชา (Course Blog)

Page 80: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

65

รูปที่ 3.6 แสดง Use Case Diagram ของบล็อกผูเรียน (Learner Blog)

Page 81: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

66

3.4.3 การออกแบบฐานขอมูล (Database Design) หลังจากที่ไดออกแบบ Use Case Diagram ซ่ึงแสดงถึงกิจกรรมและหนาที่ของผูใชงานที่มีในระบบ BlogLMS ทั้งหมด ผูวิจัยจึงนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะหและออกแบบฐานขอมูล ซ่ึงในที่นี้ จะนําเสนอแผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (E-R Diagram) เพื่ออธิบายความสัมพันธระหวางขอมูลในระบบ ดังแสดงในรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7 แสดงแผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (E-R Diagram) 3.4.4 การออกแบบขอมูลนําเขา (Input Design) ในสวนนี้ผูวิจัยไดทําการออกแบบในสวนขอมูลนําเขาของระบบ BlogLMS ซ่ึงมี

รายการโมดูลทั้งหมดจํานวน 15 โมดูล ดังแสดงในรูปที่ 3.8 - 3.21 โดยจะมี 5 โมดูลที่จะไมกลาวถึงในสวนของการออกแบบขอมูลนําเขา คือ โมดูลรายละเอียดบล็อก (Course Outline, Profile) โมดูลปฏิทิน (Calendar) โมดูลสถิติการใชงาน (V-Stat) และโมดูลบริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) เนื่องจากเปนโมดูลที่ไมมีการปอนขอมูลเขาสูระบบเพื่อประมวลผล

Page 82: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

67

รูปที่ 3.8 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลตารางเรียน (TimeTable)

รูปที่ 3.9 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลบันทึกบทความ (Article)

Page 83: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

68

รูปที่ 3.10 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลลิงคบทความอื่น (Permalink)

รูปที่ 3.11 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลลิงคบล็อกผูอ่ืน (Blogroll)

รูปที่ 3.12 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลลิงคบทความยอนหลัง (Archives)

Page 84: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

69

ที่ 3.13 แสดงหนาตางการนาํเขาขอมูลของโมดูลรายวิชา (Courses)

รูปที่ 3.14 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลอัพโหลดและดาวนโหลด (Upload&Download)

Page 85: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

70

รูปที่ 3.15 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลแสดงความคิดเหน็ (Vote)

รูปที่ 3.16 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test)

Page 86: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

71

รูปที่ 3.17 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลภาพกิจกรรม (Gallery)

รูปที่ 3.18 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลการจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category)

รูปที่ 3.19 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลคนหาขอมูล (Search)

Page 87: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

72

รูปที่ 3.20 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลแสดงขอความตอนเปดบล็อก (Popup)

รูปที่ 3.21 แสดงหนาตางการนําเขาขอมูลของโมดูลเมลถึงผูเขียนบล็อก (Mail)

Page 88: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

73

3.4.5 การออกแบบจอภาพ (Output Design)

ในการแบงสัดสวนการทํางานของระบบ BlogLMS ดังที่กลาวไปแลวขางตนวาระบบมีการแบงสวนของการแสดงผลออกเปน 4 สวน คือ สวนระบบจัดการขอมูลการเรียนการสอนทั้งหมด (BlogLMS) สวนระบบเว็บบล็อกผูสอน (Instructor Blog) สวนระบบเว็บบล็อกผูเรียน (Learner Blog) และสวนระบบเว็บบล็อกรายวิชา (Course Blog) ในการออกแบบจอภาพนั้นจะมีเพียงสวนของระบบจัดการขอมูลการเรียนการสอน (BlogLMS) ที่ใชเปนหนาหลักของระบบเทานั้นที่มีลักษณะการแสดงผลที่แตกตางออกไป ดังแสดงในรูปที่ 3.22 และสําหรับสวนของเว็บบล็อกทั้ง 3 สวน จะมีลักษณะการแสดงผลที่เหมือนกัน ดังที่ไดแสดงในรูปที่ 3.23 นอกจากนี้ในสวนของการจัดการเนื้อหาของระบบ BlogLMS ในสวนตาง ๆ จะถูกออกแบบแยกออกมาจากสวนของการแสดงผล ดังนั้นหนาจอภาพในสวนของการจัดการเนื้อหาของระบบ BlogLMS จึงมีลักษณะดังรูปที่ 3.24 ซ่ึงเปนสวนสําหรับผูดูแลระบบหรือผูที่มีสิทธิ์ตามที่ผูดูแลระบบกําหนด

สวนเมนดูานบน

สวนหวั

สวนเมนูดานซาย

สวนแสดงเนื้อหา

สวนทาย

รูปที่ 3.22 แสดงการออกแบบจอภาพในของสวนระบบจัดการขอมูลการเรียนการสอนทั้งหมด

Page 89: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

74

สวนหวั

สวนรายละเอยีดบล็อก

สวนเมนดูานซาย

สวนแสดงเนื้อหา

สวนทาย

รูปที่ 3.23 แสดงการออกแบบจอภาพในสวนระบบเว็บบล็อกทั้งหมด

สวนหวั

สวนของปุมการจัดการ

สวนเมนดูานซาย

สวนแสดงเนื้อหา

สวนทาย

Page 90: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

75

รูปที่ 3.24 แสดงการออกแบบจอภาพในสวนของการจดัการเนื้อหาของระบบ

หลังจากที่ไดทําการวิเคราะหและออกแบบโครงสรางของระบบ BlogLMS รวมถึงออกแบบหนาตางการทํางานของระบบในสวนตาง ๆ ดังที่ไดแสดงไปแลวขางตน ผูวิจัยจึงไดนําขอมูลสวนนี้มาใชเปนตนแบบในการพัฒนาระบบ BlogLMS ดังจะกลาวรายละเอียดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบในบทที่ 4 ตอไป

Page 91: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

บทที่ 4 การพัฒนาและทดสอบระบบ

ในบทที่ 4 นี้จะเปนรายละเอียดเนื้อหาที่เกี่ยวของกับการดําเนินการพัฒนาระบบ BlogLMS ตามที่ไดวิเคราะหและออกแบบระบบจากขอมูลความตองการของผูใช ซ่ึงไดอธิบายไวในบทที่ 3 โดยไดแบงเปนหัวขอดังตอไปนี้ หัวขอที่ 4.1 สภาพแวดลอมที่ใชในการพัฒนาเครื่องมือ อธิบายถึงสวนของฮารดแวรและซอฟตแวรตาง ๆ ที่ใชในการพัฒนาระบบ หัวขอที่ 4.2 การพัฒนาระบบ (Implementation) จะกลาวถึงโครงสรางของระบบในสวนตาง ๆ หัวขอที่ 4.3 การทดสอบระบบ (System Testing) อธิบายถึงรายละเอียดสภาพแวดลอมและขั้นที่ใชในการทดสอบระบบ หัวขอที่ 4.4 การบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) และในหัวขอที่ 4.5 การอภิปรายผล 4.1 สถาพแวดลอมท่ีใชในการพัฒนาเครื่องมือ (Implementation)

เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการพัฒนาเครื่องมือมีรายละเอียดดังนี้ ฮารดแวร - คอมพิวเตอรแบบพีซี Pentium IV 3.2 กิกะเฮิรส - หนวยความจํา 512 เมกกะไบต - ฮารดดิสก 80 กิกะไบต - จอแสดงผล ขนาด 15 นิ้ว ซอฟตแวร - ระบบปฏิบัติการ Linux - เว็บเซิรฟเวอร Apache - ฐานขอมูล MySQL - ภาษาสคริปต PHP - โปรแกรม PHPMyAdmin

Page 92: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

77

4.2 การพัฒนาระบบ (Implementation) ขั้นตอนในการพัฒนาระบบนั้น ผูวิจัยไดแบงระบบ BlogLMS ออกเปน 3 สวน คือ ระบบหลัก (Main System) ระบบบล็อก (Blog System) และระบบจัดการเนื้อหา (Content management System) โดยจะอธิบายรายละเอียดของโครงสรางและขั้นตอนการทํางานในสวนตาง ๆ แยกเปนหัวขอดังตอไปนี ้ 4.2.1 ระบบหลัก (Main System) เปนสวนหลักของระบบ BlogLMS ที่แสดงรายละเอียดตาง ๆ ของระบบ BlogLMS เชน วัตถุประสงคในการพัฒนาระบบ ขอบเขตการใชงาน และกลุมเปาหมาย เปนตน โดยผูใชงานทั่วไปนั้นสามารถที่จะดูรายละเอียดเนื้อหาตาง ๆ ในสวนนี้ได แตจะไมสามารถทําการสรางบล็อกสวนตัวไดจนกวาจะมีการสมัครเปนสมาชิกของระบบ เพื่อแสดงความตองการเขาใชงานระบบ และสวนหลักของระบบนั้นยังเปนศูนยรวมของรายการของเนื้อหาในตาง ๆ ของบล็อก เชน รายการบทความ รายการบล็อกในสวนตาง ๆ และรายการหมวดหมูเนื้อหาตาง ๆ เปนตน กลาวโดยสรุปคือในสวนหลักของระบบ BlogLMS นี้จะเปนหนาแรกของระบบที่เชื่อมโยงรายการอื่น ๆ ในระบบ

รูปที่ 4.1 แสดงโครงสรางหนาหลักของระบบ BlogLMS

1

2 3

4

Page 93: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

78

จากรูปที่ 4.1 นั้น โครงสรางหนาหลักของระบบ BlogLMS สามารถแบงออกเปนสวนประกอบตาง ๆ ไดดังนี้ สวนที่ 1 คือ Banner เปนสวนที่ใชแสดงแบนเนอรของเว็บไซต ซ่ึงประกอบดวยขอมูลช่ือและภาพที่ส่ือถึงระบบ สวนที่ 2 คือ Menu เปนสวนที่ใชแสดงรายการเมนูการใชงานตาง ๆ ที่มีในระบบ สวนที่ 3 คอื Content เปนสวนที่ใชแสดงเนื้อหาของระบบ ซ่ึงมีความสัมพันธกับสวนที่ 2 โดยที่ผูใชงานเลือกคลิกที่รายการเมนูใด เนื้อหาในสวนนี้ก็จะปรากฏตามหัวขอที่เลือก สวนที่ 4 คือ Footer เปนสวนที่ ใชแสดงขอมูลลิขสิทธิ์การใชงานระบบและผูสนับสนุนตาง ๆ

4.2.2 ระบบบล็อก (Blog System) 1) โครงสรางหลักของบล็อก หลังจากที่ ผูใชงานไดสมัครสมาชิกของระบบ

BlogLMS โดยเลือกประเภทบล็อกที่ตองการ ซ่ึงระบบมีบล็อกอยูทั้งหมด 3 ประเภท คือ บล็อกผูสอน บล็อกผูเรียน และบล็อกรายวิชา ผูใชงานก็จะไดลิงคการใชงานของบล็อกเพื่อเขาชมเนื้อหาบล็อกสวนตัวของตน โดยลักษณะโครงสรางของบล็อกทั้ง 3 ประเภทนี้ มีโครงสรางการทํางานที่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยกตัวอยางเฉพาะโครงสรางบล็อกรายวิชา (Course Blog) เพื่อแสดงถึงการทํางานในลักษณะตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 4.2

Page 94: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

79

รูปที่ 4.2 แสดงโครงสรางบล็อกรายวิชา (Course Blog)

จากรูปที่ 4.2 นั้น โครงสรางแสดงโครงสรางบล็อกรายวิชา (Course Blog) สามารถแบงเปนสวนประกอบตาง ๆ ไดดังนี้

1

3

2

4

5

Page 95: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

80

สวนที่ 1 คือ Banner เปนสวนที่ใชสําหรับแสดงเนื้อหาสวนหัวของบล็อก ซ่ึงประกอบดวยขอความที่ส่ือถึงบล็อก สวนที่ 2 คือ Profile เปนสวนของการแสดงขอมูลรายละเอียดที่ เกี่ ยวกับบล็อก เชน วัตถุประสงคของบล็อก ช่ือเจาของบล็อก วันที่เปดใชงาน และสถิติการใชงาน เปนตน สวนที่ 3 คือ Menu เปนสวนแสดงรายการโมดูลตาง ๆ ของระบบ เชน โมดูลปฏิทิน (Calendar) โมดูลลิงคบทความผูอ่ืน (Article) โมดูลอัพโหลดและดาวนโหลด (Upload & Download) และโมดูลแสดงความคิดเห็น (Vote) เปนตน โดยในสวนนี้ผูใชสามารถเลือกแสดงเฉพาะโมดูลที่ตองการไดโดยตั้งคาสถานะของโมดูลในระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System) สวนที่ 4 คือ Content เปนสวนที่แสดงบทความตาง ๆ ที่มีในระบบ และสวนของโมดูลตารางสอน ในสวนนี้ผูใชงานสามารถจัดเรียงลําดับการแสดงผลของบทความได โดยตั้งคาการจัดเรียงบทความในระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System) สวนที่ 5 คือ Footer เปนสวนที่ใชแสดงสวนทายของบล็อก โดยในสวนนี้จะแสดงถึงขอมูลลิขสิทธิ์การใชงานระบบและผูสนับสนุนตาง ๆ 2) โมดูลของบล็อก เปนสวนประกอบยอยของระบบบล็อก โดยบล็อกผูสอน ผูเรียน และรายวิชานั้นมีลักษณะของโมดูลการทํางานที่คลายคลึงกัน แตจะมีเพียงบล็อกรายวิชาเทานั้นที่จะมีโมดูลที่แตกตางออกไป 1 โมดูลนั้นคือ มีสวนของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test) เพิ่มเขามา ดังนั้นจะยกตัวอยางเฉพาะรายละเอียดของแตละโมดูลในสวนของบล็อกผูสอนและกลาวถึงรายละเอียดของโมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test) ในตอนทาย โดยโมดูลตาง ๆ ของบล็อกผูสอนนั้นประกอบไปดวย - โมดูลรายละเอียดของบล็อก (Profile) แสดงถึงรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับบล็อกผูสอน เชน วัตถุประสงคของบล็อก อี เมล วันที่ เปดใชงาน ชนิดของบล็อก และสถาบันการศึกษา เปนตน - โมดูลตารางสอน (Time Table) แสดงขอมูลการสอนในแตละวันโดยนําเสนอในรูปแบบของตารางแบงตามคาบเวลาตาง ๆ - โมดูลบันทึกบทความ (Article) เปนสวนที่ ผูสอนนําเสนอขอมูลเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนตาง ๆ ใหกับผูเรียน โดยผูเรียนนั้นสามารถมีสวนรวมกับเนื้อหาไดในสวนของการแสดงความคิดเห็นตอบทความที่ระบบจัดเตรียมไว

Page 96: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

81

- โมดูลบทความผูอ่ืน (Permalink) เปนสวนของการแสดงลิงคบทความตาง ๆ ของผูอ่ืนที่ผูเขียนบล็อกสามารถกําหนดเองวาจะใหมีลิงคอะไรบาง โดยเมื่อผูเขียนบล็อกเขาชมบทความผูอ่ืนที่นาสนใจและตรงกับเนื้อหาภายในบล็อกของตน ก็จะนําลิงคนั้นมาเพิ่มในสวนของ Permalink นี้ - โมดูลรายวิชา (Courses) เปนสวนของการแสดงลิงคบล็อกรายวิชาตาง ๆ ที่ผูเขียนบล็อกสามารถกําหนดเองวาจะใหมีลิงคอะไรบาง โดยเมื่อผูเขียนบล็อกเขาชมบล็อกรายวิชาที่นาสนใจและตรงกับเนื้อหาภายในบล็อกของตน ก็จะนําลิงคนั้นมาเพิ่มในสวนของ Courses นี้ - โมดูลปฏิทิน (Calendar) เปนการนําเสนอขอมูลวัน เดือน ปในปจจุบัน โดยมีรูปแบบการนําเสนอขอมูลปฏิทินแบบไทย - โมดูลอัพโหลดและดาวนโหลด (Upload & Download) เปนสวนของการนําเสนอรายการไฟลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน โดยผูสอนจะทําการอัพโหลดไฟลที่เห็นสมควรขึ้นสูระบบและเปดใหผูเรียนเขามาดาวนโหลดไฟลไปใชงาน ตัวอยางไฟลสําหรับโมดลู Upload & Download เชน เอกสารการสอน ซอฟตแวรตาง ๆ ตัวอยางขอสอบ และรูปภาพประกอบการสอน เปนตน - โมดูลลิงคบล็อกหรือเว็บไซตผูอ่ืน (Blogroll) เปนสวนของการแสดงลิงคบล็อกหรือเว็บไซตผูอ่ืน ที่ผูเขียนบล็อกสามารถกําหนดเองวาจะใหมีลิงคอะไรบาง โดยเมื่อผูเขียนบล็อกเขาชมบล็อกหรือเว็บไซตที่นาสนใจและตรงกับเนื้อหาภายในบล็อกของตน ก็จะนําลิงคนั้นมาเพิ่มในสวนของ Blogroll นี้ - โมดูลแสดงความคิดเห็น (Vote) เปนสวนที่ผูเขียนบล็อกใชในการตั้งหัวขอคําถามที่ตองการสํารวจความคิดเห็นของผูอ่ืนที่เขามาชมบล็อกของตน โดยหัวขอคําถามนั้นอาจจะเปนเรื่องที่ผูเขียนบล็อกใหความสนใจหรือเกี่ยวกับการเรียนการสอน เปนตน - โมดูลภาพกิจกรรม (Gallery) เปนสวนของการแสดงภาพกิจกรรมตาง ๆ ของผูเขียนบล็อก ซ่ึงอาจเปนภาพกิจกรรมทั้งภายในหรือนอกสถานที่ หรือเปนภาพที่ผูเขียนบล็อกสนใจ โดย ผูเขียนบล็อกสามารถที่จะแยกหมวดหมูรูปภาพเปนชุดตาง ๆ ไดดวยการสรางอัลบั้มเพื่อจัดเก็บรูปภาพในแตละชุดและตั้งชื่ออัลบั้มที่ส่ือถึงภาพชุดตาง ๆ - โมดูลบริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) เปนสวนที่นําเสนอขอมูลใหกับผูอ่ืนในรูปแบบของไฟล XML ซ่ึงมีความสัมพันธกับขอมูลในโมดูลบันทึกบทความ (Article) กลาวคือ ไฟล XML นี้จะเก็บขอมูลช่ือบทความและรายเอียดขอมูลบางสวนของบทความในบล็อก เพื่อใหผูเขาชมสามารถดึงขอมูลไฟล XML นี้ไปแสดงผลในบล็อกหรือเว็บไซตของตนเองได

Page 97: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

82

- โมดูลการจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) เปนสวนที่ใชจัดการหมวดหมูตาง ๆ ของบทความ โดยผูเขียนบล็อกสามารถเพิ่มหมวดหมูขึ้นมาใหมเพื่อใหตรงกับเนื้อหาบทความของผูเขียนบล็อกเอง - โมดูลคนหาขอมูล (Search) เปนสวนที่ใชสําหรับการคนหาขอมูลบทความตาง ๆในบล็อก โดยผูใชจะปอนคียเวิรด (Keyword) ที่ตองการลงในชองกรอกขอมูลเพื่อทําการคนหาบทความตามเงื่อนไขที่ผูใชตองการ - โมดูลลิงคบทความยอนหลัง (Archives) เปนสวนของการแสดงลิงคบทความเกาที่มีในบล็อก ในสวนนี้จะแบงแยกบทความเกาออกเปนหมวดหมูโดยแบงแยกตามเดือนที่ไดทําการเขียนบทความ เพื่อใหผูใชงานสามารถที่จะเขาดูบทความเกาไดสะดวกมากยิ่งขึ้น - โมดูลหนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) เปนสวนของการแสดงขอมูลในรูปแบบของ Popup ที่ผูเขียนบล็อกตองการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่สําคัญใหกับผูเขาชมบล็อก เชน ขาวอบรมสัมมนา ประกาศตารางสอบ และขาวที่ตองการแจงใหกับนักศึกษาทราบ เปนตน - โมดูลเมลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) เปนสวนที่เปดโอกาสใหผูเขาชมบล็อกไดสงขอคําถามหรือความคิดเห็นตาง ๆ ถึงผูเขียนบล็อกในลักษณะของการสงขอความ โดยผูเขียนบล็อกจะสามารถเขามาดูขอความตาง ๆ โดยผานทางหนาระบบการจัดการเนื้อหาซึ่งจะตองผานสวนของการตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงานกอนจึงจะสามารถเขาดูขอความได ดังนั้นการสงขอความถึงผูเขียนบล็อกในสวนของ Mail นี้ผูใชงานทานอื่น ๆ จะไมสามารถเขามาดูขอความได อาจเรียกลักษณะการสงขอมูลแบบนี้วาเปนการสงขอความสวนตัว (Private Message) - โมดูลสถิติการใชงาน (V-Stat) เปนสวนการนําเสนอขอมูลสถิติการใชงานตาง ๆ ของบล็อก โดยขอมูลที่ทําการเก็บสถิติไดแก จํานวนผูเขาเยี่ยมชม จํานวนบทความ และขอความที่สงถึงผูเขียนบล็อก - โมดูลแบบทดสอบออนไลน (Test) เปนสวนของการนํา เสนอขอมูลแบบทดสอบในการวัดผลความเขาใจในการเรียนการสอน โดยผูสอนจะเพิ่มขอมูลขอคําถามตาง ๆ และทําการเปดใหผู เรียนไดเขามาทําการทดสอบ รูปแบบของแบบทดสอบจะมีลักษณะเปนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ มีจํานวนตัวเลือกสูงสุด 5 ตัวเลือก ซ่ึงโมดูลนี้จะมีเฉพาะในสวนของบล็อกรายวิชาเทานั้น

Page 98: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

83

4.2.3 ระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System) ระบบจัดการเนื้อหาเปนสวนที่ใชสําหรับจัดการเนื้อหาตาง ๆ ในระบบ BlogLMS โดยแบงการจัดการออกเปน 2 สวน คือ การจัดการเนื้อหาของระบบหลัก (Main System) และการจัดการเนื้อหาระบบบล็อก (Blog System) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) การจัดการเนื้อหาของระบบหลัก (Main System) เปนสวนที่ใชในการจัดการเนื้อหาของระบบ BlogLMS จัดการสิทธิ์การใชงานของผูใชงานระบบแตละคน จัดการบล็อกทัง้หมดในระบบ และจัดการบทความ ในสวนนี้จะมีเพียงผูดูแลระบบเทานั้นที่สามารถเขามาใชงานได โดยจะตองปอนชื่อผูใชงานและรหัสผานเพื่อตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงานในหนาเขาสูระบบ ดังแสดงในรูปที่ 4.3

รูปที่ 4.3 แสดงโครงสรางของหนาเขาสูระบบการจดัการเนื้อหาของระบบหลัก

Page 99: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

84

รูปที่ 4.4 แสดงโครงสรางหนาจัดการเนื้อหาของระบบหลัก

จากรูปที่ 4.4 นั้น โครงสรางหนาจัดการเนื้อหาของระบบหลักสามารถแบงเปนสวนประกอบตาง ๆ ไดดังนี้ สวนที่ 1 คือ Banner เปนสวนที่ใชแสดงสวนหัวของเว็บไซต โดยในสวนนี้จะแสดงถึงชื่อและภาพที่ส่ือถึงหนาจัดการเนื้อหาของระบบหลัก สวนที่ 2 คือ Menu เปนสวนที่ใชแสดงรายการเมนูจัดการเนื้อหาที่มีในระบบ ประกอบไปดวยเมนูตาง ๆ ดังนี้ - เมนูจัดการหนาหลัก เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการรายละเอียดขอมูลตาง ๆ ในหนาหลักของระบบ BlogLMS สามารถจัดการขอมูลในสวนที่ 1 Banner และสวนที่ 4 Footer - เมนูจัดการเมนู เปนเมนูที่ใชสําหรับการเพิ่ม แกไขและลบรายการเมนูของหนาหลักของระบบ BlogLMS โดยผูดูแลระบบสามารถที่จะเพิ่มรายการเมนูและเนื้อหาที่ตองการใหแสดงผลในหนาหลักของระบบไดในสวนนี้ - เมนูจัดการหมวดหมูของบทความ เปนเมนูที่ใชสําหรับทําการเพิ่ม แกไข และลบรายการหมวดหมูตาง ๆ ของบทความในระบบ ซ่ึงในสวนของการจัดการของหมวดหมูบทความนี้ ผูดูแลระบบสามารถที่จะจัดการไดทั้งในสวนหมวดหมูที่สรางโดยผูดูแลระบบเองหรือเปนหมวดหมูที่สมาชิกของระบบที่มีบล็อกสวนตัวเปนผูสราง

1

3

2 4

5

Page 100: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

85

- เมนูจัดการบทความ เปนเมนูที่ใชสําหรับทําการแกไขสถานะการแสดงผล และลบบทความในระบบ กรณีที่พบบทความที่ผูดูแลระบบพิจารณาวามีเนื้อหาไมเหมาะสม - เมนูสถานะบล็อกผูสอน เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการสถานะการทํางานในสวนของบล็อกผูสอน โดยผูดูแลระบบสามารถที่จะเปดหรือปดสถานะการทํางานของบล็อกผูสอนตาง ๆ ได เชน ในกรณีพบบล็อกผูสอนบางบล็อกที่มีเนื้อหาภายในไมเหมาะสม ผูดูแลระบบก็สามารถระงับการใชงานของบล็อกนั้นไมใหเผยแพร จนกวาจะมีการดําเนินการแกไขเนื้อหาใหเหมาะสมหรือกรณีที่ผูใชงานสงคําขอระงับการเผยแพรบล็อกของตนเองมาที่ผูดูแลระบบ เปนตน - เมนูสถานะบล็อกผูเรียน เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการสถานะการทํางานของบล็อกผูเรียน โดยผูดูแลระบบสามารถที่จะเปดหรือปดสถานะการทํางานของบล็อกผูเรียนตาง ๆ ได เชน ในกรณีพบบล็อกผูเรียนบางบล็อกที่มีเนื้อหาภายในไมเหมาะสม ผูดูแลระบบก็สามารถระงับการใชงานของบล็อกนั้นไมใหเผยแพร จนกวาจะมีการดําเนินการแกไขเนื้อหาใหเหมาะสม หรือกรณีที่ผูใชงานสงคําขอระงับการเผยแพรบล็อกของตนเองมาที่ผูดูแลระบบ เปนตน - เมนูสถานะบล็อกรายวิชา เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการสถานะการทํางานของบล็อกรายวิชา โดยผูดูแลระบบสามารถที่จะเปดหรือปดสถานะการทํางานของบล็อกรายวิชาตาง ๆ ได เชน ในกรณีพบบล็อกรายวิชาบางบล็อกที่มีเนื้อหาภายในไมเหมาะสม ผูดูแลระบบก็สามารถระงับการใชงานของบล็อกนั้นไมใหเผยแพร จนกวาจะมีการดําเนินการแกไขเนื้อหาใหเหมาะสม หรือกรณีที่ผูใชงานสงคําขอระงับการเผยแพรบล็อกของตนเองมาที่ผูดูแลระบบ เปนตน สวนที่ 3 คือ Top Menu เปนสวนที่ใชแสดงปุมในการจัดการเนื้อหาซึ่งสัมพันธกับขอมูลในสวนที่ 2 กลาวคือ เมื่อผูใชงานแกไขขอมูลใด ๆ ในสวนที่เลือกแลว จะมาที่สวนของ Top Menu เพื่อเลือกรูปแบบในการจัดการ โดยรายการเมนูใน Top Menu ประกอบไปดวย บันทึก ยกเลิก ดูตัวอยาง และออกจากระบบ สวนที่ 4 คือ Content เปนสวนที่ใชแสดงเนื้อหาของระบบ ซ่ึงมีความสัมพันธกับสวนที่ 2 โดยที่ผูใชงานเลือกคลิกที่รายการเมนูใด เนื้อหาในสวนนี้ก็จะปรากฏตามหัวขอที่เลือก สวนที่ 5 คือ Footer เปนสวนที่ใชแสดงสวนทายของเว็บไซต โดยในสวนนี้จะแสดงถึงขอมูลลิขสิทธิ์การใชงานระบบและผูสนับสนุนตาง ๆ

2) การจัดการเนื้อหาของบล็อก (Blog System) เปนสวนที่ใชในการจัดการเนื้อหาของแตละบล็อก จัดการสถานะของโมดูลยอยตาง ๆ จัดการบล็อกทั้งหมดในระบบ และจัดการบทความ ในสวนนี้เจาของบล็อกเทานั้นที่สามารถเขามาใชงานได โดยจะตองกรอกชื่อผูใชงานและรหัสผานเพื่อตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงานในหนาเขาสูระบบ ดังแสดงในรูปที่ 4.5

Page 101: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

86

รูปที่ 4.5 แสดงโครงสรางของหนาเขาสูระบบการจดัการเนื้อหาของบล็อก

รูปที่ 4.6 แสดงโครงสรางหนาจัดการเนื้อหาของบล็อก

1

3

2 4

5

Page 102: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

87

จากรูปที่ 4.6 นั้น โครงสรางของหนาจัดการเนื้อหาของบล็อกสามารถแบงเปนสวนประกอบตาง ๆ ไดดังนี้ สวนที่ 1 คือ Banner เปนสวนที่ใชแสดงสวนหัวของบล็อก โดยในสวนนี้จะแสดงถึงช่ือและภาพที่ส่ือถึงหนาจัดการเนื้อหาของบล็อก สวนที่ 2 คือ Menu เปนสวนที่ใชแสดงรายการเมนูจัดการเนื้อหาท่ีมีในบล็อก ประกอบไปดวยเมนูตาง ๆ ดังนี้ - เมนูรายละเอียดบล็อก เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการขอมูลรายละเอียดของบล็อก เชน ช่ือบล็อก วัตถุประสงคของบล็อก สํานักวิชา/คณะ และสถาบันการศึกษา เปนตน - เมนูขอมูลสวนตัว เปนเมนูที่ใชสําหรับจัดการขอมูลสวนตัวของผูเขียนบล็อก เชน ช่ือ-นามสกุล นามปากกา เปนตน - เมนูเปลี่ยนรหัสผาน เปนสวนที่ใชในการแกไขชื่อผูใชและรหัสผานในการเขาถึงหนาจัดการเนื้อหาของบล็อก - เมนูบทความ เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการบทความที่มีในบล็อก รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลของบทความและการเรียงลําดับของบทความในบล็อก - เมนูกลองขอความเขา เปนเมนูที่ใชแสดงขอความตาง ๆ ที่มีผูเขาชมสงถึงผูเขียนบล็อก มีลักษณะรูปแบบคลายกลองขอความในระบบอีเมลทั่วไป ผูใชงานสามารถเลือกเก็บขอความที่สําคัญเอาไวหรือลบทิ้งไดตามตองการ - เมนูตารางเรียน เปนเมนูที่ใชสําหรับการจัดการขอมูลรายละเอียดตารางเรียนของผูเขียนบล็อก - เมนูลิงคบทความผู อ่ืน เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการลิงคบทความผูอ่ืนที่มีในบล็อก รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลและการเรียงลําดับของลิงคบทความผูอ่ืนในบล็อก - เมนูลิงครายวิชา เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการลิงครายวิชาทีม่ใีนบล็อก รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลและการเรียงลําดับของลิงครายวิชาในบล็อก - เมนูอัพโหลด & ดาวนโหลด เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการไฟลที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนที่มีในบล็อก ในสวนการจัดการนี้ผูใชงานสามารถที่จะแบงแยกหมวดหมูของไฟลตาง ๆ ไดโดยทําการสรางโฟลเดอรเพื่อแบงหมวดหมูของไฟล รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลและการเรียงลําดับของลิงคอัพโหลด & ดาวนโหลดในบล็อก - เมนูลิงคบล็อกผูอ่ืน เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการลิงคบล็อกผูอ่ืนที่มีในบล็อก รวมถึงกาํหนดสถานะการแสดงผลและการเรียงลําดับของลิงคบล็อกผูอ่ืนในบล็อก

Page 103: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

88

- เมนูแสดงความคิดเห็น เปนเมนูที่ใชสําหรับในการตั้งขอคําถามเพื่อสํารวจความคิดเห็นของผูใชงานทั่วไป โดยสามารถกําหนดคําตอบไดสูงสุด 5 ตัวเลือก - เมนูอัลบั้มภาพ เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการภาพที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการเรียนการสอน ในสวนของการจัดการนี้ผูใชงานสามารถที่จะแบงแยกหมวดหมูของภาพตาง ๆ ไดโดยทําการสรางโฟลเดอรหรืออัลบั้มเพื่อแบงหมวดหมูของภาพ รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลของอัลบั้มภาพตาง ๆ ในบล็อก - เมนูลิงคบทความยอนหลัง เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการลิงคบทความยอนหลังที่มีในบล็อก รวมถึงกําหนดสถานะการแสดงผลและการเรียงลําดับของลิงคบทความยอนหลังในบล็อก - เมนูปอปอัพ เปนเมนูที่ใชสําหรับเพิ่ม แกไข และลบรายการปอปอัพตาง ๆ ที่ตองการใหแสดงผลบนบล็อก โดยเนื้อหาที่อยูในปอปอัพจะเปนเรื่องที่ผูเขียนบล็อกตองการประชาสัมพันธขอมูลตาง ๆ อาจจะเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนหรือเร่ืองสวนตัวของผูเขียนบล็อก เชน ขอมูลนัดประชุม ขอมูลตารางสอบ และขาวสัมมนา/ประชุมวิชาการตาง ๆ เปนตน สวนที่ 3 คือ Top Menu เปนสวนที่ใชแสดงปุมในการจัดการเนื้อหาซ่ึงสัมพันธกับขอมูลในสวนที่ 2 กลาวคือ เมื่อผูใชงานแกไขขอมูลใด ๆ ในสวนที่เลือกแลว จะมาที่สวนของ Top Menu เพื่อเลือกรูปแบบในการจัดการ โดยรายการเมนูใน Top Menu ประกอบไปดวย บันทึก ยกเลิก ดูตัวอยาง และออกจากระบบ สวนที่ 4 คือ Content เปนสวนที่ใชแสดงเนื้อหาของระบบ ซ่ึงมีความสัมพัธกับสวนที่ 2 โดยที่ผูใชงานเลือกคลิกที่รายการเมนูใด เนื้อหาในสวนนี้ก็จะปรากฏตามหัวขอที่เลือก สวนที่ 5 คือ Footer เปนสวนที่ใชแสดงสวนทายของเว็บไซต โดยในสวนนี้จะแสดงถึงขอมูลลิขสิทธิ์การใชงานระบบและผูสนับสนุนตาง ๆ

Page 104: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

89

4.3 การทดสอบระบบ (System Testing) 4.3.1 สภาพแวดลอมท่ีใชในการทดสอบระบบ 1) เครื่องแมขาย (Server) ฮารดแวร - คอมพิวเตอรโนตบุค Intel Core 2 Duo 1.6 กิกะเฮิรส - หนวยความจํา 1024 เมกกะไบต - ฮารดดิสก 120 กิกะไบต - จอแสดงผล ขนาด 14 นิ้ว (Wide Screen) ซอฟตแวร - ระบบปฏิบัติการ Linux - เว็บเซิรฟเวอร Apache - ฐานขอมูล MySQL 2) เครื่องลูกขาย (Client) ในการทดสอบระบบจํานวน 50 เครื่อง ณ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 5 อาคารเรียนรวม 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ฮารดแวร - คอมพิวเตอรแบบพีซี AMD Athlon 64 บิต 2.30 กิกะเฮิรส - หนวยความจํา 1024 เมกกะไบต - ฮารดดิสก 120 กิกะไบต - จอแสดงผล ขนาด 19 นิ้ว (Wide Screen) ซอฟตแวร - ระบบปฏิบัติการ Windows XP Service Pack 3 - เว็บเบราวเซอร Internet Explorer 7.0 4.3.2 ขั้นตอนในการทดสอบระบบ การทดสอบระบบในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยแบงการทดสอบออกเปน 3 สวนคือ การทดสอบการทํางานของระบบแบบแยกสวน (Unit Test) การทดสอบการทํางานของโปรแกรมที่เกี่ยวของรวมกันทั้งระบบ (Integrated Test) และการทดสอบระบบรวม (System Test) ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 1) การทดสอบการทํางานของระบบแบบแยกสวน (Unit Test) เปนการทดสอบการทํางานของระบบทีละสวน เพื่อดูการทํางานของแตละสวนวาสามารถทํางานไดจริงหรือไม โดยในสวนนี้จะเปนการทดสอบโดยผูวิจัย แบงการทดสอบเปน 2 สวนดังนี้

Page 105: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

90

1.1 ระบบหลัก (BlogLMS) ตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบบแยกสวน (Unit Test) ในสวนของ

ระบบหลัก (BlogLMS)

ลําดับ หนาจอ ขั้นตอนในการทดสอบ ทํางาน ไดด ี

พบปญหา

1 โครงสรางของเว็บไซต - ทดสอบการแสดงผลของเว็บไซตบน เว็บเบราวเซอร Internet Explorer และ Mozilla Firefox

-

2 การจัดการหนาหลัก - ทําการเปลี่ยนขอความบน Banner - ทําการเปลี่ยนขอความบน Footer - ทําการเปลี่ยนชื่อของเว็บไซต

-

3 เมนูหนาหลัก - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผล ขอมูล - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผล เนื้อหา

-

4 การจัดการหมวดหมู - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผล - 5 การจัดการบทความ -ทําการเปด-ปด สถานะการแสดงผล

ของบทความ - ลบบทความออกจากระบบ

-

7 สถานะบล็อก - กําหนดสถานะการแสดงผลของบล็อก ผูสอน บล็อกผูเรียน และบล็อกรายวิชา

-

Page 106: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

91

1.2 ระบบบล็อก (Blog) ตารางที่ 4.2 แสดงผลการทดสอบการทํางานของโปรแกรมแบบแยกสวน (Unit Test) ในสวนของ

ระบบจัดการเนื้อหาบล็อก

ลําดับ หนาจอ ขั้นตอนในการทดสอบ ทํางานไดด ี

พบปญหา

1 รายละเอียดบล็อก - ทําการแกไขและแสดงผลขอมูล เกี่ยวกับ บล็อก -

2 ขอมูลสวนตัว - ทํ า ก า ร แ ก ไ ข แ ล ะ แส ด ง ผ ล ข อ มู ล สวนตัว -

3 บทความ - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผขอมูล - 4 สงขอความ - ทําการสงขอความระหวางผูสอน -

ผูเรียน -

5 ลิงคบทความผูอื่น - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 6 ลิงครายวิชา - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 7 อัพโหลด & ดาวนโหลด - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 8 ลิงคบล็อกผูอื่น - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 9 แสดงความคิดเหน - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล -

10 อัลบ้ัมภาพ - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 11 ลิงคบทความยอนหลัง - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 12 Popup - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 13 RSS - นําลิงคไฟล RSS ท่ีไดไปแสดงผลบน

เว็บไซตอื่น ๆ เพื่อทดสอบการทํางาน -

14 จัดการหมวดหมู - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล รายการหมวดหมูของบทความ -

15 คนหาขอมูล - ทําการคนหาขอมูลบทความ - 16 แบบทดสอบออนไลน - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล - 17 สถิติการใชงาน - ทําการเข า เยี่ ยมชมบล็อกต าง ๆ เพื่ อ

ทดสอบสถิติการใชงานวาสามารถเก็บ สถิติไดหรือไม

-

18 ตารางเรียน / สอน - ทําการเพิ่ม ลบ แกไขและแสดงผลขอมูล -

Page 107: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

92

2) การทดสอบการทํางานของโปรแกรมที่เกี่ยวของรวมกันทั้งระบบ (Integrated Test) เปนการทดสอบโดยนําแตละโมดูลมาประกอบกันและทดสอบผลการทํางาน วาเมื่อนําโมดูลทั้งหมดของระบบมารวมกันแลวจะสามารถทํางานไดถูกตองตามที่ไดออกแบบไวหรือไม โดยในสวนนี้จะเปนการทดสอบการทํางานของระบบโดยผูวิจัยและบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จํานวน 5 ทาน โดยผลการทดสอบระบบที่ไดนั้น ระบบสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนที่นาพอใจของผูใชงาน แตจะพบปญหาในการใชงานบางกรณี ซ่ึงผูวิจัยจะขอกลาวถึงปญหาตาง ๆ ที่พบในระบบ โดยแบงหัวขอของปญหาตามประเภทของผูใชงานดังนี้ 2.1 ผูดูแลระบบ (Administrator) ตารางที่ 4.3 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูดูแลระบบ

หัวขอปญหา การแกไข 1. การตรวจสอบสิทธิ์ในการเขาไปจัดการ ระบบ ยังพบขอผิดพลาดโดยผูใชสามารถที่ จะเขาสูระบบไดโดยไมตองปอนชื่อผูใช และรหัสผาน

ปรับปรุงเงื่อนไขในการตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงาน โดยปรับสวนของ SQL ในการเช็คเงื่อนไขและเพิ่มสวนการตรวจสอบกรณีที่ไมกรอกขอมูลใด ๆ จะปรากฏหนาตางแจงเตือนแกผูใชงาน

2. การจัดการสถานะบทความในระบบยังมี บางสวนที่แสดงผลผิดพลาด

เพิ่มเติมในสวนของการจัดการสถานะบทควาท โดยนอกจากจะอ างถึงขอมูลดวย ID ของบทความแลว ระบบจะตองตรวจสอบในสวนของประเภทของบล็อกดวยวาเปนบล็อกชนิดใด กอนที่จะทําการปรับปรุงสถานะในแตละคร้ัง

3. การเก็บสถิติการเขาชมบล็อกตาง ๆ ใน ระบบการจะทําทุกครั้งที่คลิกเมนูในบล็อก นั้น ๆ ทําใหสถิติเขาชมมากเกินจริง

ปรับเปลี่ยนวิธีการเก็บสถิติใหม ใหระบบทําการเพิ่มสถิติการเขาชมเฉพาะการเปดในครั้งแรกเทานั้น

Page 108: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

93

2.2 ผูสอน (Instructor) ตารางที่ 4.4 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูสอน

หัวขอปญหา การแกไข 1. การสมัครสมาชิกบล็อกรายวิชานั้นยังไม สามารถดําเนินการได

ขั้นตอนในการสมัครสมาชิก สวนนี้จะแตกตางจากบล็อกผูสอนและผู เ รี ยน ผู วิ จั ยจึ งไดปรับปรุงระบบในสวนของการสมัครสมาชิกบล็อกรายวิชา โดยในฟอรมกรอกขอมูลผูใชจะกรอกขอมูลเฉพาะชื่อผูใชและรหัสผานเทานั้น แลวระบบจะทําการตรวจสอบวาผูใชงานนี้มีสถานะเปนผูสอนหรือไม จึงมีสิทธิที่จะสมัครสมาชิกบล็อกรายวิชา

2. กรณีที่ผูสอนมีบล็อกรายวิชามากกวาหนึ่ง ทําใหการเขาไปจัดการเนื้อหาในบล็อก รายวิชาตาง ๆ นั้นไมสามารถดําเนินการได

ปรับปรุงในสวนของการเขาไปจัดการเนื้อหาของบล็อกรายวิชา โดยระบบจะทําการแสดงรายการบล็อกรายวิชาทั้งหมดที่ผูสอนมี เพื่อใหผูสอนทําการเลือกจัดการในสวนบล็อกรายวิชาที่ตองการ

3. การแสดงผลในสวนตารางสอนไมตรงตาม ขอมูลที่ไดปอนเขาสูระบบ

ปรับปรุงการเพิ่มขอมูลในสวนของตารางสอนใหถูกตอง โดยขอปญหานี้เกิดจากจากการระบุวันเวลาในการเก็บขอมูลรายการสอนที่ไมสอดคลองกัน

4. ในสวนของแบบทดสอบออนไลน พบ ปญหาในการเฉลยแบบทดสอบโดยไม สามารถระบุตัวเลือกที่ผูใชงานไดทําไปกอน หนานี้

เ พิ่ ม เ ติ ม ใ นส ว น ขอ ง ก า ร เ ก็ บ ค า ข อ มู ลแบบทดสอบออนไลนที่ผูใชไดเลือกไปกอนหนานี้ แลวสงค าไปยังหนาของการเฉลยแบบทดสอบ

5. ในสวนของคําถามเพื่อใหแสดงความคิดเห็น นั้น กรณีที่ ผู ใชไมกรอกขอคําถาม และ ตัวเลือก ทําใหแบบแสดงความคิดเห็นที่ แสดงผลไมปรากฏขอความใด ๆ

เพิ่มเติมในสวนของการตรวจสอบขอมูลในกรณีไมกรอกขอมูลใด ๆ ระบบจะทําการแจงเตือนแก ผู ใชงาน และจะไมทําการบันทึกคําถามจนกวาจะมีการกรอกขอมูลใหครบถวน

Page 109: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

94

2.3 ผูเรียน (Learner) ตารางที่ 4.5 แสดงปญหาและแนวทางแกไขในสวนของปญหาที่พบในผูใชที่เปนผูเรียน

หัวขอปญหา การแกไข 1. ปญหาการอัพโหลดไฟลภาพเขาสูอัลบั้ม ใน กรณีที่ผูใชงานเลือกไฟลชนิดอื่น ที่ไมใช ไฟลภาพ จะทําใหการแสดงผลผิดพลาด

เพิ่มเติมในสวนของการตรวจสอบชนิดของไฟลที่จะอัพโหลด โดยจะตองเปนไฟลชนิดรูปภาพเทานั้นจึงจะทําการอัพ โหลดเขาสูอัลบั้มได

2. การแกไขการจัดเรียงรายการตาง ๆ เชน รายการของรูปภาพ รายการของไฟล และ รายการของบทความ เปนตน ยังพบปญหา การจัดเรียงที่ผิดพลาดในบางกรณี

ปรับปรุงในสวนของกรณีการจัดเรียงในแตละหนา โดยเพิ่มเงื่อนไขตรวจสอบในการจัดเรียงที่อาจกอให เกิดขอผิดพลาด เชน กรณีที่มีรายการเดียวจะไมสามารถทําการจัดเรียงขอมูล กรณีที่รายการที่ตองการจัดเรียงเปนรายการสุดทายจะสามารถจัดเรียงรายการขึ้นไดอยางเดียว เปนตน

3. การแสดงผลชนิดของไฟลในสวนของการ อัพโหลด & ดาวนโหลด ยังระบุชนิดของ ไฟลไมตรงกับความเปนจริง

เพิ่มเติมในสวนรายการชนิดของไฟลที่ เปน ไฟลเอกสารเว็บ (*.html, *.htm) ไฟลเอกสาร (*.pdf) และหากมีการอัพโหลดไฟลที่ไมตรงกับเงื่อนไขที่ตั้งไว ใหแสดงผลเปนไฟลชนิดอ่ืน ๆ

จากปญหาตาง ๆ ที่พบจากการทดสอบการทํางานของโปรแกรมที่เกี่ยวของรวมกันทั้งระบบ (Integrated Test) ผูวิจัยไดดําเนินการปรับปรุงและแกไขระบบใหถูกตองและสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมที่จะนําระบบไปทดสอบใชงานจริงกับอาจารยและนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในสวนตอไป 3) การทดสอบระบบรวม (System Test) เปนการทดสอบระบบในขั้นตอนสุดทายกอนจะเผยแพรระบบใหแกผูที่สนใจนําไปใชงาน โดยทําการรวมสวนตาง ๆ ของระบบเขาดวยกันแลวทําการทดสอบการทํางานวา ระบบสามารถที่จะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด ซ่ึงการทดสอบในสวนนี้ผูวิจัยไดทําการทดสอบกับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ช้ันปที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Computer Networks สอนโดย ผูชวยศาสตราจารยสมพันธุ ชาญศิลป ภาคการศึกษาที่ 3/2551 จํานวน 96 คน

Page 110: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

95

หลังจากไดทําการทดสอบระบบ ผูวิจัยไดทําการออกแบบสอบถามเพื่อสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชงาน ซ่ึงจะแสดงรายละเอียดของแบบสอบถามในภาคผนวก ข ทั้งนี้เพื่อเปนการประเมินประสิทธิภาพของระบบ BlogLMS โดยในแบบสอบถามไดแบงหัวขอของการประเมินประสิทธิภาพไวทั้งหมด 5 ดานดังนี้ 3.1 ดาน Functional Requirement เปนการประเมินความสามารถของระบบวาตรงความตองการของผูใชมากนอยเพียงใด 3.2 ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองในการทํางานของระบบวาระบบสามารถตอบสนองความตองการของผูใชไดมากนอยเพียงใด 3.3 ดาน Useability Test เปนการประเมินความสะดวกในการใชงานของระบบวามีมากนอยเพียงใด 3.4 ดาน Performance Test เปนการประเมินประสิทธิภาพของระบบวามีมากนอยเพียงใด 3.5 ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานของความปลอดภัยของวามีมากนอยเพียงใด โดยผลจากการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดานตาง ๆ ที่ไดจากแบบสอบถามนั้นจะแสดงรายละเอียดในตารางที่ 4.3 - 4.7 และสวนของผลสรุปของการประเมินความพึงพอใจตอประสิทธิภาพของระบบในดานตาง ๆ จะแสดงในรูปที่ 4.7 ตารางที่ 4.6 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Functional Requirement

ระดับคะแนน (จํานวนคน / %) ประเด็นวัดความพึงพอใจ

5 4 3 2 1 คะแนนเฉล่ีย

1. โมดูลที่จัดเตรียมไวมีความเหมาะสม และตรง 23/24 63/66 10/10 0/0 0/0 4.14

2. ความสามารถในการแสดงผลขอมูล 27/28 59/61 9/9 1/1 0/0 4.17 3. ความสามารถในการเพิ่ม แกไข และ ลบขอมูล

25/26 52/54 4/4 0/0 0/0 4.02

4. ความครบถวนของหมวดหมูเนื้อหา 18/19 56/58 20/21 1/1 1/1 3.93 5. ความสามารถที่รองรับการจัดการเรียน การสอน 19/20 56/58 20/21 1/1 0/0 3.97

หมายเหตุ : คาเฉลี่ยความพึงพอใจดาน Functional Requirement คือ 4.05 คิดเปนรอยละ 81.00

Page 111: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

96

ตารางที่ 4.7 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Functional Test ระดับคะแนน (จํานวนคน / %)

ประเด็นวัดความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

คะแนนเฉล่ีย

1. ความถูกตองของระบบในการจัดการ เนื้อหาในแตละโมดูล 28/29 48/50 20/21 0/0 0/0 4.08

2. ความถูกตองของระบบในการเพิ่ม ขอมูล

36/38 41/43 18/19 1/1 0/0 4.17

3. ความถูกตองของระบบในการปรับปรุง ขอมูล 32/33 40/42 21/22 3/3 0/0 4.05

4. ความถูกตองของระบบในการแสดงผล ขอมูล 33/34 47/49 15/16 1/1 0/0 4.17

5. ความถูกตองของระบบในการทํางาน โดยรวม 35/36 52/54 8/8 1/1 0/0 4.26

หมายเหตุ : คาเฉลี่ยความพึงพอใจดาน Functional Test คือ 4.15 คิดเปนรอยละ 83.00 ตารางที่ 4.8 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Usability Test

ระดับคะแนน (จํานวนคน / %) ประเด็นวัดความพึงพอใจ

5 4 3 2 1 คะแนนเฉล่ีย

1. ความสะดวกในการเรียนรูระบบ 42/44 36/38 17/18 1/1 0/0 4.24 2. ความสะดวกในการใชงานระบบ 40/42 44/46 11/11 1/1 0/0 4.28 3. ความเหมาะสมของการจัดวางโครง สรางระบบ 27/28 53/55 14/15 2/2 0/0 4.09

4. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่ แสดงบนจอภาพ 30/31 49/51 16/17 1/1 0/0 4.13

5. ความพึงพอใจตอการใชงานระบบ 31/32 53/55 11/11 1/1 0/0 4.19 หมายเหตุ : คาเฉลี่ยความพึงพอใจดาน Usability Test คือ 4.19 คิดเปนรอยละ 83.80

Page 112: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

97

ตารางที่ 4.9 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Performance Test ระดับคะแนน (จํานวนคน / %)

ประเด็นวัดความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

คะแนนเฉล่ีย

1. ความเร็วในการแสดงผลขอมูล 37/39 42/44 15/16 2/2 0/0 4.19 2. ความเร็วในการติดตอกับฐานขอมูล 30/31 50/52 15/16 1/1 0/0 4.14 3. ประสิทธิภาพในแสดงผลบนจอภาพ 29/30 48/50 18/19 1/1 0/0 4.09 4. ประสิทธิภาพในการบันทึก แกไข และ ลบขอมูล 31/32 49/51 16/17 0/0 0/0 4.16

5. ประสิทธิภาพในการทํางานของระบบ ในภาพรวม 32/33 48/50 15/16 1/1 0/0 4.16

หมายเหตุ : คาเฉลี่ยความพึงพอใจดาน Performance Test คือ 4.15 คิดเปนรอยละ 83.00 ตารางที่ 4.10 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบในดาน Security Test

ระดับคะแนน (จํานวนคน / %) ประเด็นวัดความพึงพอใจ

5 4 3 2 1 คะแนนเฉล่ีย

1. ความเหมาะสมของการตรวจสอบการ เขาใชงานระบบ

25/26 49/51 19/20 3/3 0/0 4.00

2. ความเหมาะสมในการแจงเตือนกรณี เกิดขอผิดพลาดในการปอนขอมูล

18/19 44/46 32/33 2/2 0/0 3.81

3. ความเหมาะสมของความปลอดภัยของ ระบบโดยรวม

19/20 48/50 23/24 4/4 2/2 3.81

4. ความเหมาะสมในการแยกสวนแสดง เนื้อหากับการจัดการเนื้อหาออกจากกัน

24/25 49/51 22/23 1/1 0/0 4.00

5. ความเหมาะสมในการแบงสิทธิ์การใช งาน

35/36 49/51 12/13 0/0 0/0 4.24

หมายเหตุ : คาเฉลี่ยความพึงพอใจดาน Security Test คือ 3.97 คิดเปนรอยละ 79.40

Page 113: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

98

จากขอมูลสรุปผลของการประเมินความพึงพอใจตอประสิทธิภาพของระบบในดานตาง ๆ ผูวิจัยไดนํามาสรุปในรูปแบบกราฟแทง เพื่อแสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบ BlogLMS ในดานตาง ๆ ไดดังนี้

83.00

81.00

83.80 83.00

79.40

7576777879808182838485

FunctionalRequirement Test

Functional Test Usability Test Performance Test Security Test

รูปที่ 4.7 กราฟแสดงประสทิธิภาพของระบบ BlogLMS ในดานตาง ๆ เปนรอยละ 4.4 การบํารุงรักษาระบบ (Maintenance) หลังจากไดทําการทดสอบระบบ ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขปญหาขางตนเพื่อใหระบบทํางานอยางมีประสิทธิภาพและตรงความตองการของผูใชงาน กอนที่จะนําระบบติดตั้งบนลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนา เวอรช่ัน 5108 (SUTinsServer 5108) เพื่อทําการเผยแพรงานวิจัยใหกับผูที่สนใจ โดยในสวนของการบํารุงรักษาระบบนั้นไดทําการจัดทําคูมือในการใชงานระบบโดยแบงออกเปน 3 สวนคือ คูมือในการติดตั้งระบบ คูมือการใชงานระบบหลัก BlogLMS สําหรับผูดูแลระบบ และคูมือการใชงานระบบบล็อกจะแสดงรายละเอียดในภาคผนวก จ ตอไป 4.5 อภิปรายผล จากการทดสอบการใชงานระบบ BlogLMS พบวาระบบสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงความตองการของผูใชงาน สามารถใชแทนหรือคูกับระบบการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยแบบเดิม เนื่องจากระบบ BlogLMS นั้นมีโมดูลการทํางานที่สามารถรองรับการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัย ระบบนี้ไดถูกออกแบบใหสะดวกตอการใชงาน โดยไดมีการแยกสวนของการจัดการระบบกับสวนของการแสดงผลขอมูลออกจากกัน จึงทําใหผูใชงานไมสับสนและทําใหสามารถเรียนรูการใชงานระบบไดอยางรวดเร็ว

Page 114: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

99

หลังจากที่ไดพัฒนาระบบ BlogLMS และทําการทดสอบระบบในขั้นตอนตาง ๆ ดังที่ไดนําเสนอในขางตน ผูวิจัยจึงไดนําขอมูลสวนของผลการทดสอบที่ไดมาวิเคราะหและสรุปผล ซ่ึงจะกลาวถึงรายละเอียดดังกลาวนี้ในสวนของบทที่ 5

Page 115: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย

งานวิจัยช้ินมุงที่จะศึกษาคนควาและพัฒนาเครื่องมือที่ชวยในการจัดการเรียนการสอน

รูปแบบใหมที่มีประสิทธิภาพการทํางานสูงและใชงานไดสะดวก โดยไดใชแนวคิดในการพัฒนาเว็บไซตในยุคของเว็บ 2.0 มาเปนแนวทางในการวิจัยและไดเลือกใชเทคโนโลยีเว็บบล็อกมาเปนโครงสรางหลักในการพัฒนา เนื่องจากเว็บบล็อกนั้นมีกระแสความนิยมในการใชงานสูงและมีรูปแบบการทํางานที่ไมซับซอนเหมาะกับกลุมคนทุกเพศ ทุกวัย เมื่อนําเอาแนวคิดดังกลาวมาประยุกตกับการเรียนการสอนนั้น ผูวิจัยจึงไดทําการพัฒนาเครื่องมือที่มีช่ือวา BlogLMS (Weblog Learning Management System) ซ่ึงเปนระบบเว็บบล็อกที่ใชสําหรับการจัดการเรียนการสอน ที่มุงเนนใหผูสอนและผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธระหวางกันมากขึ้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนอีกทั้งเปนการจูงใจใหผูสอนและผูเรียนไดเผยแพรขอมูลความรูตาง ๆ ที่ตนตองการซึ่งอาจจะไมใชเนื้อหาในหองเรียนอยางเดียวเทานั้น เชน กรณีที่นักเรียนไปกวดวิชาตามสถาบันตาง ๆ แลวไดรับเนื้อหาที่เปนประโยชนตอเพื่อน ๆ ในหองเรียน ก็สามารถที่จะนําขอมูลเหลานี้เผยแพรในบล็อกของตนเพื่อใหผูอ่ืนไดเขามาดูเนื้อหาตอไป เปนตน ในสวนของขั้นตอนการดําเนินการวิจัยนี้ ผูวิจัยไดใชกระบวนการในการพัฒนาซอฟตแวร (System Development Life Cycle : SDLC) มาเปนหลักการดําเนินการวิจัย ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ 1) กําหนดปญหา ทําการศึกษาขอมูลของ LMS เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหออกแบบแบบสอบถาม เพื่อสํารวจความตองการของอาจารยและนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย

2) ศึกษาความเปนไปได ทําการศึกษาและวิเคราะหปจจัยตาง ๆ เชน ดานเทคนิค ดานการลงทุน และดานการปฏิบัติ เปนตน เพื่อดูแนวโนมและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบ

3) การวิเคราะหระบบ นําผลที่ไดจากแบบสอบถามมาวิเคราะหเพื่อสรุปผลการสํารวจความตองการของผูใชงาน

4) การออกแบบระบบ นําผลที่ไดจากการวิเคราะหความตองการของผูใชงาน มาทําการออกแบบโครงสรางการทํางานของระบบในสวนตาง ๆ

5) การพัฒนาระบบ นําผลที่ไดจากการออกแบบโครงสรางการทํางานของระบบมาเปนตนแบบในการดําเนินการพัฒนาระบบ

Page 116: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

101

6) การทดสอบระบบ ผูวิจัยไดทําการทดสอบระบบโดยแยกเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 ทดสอบการทํางานแบบแยกสวน (Unit Test) สวนที่ 2 ทดสอบโปรแกรมที่เกี่ยวของรวมกันทั้งระบบ (Integrated Test) และสวนที่ 3 การทดสอบระบบรวม (System Test) 7) การบํารุงรักษา ไดจัดทําคูมือการใชงานระบบซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท คือ คูมือในการติดตั้งระบบ คูมือการใชงานระบบหลัก BlogLMS สําหรับผูดูแลระบบ และคูมือการใชงานระบบบล็อก

5.1 สรุปผลการวิจัย 5.1.1 ดาน Functional Requirement Test ระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน (BlogLMS) ที่พัฒนาขึ้นนั้นไดเก็บรวบรวมขอมูลจากอาจารยและนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในประเทศไทย อีกทั้งไดศึกษาระบบ LMS ที่ใชงานในปจจุบัน จึงทําใหระบบที่พัฒนาขึ้นมีโมดูลการทํางานที่ครอบคลุมและตรงความตองการของผูใชงาน โดยดูจากผลการประเมินในสวนนี้พบวาอยูในเกณฑดี 5.1.2 ดาน Functional Test หลังจากไดทําการทดสอบการใชงานระบบ ทั้ง 3 สวน คือ Unit Test, Intregrate Test และ System Test ในสองสวนแรกนั้นทดสอบโดยผูวิจัย สวน System Test นั้นไดทดสอบกับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยในสวนของความถูกตองของการทํางานนั้นไดผลการประเมินในเกณฑดี 5.1.3 ดาน Usability Test ระบบ BlogLMS นั้นถูกออกแบบมาใหมีโครงสรางไมซับซอน สะดวกตอการใชงาน โดยแยกสวนการจัดการเนื้อหากับสวนของการแสดงผลออกจากกันเพื่อใหผูใชงานไมสับสนในการใชงาน ในสวนนี้ไดผลการประเมินในเกณฑดี 5.1.4 ดาน Performance Test ดานประสิทธิภาพการทํางานนั้น เนื่องจากระบบ BlogLMS นี้เนนการใชงานที่สะดวกและรวดเร็ว ผูใชงานสามารถที่จะจัดการเนื้อหาไดทันทีผานหนาเว็บไซต อีกทั้งระบบที่พัฒนาขึ้นนี้มีขนาดเล็กกวาระบบ LMS ที่มีอยูในปจจุบันมากเนื่องจากไดตัดสวนโมดูลที่ทําการวิจัยแลวพบวาผูใชงานสวนใหญไมตองการ จึงทําให BlogLMS มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง โดยดูจากผลการประเมินที่ไดซ่ึงอยูในเกณฑดี

Page 117: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

102

5.1.5 ดาน Security Test ในสวนของความปลอดภัยนั้น ระบบ BlogLMS ไดมีการตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงานทุกครั้งกอนที่จะสามารถเขาไปแกไขเนื้อหาในระบบได อีกทั้งระบบนี้ไดติดตั้งบนลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนา เวอรช่ัน 5108 (SUTinsServer 5108) ซ่ึงมีระบบการรักษาความปลอดภัยในระดับเครื่องที่เปนเซิรฟเวอร จึงทําใหผูใชมั่นใจไดถึงความปลอดภัยในการใชงานระบบ ในสวนนี้ไดผลการประเมินอยูในเกณฑปานกลาง 5.2 การประยุกตใชงานวิจัย ระบบ BlogLMS ที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถที่จะนํามาใชรวมกับระบบ LMS แบบเดิมถึงแมจะเปนเครื่องมือที่ใชชวยในการจัดการเรียนการสอนเหมือนกัน แตขอแตกตางของ BlogLMS กับ LMS แบบเดิมนั้นก็คือ BlogLMS นั้นเปดโอกาสใหทั้งผูสอนและผูเรียนมีสิทธิ์ที่จะเผยแพรขอมูลตาง ๆ ที่ตองการ ดังนั้นจะทําใหเกิดความนาสนใจในการใชงานจากเดิมที่ระบบ LMS นั้นจะมีเพียงแคอาจารยเทานั้นที่มีสิทธิ์นําเสนอขอมูลในระบบได การนําระบบ BlogLMS ไปใชงานนั้นจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน ทําใหผูเรียนสนใจที่จะเขามาใชงานระบบมากขึ้นเนื่องจากตนเองก็มีสวนรวมในการนําเสนอเนื้อหาเชนเดียวกับผูสอน ทําใหเกิดการเรียนแบบแบงปนความรูใหแกกันและกัน กอใหเกิดสังคมออนไลนทางดานการศึกษา 5.3 แนวทางในการพัฒนาตอ เนื่องจากระบบ BlogLMS ที่พัฒนาขึ้นนี้มุงเนนที่จะพัฒนาระบบ LMS ในรูปแบบใหมที่นําเทคโนโลยีที่อยูในกระแสนิยมมาประยุกตใชเปนแนวทางในการพัฒนา อีกทั้งในการออกแบบยังคํานึงถึงลักษณะโครงสรางการทํางานที่ไมซับซอนสะดวกแกการเขาใจและใชงาน ดังนั้นอาจมีบางสวนที่ระบบ BlogLMS ยังไมไดถูกพัฒนาขึ้น ซ่ึงผูวิจัยขอสรุปเปนแนวทางในการพัฒนาตอไวดังนี้ - พัฒนาระบบติดตามการเขาใชงานของผูเรียนที่สามารถออกรายงานสถิติการเขาเรียนใหกับผูสอนได

- พัฒนาระบบจัดการรูปแบบการแสดงผลที่สามารถแกไขไดสะดวก - พัฒนาระบบสอบออนไลนใหสามารถใชแทนการสอบวัดผลการศึกษาแบบเดิมได - พัฒนาสวนของระบบติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ Windows - พัฒนาระบบเมลที่สามารถตอบกลับไดโดยอัตโนมัติ - พัฒนาระบบตามมาตรฐาน SCORM (Sharable Content Object Reference Model)

Page 118: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

รายการอางอิง เกงดอทคอม. (2548ก). Blog คืออะไร. [ออนไลน]. ไดจาก : http://keng.com/2005/09/30/what-is-

blog/ เกงดอทคอม. (2548ข). Blog Anatomy กายวิภาคของ Blog. [ออนไลน]. ไดจาก :http://keng.com /2006/09/23/blog-anatomy/ คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา. (2550). CMS คืออะไร ?. [ออนไลน]. ไดจาก: http://ednet.kku.ac.th/~co ~comed /main/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=1 จันทวรรณ นอยวัน และ ธวัชชัย ปยะวัฒน. (2548). การใชระบบบล็อก GotoKnow.org เพื่อการ

จัดการความรูเขียนจากประสบการณของผูพัฒนาและดูแลระบบ. หนังสือ นานาเรื่องราวการจัดการความรูของสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม (สคส.).

จารุทรรศน พัฒนพันธชัย. (2549). แมแบบการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบเว็บแคชชิงดวยการทําเหมืองขอมูลบันทึก. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม. (2550). รูจัก LMS. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.cmsthailand. com /lms

ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม. (2551ก). ATutor 1.6.1 Beta Released. [ออนไลน]. ไดจาก : http:// www. cmsthailand.com/a/node/220

ซีเอ็มแอสไทยแลนดดอทคอม. (2551ข). What is CMS?. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.cmsthai land.com/a/node/4

บุญเลิศ อรุณพิบูลย. (2547). การออกแบบพัฒนาเว็บไซต. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.nectec .or.th/courseware/pdf-documents/20040517-webdesign.pdf

ไทยออลดอทคอม. (2551ก). มูเดิ้ล มูเดิล มูดี้ (Moodle). [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.thai all.com/e-learning/moodle.htm#1

ไทยออลดอทคอม. (2551ข). แมมโบ (Mambo) และ จูมลา (Joomla) เปน CMS. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.thaiall.com/mambo/

นฤมล แสงดวงแข. (2550). รูจักเว็บ 3.0. [ออนไลน] ไดจาก : tsumis.tsu.ac.th/tsukm/UploadFolder %5CWeb3.0.pdf

Page 119: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

104

นรินทร หมื่นรัตน. (2550). ระบบจัดการเนื้อหาและจัดการเรียนการสอนบนเซิรฟเวอรพรอมใช. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

บุญเลิศ อรุณพิบูลย. (2549). CMS : เคร่ืองมือสําหรับการพัฒนาเนื้อหาออนไลน. [ออนไลน]. ไดจาก : http://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=lesson_show&cid=198&sid=

& lid=2272 ประทานพร อุนออ. (2540). เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและพาณิชย

อิเล็กทรอนิกส. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนยการศึกษาดรุณพิทยา. มนตชัน เทียนทอง. (2549). การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน. วารสารเทคโนโลยี

สารสนเทศ. ม.ค. - มิ.ย. 2549 : 43-51. มนตรี โรจนศิ ริกูลกิจ . (2551) . การจัดการเรียนการสอนทางไกลดวยรูปแบบ e-Learning.

[ออนไลน]. ไดจาก : http://tsumis.tsu.ac.th/TSUKM/UploadFolder%5CLMS-1.pdf เลิรนสแควรดอทคอม . (2551). คู มือการใชงานระบบ LearnSquare. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.learnsquare.com/download/Ln2Manual/1_Introduction.pdf

วิกิพีเดีย. (2551ก). ระบบจัดการเนื้อหา. [ออนไลน]. ไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8 %A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8% B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2

วิกิพีเดีย. (2551ข). เว็บไซต. [ออนไลน]. ไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0 %B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0% B9%8C วิกิพีเดีย. (2551ค). จูมลา!. [ออนไลน]. ไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B

8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B2 วิกิพีเดีย. (2551ง). Drupal. [ออนไลน]. ไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/Drupal ศิ ริวรรณ สิ ริ สินวิบูลย และเปรมพร เขมาวุฆฒ . (2549). ระบบชวยสรางเว็บไซตพาณิชย

อิเล็กทรอนิกส. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. ม.ค. - มิ.ย. 2549 : 1-10. สําราญ ชอบใจ. (2550). การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเว็บไซตกองบินของกองทัพอากาศไทย.

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

Page 120: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

105

สมคิด อเนกทวีผล. (2550). จากไดอารี่แบบไทย ๆ สู BLOG. POSITIONING Magazine. ฉบับที่ 038 (กรกฎาคม 2550) : 79-81.

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. (2551) XOOPS คืออะไร. [ออนไลน]. ไดจาก: http://coit.kru.ac.th/index.php?option=com_content&task=view &id=101&Item id=22

สมพันธุ ชาญศิลป. (2551). ลีนุกซเซิรฟเวอรพรอมใชสําหรับนักพัฒนา เวอรชัน 5108. [ออนไลน]. ไดจาก : http://linux.sut.ac.th

สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยทักษณิ. (2551). LMS คืออะไร. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.ts u.ac.th/cc/wbl_training/lms.htm

สมคิด เอนกทวีผล. (2550). Web2.0 ถึงยุคแบงปน. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.positioningmag .com/Magazine/Details.aspx?id=60894 สวนสนุกดอทคอม. (2551). Wordpress คืออะไร?. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.suansanook.co

m/wordpress/?tag=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8 %AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2

อีบิสไทยแลนดดอทคอม. (2550). Web 2.0 คืออะไร. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.e-bizthailand .com/node/282

อาณัติ รัตนถิรกุล. (2551). รูจักระบบ CMS. iBusiness Magazie. ฉบับที่ 5 (กันยายน 2551) : 5-12. อมรเดช คีรีพฒันานนท. (2549). CMS คอือะไร. [ออนไลน]. ไดจาก : http://www.meewebfree.com/

basic/what-is-cms.htm Amit Agarwal. (2007). The Difference Between Web 1.0 and Web 2.0. [on-line]. Available :

http://www.labnol.org/internet/favorites/the-difference-between-web-10-and-web-20/665/ Dave Winer. (2003). What makes a weblog a weblog?. [on-line]. Available : http://blogs.law.har

vard.edu/whatmakesaweblogaweblog.html Gerti Kappel, Birgit Pröll, Siegfried Reich and Werner Retschitzegger. (2006). Web Engineering

.John Wiley & Sons Ltd. : 1-7. JingTao Yao. (2006). Supporting Research with Weblogs: A Study on Web-based Research

Support Systems. Proceedings of the 2006 IEEE/WIC/ACM International Conference on Web Intelligence and Intelligent Agent Technology (WI-IAT 2006 Workshops) (WI-

IATW'06). : 161-164.

Page 121: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

106

Magdalena Böttger. (2004). WEBLOG PUBLISHING AS SUPPORT FOR EXPLORATOR LEARNING ON THE WORLD WIDE WEB. [on-line]. Available : http://www.roell. net/publikationen/weblogs-exploratory-learning-celda04.pdf

Martin Ebner. (2007). E-Learning 2.0 = e-Learning 1.0 + Web 2.0?. Proceedings of the The Second International Conference on Availability, Reliability and Security. : 1235-1239.

Mary Zajicek. (2007). Web 2.0: Hype or Happiness?. Proceedings of the 2007 international cross-disciplinary conference on Web accessibility (W4A). : 35-39.

Thawatchai Piyawat, Jantawan Noiwan and Anthony F. Norcio. (2005). Usability Testing of BlogExpress:Blog Reader Software as a Knowledge Management Tool. Proceedings of the HCI International 2005, The 11th International Conference on Human–Computer Interaction.

Wikipedia. (2007a). Web 1.0. [on-line]. Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Web_1.0 Wikipedia. (2007b). Web 2.0. [on-line]. Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Web_2.0 Wikipedia. (2007c). Web 3.0. [on-line]. Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Web_3.0 Wikipedia. (2008). BLOG. [on-line]. Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Blog

Page 122: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก ก

บทความผลงานวิจัยที่นําเสนอในการประชุมทางวิชาการ NCIT2008 คร้ังที่ 2 (2nd National Conference on Information Technology 2008)

วันที่ 6-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เร่ือง “ การวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืน ”

Page 123: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

108

WEBLOG SYSTEM FOR LEARNING MANAGEMENT SYSTEM

Tanatorn Tanantong and Kacha Chansilp

School of Computer Engineering, Suranaree University of Technology, Muang, Nakhon Ratchasima, 30000 Email : [email protected], [email protected]

Abstract Weblog i s the mos t popu la r Conten t Management System (CMS) nowadays because it is very easy to use and always open for user’s comments that become an online society finally. It is based on the Web 2.0 development concept that focus on the website association. The aim of this research is to develop the new online learning system by using the high efficiency of CMS from Weblog and Learning Management System (LMS) to create a more powerful LMS called “Weblog Learning Management System (Blog LMS)”.

Index Terms — Weblog for Learning Management System (Blog LMS), Web 2.0, Learning Management System (LMS)

1. INTRODUCTION

As the Weblog is a very popular system refer to the number that collected by http://www. tchnorati.com/weblog/. During Mar’ 04 to Apr’ 07, there are very high number of the new

Weblog generated average 120,000 blogs a day and the current use is more over 70 million blogs [1]. In Thailand, there are a lot of the popular Weblogs such as www.gotoknow.org (Weblog of knowledge management) or w w w . k e n g . c o m ( W e b l o g o f W e b l o g knowledge), etc. The Weblog is a capable tool to manage the content that is almost similar to Joomla, Mambo and XOOP. Even if there is some limitation of the Weblog when compared to the current CMS but it would be a good point of the Weblog to be used as a channel for delivery learning content since it is very easy to manage and friendly for user. As above-mentioned and the Weblog favor now, the researcher trying to apply the Weblog concept with the current online LMS to create a new high efficiency LMS. In this research, the Blog LMS was developed by the Weblog’s main structures with LMS capabilities.

Page 124: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

109

1.1 Web 2.0 In Web2.0 generation, the development concept is to get more user’s association, from one way communication (website owner give the information only) to be two ways c o m m u n i c a t i o n ( u s e r c a n g e t m o r e par t ic ipat ion to the ar t ic les) [2] . The development techniques and tools of Web 2.0 are Rich Internet Applicat ion (RIAs), Cascading Style Sheet (CSS), Really Simple S y n d i c a t i o n ( R S S ) , W e b l o g , W i k i , Asynchronus JavaScript and XML (AJAX) and average internet speed of 1 Mbps [3].

Figure 1 The comparison between Web 1.0 and2.0 (http://web2.wsj2.com/all_we_got_was _web_10_when_tim_bernerslee_actually_gave _us_w.htm)

Figure 1 shows the difference between Web 1.0 and 2.0. The Web 1.0 focuses on the data from the owner’s website more than user’s participation while the Web 2.0 focuses more on user’s participation by allowing user to have a right to access and comments on that website. Resulting in the huge number of users and more valuable data because there are a lot of people to get involved. 1.2 Weblog The Weblog is come from two words, “Web” and “Loging”, which means the website that is used to collect the data. The Weblog is the internet communication tool [4] and knowledge management [5]. The main structures of the weblog are an article section which ordered by latest posted date, feed section and blogroll section which open for all user comments, link to other's blogs and link to the old articles. The difference between CMS and the Weblog is that the CMS have a large size with a lot of tools that sometimes make user more confuse and take a long time to understand while the Weblog is quite smaller and easier to use. The Weblog is used to present the log of owners or their organization. The details in the Weblog can be separated by the objectives or groups such as Entertainment, Sports, Health or Education. Especially in Education group, the Weblog is normally used to be a tool for

Page 125: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

110

research [6] which applies for the papers p resen ta t ion and a l lows the o the r to comment that research. 1.3 Learning Management System (LMS) LMS is the useful system of learning management because it is a part of the Virtual Learning Environment (VLE) [7]. LMS is the good interactivity between instructors and learners. It can be used to qualify both instructors and learners, create the articles, keep following and verifying the learning system in term of effectiveness. Based on the high technology now and according to LMS can be used to present the images, sound or video that lead the LMS to be the effective learning system for today. The popular LMS in Thailand are LearnSquare which is Thai LMS that developed by NECTEC, Moodle that developed by Mr. Martin Dougiamas and ATutor that developed by The Adaptive Technology Resource Center of Toronto University, Canada. All above are open source software that support Thai language. There are a lot of University in Thailand use the LMS such as SUT, Medical Science of KKU and Pharmacology of CU [8].

2. METHODOLOGY 2.1 User’s requirement There are two types of user’s requirement data as below:-

1. Learning and analyzing SUT LMS module (http://sutonline.sut.ac.th/ moodle/) and other Universities LMS module in Thailand.

2. Direct user’s survey of system’s requirement The survey were sent out to collect the data from user after studied about the LMS. The details of the LMS requirement survey were separated into two modules, instructor and learner modules as details below:-

- Instructor Module : 40 faculties of Computer Technology or related field of both government and private Universities, 10 survey copies per department and the results shown in Figure 2 and Figure 4.

- Learner Module : 100 survey copies for students of Computer Engineering and Information Technology at SUT and the results showed as Figure 3 and Figure 5.

Page 126: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

111

61.5

88.580.8

92.3 88.5 88.5 88.576.9 80.8 76.9

50

76.9 73.1 69.2

88.5 92.3 88.5

53.8

73.180.880.8

0102030405060708090

100

Profile

Time T

able

Atricle

Permali

nk

Course

Calend

a

Upload

& Dow

nload

Blogrol

lVote

Web

board Cha

t

Gallery

News

Podca

stRSS

Catego

ry

Search

Archive

Popup

Mail

V-stat

Modules

Perc

en (%

)

Figure 2 The histrogram showed the faculty’s requirement by type of an instructor blog module

89 8982.9 80.5

90.282.9

93.9

70.780.5 84.1

73.281.7

91.581.7 85.4

92.780.5

64.675.6 74.4

93.9

0102030405060708090

100

Profile

Time T

able

Atricle

Permali

nk

Course

Calend

a

Upload

& Dow

nload

Blogrol

lVote

Web

board Cha

t

Gallery

News

Podca

stRSS

Catego

ry

Search

Archive

Popup

Mail

V-stat

Modules

Perc

en (%

)

Figure 3 The histrogram showed the learner’s requirement by type of the learner blog module

96.2 96.288.5

80.8 84.6 88.5 88.580.8 76.9 76.9

57.7

76.9

88.5

73.1

84.6 80.888.5 92.3

65.4

88.5

23.1

0102030405060708090

100

Course

Outlin

e

Time

Table

Atric

le

Perm

alink

Back

& R

estor

e

Calend

a

Upload

& D

ownlo

ad

Test

Vote

Web

board

Chat

Gallery

News

Podc

ast

RSS

Catego

ry

Search

Arch

ives

Popu

p

V-St

at

Spon

ser

Modules

Perc

en (%

)

Figure 4 The histrogram showed faculty ’s requirement by type of the courses blog module

95.1 95.187.8

92.787.8

81.7

95.1 92.785.4 89

80.5 78

95.1 93.984.1

92.7 95.190.2

72 74.4

43.9

0102030405060708090

100

Course

Outlin

e

Time

Table

Atric

le

Perm

alink

Back

& R

estor

e

Calend

a

Upload

& D

ownlo

ad

Test

Vote

Web

board

Chat

Galle

ryNe

ws

Podc

ast

RSS

Catego

ry

Search

Arch

ives

Popu

p

V-St

at

Spon

ser

Modules

Perc

en (%

)

Figure 5 The histrogram showed the learner’s requirement by type the courses blog module

2.2 Summary Basically, the researcher will consider only the survey that have the requirement in each modu le more than 50% as a c r i t i ca l information for the system improvement. In case of dissimilar input from faculty and students, the researcher will make the rational decision. With above circumstance, it can conclude that the LMS blog will consist of the f o l l o w i n g structure. 2.2.1 Display Options

• Full screen weblog • Optimized first page display • The article details depend on user

arrangement • Weblogs and weblog management

system are separated in different page

• Only the article’s owner are allowed to edit the details in Weblog

Page 127: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

112

2.2.2 Module lists of the instructor's, learner’s and course’s weblog sections can be drawn in the following table

Modules Course Instructor Learner Course Outline

Time Table Article Permalink Backup & Restore

Courses Calendar Upload & Download

Blogroll Test Vote Webboard Chat Gallery News Podcast RSS Category Search Archives Popup Mail V-Stat

Table 1 The table showed the relation between modules in the LMS blog

After the researcher finds out the relationship of each component in Weblog system as showed in Table 1, it can be stated that each component of Weblog sytstem can perform differently depend upon their functions. For example, Weblog of Course will have the on-line testing module which won't have in that of instructors or students. As a result, the system will be able to be developed independently. In addition, the details of the module in each system will consist of:- 1. Webboard Module

After studied more information about weblog system, the weblog section is similar to webboard style. 2. News Module Due to weblog is an on-line recorder which owner uses to share or communicate to each others. Since WebBlog system can perform both Webboard Module and News Module, the reseacher will consider them as one Module. 2.3 System analysis and layout Based on the data that collected from LMS knowledge and the questionnaire, the main structures of system were designed shown in Figure 6.

Page 128: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

113

BLOG LMS :Create weblogs and way to all weblogs.

Instructor Blog

Learner Blog

Instructor Blog

Course Blog

Learner Blog

Learner BlogLearner Blog

Learner Blog

Course Blog

Course Blog

Course Blog

Course Blog

Figure 6 The main structures of the Blog LMS Figure 6 that shows the main structures of the Blog LMS which is divided into 4 sections. 1 The Blog LMS section

This section is the major system to manage all the data in the weblog. The example is the additional an instructor blog that proceed by user who have to register in that main structure and use to be first page also. 2 The Instructor blog section This section is used for recording the data of an instructor, the teaching process or related Information. 3 The Learner blog section This section is used for recording the data of the learner themself, the learning process or related Information. 4 The Courses blog section This section is concerned or presented the courses details by an instructor. The learners are able to access the course details, comment or ask their questions directly through this section.

In term of user's authorization, it can be separated into 3 group, Administrator, Instructor and Learner. Each group can p e r f o r m tasks as described below:- 1. Administrator

• Able to add, delete and edit an instructor blog, the learner blog and the courses blog sections

• Able to manage all the details in the learning managment system weblog

• Able to set user's authorization of the system

• Able to access an instructor blog, the learner blog and the courses blog sections

2. Instructor • Able to manage an instructor blog’s

and the courses blog’s details • Able to access an instructor blog, the

learner blog and the courses blog sections

3. Learner • Able to manage the learner blog’s

details • Able to access an instructor blog, the

learner blog and the courses blog sections

Page 129: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

114

3. RESULTS

The Blog LMS was developed on PHP Language version 5.2.6, MySQL Database version 5.0.51b and Apache Web Server version 2.2.8. The main page is shown in Figure 7.

Figure 7 The main page of the Blog LMS

The Blog LMS was tested on PC with

specification of PC is 2.4 GHz CPU Core Quad, 2 GB RAM and 250 GB HD with Window XP Service Pack 3 OS. The results showed good as design.

4. CONCLUSION The Blog LMS is combined the tools from the Weblog and LMS together to create the new system that friendly for user and high efficiency. It is new knowledge management system that come with the modern style and fully response to user’s requirement. This research presents the learning management in the Weblog style that is open and easy to

participate and finally generated the education online society that is a simple way to associate between teacher and student.

5. REFERENCES

[1] The State of the Live Web, Retrieved December 15, 2007, from http://technorati .com/weblog /2007/04/328.html [2] Web 2.0, Retrieved January 10, 2008, from http://en.wik ipedia.org/wiki/Web_2.0 [3] Apostolos Kritikopoulos , Martha Sideri a n d I r a k l i s V a r l a m i s . B L O G R A N K : R A N K I N G W E B L O G S B A S E D O N CONNECTIVITY AND SIMILARITY F E A T U R E S , P r o c e e d i n g s o f t h e 2 n d international workshop on Advanced archi- tectures and algorithms for internet delivery and applications AAA-IDEA '06, 2006.

[4] Thawatchai Piyawat, Jantawan Noiwan and Anthony F. Norcio, Usability Testing of BlogExpress: Blog Reader Software as a K n o w l e d g e M a n a g e m e n t T o o l , 1 1 t h International Conference on Human-Computer Interaction, 2005. [5] Thawatchai Piyawat and Jantawan Noiwan, การใชระบบบล็อก GotoKnow.org เพื่อการ จัดการความรูเขียน จากประสบการณของผูพัฒ นา และดูแลระบบ, หนังสือ นานาเรื่องราวการ

Page 130: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

115

จัดการความรูของ สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม (สคส.), 2548. [6] JingTao Yao, Supporting Research with Weblogs: A Study on Web-based Research Support Systems, Proceedings of the 2006 IEEE/WIC/ACM International Conference on Web Intelligence and Intelligent Agent Technology, 2006. [7] กองแผนงาน กรมอนามัย, รูจัก e-learning กันดีกวา, Retrieved January 15, 2008, from h t t p : / / w w w . a n a m a i . m o p h . g o . t h / k m portal/article/files/anamai_8091956.pdf

[8] Open Source LMS, Retrieved January 9, 2008, from http://www.cmsthailand.com/lms/ index.html

Page 131: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก ข

แบบสอบถามประกอบการวิจัยสําหรับอาจารย เร่ือง การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก

Page 132: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

117

สําหรับอาจารย

แบบสอบถามประกอบการวิจัย

เรื่อง

“การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก” (DEVELOMENT LEARNING MANAGEMENT SYSTEM WITH

WEBLOG TECHNOLOGY)

ผูวิจัย นายธนาธร ทะนานทอง สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารยท่ีปรึกษา ผศ.ดร.คะชา ชาญศิลป อาจารยท่ีปรึกษารวม ผศ.ดร.พิชโยทัย มหัทธนาภิวัฒน

Page 133: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

118

แบบสอบถามประกอบการวิจัยสําหรับอาจารย “การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก”

(DEVELOPMENT LEARNING MANAGEMENT SYSTEM WITH WEBLOG TECHNOLOGY)

แบบสอบถามนี้ใชสําหรับเก็บขอมูลเพื่อประโยชนในการวิจัยเทานั้น ขอความกรุณาตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงหรือความคิดเห็นที่แทจริงของทาน เพื่อประโยชนในการวิจัย ขอมูลที่ทานไดตอบในแบบสอบถามนี้จะถูกเก็บไวเปนความลับ คําชี้แจงสําหรับผูตอบแบบสอบถาม แบงออกเปน 4 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 เว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของอาจารย ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของรายวิชา ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะตาง ๆ เกี่ยวกับระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอน คําศัพทเฉพาะสําหรับตอบแบบสอบถาม เว็บบล็อก (Weblog) หมายถึง เว็บไซตที่เก็บขอมูลบันทึกตาง ๆ เกี่ยวกับเจาของ คลายกับ ไดอารี่ออนไลน โดยเจาของสามารถที่จะแกไข ลบ และเพิ่มเติม เนื้อหาภายในเว็บบล็อกได ระบบจัดการเรียนการสอน(Learning Management System : LMS) หมายถึง เว็บไซตที่ ประกอบไปดวยเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน เชน เนื้อหารายวิชาในแตละสัปดาห การบาน เปนตน โดยผูใชสามารถที่จะแกไข ลบ เพิ่มเติม เนื้อหาภายในระบบจัดการเรียนการสอน โมดูล (Module) หมายถึง ระบบการทํางานสวนยอยของโปรแกรม

Page 134: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

119

ตอนที่ 1 เว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ขอมูลของผูตอบแบบสอบถาม คณะ / สาขาวิชา ……………………………………. มหาวิทยาลัย ………………………………………... คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ใน หนาขอความที่ตรงกับขอมูลของทาน 1. ทานรูจักเว็บบล็อกหรือไม ? รูจัก ไมรูจัก 2. ทานมีเว็บบล็อกสวนตัวของตัวเองหรือไม ? มี ไมมี 3. เนื้อหาในเว็บบล็อกของทานเกี่ยวของกับเรื่องใด ? งานวิจัย วิชาที่สอน เรื่องทั่วไป เทคนิคความรูใหม อื่นๆ ............................................................................................................ (โปรดระบุ ) 4. สถาบันการศึกษาของทานมีการนําระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) มาใชหรือไม ? มี ไมมี (ถาตอบวาไมมีใหขามไปดูคําถามขอที่ 6) 5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบจัดการเรียนการสอน(LMS)ระบบใด ? Moodle Atutor Claroline LearnSquare VClass Sakai อื่นๆ....................................(โปรดระบุ) 6. ทานตองการมีเว็บบล็อกที่สามารถประยุกตใชรวมกับการเรียนการสอนหรือไม ?

ตองการ ไมตองการ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ใน หนาขอความที่ตรงกับขอมูลของทาน 1. ทานตองการใหเว็บบล็อก มีขนาดการแสดงผลอยางไรบนจอภาพ ? แสดงผลเต็มจอภาพ 800*600 Pixel 1024*768 Pixel มากกวา 1024*768 Pixel 2. ทานตองการให หนาแรก มีความยาวในการแสดงผลอยางไร ? ไมเกินหนึ่งจอภาพ ไมเกินสองจอภาพ ไมเกินสามจอภาพ ตามความเหมาะสม 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงในรูปแบบใด ? เรียงตามวันที่เขียนบทความ เรียงตามตัวอักษร เรียงตามวันที่มีการแสดงความคิดเห็น สามารถกําหนดเองได 4. ทานตองการใหหนาจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกนั้น มีรูปแบบใด ?

รวมสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกไวหนาดวยกัน ถา ตองการจัดการเนื้อหาใหใชปุมการจัดการ ณ ตําแหนงของเนื้อหาสวนตางๆ แยกสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกเปนคนละหนา

Page 135: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

120

5. ทานตองการใหบุคคลอื่น ๆ สามารถแกไข ลบ เนื้อหาในสวนของบทความในเว็บบล็อกของทานไดหรือไม แกไขไดโดยไมมีเงื่อนไข แกไขไมได

แกไขไดแตจะตองมีการเก็บเนื้อหาสวนเดิมไวเพื่อนํามาแสดงในภายหลังได ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของอาจารย คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ในชองที่ทานเห็นวาเหมาะสม รายการของโมดูล ตองการ ไมตองการ ไมแสดงความ

คิดเห็น 1. ประวัติสวนตัว (Profile) 2. ตารางสอน (Time Table) 3. บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการสอน (Atricle) 4. ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอื่น (Permalink) 5. รายวิชาที่สอน (Courses) 6. ปฏิทิน (Calenda) 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 8. ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอื่น (Blogroll) 9. แสดงความคิดเห็น (Vote) 10. กระดานสนทนา (Webboard) 11. สนทนาออนไลน (Chat) 12. ภาพกิจกรรม (Gallery) 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 17. คนหาขอมูล (Search) 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 20. เมลลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) 21. สถิติการใชงาน (V-Stat)

Page 136: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

121

- เนื่อหาสวนอื่น ๆ ที่ทานตองการใหมีในเว็บบล็อกของอาจารยซึ่งไมมีในรายการใหเลือก (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาในเว็บบล็อกสําหรับรายวิชาตางๆ คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ในชองที่ทานเห็นวาเหมาะสม

รายการของโมดูล ตองการ ไมตองการ ไมแสดงความคิดเห็น 1. รายละเอียดรายวิชา (Course Outline) 2. ตารางเรียนประจํารายวิชา (Time Table) 3. กิจกรรมตางๆในระหวางการเรียนการสอน (Atricle) 4. ลิงคบล็อกอาจารยและนักศึกษาในรายวิชา (Permalink) 5. สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) 6. ปฏิทิน (Calenda) 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล(Upload & Download) 8. แบบทดสอบออนไลน(Test) 9. แสดงความเห็น(Vote) 10. กระดานสนทนา (Webboard) 11. สนทนาออนไลน (Chat) 12. ภาพกิจกรรม (Gallery) 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 17. คนหาขอมูล (Search) 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 20. สถิติการใชงาน (V-Stat) 21. ผูสนับสนุนและโฆษณา (Sponser)

Page 137: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

122

- เนื่อหาสวนอื่น ๆ ที่ทานตองการใหมีในเว็บบล็อกของรายวิชาซึ่งไมมีในรายการใหเลือก (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะตาง ๆ เก่ียวกับระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอน - หากทานมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยช้ินนี้ โปรดระบุ(ทุกความคิดเห็นของทานถือเปนสวนหนึ่งของงานวิจัย ช้ินนี้) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 138: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามประกอบการวิจัยสําหรับนักศึกษา เร่ือง การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก

Page 139: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

124

สําหรับนักศึกษา

แบบสอบถามประกอบการวิจัย

เรื่อง

“การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก” (DEVELOMENT LEARNING MANAGEMENT SYSTEM WITH

WEBLOG TECHNOLOGY)

ผูวิจัย นายธนาธร ทะนานทอง สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารยท่ีปรึกษา ผศ.ดร.คะชา ชาญศิลป อาจารยท่ีปรึกษารวม ผศ.ดร.พิชโยทัย มหัทธนาภิวัฒน

Page 140: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

125

แบบสอบถามประกอบการวิจัยสําหรับนักศึกษา “การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก”

(DEVELOPMENT LEARNING MANAGEMENT SYSTEM WITH WEBLOG TECHNOLOGY)

แบบสอบถามนี้ใชสําหรับเก็บขอมูลเพื่อประโยชนในการวิจัยเทานั้น ขอความกรุณาตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงหรือความคิดเห็นที่แทจริงของทาน เพื่อประโยชนในการวิจัย ขอมูลที่ทานไดตอบในแบบสอบถามนี้จะถูกเก็บไวเปนความลับ คําชี้แจงสําหรับผูตอบแบบสอบถาม แบงออกเปน 4 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 เว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของนักศึกษา ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของรายวิชา ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะตาง ๆ เกี่ยวกับระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอน คําศัพทเฉพาะสําหรับตอบแบบสอบถาม เว็บบล็อก (Weblog) หมายถึง เว็บไซตที่เก็บขอมูลบันทึกตาง ๆ เกี่ยวกับเจาของ คลายกับ ไดอารี่ออนไลน โดยเจาของสามารถที่จะแกไข ลบ และเพิ่มเติม เนื้อหาภายในเว็บบล็อกได ระบบจัดการเรียนการสอน(Learning Management System : LMS) หมายถึง เว็บไซตที่ ประกอบไปดวยเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน เชน เนื้อหารายวิชาในแตละสัปดาห การบาน เปนตน โดยผูใชสามารถที่จะแกไข ลบ เพิ่มเติม เนื้อหาภายในระบบจัดการเรียนการสอน โมดูล (Module) หมายถึง ระบบการทํางานสวนยอยของโปรแกรม

Page 141: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

126

ตอนที่ 1 เว็บบล็อกและระบบจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ขอมูลของผูตอบแบบสอบถาม คณะ / สาขาวิชา ……………………………………. มหาวิทยาลัย ………………………………………... คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ใน หนาขอความที่ตรงกับขอมูลของทาน 1. ทานรูจักเว็บบล็อกหรือไม ? รูจัก ไมรูจัก 2. ทานมีเว็บบล็อกสวนตัวของตัวเองหรือไม ? มี ไมมี 3. เนื้อหาในเว็บบล็อกของทานเกี่ยวของกับเรื่องใด ? โครงงาน วิชาที่เรียน เรื่องทั่วไป เทคนิคความรูใหม อื่นๆ ............................................................................................................ (โปรดระบุ ) 4. สถาบันการศึกษาของทานมีการนําระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) มาใชหรือไม ? มี ไมมี (ถาตอบวาไมมีใหขามไปดูคําถามขอที่ 6) 5. สถาบันการศึกษาของทานใชระบบจัดการเรียนการสอน(LMS)ระบบใด ? Moodle Atutor Claroline LearnSquare VClass Sakai อื่นๆ....................................(โปรดระบุ) 6. ทานตองการมีเว็บบล็อกที่สามารถประยุกตใชรวมกับการเรียนการสอนหรือไม ?

ตองการ ไมตองการ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการแสดงผลของเว็บบล็อก คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ใน หนาขอความที่ตรงกับขอมูลของทาน 1. ทานตองการใหเว็บบล็อก มีขนาดการแสดงผลอยางไรบนจอภาพ ? แสดงผลเต็มจอภาพ 800*600 Pixel 1024*768 Pixel มากกวา 1024*768 Pixel 2. ทานตองการให หนาแรก มีความยาวในการแสดงผลอยางไร ? ไมเกินหนึ่งจอภาพ ไมเกินสองจอภาพ ไมเกินสามจอภาพ ตามความเหมาะสม 3. ทานตองการใหเนื้อหาของบทความในเว็บบล็อก มีการจัดเรียงในรูปแบบใด ? เรียงตามวันที่เขียนบทความ เรียงตามตัวอักษร เรียงตามวันที่มีการแสดงความคิดเห็น สามารถกําหนดเองได 4. ทานตองการใหหนาจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกนั้น มีรูปแบบใด ?

รวมสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกไวหนาดวยกัน ถา ตองการจัดการเนื้อหาใหใชปุมการจัดการ ณ ตําแหนงของเนื้อหาสวนตางๆ แยกสวนของเว็บบล็อกกับการจัดการเนื้อหาของเว็บบล็อกเปนคนละหนา

Page 142: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

127

5. ทานตองการใหบุคคลอื่น ๆ สามารถแกไข ลบ เนื้อหาในสวนของบทความในเว็บบล็อกของทานไดหรือไม แกไขไดโดยไมมีเงื่อนไข แกไขไมได

แกไขไดแตจะตองมีการเก็บเนื้อหาสวนเดิมไวเพื่อนํามาแสดงในภายหลังได ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโมดูลของเว็บบล็อกในสวนของนักศึกษา คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ในชองที่ทานเห็นวาเหมาะสม รายการของโมดูล ตองการ ไมตองการ ไมแสดงความ

คิดเห็น 1. ประวัติสวนตัว (Profile) 2. ตารางสอน (Time Table) 3. บันทึกขอมูลตางๆในระหวางการสอน (Atricle) 4. ลิงคไปยังบทความของบล็อกผูอื่น (Permalink) 5. รายวิชาที่สอน (Courses) 6. ปฏิทิน (Calenda) 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล (Upload & Download) 8. ลิงคบล็อกหรือเว็บไซตของผูอื่น (Blogroll) 9. แสดงความคิดเห็น (Vote) 10. กระดานสนทนา (Webboard) 11. สนทนาออนไลน (Chat) 12. ภาพกิจกรรม (Gallery) 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 17. คนหาขอมูล (Search) 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 20. เมลลถึงผูเขียนเว็บบล็อก (Mail) 21. สถิติการใชงาน (V-Stat)

Page 143: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

128

- เนื่อหาสวนอื่น ๆ ที่ทานตองการใหมีในเว็บบล็อกของนักศึกษาซึ่งไมมีในรายการใหเลือก (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาในเว็บบล็อกสําหรับรายวิชาตางๆ คําช้ีแจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ในชองที่ทานเห็นวาเหมาะสม

รายการของโมดูล ตองการ ไมตองการ ไมแสดงความคิดเห็น 1. รายละเอียดรายวิชา (Course Outline) 2. ตารางเรียนประจํารายวิชา (Time Table) 3. กิจกรรมตางๆในระหวางการเรียนการสอน (Atricle) 4. ลิงคบล็อกอาจารยและนักศึกษาในรายวิชา (Permalink) 5. สํารองและนําเขาขอมูล (Backup & Restore) 6. ปฏิทิน (Calenda) 7. อัพโหลดและดาวนโหลดไฟล(Upload & Download) 8. แบบทดสอบออนไลน(Test) 9. แสดงความเห็น(Vote) 10. กระดานสนทนา (Webboard) 11. สนทนาออนไลน (Chat) 12. ภาพกิจกรรม (Gallery) 13. ขาวประชาสัมพันธ (News) 14. การจัดการไฟลมัลติมีเดีย (Podcast) 15. บริการขอมูลที่อยูในรูป XML บนอินเตอรเน็ต (RSS) 16. การจัดหมวดหมูของเนื้อหา (Category) 17. คนหาขอมูล (Search) 18. ลิงคบทความยอนหลัง (Archives) 19. หนาแสดงขอความตอนเปดเว็บบล็อก (Popup) 20. สถิติการใชงาน (V-Stat) 21. ผูสนับสนุนและโฆษณา (Sponser)

Page 144: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

129

- เนื่อหาสวนอื่น ๆ ที่ทานตองการใหมีในเว็บบล็อกของรายวิชาซึ่งไมมีในรายการใหเลือก (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะตาง ๆ เก่ียวกับระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอน - หากทานมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยช้ินนี้ โปรดระบุ(ทุกความคิดเห็นของทานถือเปนสวนหนึ่งของงานวิจัย ช้ินนี้) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 145: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก ง

แบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน

Page 146: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

131

แบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบเว็บบล็อกสําหรับการจัดการเรียนการสอน

ผูวิจัย นายธนาธร ทะนานทอง สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารยท่ีปรึกษา ผศ.ดร.คะชา ชาญศิลป อาจารยท่ีปรึกษารวม ผศ.ดร.พิชโยทัย มหัทธนาภิวัฒน

Page 147: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

132

แบบสอบถามนี้ใชสอบถามขอมูลความคิดเห็นของผูใชงานที่มีตอระบบ BlogLMS โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทํางานในดานตาง ๆ ขอความกรุณาตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงหรือความคิดเห็นที่แทจริงของทานเพื่อประโยชนในการวิจัย ขอมูลที่ทานไดตอบในแบบสอบถามนี้จะถูกเก็บไวเปนความลับ รายละเอียดของแบบสอบถาม แบงออกเปน 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางานของระบบ BlogLMS ตอนที่ 2 ขอคิดเห็นและเสนอแนะอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับระบบ BlogLMS คําศัพทเฉพาะสําหรับตอบแบบสอบถาม เว็บบล็อก (Weblog) หมายถึง เว็บไซตที่เก็บขอมูลบันทึกตางๆ เกี่ยวกับเจาของ คลายกับไดอารี่ออนไลน โดยเจาของสามารถที่จะแกไข ลบ และเพิ่มเติม เนื้อหาภายในเว็บบล็อกได ระบบจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : LMS) หมายถึง เว็บไซตที่ประกอบไปดวยเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน เชน เนื้อหารายวิชาในแตละสัปดาห การบาน เปนตน โดยผูใชสามารถที่จะแกไข ลบ เพิ่มเติม เนื้อหาภายในระบบจัดการเรียนการสอน โมดูล (Module) หมายถึง ระบบการทํางานสวนยอยของโปรแกรม คําชี้แจงสําหรับผูตอบแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามชุดนี้ไดแบงหัวขอในการวัดประสิทธิภาพของระบบออกเปน 5 หัวขอยอย ดังนี้

1.1 ดาน Functional Requirement เปนการประเมินความสามารถของระบบวาตรงความตองการ ของผูใชมากนอยเพียงใด

1.2 ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองในการทํางานของระบบวาระบบสามารถตอบ สนองความตองการของผูใชไดมากนอยเพียงใด

1.3 ดาน Useability Test เปนการประเมินความสะดวกในการใชงานของระบบวามีมากนอยเพียงใด 1.4 ดาน Performance Test เปนการประเมินประสิทธิภาพของระบบวามีมากนอยเพียงใด 1.5 ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานของความปลอดภัยของวามีมากนอยเพียงใด ตอนที่ 1 : ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการทํางานของระบบ BlogLMS คําชี้แจง : กรุณาใสเครื่องหมาย ในชองหนาขอความที่ตรงกับขอมูลของทาน โดยคะแนนตาง ๆ มีความหมายดังตอไปนี้ 5 หมายถึง ระบบที่พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพในระดับดีมาก 4 หมายถึง ระบบที่พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพในระดับดี 3 หมายถึง ระบบที่พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ระบบที่พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพในระดับพอใช 1 หมายถึง ระบบที่พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพในระดับนอย

Page 148: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

133

ระดับความคิดเห็น รายการ 5 4 3 2 1

สวนที่ 1 : ดาน Functional Requirement Test 1. โมดูลที่จัดเตรียมไวมีความเหมาะสมและตรงความตองการ 2. ความสามารถในการแสดงผลขอมูล 3. ความสามารถในการเพิ่ม แกไข และลบขอมูล 4. ความครบถวนของหมวดหมูเนื้อหา 5. ความสามารถที่รองรับการจัดการเรียนการสอน สวนที่ 2 : ดาน Functional Test 1. ความถูกตองของระบบในการจัดการเนื้อหาในแตละโมดูล 2. ความถูกตองของระบบในการเพิ่มขอมูล 3. ความถูกตองของระบบในการปรับปรุงขอมูล 4. ความถูกตองของระบบในการแสดงผลขอมูล 5. ความถูกตองของระบบในการทํางานโดยรวม สวนที่ 3 : ดาน Usability Test 1. ความสะดวกในการเรียนรูระบบ 2. ความสะดวกในการใชงานระบบ 3. ความเหมาะสมของการจัดวางโครงสรางระบบ 4. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่แสดงบนจอภาพ 5. ความพึงพอใจตอการใชงานระบบ สวนที่ 4 : ดาน Performance Test 1. ความเร็วในการแสดงผลขอมูล 2. ความเร็วในการติดตอกับฐานขอมูล 3. ประสิทธิภาพในแสดงผลบนจอภาพ 4. ประสิทธิภาพในการบันทึก แกไข และลบขอมูล 5. ประสิทธิภาพในการทํางานของระบบในภาพรวม สวนที่ 5 : ดาน Security Test 1. ความเหมาะสมของการตรวจสอบการเขาใชงานระบบ 2. ความเหมาะสมในการแจงเตือนกรณีเกิดขอผิดพลาดในการปอน ขอมูล 3. ความเหมาะสมของความปลอดภัยของระบบโดยรวม 4. ความเหมาะสมในการแยกสวนแสดงเนื้อหากับการจัดการเนื้อหา ออกจากกัน 5. ความเหมาะสมในการแบงสิทธิ์การใชงาน ตอนที่ 2 : ขอเสนอแนะตาง ๆ เก่ียวกับระบบเว็บบล็อกจัดการเรียนการสอน

Page 149: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

134

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 150: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก จ

คูมือการติดตั้งระบบ และการใชงาน BlogLMS

Page 151: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

136

คูมือการติดตั้งระบบ ระบบ BlogLMS ไดทําการพัฒนาตอยอดมาจากระบบ SUTinsServer เวอรช่ัน 5108 ซ่ึงเปนระบบปฏิบัติการ Linux ที่ใชติดตั้งควบคูกับระบบปฏิบัติการ Windows โดยผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขการตั้งคาตาง ๆ และสรางเปนไฟล ISO สําหรับใชในการสรางแผนติดตั้ง โดยในสวนของการสรางแผนติดตั้งระบบ BlogLMS นี้ไดรับการสนับสนุนจากทางหนวยวิจัยและพัฒนาโอเพนซอรส มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยี สุ รนา รี ระบบ BlogLMS นี้ สามารถดาวน โหลดไดที่ เ ว็ บไซต http://linux.sut.ac.th การเริ่มตนใชงาน

หลังจากที่ดาวนโหลดแผนโปรแกรม BlogLMS Install on Windows Drive มาแลว หากทานตองการเริ่มตนติดตั้งระบบ สามารถทําไดตามลําดับขั้นตอนดังตอไปนี้

1. ใสแผนซีดีแลวบูตระบบขึ้นใหม จากนั้นเลือกใหบูตจากแผนซีดี ก็จะเขาสูโปรแกรมการติดตั้ง BlogLMS Install on Windows Drive โดยเมื่อบูตแผนแลวจะไดโปรแกรมดังภาพ

Page 152: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

137

2. จากนั้นจะเขาสูกระบวนการติดตั้ง โดยใหเลือกที่ ติดตั้งระบบ ซ่ึงในสวนแรกจะแสดงขอความตอนรับ ใหเลือกที่ ดําเนินการตอ

โปรแกรมจะอธิบายรายละเอียดตาง ๆ ของระบบ ใหเลือก ดําเนินการตอ

Page 153: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

138

3. จากนั้นโปรแกรมจะทําการตรวจสอบหาเนื้อที่วาง เพื่อจะติดตั้งตอไป แตตองทําการเลือกพารทิช่ัน ที่ตองการติดตั้งกอน เพราะเราไดแบงเนื้อที่บนฮารดดิสกออกเปนหลายไดรฟแลว จากนั้นใหเลือกที่ ติดตั้งที่นี่ บนไดรฟที่เราตองการ

4. จากนั้นโปรแกรมจะเริ่มทําการติดตั้งระบบไปในไดรฟที่เลือกไว รอสักครู จะเปนการเสร็จสิ้นกระบวนการการติดตั้ง BlogLMS Install on Windows Drive

5. เมื่อเสร็จขั้นตอนแลวแผนจะถูกดันออกมาจากอุปกรณซีดี ใหทานนําแผนออกจากถาดรองและเมื่อการตรวจสอบเสร็จสิ้นลงแลว จะปรากกฏหนาตางดังรูป

Page 154: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

139

Page 155: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

140

6. ระบบจะทําการแสดงคาของเวลาที่ใชในการติดตั้งทั้งหมด จากนั้นใหทําการรีบูตคอมพิวเตอร เพื่อเขาสูระบบตอไปเซิรฟเวอรพรอมใช

7. เมื่อส่ังใหระบบทําการรีบูตใหม จะตองเอาแผน ออกจาก CD-Rom กอน เพื่อไมใหมีการรันเขาสูแผนอีกครั้ง โดยหลังจากบูตเขาสูระบบจะปรากฏหนาจอดังรูป

Page 156: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

141

จากรูปเปนหนาตางเขาสูระบบของระบบ B l o g L M S โดยมี u s e r n a m e คือ s u t และ password คือ 123456

Page 157: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

142

คูมือการใชงานระบบหลัก BlogLMS สําหรับผูดูแลระบบ หลังจากติดตั้งระบบ BlogLMS เสร็จเรียบรอย เมื่อทําการเขาสูระบบเรียบรอยก็จะปรากฏหนาแรกของระบบ BlogLMS หรือหากตองการเรียกใชในภายหลังเราสามารถที่จะเขาใชงานระบบ ไ ด โ ด ย เ ป ด โ ป ร แ ก รม Web Browser ขึ้ น ม า ใ นส ว น ขอ ง ช อ ง Address ใ ห พิ มพ ข อ มู ล http://localhost/bloglms/index.php สําหรับเครื่องที่เปนเซิรฟเวอร หรือหากตองการเรียกใชระบบจากเครื่องอื่น ๆ (เครื่องลูกขาย) จะตองทราบ IP ของเครื่องเซิรฟเวอรเสียกอน หลังจากเรียกใชงานจะปรากฏหนาหลักของระบบดังรูป

Page 158: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

143

ระบบหลัก BlogLMS ประกอบดวย 2 สวนหลัก ๆ คือ 1. สวนของการแสดงผลเนื้อหา เปนสวนที่ผูใชงานทั่วไปจะสามารถเขามาใชงานได โดยในสวนนี้จะเปนหนาหลักของระบบ ที่เปนแหลงรวมขอมูลตาง ๆ ของระบบ เชน ขอมูลรายการบล็อกรายวิชา บล็อกผูสอน บล็อกผูเรียน เปนตน ประกอบดวย 6 สวนยอยดังนี้ 1.1 หัวของเว็บไซต เปนสวนที่แสดงชื่อและภาพที่ส่ือถึงความหมายของระบบ

1.2 เมนูของ BlogLMS เปนสวนสําหรับแสดงรายการเมนูการใชงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบ

1.3 การคนหา เปนสวนที่ผูใชงานสามารถที่จะทําการคนหาขอมูลรายการบล็อก หรือบทความของผูอ่ืนที่มีในระบบ

Page 159: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

144

1.4 ปฏิทิน เปนสวนที่แสดงวัน เดือน และป

1.5 รายการบล็อกตาง ๆ ที่มีในระบบ เปนสวนที่แสดงลิงครายการบล็อกในแตละประเภท โดยจะแสดงเฉพาะขอมูลรายการบล็อกที่ทําการลงทะเบียนลาสุด 10 อันดับ

Page 160: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

145

1.6 ทายของเว็บไซต เปนสวนที่แสดงขอมูลลิขสิทธิ์การใชงานของระบบ

2. สวนของการจัดการ ในสวนนี้จะมีเพียงผูดูแลระบบเทานั้นที่จะสามารถเขามาใชงานได โดยสามารถที่จะจัดการสวนตาง ๆ ในภาพรวมที่เกี่ยวของกับระบบ BlogLMS สําหรับการเขาใชงานนั้นจะตองทําการตรวจสอบสิทธิ์ในการเขาใชงาน เร่ิมตนการใชงานระบบนั้น ช่ือผูใชงานคือ admin และรหัสผานคือ admin โดยปอนขอมูลช่ือผูใชงานและรหัสผาน ดังภาพ

สําหรับสวนของการจัดการประกอบดวย 5 สวนยอยดังนี้ 2.1 หัวของเว็บไซต เปนสวนที่แสดงชื่อและภาพที่ส่ือถึงความหมายของระบบ

Page 161: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

146

2.2 เมนดานบน เปนสวนสําหรับแสดงรายการปุมการดําเนินการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการ เชน ปุมบันทึก ใชสําหรับบันทึกการแกไขตาง ๆ ที่ผูดูแลระบบไดดําเนินการ เปนตน

2.3 เมนูดานซาย เปนสวนสําหรับแสดงรายการเมนูการจัดการตาง ๆโดยประกอบไปดวย 7 เมนูยอย ดังภาพ

Page 162: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

147

2.3.1 เมนูจัดการหนาหลัก ใชสําหรับแกไขขอมูลสวนหัวและสวนทายของระบบ โดยผูใชงานสามารถที่จะแกไขขอความบนชองปอนขอมูล แลวทําการกดปุมบันทึก ที่เมนูดานบนเพื่อบันทึกการแกไขดังกลาว

2.3.2 เมนูจัดการเมนู ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการเมนูที่แสดงในหนาหลักของระบบ BlogLMS โดยสามารถเพิ่มรายการเมนูไดโดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน หลังจากกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของเมนู ใหผูใชปอนขอมูลที่ตองการลงไปยังชองขอความที่ระบบเตรียมไว หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการเมนูดังกลาว

Page 163: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

148

ในสวนจัดการเมนูนี้ ผูใชงานสามารถที่จะเปด-ปด สถานะการแสดงผล

จัดเรียงรายการแสดงผลของเมนู แกไขเมนู และลบเมนู ไดโดยเลือกปุมการจัดการที่อยูในคอลัมภการจัดการ 2.3.3 เมนูจัดการหมวดหมูบทความ ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการหมวดหมูตาง ๆ ที่มีในระบบทั้งหมด โดยมีขั้นตอนในการจัดการเหมือนกับในสวนของการจัดการเมนู

2.3.4 เมนูจัดการบทความ ใชสําหรับเปด-ปด สถานะการแสดงผล และลบ

บทความตาง ๆ ที่มีในระบบ ในกรณีที่พบบทความที่ไมเหมาะสมหรือบทความที่ผูดูแลระบบพิจารณาแลวไมสมควรที่จะเผยแพรสูสาธารณะ

Page 164: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

149

2.3.5 เมนูสถานะบล็อกผูสอน ใชสําหรับเปด-ปด สถานะการแสดงผล และลบ บล็อกผูสอนที่อยูในระบบ

2.3.6 เมนูสถานะบล็อกผูเรียน ใชสําหรับเปด-ปด สถานะการแสดงผล และลบ บล็อกผูเรียนที่อยูในระบบ

2.3.7 เมนูสถานะบล็อกรายวิชา ใชสําหรับเปด-ปด สถานะการแสดงผล และลบ บล็อกรายวิชาที่อยูในระบบ

Page 165: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

150

Page 166: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

151

คูมือการใชงานระบบหลัก BlogLMS สําหรับบุคคลทั่วไป แบงออกเปน 2 สวนคือ สวนที่ 1 การสมัครเปนสมาชิกระบบ สวนที่ 2 การจัดการเนื้อหาบล็อก สวนท่ี 1 การสมัครเปนสมาชิกระบบ ผูใชงานสามารถดําเนินการสมัครเปนสมาชิกของระบบ BlogLMS ไดโดยเริ่มจากเขาสูหนาหลักของระบบ BlogLMS ในที่นี้คือ http://43.0.0.210/bloglms/index.php แลวคลิกเลือกเมนูสมัครสมาชิก หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตางสมัครสมาชิก ใหผูใชงานกรอกรายละเอียดตาง ๆ ใหครบ โดยผูใชงานสามารถเลือกลงทะเบียนใชงานบล็อกได 3 ประเภทคือ บล็อกผูสอน บล็อกผูเรียน และบล็อกรายวิชา (สําหรับบล็อกรายวิชานั้นผูใชงานจะสามารถสมัครไดก็ตอเมื่อลงทะเบียนประเภทผูสอนกอน แลวจึงจะสามารถสมัครสมาชิกในสวนนี้ได)

Page 167: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

152

หลังจากที่ทําการปอนขอมูลสวนตาง ๆ ครบถวนแลวกดปุมสมัครสมาชิก จะปรากฏหนาตางแสดงขอมูลผูสมัครสมาชิกบล็อก ดังภาพ

ผูใชงานจะไดรับขอมูลลิงคเพื่อเขาสูบล็อกของตนเอง โดยเมื่อคลิกลิงคดังกลาวจะปรากฏหนาตางบล็อกของตนเอง

Page 168: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

153

สวนท่ี 2 การจัดการเนื้อหาบล็อก ในสวนการจัดการเนื้อหาบล็อกนี้ ผูใชงานจะตองทําการเขาสูระบบเสียกอนจึงจะสามารถเขาไปจัดการเนื้อบล็อกได โดยคลิกเลือกเมนูจัดการบล็อกในสวนของเมนูบล็อกดานซายมือของหนาของบล็อกตนเอง

ผูใชงานจะปอนชื่อผูใชงานและรหัสผาน รวมถึงเลือกชนิดของบล็อกของตนเอง แลวคลิกปุมเขาสูระบบเพื่อตรวจสอบสิทธิ์การเขาใชงาน ถาการตรวจสอบถูกตองก็จะปรากฏหนาตางการจัดการเนื้อหาของบล็อกดังภาพ

Page 169: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

154

2.1 เมนูรายละเอียดบล็อก (Blog Detail) ใชสําหรับจัดการขอมูลรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับบล็อกของตน ผูใชงานสามารถที่จะทําการแกไขขอมูลในสวนนี้โดยปอนขอมูลที่ตองการแกไขลงในชองตาง ๆ ที่ปรากฏ แลวทําการกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการแกไข

Page 170: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

155

2.2 เมนูขอมูลสวนตัว (Profile) ใชสําหรับจัดการขอมูลสวนตัวตาง ๆ ที่

เกี่ยวของกับผูเขียนบล็อก ผูใชงานสามารถที่จะทําการแกไขขอมูลในสวนนี้โดยปอนขอมูลที่ตองการแกไขลงในชองตาง ๆ ที่ปรากฏ แลวทําการกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการแกไข

2.3 เมนูเปลี่ยนรหัสผาน (Change Password) ใชสําหรับเปลี่ยนรหัสผานในการเขาสูระบบ ผูใชจะตองปอนรหัสผานเดิมใหถูกตอง จึงจะสามารถแกไขรหัสผานได โดยหลังจากปอนขอมูลครบแลวใหกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการเปลี่ยนรหัสผาน

2.4 เมนูสถานะโมดูล (Status Module) ใชสําหรับเปด-ปด สถานะของโมดูลการทํางานตาง ๆ ที่มีในบล็อก โดยในคาเริ่มตนจะมีเพียงแคโมดูลปฏิทินที่เปดสถานะการแสดงผลไว ผูใชงานสามารถคลิกที่ปุม เพื่อดําเนินการเปลี่ยนแปลงสถานะโมดูล

Page 171: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

156

2.5 เมนูหมวดหมูบทความ (Category) ใช สําหรับการจัดการหมวดหมูบทความ โดยผูใชงานสามารถเพิ่มหมวดหมูบทความไดโดยกดปุมเพิ่มขอมูล ที่เมนูดานบน จะปรากฏหนาตาการทํางานดังภาพ โดยหลังจากปอนขอมูลเรียบรอยใหผูใชงานกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการเพิ่มหมวดหมูบทความ

2.6 เมนูบทความในบล็อก (Article) ใชสําหรับการจัดการบทความในบล็อก โดยเมื่อคลิกที่เมนูนี้จะปรากฏหนาตาดังภาพ

ผูใชสามารถเพิ่มขอมูลบทความได โดยกดปุมเพิ่มขอมูล บนเมนู

ดานบน จะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของเมนู ใหผูใชปอนขอมูลที่ตองการลงไปยังชองขอความที่ระบบเตรียมไว

ในเมนูบทความในบล็อก นี้ ผูใชงานสามารถที่จะเปด-ปด สถานะการแสดงผล จัดเรียงรายการแสดงผลบทความ แกไขบทความ และลบบทความ ไดโดยเลือกปุมการจัดการที่อยูในคอลัมภการจัดการ

Page 172: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

157

ในสวนของการเพิ่มขอมูลบทความเมื่อปอนขอมูลเสร็จเรียบรอยแลวใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการเมนู หลังจากนั้นจะปรากฏรายการบทความที่ผูใชงานทําการบันทึกไว

Page 173: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

158

2.7 กลองขอความขาเขา (Mail Box) ใชสําหรับแสดงผลรายการขอความที่มีผูสงถึงเจาของบล็อก ผูใชงานสามารถจะเปดอานขอความ ที่ตองการหรือเลือกลบรายการขอความ ที่อานแลวในสวนของการจัดการ

หลังจากที่คลิกปุมอานขอความก็จะปรากฏหนาตาการแสดงผลดังภาพ

2.8 เมนูตารางสอน (Time Table) ใชสําหรับจัดการขอมูลตารางเรียน สอน หรือรายวิชาขึ้นอยูกับชนิดของบล็อก ผูใชงานสามารถที่จะทําการแกไขขอมูลในสวนนี้ โดยเลือก

Page 174: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

159

วันที่ตองการแกไขขอมูลกอนแลวจึงปอนขอมูลที่ตองการแกไขลงในชองรหัสรายวิชาและชื่อรายวิชา เสร็จแลวทําการกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการแกไข

หลังจากที่ไดทําการบันทึกการแกไขดังกลาวก็จะปรากฏขอมูลตามที่ผูใชไดปอนเขาสูระบบ ดังภาพ

2.9 เมนูลิงคบทความผูอ่ืน (Permalink) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการลิงคบทความผูอ่ืน โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการลิงคบทความผูอ่ืน โดยการกดปุมเพิ่ม

ขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของลิงคบทความผูอ่ืน โดยใหผูใชปอนขอมูลใหครบถวน หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการลิงคบทความผูอ่ืน

Page 175: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

160

2.10 เมนูลิงครายวิชา (Course) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการลิงครายวิชา โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการลิงครายวิชา โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของลิงคบทความผูอ่ืน โดยใหผูใชปอนขอมูลใหครบถวน หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการลิงคบทความผูอ่ืน

2.11 เมนูลิงคบล็อกผูอ่ืน (Blogroll) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข

รายการลิงคบล็อกผูอ่ืน โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการลิงคบล็อกผูอ่ืน โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของลิงคบล็อกผูอ่ืน โดยใหผูใชปอนขอมูลใหครบถวน หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการลิงคบล็อกผูอ่ืน

2.12 เมนูปอปอัพ (Popup) ใชสําหรับจัดการขอมูลปอปอัพ ผูใชงานสามารถที่จะทําการแกไขขอมูลในสวนนี้ โดยปอนขอมูลที่ตองการแกไขลงในชื่อปอปอัพและขอมูลที่ตองการแสดงผลบน Popup เสร็จแลวทําการกดปุมบันทึก เพื่อยืนยันการแกไข

หลังจากที่ไดทําการบันทึกการแกไขดังกลาวก็จะปรากฏขอมูลตามที่ผูใชไดปอนเขาสูระบบ ดังภาพ

Page 176: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

161

2.13 เมนูแสดงความคิดเห็น (Vote) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข

รายการแสดงความคิดเห็น โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการแสดงความคิดเห็น โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน

เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูล จะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของรายการแสดงความคิดเห็น

โดยใหผูใชปอนขอมูลใหครบถวน หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการ เพิ่มขอมูลรายการแสดงความคิดเห็น จะปรากฏหนาตาการแสดงผลดังภาพ

Page 177: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

162

2.14 เมนูอัลบั้มภาพ (Gallery) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการ

อัลบั้มภาพ โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการอัลบั้มภาพ โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของอัลบั้มภาพ โดยใหผูใชปอนขอมูลในสวนของชื่ออัลบั้ม หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการอัลบั้มภาพ

2.15 เมนูภาพในอัลบั้ม (Manage Picture) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ รายการภาพในอัลบั้ม ผูใชจะตองเลือกในสวนของรายการอัลบั้มที่ตองการกอนจึงจะสามารถเพิ่มหรือลบรายการภาพได

หลังจากไดทําการเลือกอัลบั้มแลวใหผูใชกดปุมเพิ่มขอมูล จะปรากฏหนาตาสําหรับปอนขอมูลภาพ โดยใหผูใชคลิกที่ปุม Browser เพื่อทําการเลือกไฟลภาพที่ตองการนําเขาอัลบั้ม (เลือกไฟลไดสูงสุด 5 ไฟล) หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการภาพลงในอัลบั้ม ดังภาพ

Page 178: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

163

2.16 เมนูโฟลเดอร (Folder) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข รายการ

โฟลเดอร โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการโฟลเดอร โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของโฟลเดอร โดยใหผูใชปอนขอมูลในสวนของชื่อโฟลเดอร หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการโฟลเดอร

Page 179: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

164

2.17 เมนูไฟล (Manage File) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ รายการไฟลในโฟลเดอร ผูใชตองเลือกในสวนของรายการโฟลเดอรที่ตองการกอนจึงจะสามารถเพิ่มหรือลบรายการไฟล ได

หลังจากไดทําการเลือกโฟลเดอรแลวใหผูใชกดปุมเพิ่มขอมูล จะปรากฏหนาตาสําหรับปอนขอมูลไฟล โดยใหผูใชคลิกที่ปุม Browser เพื่อทําการเลือกไฟลที่ตองการนําเขาโฟลเดอร (เลือกไฟลไดสูงสุด 5 ไฟล) หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการไฟลลงในโฟลเดอร ดังภาพ

2.18 เมนูแบบทดสอบออนไลน (Test) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ และแกไข

รายการแบบทดสอบ โดยผูใชสามารถเพิ่มรายการแบบทดสอบ โดยการกดปุมเพิ่มขอมูลที่เมนูดานบน เมื่อผูใชกดปุมเพิ่มขอมูลจะปรากฏหนาตาสําหรับกรอกขอมูลรายละเอียดของแบบทดสอบ โดยใหผูใชปอนขอมูลในสวนของชื่อแบบทดสอบ หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก

เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการแบบทดสอบ

Page 180: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

165

2.19 เมนูจัดการคําถาม (Manage Question) ใชสําหรับเพิ่ม ลบ รายการคําถามในแบบทดสอบ ผูใชจะตองเลือกในสวนของรายการแบบทดสอบ ที่ตองการกอนจึงจะสามารถเพิ่มหรือลบรายการคําถาม ได

หลังจากไดทําการเลือกแบบทดสอบแลวใหผูใชกดปุมเพิ่มขอมูล จะปรากฏหนาตาสําหรับปอนขอมูลรายการคําถาม โดยใหผูใชกรอกขอมูลใหครบถวนและเลือกคําตอบที่ถูกตองของคําถาม หลังจากนั้นใหกดปุมบันทึก เพื่อทําการเพิ่มขอมูลรายการคําถาม ลงในแบบทดสอบดังภาพ

Page 181: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ภาคผนวก ฉ

ตัวอยาง Source Code บางสวนของระบบ BlogLMS

Page 182: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

163

1. Source Code ของโมดูลตารางสอน <!-- Start module ตารางเรียน --> <table width="100%" border="0" style="table-layout:fixed;" cellspacing="0" cellpadding="5" class="table_block1"> <tr><td height="25" bgcolor="#04C900"><b><font color="#FFFFFF">ตารางเรียน</font></b></td></tr> <tr><td><div id="table_list"> <table width="100%" border="0" cellspacing="1" cellpadding="5" style="font-size:11px;" > <tr bgcolor="#90EE90"> <td height="25" ><b>วัน / เวลา</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>08.00<br>- 09.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>09.00<br>- 10.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>10.00<br>- 11.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>11.00<br>- 12.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>12.00<br>- 13.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>13.00<br>- 14.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>14.00<br>- 15.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>15.00<br>- 16.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>16.00<br>- 17.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>17.00<br>- 18.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>18.00<br>- 19.00</b></td> <td height="25" > &nbsp;&nbsp;<b>19.00<br>- 20.00</b></td> </tr> <? for($day=1;$day<=7;$day++) { if($day == 1) {$name_day = "จันทร"; $day2 = "monday"; } elseif($day == 2) {$name_day = "อังคาร"; $day2 = "tuesday"; } elseif($day == 3) {$name_day = "พุธ"; $day2 = "wednesday"; } elseif($day == 4) {$name_day = "พฤหัสบดี";$day2 = "thursday"; } elseif($day == 5) {$name_day = "ศุกร"; $day2 = "friday"; } elseif($day == 6) {$name_day = "เสาร"; $day2 = "saturday"; } elseif($day == 7) {$name_day = "อาทิตย"; $day2 = "sunday"; }

Page 183: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

164

$sql_timetable = " select * from ".$day2." a,timetable b where "; $sql_timetable .= " b.bloglms_id=".$id_bloglms; $sql_timetable .= " and a.timetable_id=b.id";

$value_timetable = select_data_func($sql_timetable); $result_timetable = mysqli_fetch_assoc($value_timetable); echo "<tr >"; echo "<td height=10 align='center' bgcolor='#87CEEB'><b>".$name_day."</b></td>";

for($i=8;$i<=19;$i++) { $id = "id".$i; $sub = "sub".$i; if ($result_timetable[$id] == "") { $color = "";} else { $color = "#E0FFFF"; } echo "<td height=10 align='center' bgcolor='".$color."'> <div title='".$result_timetable[$sub]."'>&nbsp;".$result_timetable[$id]."</td>"; } echo "</tr>"; } //End loop For ?> </table> </div> </td> </tr> </table>

Page 184: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

165

2. Source Code ของโมดูลแบบทดสอบออนไลน <? if($type_module == "show_test") { $sql_test = "select * from question "; $sql_test .= "where test_id ='".$id_test."' "; $value_test = select_data_func($sql_test ); $num_rows = mysqli_num_rows($value_test); if($num_rows == 0) { ?>

<table width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="5" class="table_block1" style="table-layout: fixed;" bgcolor="<?echo $color;?>"> <tr><td height="25" bgcolor="#04C900" ><b><font color="#FFFFFF">&nbsp;รายการคําถามในแบบทดสอบ : <?echo $name_test?></font></b></td></tr> <tr><td ><?echo "<br><center>ยังไมมีรายการคําถาม</center><br>";?> </td></tr>

</table> <? } else { $num_question = mysqli_num_rows($value_test); ?> <form name="test" action="index.php?type_module=check_test&id_test=<?echo $id_test;?>&num_test=<?echo $num_question;?>&name_test=<?echo $name_test?>" method="post"> <table width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="5" class="table_block1" style="table-layout: fixed;" bgcolor="<?echo $color;?>"> <tr><td height="25" bgcolor="#04C900" ><b><font color="#FFFFFF">&nbsp;รายการคําถามในแบบทดสอบ : <?echo $name_test?></font></b></td></tr>

Page 185: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

166

<? $num_test = 1; while($result_test = mysqli_fetch_assoc($value_test)) { echo "<tr><td>"; echo "<img src='../../images/question.gif'> <b> คําถามขอที่ $num_test : ".$result_test['question']." ? </b><br>"; echo "<input name='ans".$num_test."' type='radio' value='1'>"; echo $result_test['ans1']."<br>"; echo "<input name='ans".$num_test."' type='radio' value='2'>"; echo $result_test['ans2']."<br>"; if($result_test['ans3']!=null) { echo "<input name='ans".$num_test."' type='radio' value='3' >"; echo $result_test['ans3']."<br>"; } if($result_test['ans4']!=null) { echo "<input name='ans".$num_test."' type='radio' value='4'>"; echo $result_test['ans4']."<br>"; } if($result_test['ans5']!=null) { echo "<input name='ans".$num_test."' type='radio' value='5'>"; echo $result_test['ans5']."<br>"; } echo "</td></tr>"; $num_test++; } echo "<tr><td> <input type='button' value='สงคําตอบ' onclick=\" var x,flag=0,count=0;

Page 186: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

167

for(x=1;x<=($num_test-1);x++) { var object = eval('document.test.ans'+x); if(isRadioChcek(object, 'กรุณาตอบคําถามขอที่ '+x,$num_test) ) { flag =1; }else{ flag =0; count++; } }

if(flag == 1 && count == 0) { document.test.submit(); } \"> <input type='reset' value='ยกเลิก' ></td></tr>" echo "</table></form>";

}elseif($type_module == "check_test") { $sql_test = "select * from question "; $sql_test .= "where test_id ='".$id_test."' "; $value_test = select_data_func($sql_test ); $num_rows = mysqli_num_rows($value_test); ?> <form name="test" action="index.php" method="post"> <table width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="5" class="table_block1" style="table-layout: fixed;" bgcolor="<?echo $color;?>"> <tr><td height="25" bgcolor="#04C900" ><b><font color="#FFFFFF">&nbsp;เฉลยคําตอบในแบบทดสอบ : <?echo $name_test?></font></b></td></tr> <? $num = 1; $count_true = 0; while($result_test = mysqli_fetch_assoc($value_test))

Page 187: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

168

{ if($result_test['result'] == ${ans.$num}) { $count_true++; } echo "<tr><td>"; echo "<img src='../../images/question.gif'> <b> คําถามขอที่ $num : ".$result_test['question']." ? </b><br>"; ?> <input name="ans<?echo $num;?>" type='radio' <?if(${ans.$num} == 1){echo "checked";}?> > <? if($result_test['result'] == 1) { echo "<b><font color='red'>".$result_test['ans1']."</font></b><br>"; }else{ echo $result_test['ans1']."<br>"; } ?> <input name="ans<?echo $num;?>" type='radio' <?if(${ans.$num} == 2){echo "checked";}?> > <? if($result_test['result'] == 2) { echo "<b><font color='red'>".$result_test['ans2']."</font></b><br>"; }else { echo $result_test['ans2']."<br>"; } if($result_test['ans3']!=null) { ?> <input name="ans<?echo $num;?>" type='radio' <?if(${ans.$num} == 3){echo "checked";}?> > <? if($result_test['result'] == 3) { echo "<b><font color='red'>".$result_test['ans3']."</font></b><br>"; }else{ echo $result_test['ans3']."<br>"; }

Page 188: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

169

} if($result_test['ans4']!=null) { ?> <input name="ans<?echo $num;?>" type='radio' <?if(${ans.$num} == 3){echo "checked";}?> > <? if($result_test['result'] == 4) { echo "<b><font color='red'>".$result_test['ans4']."</font></b><br>"; }else{ echo $result_test['ans4']."<br>"; } } if($result_test['ans5']!=null) { ?> <input name="ans<?echo $num;?>" type='radio' <?if(${ans.$num} == 3){echo "checked";}?> > <? if($result_test['result'] == 5) { echo "<b><font color='red'>".$result_test['ans5']."</font></b><br>"; }else{ echo $result_test['ans5']."<br>"; } } echo "</td></tr>"; $num++; } ?> <tr><td align='center' ><br><h2>คะแนนที่คุณไดคือ <?echo $count_true;?>/<?echo $num-1;?></h2></td></tr> </table></form><? } ?>

Page 189: การพัฒนาระบบการจ ัดการเร ียนการสอนโดยใช เทคโนโลย ีเว็บบล็อกsutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/2957/2/ธนาธร_Full.pdf ·

ประวัติผูเขียน

นายธนาธร ทะนานทอง เกิดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนธัมมสิริศึกษาสัตหีบ ในปการศึกษา 2539 สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสิงหสมุทร ในปการศึกษา 2545 และไดเขาศึกษาตอในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จนไดรับปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิศวกรรมศาสตร ในปการศึกษา 2548 หลังจากสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ไดเขาทํางานที่เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ในตําแหนงนักเทคโนโลยีงานดานฐานขอมูล และในปการศึกษา 2549 ไดรับทุนการศึกษาสําหรับผูมีศักยภาพจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ใหเขาศึกษาตอในระดับปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกเทคโนโลยีเว็บไซต จึงไดทําการขอลาศึกษาตอโดยไดรับความอนุเคราะหจากผูชวยศาสตราจารย ดร. ฉัตรชัย โชติษฐยางกูร (ผูอํานวยการ) และอาจารย ดร.ราเชนทร โกศัลวิตร (รองผูอํานวยการ) ใหสามารถลาศึกษาตอโดยยังคงปฏิบัติงานเต็มเวลา จนกระทั่งเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 ในระหวางชวงของการดําเนินการทําวิทยานิพนธไดรับโอกาสเขามาทํางาน ณ ศูนยวิจัยเคร่ืองกําเนิดแสงซินโครตรอนแหงชาติ ในตําแหนงวิศวกร 1 รับผิดชอบงานดานเครือขายคอมพิวเตอร และระหวางการศึกษาในระดับปริญญาโทไดรับความไววางใจจากคณาจารยในสาขาวิชาใหปฏิบัติหนาที่เปนผูชวยสอนในรายวิชาตาง ๆ จํานวน 4 รายวิชาดังตอไปนี้

1. การโปรแกรมคอมพิวเตอร (Computer Programming) 2. ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 3. การโปรแกรมโดยยึดเหตุการณ (Event-Driven Programming) 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 (Information Technology I) ตลอดระยะเวลาที่เขารับการศึกษานั้น ไดมุงมั่นศึกษาหาความรูทางดานเทคโนโลยีเว็บไซต

บวกกับประสบการณทางดานการสอน ซ่ึงไดรับความอนุเคราะหโอกาสจากคณาจารยในสาขาวิชา ทําใหเกิดแรงจูงใจที่จะพัฒนาระบบเว็บไซตที่สามารถใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอน อันเปน ที่มาของการทําวิจัยในครั้งนี้