การรื้อปรับกระบวนการ ... › thesis › thesis_2553 ›...

73
การรื้อปรับกระบวนการ กรณีศึกษา ร้านค้าสะดวกซื ้อของบริษัทยูนิซิตี้ Business Process Reengineering Case Study Pick and Pay of Unicity นฤชล ขวัญเปรมฤทัย Naruechon Khwanpremruethai สารนิพนธ์ฉบับนี ้เป็นส่วนหนึ ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปีการศึกษา 2553

Upload: others

Post on 06-Jul-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การรือ้ปรบักระบวนการ กรณีศึกษา ร้านค้าสะดวกซ้ือของบริษทัยนิูซิต้ี

    Business Process Reengineering Case Study Pick and Pay of Unicity

    นฤชล ขวญัเปรมฤทยั

    Naruechon Khwanpremruethai

    สารนิพนธฉ์บบันี้เป็นสว่นหนึ่งของการศกึษา

    ตามหลกัสตูรวทิยาศาสตรมหาบณัฑติ

    สาขาวชิาเทคโนโลยสีารสนเทศ บณัฑติวทิยาลยั

    มหาวทิยาลยัเทคโนโลยมีหานคร

    ปีการศกึษา 2553

  • I

    หวัข้อโครงงาน การรือ้ปรบักระบวนการ รา้นคา้สะดวกซือ้ของบรษิทัยนิูซติี้

    นักศึกษา นางสาวนฤชล ขวญัเปรมฤทยั

    รหสันักศึกษา 5217670055

    ปริญญา วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ

    สาขาวิชา เทคโนโลยสีารสนเทศ

    พ.ศ. 2553

    อาจารยผ์ูค้วบคมุโครงงาน ดร.วรพล ลลีาเกยีรตสิกุล

    บทคดัย่อ

    การรือ้ปรบักระบวนการ รา้นคา้สะดวกซือ้ของบรษิทัยนิูซติี้ โดยมวีตัถุประสงคเ์พื่อ

    ปรบัปรงุรปูแบบในการใหบ้รกิารกบัลกูคา้ ซึง่เป็นทางเลอืกหน่ึงทีส่ามารถนําผลของการ

    ออกแบบระบบมาใชเ้ป็นแนวคดิตน้แบบของการสรา้งรา้นสะดวกซือ้และระบบจดุขาย สาํหรบั

    ศูนยจ์าํหน่ายผลติภณัฑท์ีเ่ป็นเฟรนไชสข์องบรษิทัทีต่อ้งการประกอบกจิการรา้นคา้สะดวกซือ้

    โดยสามารถนําวธิกีารออกแบบรา้นสะดวกซือ้และระบบจดุขายน้ีไปใชท้ีเ่ป็นตน้แบบได ้ซึง่การ

    รือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ เป็นการคดิทบทวนกระบวนการทางธรุกจิ โดยการออกแบบกระบวนการ

    ทางธรุกจิใหม่ มุ่งสรา้งระบบใหมท่ีม่ผีลใหค้ณุภาพดขีึน้ เพื่อประสทิธภิาพของการทาํงานดขีึน้

    สรา้งความพงึใจใหก้บัลกูคา้ โดยการประเมนิผลความพงึพอใจของลกูคา้ แสดงดว้ยค่าคะแนน

    เฉลีย่ (𝑋𝑋 ) ของความพงึพอใจของการใหบ้รกิาร และคา่สว่นเบีย่งเบนมาตรฐาน (SD) จากการประเมนิความพงึพอใจของระบบโดยลกูคา้จาํนวน 40 คน มดีงัต่อไปน้ี คา่เฉลีย่เท่ากบั 4.03 ค่า

    สว่นเบีย่งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.69 แสดงว่ากลุ่มลกูคา้ มคีวามพงึพอใจต่อระบบทีพ่ฒันา

    ปรบัปรงุอยูใ่นระดบัมคีวามพงึพอใจมาก

  • II

    กิตติกรรมประกาศ

    ผูศ้กึษาขอกราบขอบพระคณุ ดร.วรพล ลลีาเกยีรตสิกุล อยา่งสงูทีไ่ดใ้หค้วามรูแ้ละ

    กรณุาสละเวลาเป็นอาจารยท์ีป่รกึษาโครงงาน ไดใ้หค้วามช่วยเหลอืในการใหค้าํแนะนําและ

    ตรวจสอบแกไ้ขปรบัปรงุโครงงานฉบบัน้ีใหม้คีวามสมบรูณ์

    นางสาวนฤชล ขวญัเปรมฤทยั

  • III

    สารบญั

    หน้า

    บทคดัยอ่……...…….………………...………………………….…………….…………….. I

    กติตกิรรมประกาศ….………………………………………………………….……………… II

    สารบญั………...…….………………...………………………….…………….…………….. III

    สารบญัตาราง……….………………………………………………………….……………… VI

    สารบญัรปู……………………………………….……………….……...…………………....... VII

    บทที ่1 บทนํา………………………………………………….……………………….………. 1

    1.1 ความเป็นมาและความสาํคญัของปญัหา…...................................................... 1

    1.2 วตัถุประสงค ์.................................................................…............................ 4

    1.3 ความสาํคญัของโครงงาน...................................................................... …... 4

    1.4 ขอบเขตของโครงงาน….……………………………………...….…….………. 4

    1.5 ประโยชน์ทีค่าดวา่จะไดร้บั….………………………………….…...…..……….. 4

    1.6 โครงสรา้งของสารนิพนธ ์ ….………………......…………….…...…..……….. 5

    บทที ่2 พืน้ฐานและทฤษฏทีีเ่กีย่วขอ้ง.................................…………….………….………. 6

    1.1 ระบบสารสนเทศ.................................…………….……….............…….…… 6

    1.1.1 ความหมายของระบบสารสนเทศ .....……………………..………. 6

    1.1.2 ระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร ์....…………...……….……...... 7

    1.1.3 วงรอบชวีติของการพฒันาระบบ ....……...………...….…………... 8

    2.2 การรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ...…....................................……...….…………… 9

    2.2.1 แนวคดิของการรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ………….….......….…...... 10

    2.2.2 หลกัการทาํการรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ…………….......….…....... 11

  • IV

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า

    2.3 ระบบบารโ์คด้................................................................. ..................………. 13

    2.3.1 ความหมายของบารโ์คด้...................................... ........................ 13

    2.3.2 ประเภทของบารโ์คด้.................................................................... 14

    2.3.3 ประโยชน์ของบารโ์คด้ในดา้นธรุกจิ.............................................. 14

    2.4 ระบบ RFID.......................................................................... ............. ………. 15

    2.4.1 ความหมายของ RFID................................................................. 15

    2.4.2 RFID มขีอ้ไดเ้ปรยีบเหนือกว่าระบบบารโ์คด้................................ 15

    2.4.3 องคป์ระกอบของระบบ RFID...................................................... . 16

    2.5 ระบบโทรทศัน์วงจรปิด ................................................................................. 18

    2.5.1 กลอ้งวงจรปิด............................................................................. . 18

    2.5.2 เครือ่งบนัทกึภาพกลอ้งวงจรปิด.................................................. . 20

    บทที ่3 การดาํเนินโครงการ .....................................…………….………….……….......... 21

    3.1 วตัถุประสงคข์องโครงการ .......................................................................... 22

    3.2 ปญัหาของกระบวนการทาํงานของระบบเดมิ............................................... 2 2

    3.3 แนวทางในการแกป้ญัหา............. ................................................................2 3

    3.4 ผูร้บัผดิชอบโครงการ ..................................................................................2 4

    3.5 คา่ใชจ้า่ยในการดาํเนินโครงการ ................................................................. 25

    3.6 ระยะเวลาในการดาํเนินโครงการ ................................................................ 26

    3.7 วธิกีารดาํเนินงาน ....................................................................................... 27

    3.8 ทรพัยากรทีต่อ้งการ ................................................................................... 32

    3.9 การวางแผนความเสีย่ง .............................................................................. 33

  • V

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า

    3.10 ขัน้ตอนการทดสอบระบบ ........................................................................... 34

    3.11 ขัน้ตอนการประเมนิประสทิธภิาพของโครงการ ........................................... 35

    บทที ่4 การวเิคราะหแ์ละผลการดาํเนินโครงการ ........…………….………….………......... 37

    4.1 การวเิคราะหแ์นวทางการแกไ้ขปญัหา …………….……….............……..... 37

    4.2 เกณฑก์ารตดัสนิใจ ................................................................................... 38

    4.2.1 ผลกระทบต่อกระบวนการทางธรุกจิ ........................................... 38

    4.2.2 ความเป็นไปไดท้างเทคนิค ........................................................ 39

    4.2.3 ผลกระทบต่อขอ้จาํกดั ................................................................ 39

    4.2.4 การวเิคราะหค์า่ใชจ้า่ยผลประโยชน์ ............................................ 40

    4.2.5 อตัราผลตอบแทนจากการลงทุน ................................................. 42

    4.2.6 การเปรยีบเทยีบแนวทางการแกป้ญัหา ....................................... 42

    4.3 ผลการดาํเนินโครงการ ............................................................................... 43

    4.4 ผลการประเมนิของโครงการรา้นสะดวกซือ้ ………………........................... 47

    บทที ่5 สรปุผลการดาํเนินโครงการ ...........................…………….………….………......... 52

    5.1 สรปุผลการศกึษา …...............................………….……….............……..... 52

    5.2 ปญัหาและขอ้จาํกดัในการดาํเนินงาน ……….............................................. 53

    5.3 ขอ้เสนอแนะ .............................................................................................. 54

    บรรณานุกรม…………………………………………………….……………………………… 55

    ภาคผนวก ก. แบบสอบถามเพือ่ประเมนิผลการใหบ้รกิารของระบบใหม่ ............................ 58

    ภาคผนวก ข. แบบประเมนิประสทิธภิาพของระบบ ....……….............…..……….............. 60

  • VI

    สารบญัตาราง

    ตารางที่ หน้า

    1.1 ความแตกต่างระหวา่งระบบแบบเดมิและระบบแบบใหม่ ………….………………….... 3

    3.1 ประมาณการรายได้และประมาณการคา่ใชจ้า่ย .................................................. ......... 24

    3.2 ระยะเวลาในการดาํเนินโครงการ ....................................................................... ........ 25

    3.3 รายละเอยีดเมนูสว่นต่อประสาน................................................................................ 31

    3.4 แสดงทรพัยากรทีต่อ้งการ ........................................................................................ 3 2

    3.5 แสดงความสาํคญัของความเสีย่ง .............................................................................. 3 3

    4.1 ผลการประเมนิความพงึพอใจของลกูคา้ …………………………………………..……. 47

    4.2 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้น Function Requirement Test…….. 48

    4.3 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้น Function Test……………………... 49

    4.4 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้น Usability Test……………………... 49

    4.5 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้น Performance Test………………... 50

    4.6 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้น Security Test……………………... 50

    4.7 ผลการประเมนิประสทิธภิาพของระบบจดุขายดา้นต่างๆ………………………………... 51

  • VII

    สารบญัรปู

    รปูที ่ หน้า

    1.1 แสดงกระบวนการของระบบแบบเดมิ……………………………….............................. 4

    1.2 แสดงกระบวนการระบบแบบใหม่ ..................................................... .......................... 4

    2.1 สว่นประกอบของระบบสารสนเทศ ................................................... .......................... 6

    2.2 สว่นประกอบของระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร ์.................................................... 7

    2.3 วงรอบชวีติของการพฒันาระบบ ............................................. ................................... 8

    2.4 หลกัการและแนวคดิของ BPR…………........................................... ........................... 10

    2.5 ตวัอยา่งบารโ์คด้ ………........................................... .................................................. 13

    2.6 องคป์ระกอบต่างๆ ของระบบ RFID......................................... ................................... 16

    2.7 แทก็สใ์นรปูแบบต่างๆ ........................................................... .....................................17

    2.8 เครือ่งอ่านขอ้มลูชนิดต่างๆ .................................................... .................................... 18

    2.9 ตวัอยา่งกลอ้งตดิกบัที ่............................................................ .................................... 18

    2.10 ตวัอยา่งกลอ้งสามารถหมนุปรบัทศิทางได้ ................................................................ 19

    2.11 ตวัอยา่งเครือ่งบนัทกึภาพกลอ้งวงจรปิด ................................................................... 19

    3.1 กจิกรรมกระบวนการของระบบจดุขายแบบเดมิ................... ......................................... 23

    3.2 กจิกรรมกระบวนการของระบบจดุขายแบบใหม่ .......................................................... 24

    3.3 โครงสรา้งผูร้บัผดิชอบโครงการ ........................................ .......................................... 24

    3.4 ระยะเวลาทีใ่ชใ้นกจิกรรมต่างๆ ........................................ .......................................... 26

    3.5 แผนภาพของระบบงานขาย Pick and Pay ................................................................ 28

    3.6 โครงสรา้งการเชือ่มต่อของระบบ ................................ .............................................. 29

  • VIII

    สารบญัรปู (ต่อ)

    รปูที ่ หน้า

    3.7 โครงสรา้งเมนูสว่นต่อประสานงานของระบบ .............................. ............................... 30

    3.8 หน้าจอแสดงองคป์ระกอบสว่นต่อประสานงาน .......................................................... 31

    4.1 หน้าจอการเขา้สูร่ะบบ ……………………………………………………………………. 44

    4.2 หน้าจอสรปุรายละเอยีดของเมนูต่างๆ …………………………………………………… 44

    4.3 รายการสนิคา้ …………….……………………………………………………………….. 45

    4.4 การเลอืกสนิคา้ต่างๆ และการใสจ่าํนวนทีต่อ้งการ …………………………………….. 45

    4.5 ขอ้มลูของสมาชกิ ………………………………………………………………………… 46

    4.6 วธิกีารชาํระเงนิ …………………………………………………………………………… 46

    4.7 แสดงหน้าใบเสรจ็รบัเงนิ ………………………………………………………………… 46

    4.8 จาํนวนของลกูคา้ที่ประเมนิความพงึพอใจ………………………………………………… 47

  • 1

    บทท่ี 1

    บทนํา

    1.1 ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา บรษิทั ยนิูซติี ้มารเ์กต็ติง้ (ไทยแลนด)์ จาํกดั (Unicity Marketing (Thailand) Co., Ltd.)

    เป็นบรษิทัทีด่าํเนินการระบบธรุกจิแบบเครอืขา่ย (MLM – Multi-level Marketing Business)

    ผลติผลติภณัฑเ์สรมิอาหารและผลติภณัฑเ์พือ่สขุภาพ ซึง่ดาํเนินการภายใตย้นิูซติี ้อนิเตอร์

    เนชัน่แนล (Unicity International) ประเทศสหรฐัอเมรกิายนิูซติีต้ ัง้ขึน้ในปี 2001 โดยการรวมตวั

    ของสองบรษิทัธรุกจิแบบเครอืขา่ยทีป่ระสบผลสาํเรจ็ นัน่คอื บรษิทัเรก็ซซ์อลล ์โชวเ์คส อนิเตอร์

    เนชัน่แนล และบรษิทั เอน็รชิ อนิเตอรเ์นชัน่แนลประเทศสหรฐัอเมรกิา โดยบรษิทั เรก็ซซ์อลล ์

    ดรกั เริม่มรีะบบแฟรนชายส ์(franchise) รา้นขายยาแหง่แรกและเป็นยีห่อ้ทีไ่ดร้บัการยอมรบัใน

    ประเทศสหรฐัอเมรกิามากว่า 100 ปีในช่วงเวลาทีร่วมกจิการ แผนกธรุกจิเครอืขา่ยของบรษิทั

    เรก็ซซ์อลล ์โชวเ์คส ดาํเนินธรุกจิมาได ้11 ปี ในขณะทีบ่รษิทั เอน็รชิอนิเตอรเ์นชัน่แนล ดาํเนิน

    ธรุกจิมาได ้18 ปีทัง้สองบรษิทัต่างกเ็ป็นทีย่อมรบัวา่เป็นผูนํ้าในธรุกจิในดา้นผลติภณัฑเ์พือ่

    ป้องกนัสขุภาพผลติภณัฑต่์อตา้นอาย ุและตลาดเพือ่สขุภาพทีส่มบรูณ์

    ปจัจบุนั ยนิูซติี ้อนิเตอรเ์นชัน่แนลไดข้ยายธรุกจิออกไปเหนืออาณาเขตของประเทศ

    สหรฐัอเมรกิาและอกีหลายประเทศทัว่โลก เช่น ประเทศแคนาดา เวเนซเูอล่า โคลมัเบยีเยอรมนั

    สวเีดน สหราชอาณาจกัร ญีปุ่น่ เกาหล ีไตห้วนั ฮ่องกง ฟิลปิปินส ์มาเลเซยี สงิคโปร ์แมก๊ซโิก

    เนเธอรแ์ลนด ์ตุรก ีออสเตรยี บรไูน ประเทศไทยปจัจบุนั บรษิทั ยนิูซติี ้มารเ์กต็ติง้ (ไทยแลนด)์

    จาํกดั มสีมาชกิซึง่เรยีกวา่นกัธรุกจิอสิระ ทัว่ประเทศมากกวา่ 50 , 000คน และบรษิทัไดม้กีาร

    ปรบัปรงุและพฒันาคณุภาพของผลติภณัฑอ์ยูเ่สมอ ทาํใหม้จีาํนวนผลติภณัฑม์ากมายหลาย

    ประเภท โดยการทีไ่ดร้บัความรว่มมอืจากผูเ้ชีย่วชาญทางการแพทย ์นกัโภชนาการ นกัวจิยัและ

    ผูเ้ชีย่วชาญอื่นๆ อกีทัว่โลก

    ธรุกจิขายตรงหรอืระบบธรุกจิแบบเครอืขา่ย เป็นธรุกจิทีม่กีารแขง่ขนัทางธรุกจิในระดบั

    ทีส่งู และแต่ละธุรกจิจะมกีลุ่มลกูคา้ใกลเ้คยีงกนัจงึทาํใหต้ลาดกลุ่มน้ีกลายเป็นกอ้นเคก้ทีม่กีาร

    แบ่งสว่นกนัออกไปเป็นจาํนวนมาก (Market Share) ดงันัน้ธรุกจิทีอ่ยูใ่นกลุ่มอุตสาหกรรม

    เดยีวกนัจาํเป็นตอ้งหาจดุขายและแผนกลยทุธต่์างๆ มาใชเ้พื่อใหต้วัเองมคีวามโดดเด่นและเป็น

    ทีย่อมรบัอยา่งกวา้งขวางในสายตาผูบ้รโิภค ปจัจบุนัธรุกจิระบบเครอืขา่ยมผีูร้ว่มประกอบการ

    เขา้มาในระบบธรุกจิอยูต่ลอดเวลา เน่ืองจากแนวโน้มในสภาพเศรษฐกจิปจัจบุนัทีเ่น้นการสรา้ง

    เครอืขา่ยผูบ้รโิภคจงึมผีลติภณัฑท์ีม่คีณุสมบตัพิเิศษหรอืมคีวามจาํเพาะกบัผูบ้รโิภคมากขึน้มา

    เป็นจดุขายของแต่ละบรษิทั เพือ่ใหผู้บ้รโิภคมทีางเลอืกมากขึน้เสมอืนกบัเป็นการรองรบัความ

    ตอ้งการของลกูคา้ในทุกแงม่มุ ทาํโอกาสในการปิดการขายมเีพิม่มากขึน้ ผูป้ระกอบธรุกจิทีอ่ยูใ่น

  • 2

    ระบบน้ีอยูแ่ลว้จาํเป็นตอ้งพฒันาศกัภาพและปรบัระบบการขายการตลาดใหม้จีดุขายทีต่่างจากคู่

    แขง่ขนัอยูเ่สมอเพื่อรกัษาตลาดและกลุ่มลกูคา้เก่าพรอ้มทัง้ตอ้งสรรหากลุ่มลกูคา้ใหมอ่ยูเ่สมอ

    เน่ืองดว้ยขัน้ตอนกระบวนการทาํงานของระบบจดุขายเดมินัน้มหีลายขัน้ตอน ทาํใหเ้กดิ

    ความลา่ชา้ในการใหบ้รกิารกบัลกูคา้ ซึง่ทาํใหล้กูคา้ไมร่บัความสะดวกสบายและบรกิารทีไ่มน่่า

    พงึพอใจ ถา้ตอ้งการลดจดุอ่อนดงักลา่วควรจะมกีารดาํเนินการปรบัปรงุกระบวนทางธรุกจิใหม ่

    ใหม้จีดุเด่นทีจ่งูใจและดงึดดูลกูคา้ไดม้ากคอื การบรกิารทีค่วามสะดวกสบายยิง่ขึน้ มสีนิคา้ให้

    เลอืกสรรเพิม่ขึน้ เพื่อเพิม่โอกาสเลอืกสรรสนิคา้ใหแ้ก่ลกูคา้มากขึน้ มบีรรยากาศสภาพแวดลอ้ม

    ทีเ่หมาะสมและเอือ้ต่อการจาํหน่ายสนิคา้

    ดงันัน้คณะผูบ้รหิารทีเ่ป่ียมไปดว้ยประสบการณ์ ความสมารถและวสิยัทศัน์อนักวา้งไกล

    จงึไดม้นีโยบายทีจ่ะสรา้งหรอืการรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ (Business Process Reengineering)

    โดยการเพิม่ช่องทางการเลอืกซือ้สนิคา้ใหเ้ป็นลกัษณะการซือ้ขายคลา้ยกบัซุปเปอรม์าเกต็หรอื

    เรยีกวา่รา้นคา้สะดวกซือ้ เป็นกระบวนการทาํงานของระบบจดุขายแบบใหม ่แลว้คดัสรร

    ผลติภณัฑช์ัน้นํา มคีุณภาพเป็นเลศิจากทัว่โลกมาตอบสนองทุกความตอ้งการของลกูคา้และเพิม่

    ความสะดวกสบายใหก้บัลกูคา้หรอืนกัธรุกจิอสิระมากขึน้ โดยผลดงักลา่วจะทาํใหผู้ป้ระกอบการ

    สามารถพฒันาระบบธรุกจิใหม้ทีนัสมยัและรองรบัการแขง่ขนัทางธรุกจิ เพือ่กระตุน้และสง่เสรมิ

    ยอดขาย รวมถงึสามารถลดกระบวนการการทาํงานลงได ้โดยความแตกต่างระหวา่งระบบจดุ

    ขายแบบเดมิและระบบจดุขายแบบใหมส่ามารถแสดงใหเ้หน็ตามตารางที ่1.1

    ตารางที ่1.1 ความแตกต่างระหวา่งระบบแบบเดมิและระบบแบบใหม่

    ระบบแบบเดิม ระบบแบบใหม่

    ความลา่ชา้ในการใหบ้รกิาร การทาํงานใหส้ะดวกและรวดเรว็ขึน้ ระบบงานลา้สมยั ระบบใชง้านไดง้า่ย บรกิารทีไ่มน่่าพงึพอใจ สรา้งความพงึพอใจใหก้บัลกูคา้ การปฏบิตังิานมหีลายกระบวนการ การปฏบิตังิานสัน้กวา่เดมิ และใชค้นน้อย

    กว่าเดมิ

  • 3

    1.1.1 กระบวนการทาํงานของระบบเดิม ขัน้ตอนกระบวนการทาํงานของระบบเดมิมหีลายขัน้ตอน ดงัต่อไปน้ี

    i. ลกูคา้ตอ้งกรอกใบสัง่ซือ้สนิคา้ก่อน ii. ลกูคา้กดบตัรควิและรอเรยีกควิ iii. หลงัจากนัน้ลกูคา้จงึนําใบสัง่ซือ้สนิคา้ไปยืน่ทีแ่ผนกบรกิารลกูคา้ เพือ่สัง่ซือ้

    สนิคา้และชาํระราคาคา่สนิคา้

    iv. หลงัจากไดร้บัใบเสรจ็แลว้ ยงัตอ้งกดบตัรควิและรอเรยีกควิอกีครัง้ จากแผนกคลงัสนิคา้

    v. ลกูคา้ตอ้งนําใบเสรจ็ดงักลา่ว ไปรบัสนิคา้ที ่แผนกคลงัสนิคา้ vi. หลงัจากทีล่กูคา้ไดย้ืน่ใบเสรจ็แลว้ ตอ้งรอพนกังานคลงัสนิจดัสนิคา้ตามใบเสรจ็

    ก่อน จงึจะรบัสนิคา้ได้

    รปูที ่1.1 แสดงกระบวนการของระบบแบบเดมิ

    1.1.2 กระบวนการทาํงานของระบบใหม่ ขัน้ตอนกระบวนการทาํงานของระบบใหมม่ขี ัน้ตอน ดงัต่อไปน้ี

    i. ลกูคา้สามารถเลอืกสรรสนิคา้ประเภทต่างๆ ทีช่ ัน้วางสนิคา้ ii. ลกูคา้มารอควิทีจ่ดุรบัชาํระเงนิและรบัสนิคา้ไดท้นัที

    รปูที ่1.2 แสดงกระบวนการระบบแบบใหม่

  • 4

    1.2 วตัถปุระสงค ์

    1.2.1 เพือ่นําแนวทางของกระบวนการการรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิมาเป็นแนวทางในการปรบัปรงุการใหบ้รกิารของบรษิทั

    1.2.2 เพือ่นําระบบจดุขายบนเทคโนโลยเีวบ็แอพพลเิคชัน่มาเป็นระบบตน้แบบ

    1.3 ความสาํคญัโครงงาน

    นําแนวทางในการแกป้ญัหาการของใหบ้รกิารกบักลุม่นกัธรุกจิอสิระของบรษิทัยนิูซติีม้า

    ใช ้โดยการจดัตัง้โครงการรา้นคา้สะดวกซือ้ของบรษิทัยนิูซติีข้ ึน้ เพือ่ปรบัปรงุรปูแบบในการ

    ใหบ้รกิารกบัลกูคา้ ซึง่เป็นรปูแบบทีเ่ป็นทางเลอืกหน่ึง ทีส่ามารถนําผลของการออกแบบระบบ

    มาใชเ้ป็นแนวคดิตน้แบบของการสรา้งรา้นสะดวกซือ้และระบบจดุขาย สาํหรบัศนูยจ์าํหน่าย

    ผลติภณัฑท์ีเ่ป็นเฟรนไชสข์องบรษิทัทีต่อ้งการประกอบกจิการรา้นคา้สะดวกซือ้โดยสามารถนํา

    วธิกีารออกแบบรา้นสะดวกซือ้และระบบจดุขายน้ีไปใชท้ีเ่ป็นตน้แบบได้

    1.4 ขอบเขตของโครงงาน

    1.4.1 รวบรวมความตอ้งการต่างๆ ของระบบและรายละเอยีดของงาน จากผูบ้รหิาร และพนกังานทีเ่กีย่วขอ้งมาวเิคราะห ์เพือ่นําไปเป็นแนวทางในการแกป้ญัหา

    1.4.2 ทดสอบและตดิตามผลการแกไ้ขของระบบจดุขายใหเ้ป็นไปตามตอ้งการ 1.4.3 ระบบจดุขายน้ี ยงัไมส่ามารถใชบ้รกิารกบัระบบการจา่ยเงนิแบบออนไลน์ได้

    1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั

    1.5.1 ไดรู้ถ้งึแนวทางการวเิคราะหแ์ละการแกป้ญัหาในกระบวนการการปรบัปรงุระบบทางธรุกจิของบรษิทัยนิูซติี้

    1.5.2 เพือ่เป็นประโยชน์สาํหรบัผูท้ีส่นใจหรอืผูป้ระกอบกจิการทีจ่ะนําระบบจดุขายไปประยกุตใ์ชห้รอืปรบัปรงุกระบวนการใหเ้หมาะสมกบัแต่ละกจิการ เพือ่พฒันา

    ประสทิธภิาพใหด้ขีึน้

  • 5

    1.6 โครงสร้างของสารนิพนธ์

    โครงสรา้งของสารนิพนธ์ เป็นการกลา่วถงึภาพรวมในบทต่างๆ ทีอ่ยูใ่นสารนิพนธ ์ดงัน้ี

    1.6.1 บทที ่1 บทนํา กล่าวถงึ ความเป็นมาและความสาํคญัของปญัหาโดยยอ่ รวมถงึวตัถุประสงคแ์ละขอบเขตของโครงงาน

    1.6.2 บทที ่2 พืน้ฐานและทฤษฏทีีเ่กีย่วขอ้ง กล่าวถงึ การศกึษาและคน้ควา้ ทฤษฎทีี่เกีย่วขอ้งกบัโครงงาน

    1.6.3 บทที ่3 การดาํเนินโครงการ กลา่วถงึ แนวทางในการแกป้ญัหา วธิกีารดาํเนินงาน การเตรยีมการทดสอบระบบและการประเมนิประสทิธภิาพของ

    โครงการ

    1.6.4 บทที ่4 การวเิคราะหแ์ละผลการดาํเนินโครงการ กลา่วถงึ การวเิคราะหแ์นวทางการแกไ้ขปญัหาและวเิคราะหค์วามเป็นไปไดข้องโครงการ รวมถงึผลการ

    ดาํเนินโครงการและผลการประเมนิของโครงการ

    1.6.5 บทที ่5 สรปุผลการดาํเนินโครงการ กล่าวถงึ ผลสรปุของโครงงาน ขอ้จาํกดัในการดาํเนินงานและขอ้เสนอแนะ

  • 6

    บทท่ี 2

    พืน้ฐานและทฤษฏีท่ีเก่ียวข้อง

    2.1 ระบบสารสนเทศ 2.1.1 ความหมายของระบบสารสนเทศ[3] ระบบสารสนเทศ (Information System หรอื IS) คอืระบบแบบเฉพาะเจาะจงชนิดหน่ึง

    ซึง่อาจกลา่วไดว้า่เป็นกลุม่ของสว่นประกอบพืน้ฐานต่างๆทีท่าํงานเกีย่วขอ้งกนัในการเกบ็ขอ้มลู

    หรอืเรยีกว่าส่วนทีนํ่าเขา้ (Inputs) การจดัการขอ้มลูหรอืเรยีกว่าส่วนประมวลผล (Processing)

    และการเผยแพรข่อ้มลูหรอืเรยีกว่าส่วนที่แสดงผล (Outputs) และสนบัสนุนกลไกลของผล

    สะทอ้นกลบั (Feedback) เพือ่ใหบ้รรลตุามวตัถุประสงค ์โดยระบบสารสนเทศประกอบดว้ย สว่น

    หลกั ดงัรปูที ่2.1

    รปูที ่2.1 สว่นประกอบของระบบสารสนเทศ

    2.1.1.1 ส่วนท่ีนําเข้า (Inputs) คอืการรวบรวมขอ้มลูและการจดัเตรยีมขอ้มลูดบิสว่นทีนํ่าเขา้น้ีสามารถมไีดห้ลายรปูแบบ ตวัอยา่งเช่น การโทรเขา้เพือ่สอบถามขอ้มลูใน

    ระบบขอ้มลูทีล่กูคา้กรอกในใบสอบถามการใหบ้รกิารของรา้นคา้ เป็นตน้ ขึน้อยูก่บัส่วนแสดงผล

    ทีต่อ้งการสว่นทีนํ่าเขา้น้ีอาจเป็นขบวนการทีท่าํดว้ยตวัเองหรอืเป็นแบบอตัโนมตักิไ็ดเ้ช่นการ

    อ่านขอ้มลูรายชือ่สนิคา้และราคาโดยเครือ่งอ่าน บารโ์คด้จดัเป็นสว่นทีนํ่าเขา้แบบอตัโนมตัิ

    2.1.1.2 การประมวลผล (Processing) เกีย่วขอ้งกบัการเปลีย่นและการแปลงขอ้มลูใหอ้ยูใ่นรปูของส่วนแสดงผลตวัอยา่งเช่น การเปรยีบเทยีบราคา การเลอืกทางเลอืกในการ

    ปฏบิตังิาน และการเกบ็ขอ้มลูไวใ้ชใ้นอนาคต โดยการประมวลผลสามารถทาํไดด้ว้ยตนเองหรอื

    สามารถใชค้อมพวิเตอรเ์ขา้มาช่วยกไ็ดต้วัอยา่ง เช่น ระบบคดิเงนิ

    สว่นท่ีนําเข้า การประมวลผล สว่นท่ีแสดงผล

    ผลสะท้อนกลบั

  • 7

    2.1.1.3 ส่วนท่ีแสดงผล (Outputs) เกีย่วขอ้งกบัการผลติสารสนเทศทีม่ ีประโยชน์ มกัจะอยูใ่นรปูของเอกสารหรอืรายงาน โดยส่วนแสดงผลของระบบหน่ึงอาจใชเ้ป็น

    สว่นทีนํ่าเขา้เพือ่ควบคมุระบบหรอือุปกรณ์อื่นๆ โดยใชซ้อฟตแ์วรห์รอืฮารด์แวรค์อมพวิเตอรเ์ขา้

    มาช่วยในการออกแบบน้ีดว้ยจนกระทัง่ไดต้น้แบบทีต่รงความตอ้งการมากทีส่ดุ จงึสง่แบบนัน้ไป

    ทาํการผลติผลลพัธ ์อาจอยูใ่นรปูแบบของสิง่พมิพท์ีอ่อกมาจากเครือ่งพมิพห์รอืแสดงอยูบ่น

    หน้าจอคอมพวิเตอรท์ีเ่ป็นอุปกรณ์แสดงผลตวัหน่ึงหรอือาจจะอยูใ่นรปูของรายงานและเอกสารที่

    เขยีนดว้ยมอืกไ็ด้

    2.1.1.4 ผลสะท้อนกลบั (Feedback) คอืสว่นแสดงผลทีใ่ชใ้นการทาํใหเ้กดิการเปลีย่นแปลงต่อสว่นทีนํ่าเขา้หรอืสว่นประมวลผลเช่น ความผดิพลาดหรอืปญัหาทีเ่กดิขึน้

    จาํเป็นตอ้งแกไ้ขขอ้มลูนําเขา้หรอืทาํการเปลีย่นแปลงการประมวลผลเพื่อใหไ้ดส้่วนแสดงผลที่

    ถกูตอ้ง

    2.1.2 ระบบสารสนเทศท่ีใช้คอมพิวเตอร ์(Computer-Based Information Systems : CBIS) [3]

    ระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร ์ประกอบดว้ย ฮารด์แวร ์(Hardware) ซอฟตแ์วร ์

    (Software) ขอ้มลู (Data) บุคคล (People) ขบวนการ (Procedure) และการสือ่สารขอ้มลู

    (Telecommunication) ซึง่ถกูกาํหนดขึน้เพือ่ทาํการรวบรวม จดัการจดัเกบ็และประมวลผลขอ้มลู

    ใหเ้ป็นสารสนเทศ ดงัรปูที ่2.2

    รปูที ่2.2สว่นประกอบของระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร์

    2.1.2.1 ฮารด์แวร ์คอือุปกรณ์ทางกายภาพ ทีใ่ชใ้นการรวบรวมขอ้มลู การนําเขา้ขอ้มลู และการจดัเกบ็ขอ้มลูประมวลผลขอ้มลูใหเ้ป็นสารสนเทศ และแสดงสารสนเทศที่

    เป็นผลลพัธอ์อกมา

    การสื่อสาร

    ข้อมลู

    ซอฟตแ์วร์

    ฮารด์แวร์

    บคุคลขบวนการ

    ขอ้มลู

  • 8

    2.1.2.2 ซอฟตแ์วร ์คอืกลุม่ของโปรแกรมทีใ่ชใ้นการปฏบิตังิานรว่มกบัฮารด์แวรแ์ละใชใ้นการประมวลผลขอ้มลูใหเ้ป็นสารสนเทศ

    2.1.2.3 ข้อมลู คอืขอ้มลูและสารสนเทศทีถ่กูเกบ็อยูใ่นรปูแบบของฐานขอ้มลูโดยฐานขอ้มลู (Database) หมายถงึกลุม่ของคา่ความจรงิและสารสนเทศทีม่คีวามเกีย่วขอ้งกนั

    นัน่เอง

    2.1.2.4 บคุคล หมายถงึบุคคลทีใ่ชง้านและปฏบิตังิานรว่มกบัระบบสารสนเทศ 2.1.2.5 ขบวนการ หมายถงึกลุม่ของคาํสัง่หรอืกฎทีแ่นะนําวธิกีารปฏบิตังิาน

    กบัคอมพวิเตอรใ์นระบบสารสนเทศ ไดแ้ก่ การแนะนําการควบคมุการเขา้ใชง้านคอมพวิเตอร์

    วธิกีารสาํรองสารสนเทศในระบบและวธิจีดัการกบัปญัหาทีอ่าจเกดิขึน้ได้

    2.1.2.6 การส่ือสารข้อมลู หมายถงึการส่งสญัญาณอเิลก็ทรอนิกสเ์พื่อตดิต่อสือ่สารและช่วยใหอ้งคก์รสามารถเชือ่มระบบคอมพวิเตอรเ์ขา้กบัระบบเครอืขา่ย

    (Network) ทีม่ปีระสทิธภิาพไดโ้ดยระบบเครอืขา่ยหมายถงึการเชื่อมต่อคอมพวิเตอรแ์ละ

    อุปกรณ์คอมพวิเตอรไ์วด้ว้ยกนัอาจจะเป็นภายในอาคารเดยีวกนั ในประเทศเดยีวกนั หรอืทัว่

    โลกเพือ่ใหส้ามารถสือ่สารขอ้มลูอเิลก็ทรอนิกสไ์ด้

    2.1.3 วงรอบชีวิตของการพฒันาระบบ (Systems Development Life Cycle) วงรอบชีวิตของการพฒันาระบบ (Systems Development Life Cycle: SDLC) คอื

    กระบวนการทางความคดิ (Logical Process) ในการพฒันาระบบสารสนเทศเพือ่แกป้ญัหาทาง

    ธรุกจิและตอบสนองความตอ้งการของผูใ้ช ้เป็นกรอบการทาํงานทีใ่ชอ้ธบิายระยะเวลาทีใ่ชใ้น

    การพฒันาและบาํรงุรกัษาระบบสารสนเทศ [3] [4]

    ภายในวงจรน้ีจะแบ่งกระบวนการพฒันาออกเป็นระยะ (Phase) ไดแ้ก่ ระยะการ

    วางแผน (Planning Phase) ระยะการวเิคราะห ์(Analysis Phase) ระยะการออกแบบ (Design

    Phase) ระยะการนําไปปฏบิตั ิ(Implementation Phase) และระยะการบาํรงุรกัษาและการให้

    การสนบัสนุน (Maintenance and Support Phase) ดงัรปูที ่2.3

    รปูที ่2.3 วงรอบชวีติของการพฒันาระบบ [4]

  • 9

    2.1.4.1 การวางแผน (Planning) คอืขัน้ตอนทีป่ระกอบดว้ยการบ่งชีแ้ละสนองตอบต่อปญัหาหรอืโอกาส และรว่มมอืกนัจดัการโครงการ และกระบวนการพฒันาระบบ

    และกจิกรรมต่างๆ ทีเ่กีย่วขอ้ง การมกีระบวนการวางแผนอยา่งเป็นทางการยอ่มทาํใหม้ัน่ใจได้

    วา่ เป้าหมาย ขอบเขต งบประมาณ ตารางเวลา เทคโนโลย ีและเครือ่งมอื กรรมวธิกีาร

    กระบวนการพฒันาระบบ มอียา่งถกูตอ้งและครบถว้น

    2.1.4.2 การวิเคราะห ์(Analysis) คอืขัน้ตอนทีเ่ป็นการพยายามขดุลกึลงไปในปญัหาหรอืโอกาสอยา่งเตม็ที ่ตวัอยา่งเช่น กลุม่ทาํโครงการไดศ้กึษาระบบปจัจบุนัเพือ่จดัทาํ

    เอกสารขึน้มาเพือ่จะไดท้าํความเขา้ใจ แลว้ทาํการบ่งชีเ้กีย่วกบัปญัหาใดๆ หรอืขดีจาํกดัทีม่อียู่

    ในระบบปจัจบุนั เพือ่วเิคราะหค์วามตอ้งการ จากนัน้จงึทาํการบ่งชีค้วามตอ้งการของระบบใหม ่

    และทาํใหเ้ป็นเอกสาร

    2.1.4.3 การออกแบบ (Design) คอืขัน้ตอนการออกแบบทีใ่ชโ้มเดลทางตรรกะและความตอ้งการเป็นอนิพตุในการออกแบบสถาปตัยกรรมเพือ่สนบัสนุนระบบ

    สารสนเทศระบบใหมส่ถาปตัยกรรมใหมน้ี่ประกอบดว้ยการออกแบบโครงขา่ย (Hardware

    configuration) ฐานขอ้มลู(Database) การเชือ่มต่อกบัผูใ้ช ้(User interface) และ โปรแกรม

    ประยกุตต่์าง ๆ

    2.1.4.4 การนําไปปฏิบติั (Implementation) คอืการนําไปใชง้านประกอบดว้ย การพฒันา หรอืสรา้งระบบขึน้มา การทดสอบ และการตดิตัง้ รวมถงึการฝึกอบรม การใหก้าร

    สนบัสนุน และการจดัทาํเอกสารต่าง ๆ

    2.1.4.5 การดแูลรกัษาและให้การสนับสนุน (Maintenance and Support) คอืกระบวนการใดๆ ทีเ่กดิขึน้ หลงัจากที่ระบบถกูใชง้าน ตวัอยา่งเช่น การดแูลรกัษาและ

    ปรบัปรงุระบบใหด้ขีึน้ การแกไ้ขขอ้บกพรอ่งหรอืการเพิม่เตมิลกัษณะบางสิง่บางอยา่งเพิม่เตมิ

    จากเดมิ หรอืเกดิการปรบัเปลีย่นสภาพแวดลอ้มทางธรุกจิ เป็นตน้ สว่นการสนบัสนุนอาจอยูใ่น

    รปูของ Call Center หรอื Helpdesk เพือ่ช่วยผูใ้ชง้านสามารถใชง้านไดต้ามทีเ่ขาตอ้งการ

    2.2 การรือ้ปรบัระบบทางธรุกิจ (Business Process Reengineering : BRP) การรือ้ปรบัระบบทางธรุกิจ หมายถงึ การคดิทบทวนกระบวนการทางธรุกจิ เพือ่

    ออกแบบกระบวนการทางธรุกจิใหม่ หรอืเปลีย่นแปลงกระบวนการทางธรุกจิอยา่งถอนรากถอน

    โคน ทัง้น้ีเพื่อใหบ้รรลุถงึผลลพัธค์อืเป้าหมายขององคก์ารโดยใชต้วัชีว้ดัผลการปฏบิตังิาน คอื

    ดา้นตน้ทุน ดา้นคณุภาพ ดา้นการบรกิารความรวดเรว็ของกระบวนการ และดา้นอื่นๆ อกีหลาย

    ดา้น

    กระบานการทางธรุกจิ คอื ลาํดบัของขัน้ตอนเพือ่ใหไ้ดม้าซึง่สนิคา้หรอืการบรกิาร

    กระบวนการทางธรุกจินัน้รวมขัน้ตอนภายในบรษิทัทีเ่กีย่วขอ้งกบัการผลติสนิคา้หรอืบรกิารดว้ย

  • 10

    2.2.1 แนวคิดของการรือ้ปรบัระบบทางธรุกิจ [4]

    การรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ มหีลกัสาํคญั คอื การวเิคราะหแ์ละการออกแบบใหม ่

    (Redesign) กระบวนงานและกฎระเบยีบเก่าๆ ในขณะเดยีวกนัตอ้งเสรมิสรา้งกระบวนการ

    นวตักรรมใหม่ๆ โดยการคาํนึงถงึ กระบวนการในภาพรวมขององคก์รเป็นหลกั แทนทีจ่ะเป็น

    การมองไปทีก่ระบวนการของของหน่วยงานใดหน่วนงานหน่ึง โดยมหีลกัสาํคญัดงัน้ี รปูที ่ 2.4

    รปูที ่2.4 หลกัการและแนวคดิของ BPR [4]

    i. เน้นท่ีผลลพัธ ์การทาํ reengineering ใหค้วามสาํคญัทีเ่ป้าหมาย (Objective or Outcome oriented) มากกวา่ตวังาน (Task) ดงันัน้จงึสนบัสนุนใหม้ทีมีงานเพยีง

    หน่ึงทมีทาํงานทุกขัน้ตอนของกระบวนการงานหน่ึงๆ เพือ่ลด Time Overhead ที่

    บุคคลจะตอ้งตดิต่อหรอืถ่ายทอดงานกนัและเพิม่ประสทิธภิาพของงาน เน่ืองจาก

    เป็นผูรู้ก้ระบวนการทาํงานทัง้หมดเป็นภาพรวม

    ii. หน่วยงานเบด็เตลด็ คอื แนวความคดิทีใ่หผู้ท้ ีต่อ้งการผลของกระบวนงานเป็นผู้ดาํเนินกระบวนงานนัน้เอง นัน่คอืหน่วยงานสามารถมบีทบาทและหน้าทีไ่ดม้ากกวา่

    หน่ึงบทบาท

    iii. รวมข้อมลู คอื การผนวกการผลติและการประมวลผลขอ้มลูใหอ้ยูใ่นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานเดยีวกนั

    Business Process

    Reengineering

    หนว่ยงาน

    เบด็เตลด็

    รวมข้อมลู

    กระจาย

    ทรัพยากร

    ทํางาน

    คูข่นาน

    ลดลําดบั

    การสัง่การ

    ดงึข้อมลูจาก

    แหลง่ต้นทาง

    เน้นท่ี

    ผลลพัธ์

  • 11

    iv. กระจายทรพัยากร ควรมกีารกระจายเพือ่เพิม่ความคลอ่งตวัและสะดวกในการใช้งาน แต่ตอ้งสามารถบรหิารจดัการไดจ้ากจดุเดยีว ซึง่ระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ

    และการสือ่สารไดถ้กูนํามาใชเ้พือ่ช่วยองคก์รบรหิารจดัการทรพัยากรทีก่ระจาย

    เหลา่นัน้ เช่น ขอ้มลูสารสนเทศ เป็นตน้

    v. ทาํงานอย่างคู่ขนาน เป็นแนวคดิใหอ้งคก์รทาํการเชือ่มโยงกจิกรรมทีท่าํอยา่งคูข่นานในขณะทีง่านกาํลงัดาํเนินการอยูแ่ทนทีจ่ะทาํอยา่งเป็นลาํดบั

    vi. ลดลาํดบัการสัง่การ คอื การทาํลาํดบัการบรหิารใหแ้บนเรยีบขึน้ และใหอ้าํนาจการตดัสนิใจในจดุทีเ่กดิกระบวนการทาํงานขึน้เพือ่ใหเ้จา้หน้าทีส่ามารถตดัสนิใจใน

    งานทีเ่ขาทาํไดด้ว้ยตนเอง

    vii. ดึงข้อมลูจากแหล่งต้นทาง เราจาํเป็นตอ้งดงึขอ้มลูจากแหลง่ตน้ทางเพือ่ลดความซํ้าซอ้นของขอ้มลู ขอ้มลูจงึควรถูกรวบรวมแค่ครัง้เดยีวและจากแหล่งกําเนิดขอ้มลู

    เอง แลว้คอ่ยแชรผ์า่นทางระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ

    2.2.2 หลกัการทาํการรือ้ปรบัระบบทางธรุกิจ

    กิจกรรมท่ี 1 การเตรียมตวั (Prepare for Reengineering)

    การวางแผนและการเตรยีมตวัสาํหรบักจิกรรมใดๆ เป็นองคป์ระกอบสาํคญัอยา่งยิง่ทีจ่ะ

    นําไปสูค่วามสาํเรจ็ การรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิควรจะตัง้คาํถามก่อนวา่กระบวนการทางธรุกจิมี

    ความจาํเป็นมากน้อยแคไ่หนทีจ่ะทาํการรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ การหาคาํตอบของคาํถามน้ีเป็น

    จดุเริม่ตน้ของการทาํรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ กจิกรรมน้ีควรเริม่ดว้ยการทาํใหผู้บ้รหิารเหน็

    ความสาํคญัของการปรบัรือ้ระบบทางธรุกจิ และความเชือ่มโยงระหวา่งการบรรลเุป้าหมายทาง

    ธรุกจิกบัการทาํรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิ อกีประเดน็ทีส่าํคญัก่อนกาํหนดนโยบายของการทาํ

    ระบบรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิคอืเขา้ใจความตอ้งการของลกูคา้และธรุกจิบกพรอ่งต่อความ

    ตอ้งการของลกูคา้ดา้นใด เมือ่เขา้ใจความตอ้งการของลกูคา้แลว้บรษิทักจ็ะสามารถสรา้ง

    วสิยัทศัน์ขึน้มาไดซ้ึง่คาํประกาศวสิยัทศัน์จะเป็นแรงกระตุน้ทีด่ทีีท่าํใหโ้ครงการการรือ้ปรบัระบบ

    ทางธรุกจิประสบความสาํเรจ็

  • 12

    กิจกรรมท่ี 2 เทียบและวิเคราะหก์ระบวนการทางธรุกิจท่ีมีอยู่เดิม (Map and

    Analyze As-Is Process)

    การรือ้ปรบัระบบทางธรุกจิจาํเป็นตอ้งเขา้ใจกระบวนการทางธรุกจิทีม่อียูเ่ดมิใหด้ก่ีอน

    จงึจะสามารถดาํเนินการออกแบบกระบวนการทางธรุกจิขึน้มาใหมไ่ด้ จดุประสงคส์าํคญัใน

    ขัน้ตอนน้ีคอื การพยายามวเิคราะหร์ะบบปจัจบุนัเพือ่หาสิง่ทีเ่ป็นปญัหาทีท่าํใหก้ระบวนการทาง

    ธรุกจิไมเ่ป็นไปตามทีต่อ้งการและหาวธิกีารทีจ่ะทาํใหก้ระบวนการทางธรุกจิดขีึน้ ซึง่ทาํไดโ้ดย

    สรา้งแบบจาํลองกระบวนการทางธรุกจิโดยใชว้ธิกีารสรา้งแบบจาํลองแบบต่างๆ จากนัน้ให้

    คาํนวณเวลาและคา่ใชจ้า่ยทีใ่ชใ้นขัน้ตอนต่างๆ ของกระบวนการทางธรุกจิโดยใชว้ธิที ัง้การ

    จาํลองและการคาํนวณหาตน้ทุน การสรา้งแบบจาํลองน้ีทาํใหเ้ราเขา้ใจรากฐานของกระบวนทาง

    ธรุกจิไดด้ ี

    กิจกรรมท่ี 3 ออกแบบกระบวนการใหม่ (Design To-Be Process)

    จดุประสงคใ์นระยะน้ี คอื สรา้งทางเลอืกเพือ่แกไ้ขปญัหาทีเ่ป็นอยูใ่นปจัจบุนัเพือ่บรรลุ

    เป้าหมายทางธรุกจิทีไ่ดต้ัง้ไวใ้นขัน้ตอนแรก เมือ่ไดแ้นวคดิในการปรบัปรงุกระบวนการทาง

    ธรุกจิแลว้ กม็าถงึขัน้ตอนการสรา้งกระบวนการทางธรุกจิใหม่ (To-Be Process) เราจาํเป็นตอ้ง

    วเิคราะหก์ระบวนการทางธรุกจิใหม่ โดยคาํนวณเวลาและคา่ใชจ้า่ยทีต่อ้งใชใ้นขัน้ตอนต่างๆของ

    กระบวนการแลว้กใ็หว้เิคราะหข์อ้ดขีอ้เสยีสาํหรบัแต่ละกระบวนการทางธรุกจิใหม่ เพือ่เลอืก

    กระบวนการทางธรุกจิใหมท่ีเ่หมาะสมสาํหรบัการนําไปใชจ้รงิ

    กิจกรรมท่ี 4 ทาํให้กระบวนการท่ีรือ้ปรบัใหม่เกิดผล (Implement Reengineering

    Process)

    การนําระบบทีอ่อกแบบขึน้มาใหมไ่ปใชจ้รงิ ควรทาํดว้ยความรอบคอบอยา่งยิง่และควร

    มกีารเตรยีมการทีด่ดีว้ย เพือ่ทีก่ารนํากระบวนการทีอ่อกแบบขึน้มาใหมไ่ปใชจ้รงิจะไดเ้ป็นไป

    อยา่งราบรืน่ ในระยะน้ีตอ้งสรา้งแผนการปรบัเปลีย่นจากกระบวนการทางธรุกจิทีม่อียูเ่ดมิไปเป็น

    กระบวนการทางธรุกจิใหม่ แผนน้ียงัตอ้งรวมถงึการปรบัเปลีย่นโครงสรา้งองคก์ร ระบบ

    เทคโนโลยสีารสนเทศและนโยบายของบรษิทัใหส้อดคลอ้งกบักระบวนการทางธรุกจิใหมอ่กีดว้ย

    โดยเฉพาะการปรบัปรงุระบบเทคโนโลยสีารสนเทศนัน้มสีว่นช่วยใหโ้ครงการการรือ้ปรบั

    กระบวนการทางธรุกจิประสบความสาํเรจ็อยา่งมาก เทคนิคการสรา้งตน้แบบและเทคนิคการ

    จาํลองจะช่วยตรวจสอบแผนการปรบัเปลีย่นไดเ้ป็นอยา่งด ีขัน้ตอนสดุทา้ยของระยะน้ีคอืจดัตัง้

    โปรแกรมอบรมพนกังานสาํหรบัการเปลีย่นแปลงในบรษิทัและการนําแผนการปรบัเปลีย่นไปใช้

    อยา่งเตม็รปูแบบ

  • 13

    กิจกรรมท่ี 5 ปรบัปรงุกระบวนการอย่างต่อเน่ือง (Improve Process

    Continuously)

    ขัน้ตอนแรกในระยะน้ีคอืใหจ้ดัตัง้ทมีงานสาํหรบัการตดิตามผล ซึง่ตอ้งตดิตามผล 2

    อยา่งดว้ยกนัคอืความกา้วหน้าในการดาํเนินการและผลลพัธ ์ความกา้วหน้าในการดาํเนินการ

    สามารถดไูดจ้ากจาํนวนคนทีเ่ขา้ใจในกระบวนการใหม ่บทบาทของผูบ้รหิารต่อโครงการ และ

    ระดบัของการยอมรบัต่อความเปลีย่นแปลงในองคก์รซึง่สามารถหาไดจ้ากการทาํแบบสอบถาม

    ต่างๆ สาํหรบัการตดิตามผลลพัธน์ัน้ควรรวมทศันคตขิองพนกังานและความคดิเหน็จากลกูคา้

    ดว้ยเหตุน้ีประสทิธภาพของการปรบัปรงุกระบวนการทางธรุกจิอยา่งต่อเน่ืองจงึขึน้อยูก่บั

    ประสทิธภิาพในการตดิตามผลและความสามารถในการวเิคราะหก์ระบวนการ

    2.3. ระบบบารโ์ค้ด 2.3.1. ความหมายของบารโ์ค้ด [5] บารโ์คด้ (Barcode) หรอืในภาษาไทยเรยีกวา่ "รหสัแท่ง" คอื การแทนขอ้มลูทีเ่ป็นรหสั

    เลขฐานสอง (Binary codes) ในรปูแบบของแถบสดีาํและขาวทีม่คีวามกวา้งของแถบทีต่่างกนั

    ขึน้อยูก่บัตวัเลขทีก่าํกบัอยูข่า้งลา่ง ดงัรปู 2.5 การอ่านขอ้มลูจะอาศยัหลกัการสะทอ้นแสง เพือ่

    อ่านขอ้มลูเขา้เกบ็ในคอมพวิเตอรโ์ดยตรงไมต่อ้งผา่นการกดปุม่ทีแ่ป้นพมิพ ์ระบบน้ีเป็น

    มาตรฐานสากลทีนิ่ยมใชก้นัทัว่โลก การนําเขา้ขอ้มลูจากรหสัแถบของสนิคา้เป็นวธิทีีร่วดเรว็และ

    ความน่าเชื่อถอืไดส้งูและใหค้วามสะดวกแก่ผูใ้ชง้านไดด้ ี

    รปูที ่2.5 ตวัอยา่งบารโ์คด้

    เทคโนโลย ีบารโ์คด้ ถกูนํามาใชท้ดแทนในสว่นการบนัทกึขอ้มลู (Data Entry) ดว้ย

    คยีบ์อรด์ ซึง่มอีตัราความผดิพลาดอยูป่ระมาณ 1 ใน 100 หรอืบนัทกึขอ้มลูผดิพลาดได ้1

    ตวัอกัษร ในทุก ๆ 100 ตวัอกัษร แต่สาํหรบัระบบบารโ์คด้ อตัราการเกดิความผดิพลาดจะลดลง

    เหลอืเพยีง 1 ใน 10,000,000 ตวัอกัษร

    สาํหรบัระบบบารโ์คด้ จะใชค้วบคู่กบัเครือ่งอ่าน ทีเ่รยีกว่า เครือ่งยงิบารโ์คด้ (Barcode

    Scanner) ซึง่เป็นเป็นตวัอ่านขอ้มลู ทีอ่ยูใ่นรปูรหสัแท่ง เป็นขอ้มลูตวัเลข หรอืตวัอกัษร ทาํให้

    มนุษยส์ามารถเขา้ใจ เพือ่นําขอ้มลูเหลา่น้ีไปใชง้าน

  • 14

    2.3.2. ประเภทของบารโ์ค้ด [5] i. โคด้ภายใน (Internal Code) เป็นบารโ์คด้ทีท่าํขึน้ใชเ้องในองคก์รต่าง ๆ ไมส่ามารถ

    นําออกไปใชภ้ายนอกได ้

    ii. โคด้มาตรฐานสากล ( Standard Code) เป็นบารโ์คด้ทีเ่ป็นทีรู่จ้กั และนิยมใชก้นัอยา่งแพรห่ลายทัว่โลก ม ี2 ระบบ คอื

    - ระบบ EAN (European Article Numbering) เริม่ใชเ้มือ่ปี พ.ศ. 2519 มีประเทศต่าง ๆ ใชม้ากกว่า 90 ประเทศทัว่โลก ในภาคพืน้ยโุรป เอเชยี และ

    แปซฟิิก, ออสเตรเลยี, ลาตนิ อเมรกิา รวมทัง้ประเทศไทย ทัง้น้ี EAN มี

    สาํนกังานใหญ่อยูท่ีก่รงุบรสัเซล ประเทศเบลเยีย่ม

    - ระบบ UPC (Universal Product Code) เริม่ใชเ้มือ่ปี พ.ศ. 2515 ซึง่กาํหนดมาตรฐานโดย Uniform Code Council.Inc ใชแ้พรห่ลายในประเทศ

    สหรฐัอเมรกิา และ แคนาดา

    สาํหรบับารโ์คด้ในประเทศไทยเริม่นํามาใชอ้ยา่งจรงิจงั โดยมสีถาบนัสญัลกัษณ์รหสัแท่ง

    ไทย (Thai Article Numbering Council) หรอื TANC เป็นองคก์รตวัแทน EAN ภายใตก้ารดแูล

    ของสภาอุตสาหกรรมกรรมแหง่ประเทศไทย ทัง้น้ี ระบบ EAN ทีป่ระเทศไทยใชน้ัน้จะมลีกัษณะ

    เป็นเลขชุด 13 หลกั ซึง่มคีวามหมายดงัน้ี

    885 :ตวัเลข 3 หลกัแรก คอืรหสัของประเทศไทย

    xxxx :ตวัเลข 4 ตวัถดัมา เป็นรหสัโรงงานทีผ่ลติ หรอืรหสัสมาชกิ

    xxxxx : 5 ตวัถดัมา เป็นรหสัสนิคา้

    x :ตวัเลขหลกัสุดทา้ยเป็นตวัเลขตรวจสอบ เลข 12 ขา้งหน้าว่ากําหนดถูกตอ้งหรอืไม ่

    ถา้ตวัสดุทา้ยผดิ บารโ์คด้ตวันัน้จะอ่านไมอ่อก สือ่ความหมายไมไ่ด้

    2.3.3. ประโยชน์ของบารโ์ค้ดในด้านธรุกิจ [6] การนําบารโ์คด้มาใชใ้นธรุกจิการคา้จะมคีณุประโยชน์หลายประการ คอื

    i. ลดขัน้ตอนและประหยดัเวลาการทาํงาน การซือ้-ขาย สนิคา้จะมคีวามสะดวกรวดเรว็มากขึน้ โดยเฉพาะการรบัชาํระเงนิ การออกใบเสรจ็ การตดัสนิคา้คงคลงั

    ii. งา่ยต่อระบบสนิคา้คงคลงัคอมพวิเตอรซ์ึง่เชื่อมกบัเครือ่งสแกนเนอรจ์ะตดัยอดสนิคา้โดยอตัโนมตั ิจงึสามารถใหข้อ้มลูเกีย่วกบัการหมนุเวยีนสนิคา้ สนิคา้รายการ

    ใดจาํหน่ายไดด้หีรอืไม ่มสีนิคา้เหลอืเท่าใด

    iii. ยกระดบัมาตรฐานสนิคา้ การระบุแหลง่ผลติของประเทศแต่ละราย ทาํใหผู้ผ้ลติปรบัปรงุคณุภาพเพือ่รกัษาภาพพจน์ของสนิคา้และสอดคลอ้งกบัมาตรฐาน

    ผลติภณัฑอุ์ตสาหกรรมเรือ่งสญัลกัษณ์ รหสัแท่งสาํหรบัแสดงขอ้มลูสนิคา้

  • 15

    iv. สรา้งศกัยภาพเชงิแขง่ขนัในตลาดต่างประเทศ รหสัแท่งเป็นเครือ่งบ่งชีถ้งึสนิคา้ทีม่ ีคณุภาพดเีชือ่ถอืได ้การมรีหสัประจาํตวัของแต่ละประเทศทาํใหผู้ท้ ีส่นใจซือ้สนิคา้

    สามารถทราบถงึแหลง่ผลติและตดิต่อซือ้-ขายกนัไดส้ะดวกโดยตรง เป็นการพฒันา

    บรรจภุณัฑเ์พือ่การสง่ออก

    v. เพิม่ประสทิธภิาพการบรหิาร ขอ้มลูจากระบบรหสัแท่ง จะช่วยใหผู้ป้ระกอบธรุกจิสามารถตดัสนิใจวางแผน และบรหิารงานดา้นการผลติ การจดัซือ้ และการตลาดได้

    อยา่งรวดเรว็ และมปีระสทิธภิาพ

    2.4 ระบบ RFID 2.4.1 ความหมายของ RFID RFID (Radio Frequency Identification) เป็นระบบฉลากทีไ่ดถ้กูพฒันามาตัง้แต่ปี ค.ศ.

    1980 โดยทีอุ่ปกรณ์ RFID ทีม่กีารประดษิฐข์ึน้ใชง้านเป็นครัง้แรกนัน้ เป็นผลงานของ Leon

    Theremin ซึง่สรา้งใหก้บัรฐับาลของประเทศรสัเซยีในปี ค.ศ.1945 ซึง่อุปกรณ์ทีส่รา้งขึน้มาใน

    เวลานัน้ทาํหน้าทีเ่ป็นเครือ่งมอืดกัจบัสญัญาณไมไ่ดท้าํหน้าทีเ่ป็นตวัระบุเอกลกัษณ์อยา่งทีใ่ช้

    งานกนัอยูใ่นปจัจบุนั [7]

    RFID ในปจัจบุนัมลีกัษณะเป็นป้ายอเิลก็ทรอนิกส์ (RFID Tag) ทีส่ามารถอ่านคา่ไดโ้ดย

    ผา่นคลืน่วทิยจุากระยะหา่งเพือ่ตรวจตดิตามและบนัทกึขอ้มลูทีต่ดิอยูก่บัป้ายซึง่นําไปฝงัไวใ้น

    วตัถุต่างๆ หรอืตดิอยูก่บัวตัถุต่างๆเช่นผลติภณัฑก์ล่องหรอืสิง่ของใดๆสามารถตดิตามขอ้มลู

    ของวตัถุ 1 ชิน้ว่าคอือะไรผลติทีไ่หนใครเป็นผูผ้ลติผลติอยา่งไรผลติวนัไหนประกอบไปดว้ย

    ชิน้สว่นกีช่ิน้รวมทัง้ตาํแหน่งทีต่ ัง้ของวตัถุนัน้ๆโดยไมจ่าํเป็นตอ้งอาศยัการสมัผสั (Contact-

    Less) หรอืตอ้งเหน็วตัถุนัน้ๆก่อนทาํงานโดยใชเ้ครือ่งอ่านทีส่ ือ่สารกบัป้ายดว้ยคลืน่วทิยใุนการ

    อ่านและเขยีนขอ้มลู [8]

    2.4.2 RFID มีข้อได้เปรียบเหนือกว่าระบบบารโ์ค้ดดงัน้ี [8] i. มคีวามละเอยีดและสามารถบรรจขุอ้มลูไดม้ากกวา่ซึง่ทาํใหส้ามารถแยกความ

    แตกต่างของสนิคา้แต่ละชิน้แมจ้ะเป็น SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสนิคา้)

    เดยีวกนักต็าม

    ii. ความเรว็ในการอ่านขอ้มลูจากแถบ RFID เรว็กวา่การอ่านขอ้มลูจากแถบบารโ์คด้หลายสบิเท่า

    iii. สามารถอ่านขอ้มลูไดพ้รอ้มกนัหลายๆแถบ RFID iv. สามารถสง่ขอ้มลูไปยงัเครือ่งรบัไดโ้ดยไมจ่าํเป็นตอ้งนําไปจอ่ในมมุทีเ่หมาะสมอยา่ง

    การใชเ้ครือ่งอ่านบารโ์คด้ (Non-Line of Sight)

  • 16

    v. คา่เฉลีย่ของความถกูตอ้งของการอ่านขอ้มลูดว้ยเทคโนโลย ีRFID นัน้จะอยูท่ี่ประมาณ 99.5 เปอรเ์ซน็ตข์ณะทีค่วามถกูตอ้งของการอ่านขอ้มลูดว้ยระบบบารโ์คด้

    อยูท่ี ่80 เปอรเ์ซน็ต์

    vi. สามารถเขยีนทบัขอ้มลูไดจ้งึทาํใหส้ามารถนํากลบ